จดหมายข่าว 187 new -...

2
เหลอมลำ โดยผูหญงมโอกาสทางการศกษา นอยกวาผูชาย การจดอนดบดชนการพฒนาทุนมนุษยมุง สะทอนใหเหนถงความสำคญของการลงทุน และการพฒนาดานทรพยากรมนุษยตลอด ชวงชวต เพอรองรบการพฒนาเศรษฐกจของ แตละประเทศ วธการวเคราะหจะประเมน ครอบคลุมประชากรทุกชวงอายุจากผลลพธ 2 ดาน ไดแก การเรยนรูและการจางงาน โดยมตวชวดยอยทงหมด 46 ตว อาท คุณภาพการศกษา จำนวนการเขาเรยนทงใน ระดบประถมและมธยมศกษา การเรยน สวสดเพอนสมาชก สสค. เมอเรวๆ น เวทเศรษฐกจ โลกหรอเว ลด โคโนม คฟอร (World Economic Forum : WEF) ไดรายงาน ผลการ จดอนดบดชนการพฒนาทน มนษย (Human Capital Index) ป 2015 พบวา ฟนแลนด ไดรบเลอก ใหเปนประเทศทมการพฒนาทุนมนุษยเปน นด บ 1 ของโลก จาก 124 ประเทศ ตามด วย นอรเวย (2) สวตเซอรแลนด (3) แคนาดา (4) และญปุน (5) โดยประเทศในทวปยุโรปตด 10 อนดบมากทสุดถง 7 ประเทศ ขณะท ประเทศไทยอยูในลำดบปานกลางคออนดบ ท 57 ขณะทประเทศในกลุมเอเชย ไดแก สงคโปร (24) เกาหลใต (30) ฟลปปนส (46) มาเลเซย (52) เวยดนาม (59) และจน (64) สวนหลายประเทศในตะวนออกกลางและ แอฟรกามคะแนนรงทายเนองจากความ 25 พฤษภาคม 2558 ฉบับที187 จัดอันดับดัชนีการพัฒนาทุนมนุษย์ โดย WEF โจทย์ท้าทายของการ ‘ศึกษายุคใหม่’ เมอการแข่งขันของเศรษฐกิจโลกวัดกันที‘คน’ สายอาชพ การศกษาสูงสุดของประชากร การเรยนรูตอเนองระหวางทำงาน ทกษะ การทำงาน การจางงาน และชวงเวลาทจะม สุขภาพดในวยสูงอายุ เปนตน สาเหตุทฟนแลนดไดรบเลอกใหเปน อนดบ 1 ของโลก เพราะมมาตรการจดการ ศกษาทมคุณภาพอยางทวถงและมการพฒนา ทกษะ การฝกอบรมครอบคลุมประชากรทุก กลุมอายุตรงตามความตองการของภาคธุรกจ สวนญปุนตดอนดบ 1 ใน 5 ของโลกโดยเปน ประเทศตวอยางการพฒนาทกษะความรูแก ประชากรผูสูงวย สำหร บประเทศไทย การประเม นสมรรถนะ ของทุนมนุษย ในแต ละช วงอายุพบว ประชากร อาย ำกว า 15 ป ไทยอยู นด บท 68 ประชากร ขอบคุณภาพจากหนงสอพมพเดลนวส 10 ประเทศในเอเชยและแปซฟคทมการใชประโยชนจาก ทนมนษยสงสด ดชนการพฒนาทนมนษย ป 2015 อนดบของโลก ญปุน 5 นวซแลนด 9 ออสเตรเลย 13 สงคโปร 24 เกาหลใต 30 ฟลปปนส 46 มองโกเลย 51 มาเลเซย 52 ไทย 57 เวยดนาม 59 ทมา : World Economic Forum 2015 (จดอนดบจาก 124 ประเทศ) *รายงานการพฒนาทุนมนุษย เปนการมองภาพรวมของประเทศทมการใชประโยชนจากทุนมนุษย ไดอยางมประสทธภาพ และการเตรยมความพรอมดานแรงงานสำหรบการแขงขนทางเศรษฐกจ 10 ประเทศของโลกทมการใชประโยชนจากทนมนษยสงสด ดชนการพฒนาทนมนษย ป 2015 อนดบของโลก ฟนแลนด 1 นอรเวย 2 สวตเซอรแลนด 3 แคนาดา 4 ญปุน 5 สวเดน 6 เดนมารก 7 เนเธอรแลนด 8 นวซแลนด 9 เบลเยยม 10 ทมา : World Economic Forum 2015 (จดอนดบจาก 124 ประเทศ) *รายงานการพฒนาทุนมนุษย เปนการมองภาพรวมของประเทศทมการใชประโยชนจากทุนมนุษย ไดอยางมประสทธภาพ และการเตรยมความพรอมดานแรงงานสำหรบการแขงขนทางเศรษฐกจ

Upload: others

Post on 07-Oct-2020

2 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: จดหมายข่าว 187 new - EEFapps.qlf.or.th/member/UploadedFiles/prefix-25052558...ม ผ ร บจดหมายข าวกว า 23,000 คน สมัครสมาชิก

เหลื่อมล้ำ โดยผู้หญิงมีโอกาสทางการศึกษา

น้อยกว่าผู้ชาย

การจัดอันดับดัชนีการพัฒนาทุนมนุษย์มุ่ง

สะท้อนให้เห็นถึงความสำคัญของการลงทุน

และการพัฒนาด้านทรัพยากรมนุษย์ตลอด

ช่วงชีวิต เพื่อรองรับการพัฒนาเศรษฐกิจของ

แต่ละประเทศ วิธีการวิเคราะห์จะประเมิน

ครอบคลุมประชากรทุกช่วงอายุจากผลลัพธ์

2 ด้าน ได้แก่ การเรียนรู ้และการจ้างงาน

โดยมีต ัวช ี ้ว ัดย่อยทั ้งหมด 46 ตัว อาทิ

คุณภาพการศึกษา จำนวนการเข้าเรียนทั้งใน

ระดับประถมและมัธยมศึกษา การเร ียน

สวัสดีเพื่อนสมาชิก สสค.

เมื่อเร็วๆ นี้ เวทีเศรษฐกิจ

โลกหรือเวิลด์อีโคโนมิคฟอร่ัม

(World Economic Forum :

WEF) ได ้รายงานผลการ

จัดอันดับดัชนีการพัฒนาทุน

มนุษย์ (Human Capital

Index)ปี2015 พบว่า ฟินแลนด์ ได้รับเลือก

ให้เป็นประเทศที่มีการพัฒนาทุนมนุษย์เป็น

อันดับ 1 ของโลก จาก 124 ประเทศ ตามด้วย

นอร์เวย์ (2) สวิตเซอร์แลนด์ (3) แคนาดา (4)

และญี่ปุ ่น (5) โดยประเทศในทวีปยุโรปติด

10 อันดับมากที่สุดถึง 7 ประเทศ ขณะที่

ประเทศไทยอยู่ในลำดับปานกลางคืออันดับ

ที ่ 57 ขณะที ่ประเทศในกลุ ่มเอเชีย ได้แก่

สิงคโปร์ (24) เกาหลีใต้ (30) ฟิลิปปินส์ (46)

มาเลเซีย (52) เวียดนาม (59) และจีน (64)

ส่วนหลายประเทศในตะวันออกกลางและ

แอฟริกาม ีคะแนนร ั ้งท ้ายเน ื ่องจากความ

25 พฤษภาคม 2558

ฉบับที่

187 จัดอันดับดัชนีการพัฒนาทุนมนุษย์ โดย WEF โจทย์ท้าทายของการ ‘ศึกษายุคใหม่’

เมื่อการแข่งขันของเศรษฐกิจโลกวัดกันที่ ‘คน’

สายอาชีพ การศึกษาสูงสุดของประชากร

การเร ียนรู ้ต ่อเนื ่องระหว่างทำงาน ทักษะ

การทำงาน การจ้างงาน และช่วงเวลาที่จะมี

สุขภาพดีในวัยสูงอายุ เป็นต้น

สาเหตุท ี ่ฟ ินแลนด์ได ้ร ับเล ือกให ้ เป ็น

อันดับ 1 ของโลก เพราะมีมาตรการจัดการ

ศึกษาที่มีคุณภาพอย่างทั่วถึงและมีการพัฒนา

ทักษะ การฝึกอบรมครอบคลุมประชากรทุก

กลุ่มอายุตรงตามความต้องการของภาคธุรกิจ

ส่วนญี่ปุ่นติดอันดับ 1 ใน 5 ของโลกโดยเป็น

ประเทศตัวอย่างการพัฒนาทักษะความรู้แก่

ประชากรผู้สูงวัย

สำหรับประเทศไทย การประเมินสมรรถนะ

ของทนุมนษุย์ในแต่ละช่วงอายพุบว่า ประชากร

อายุต่ำกว่า 15 ปี ไทยอยูอั่นดับท่ี 68 ประชากร

ขอบคุณภาพจากหนังสือพิมพ์เดลินิวส์

10 ประเทศในเอเชียและแปซิฟิคที่มีการใช้ประโยชน์จาก ทุนมนุษย์สูงสุด

ดัชนีการพัฒนาทุนมนุษย์ ปี 2015 อันดับของโลก

ญี่ปุ่น 5

นิวซีแลนด์ 9

ออสเตรเลีย 13

สิงคโปร์ 24

เกาหลีใต้ 30

ฟิลิปปินส์ 46

มองโกเลีย 51

มาเลเซีย 52

ไทย 57

เวียดนาม 59

ที่มา : World Economic Forum 2015 (จัดอันดับจาก 124 ประเทศ) *รายงานการพัฒนาทุนมนุษย์ เป็นการมองภาพรวมของประเทศที่มีการใช้ประโยชน์จากทุนมนุษย์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และการเตรียมความพร้อมด้านแรงงานสำหรับการแข่งขันทางเศรษฐกิจ

10 ประเทศของโลกที่มีการใช้ประโยชน์จากทุนมนุษย์สูงสุด

ดัชนีการพัฒนาทุนมนุษย์ ปี 2015 อันดับของโลก

ฟินแลนด์ 1

นอร์เวย์ 2

สวิตเซอร์แลนด์ 3

แคนาดา 4

ญี่ปุ่น 5

สวีเดน 6

เดนมาร์ก 7

เนเธอร์แลนด์ 8

นิวซีแลนด์ 9

เบลเยียม 10

ที่มา : World Economic Forum 2015 (จัดอันดับจาก 124 ประเทศ) *รายงานการพัฒนาทุนมนุษย์ เป็นการมองภาพรวมของประเทศที่มีการใช้ประโยชน์จากทุนมนุษย์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และการเตรียมความพร้อมด้านแรงงานสำหรับการแข่งขันทางเศรษฐกิจ

Page 2: จดหมายข่าว 187 new - EEFapps.qlf.or.th/member/UploadedFiles/prefix-25052558...ม ผ ร บจดหมายข าวกว า 23,000 คน สมัครสมาชิก

ขณะนี้ สสค. มีผู้รับจดหมายข่าวกว่า 23,000 คน

สมัครสมาชิก สสค. หรือดาวน์โหลดไฟล์จดหมายข่าวได้ที่ www.QLF.or.th

ติดตามข่าวสาร สสค. ที่ Quality Learning Foundation QLFThailand

แจ้งเปลี่ยนที่อยู่สมาชิก/สอบถาม โทร. 02-6191811

ช่วงอายุระหว่าง 15-24 ปี ซึ่งถือเป็นเยาวชน

ไทยอยู่อันดับที่ 41 ประชากรกลุ่มช่วงอายุ

ระหว่าง 25-54 ปี ซึ่งถือเป็นวัยทำงาน ไทยอยู่

อันดับท่ี 57 ประชากรช่วงอายุระหว่าง 55-64 ปี

และอายุมากกว่า 65 ปี ไทยอยู่อันดับที่ 71

และ 73 ตามลำดับ

ผลการประเมินของไทยข้างต้นชี้ให้เห็นว่า

ไทยมีจุดอ่อนเกือบทุกตัวแต่ตัวที ่ค่อนข้าง

ร้ังท้ายคือ กลุม่ประชากรอายรุะหว่าง 55-64 ปี

และอายุมากกว่า 65 ปี โดยจากการวิเคราะห์

ประชากรกลุ่มนี้ร้อยละ 80-90 มีระดับการ

ศึกษาขั้นสูงแค่ประถมศึกษา

ข้อค้นพบที่สำคัญจากการจัดอันดับดัชนี

การพัฒนาทุนมนุษย์ของ WEF สะท้อนให้เห็น

ว่า การพัฒนาศักยภาพและใช้ประโยชน์จาก

ทุนมนุษย์ของประเทศต่างๆ ยังอยู่ในระดับต่ำ

โดยฟินแลนด์แม้จะอยู ่อ ันดับแรกของโลก

การพัฒนาศักยภาพประชากรทำได ้ เพ ียง

ร้อยละ 86 ขณะที่ไทยทำได้เพียงร้อยละ 67

โดยแนวทางการพัฒนาศักยภาพประชากร

นอกจากการลงทุนการเรียนรู ้ที ่เชื ่อมโยงกับ

ตลาดแรงงานแล้ว การสร้างสภาพแวดล้อม

ที่เอื้อให้เกิดการเรียนรู้ต่อเนื่องก็มีความสำคัญ

นอกจากนี้ WEF ยังสะท้อนให้เห็นว่า

ระบบการศึกษาในหลายประเทศยังขาดความ

เชื่อมโยงเรื่องการเรียนและการพัฒนาทักษะที่

สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน

การจัดการเรียนการสอนต้องเปลี่ยนรูปแบบ

ธันว์ธิดา วงศ์ประสงค์ นักวิชาการด้านนโยบายการศึกษาต่างประเทศ

สสค.

ประเด็นสุดท้ายที่ WEF สะท้อนให้เห็น

คือ การพัฒนาประชากรทุกกลุ่มให้ได้รับการ

พัฒนาทักษะอย่างต่อเนื่องมีความสำคัญยิ่ง

เพื ่อให้ประเทศมีข ีดความสามารถทางการ

แข่งขัน และมีความพร้อมในการรับมือกับ

การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและเทคโนโลยี

ในอนาคต

ว ันน ี ้ความสามารถในการแข ่งข ันและ

การเติบโตทางเศรษฐกิจไม่ได้อยู่ที่ใครมีเงินทุน

มากกว่ากันอีกต่อไป แต่วัดกันที่ศักยภาพการ

พัฒนาและใช้ประโยชน์จากทุนมนุษย์ในการ

สร้างนวัตกรรมใหม่ๆ และเชื่อมโยงกับห่วงโซ่

ทร ัพยากรมนุษย ์ ในระด ับนานาชาต ิจาก

เศรษฐกิจไร้พรมแดน เพราะการขับเคลื ่อน

เศรษฐกิจมาจากฐานความรู ้และเทคโนโลยี

ที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา เราไม่สามารถรู้ว่า

ในอนาคตข้างหน้าลักษณะอาชีพจะเปลี่ยนไป

อย่างไร จึงจำเป็นต้องเตรียมความพร้อมให้

คนยุคต่อไปมีศักยภาพในการปรับตัวและ

การพัฒนาทักษะและการเรียนรู ้ตลอดชีวิต

ให้เท่าทันต่อการเปลี่ยนแปลง

สมาชิกที่สนใจสามารถดูผลการจัดอันดับ

ได้ที่ http://bit.do/REPORT2015

จากที ่เน้นเรื ่องเนื ้อหาและความจำมาสู ่การ

พัฒนาทักษะ เช่น การทำงานร่วมกับผู ้อื ่น

ความค ิดสร ้ า งสรรค ์และการแก ้ป ัญหา

เน ื ่องจากในขณะน ี ้การเปล ี ่ยนแปลงทาง

เทคโนโลยีและเศรษฐกิจเกิดขึ้นรวดเร็วมาก

ภาคธุรกิจจำเป็นต้องทำงานร่วมกับนักการ

ศึกษาและรัฐบาลเพื่อช่วยให้ระบบการศึกษา

สามารถตามท ันความต ้องการของตลาด

แรงงาน ทั้งนี้ความสำเร็จจะเกิดขึ้นได้จะต้อง

อาศัยความเป็นผู้นำของผู้กำหนดนโยบาย

ไม่เพียงเท่านี ้สิ ่งหนึ ่งที ่กำลังเป็นปัญหา

คล้ายกันทั ่วโลกรวมทั ้งไทย คือ การผลิต

บัณฑิตไม่ตรงความต้องการของตลาดแรงงาน

และการพัฒนาเศรษฐกิจ ประเทศอย่างชิลี

อาร์เจนติน่า ไอร์แลนด์ และสเปน มีจำนวน

ประชากรที่จบการศึกษาในระดับอุดมศึกษา

เป็นจำนวนมาก ในขณะที ่ตำแหน่งว่างงาน

มีน้อย ทำให้ผู้ที่จบการศึกษาจะต้องทำงานใน

วุฒิที่ต่ำกว่า ซึ่งไทยก็เข้าข่ายนี้ โดยจากผล

การศึกษา ไทยมีจำนวนนักศึกษาที่ลงเรียน

สายสังคมศาสตร์ ธุรกิจและกฎหมายสูงที่สุด

จำนวนถึง 1,337,272 คน (หรือคิดเป็นร้อยละ

53 ของนักเรียนทั้งหมด) ขณะที่สายวิศวกรรม

การผลิตและการก่อสร้างมีเพียง 247,883 คน

หรือร้อยละ 9 สายวิทยาศาสตร์ (ร้อยละ 8)

การบริการ (ร้อยละ 1.8) ซึ่งไม่สอดคล้องกับ

ความต้องการตลาดแรงงานที่ต้องการคนที่จบ

สายวิทยาศาสตร์มากกว่าสายสังคมศาสตร์