การวิเคราะห ์พลังงาน สิ่งแวดล...

45
Presented by : Mr. Padungsak U-nontakarn CDM & Renewable Energy Manager Bright Management Consulting Co., Ltd E-mail : [email protected] Tel :+662 6421270 ext. 717 BAT for Glass Industry การวิเคราะห์พลังงาน สิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย Energy, Environment & Safety Summary

Upload: others

Post on 05-Sep-2020

5 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: การวิเคราะห ์พลังงาน สิ่งแวดล ...ftiweb.off.fti.or.th/demo/6101/sitedata/site22/articles... · 2015. 8. 6. · Presented by :

Presented by :

Mr. Padungsak U-nontakarn

CDM & Renewable Energy Manager

Bright Management Consulting Co., Ltd

E-mail : [email protected]

Tel :+662 6421270 ext. 717

BAT for Glass Industry

การวิเคราะห์พลังงาน สิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย Energy, Environment & Safety Summary

Page 2: การวิเคราะห ์พลังงาน สิ่งแวดล ...ftiweb.off.fti.or.th/demo/6101/sitedata/site22/articles... · 2015. 8. 6. · Presented by :

ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม

ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมการควบคมุมลภาวะทางอากาศการควบคมุน้ําเสียการควบคมุขยะการควบคมุเสียงรบกวนการควบคมุความปลอดภัย

Page 3: การวิเคราะห ์พลังงาน สิ่งแวดล ...ftiweb.off.fti.or.th/demo/6101/sitedata/site22/articles... · 2015. 8. 6. · Presented by :

ISO 1400:ISO 14001 เป็นชุดของการจัดการสิ่งแวดล้อม มีจุดประสงค์ คือช่วย

องค์กรในการรักษาสิ่งแวดล้อม ป้องกันการปล่อยมลพิษ

EMAS:EMAS เป็นเครื่องมือในการบริหารจัดการสําหรับบริษัทหรือองค์กร

ในการประเมนิ รายงานและปรับปรุงการดําเนินการทางด้านสิ่งแวดล้อม

ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม (EMS)

Page 4: การวิเคราะห ์พลังงาน สิ่งแวดล ...ftiweb.off.fti.or.th/demo/6101/sitedata/site22/articles... · 2015. 8. 6. · Presented by :

การเปรียบเทียบระหว่างระบบ ISO 14001 และ EMAS

ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม (EMS)

Page 5: การวิเคราะห ์พลังงาน สิ่งแวดล ...ftiweb.off.fti.or.th/demo/6101/sitedata/site22/articles... · 2015. 8. 6. · Presented by :

การเปรียบเทียบระหว่างระบบ ISO 14001 และ EMAS

ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม (EMS)

Page 6: การวิเคราะห ์พลังงาน สิ่งแวดล ...ftiweb.off.fti.or.th/demo/6101/sitedata/site22/articles... · 2015. 8. 6. · Presented by :

การปล่อยสารพิษสู่อากาศจากอุตสาหกรรมแก้ว มาจาก 3 ส่วน ได้แก่ กิจกรรมการจัดเก็บและการจัดการวัตถุดิบ กิจกรรมการหลอม กิจกรรมที่ไม่มีการหลอม

กิจกรรมการหลอม เป็นกิจกรรมหลักในอุตสาหกรรมแก้วที่มีการปล่อยสารพิษสู่อากาศมากที่ สุด ซึ่ ง เป็นสารพิษที่ เกิดจากกระบวนการเผาไหม้และปฏิกิริยาออกซิเดชั่นความร้อนสูง เช่น ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ คาร์บอนไดออกไซด์ และออกไซด์ของไนโตรเจน รวมถึงฝุ่นละอองและโลหะในระดับต่ํา

การควบคุมมลภาวะทางอากาศ

Page 7: การวิเคราะห ์พลังงาน สิ่งแวดล ...ftiweb.off.fti.or.th/demo/6101/sitedata/site22/articles... · 2015. 8. 6. · Presented by :

เทคนิคการควบคมุการปล่อยมลภาวะจากการจัดเก็บและจัดการวัตถุดิบ แบง่ตามขั้นตอน ดังนี้

• ขั้นตอนการจัดเก็บ – ถา้เป็นโรงงานขนาดใหญ่ อาจจะใช้ไซโลแบบปิด และมกีารระบายไปสู่อุปกรณ์การกําจัดฝุน่ทีเ่หมาะสม ในกรณีโรงงานขนาดเลก็ อาจจะเก็บไว้ในภาชนะปิดหรือถุงปิดผนกึ

• ขั้นตอนการลําเลียง – ในการลําเลียงผ่านสายพานอาจจะต้องมีเครื่องป้องกันลม ซึ่งจะห่อหุ้มสายพานลาํเลียงไว้ทกุด้าน ในขณะที่ถ้าต้องมีการขนส่งด้วยลม จําเปน็ต้องมีระบบปิดผนกึด้วยทีก่รองก่อนปล่อยออก

การควบคุมมลภาวะทางอากาศ

Page 8: การวิเคราะห ์พลังงาน สิ่งแวดล ...ftiweb.off.fti.or.th/demo/6101/sitedata/site22/articles... · 2015. 8. 6. · Presented by :

เทคนิคการควบคมุการปล่อยมลภาวะจากกิจกรรมการหลอม แบ่งตามสารพิษที่ปล่อยจากกิจกรรม ดังนี้

• ฝุ่นละออง• NOx• SOx• F2 และ Cl2

• COx

การควบคุมมลภาวะทางอากาศ

Page 9: การวิเคราะห ์พลังงาน สิ่งแวดล ...ftiweb.off.fti.or.th/demo/6101/sitedata/site22/articles... · 2015. 8. 6. · Presented by :

มลพิษ จากฝุ่น1. เทคนิคขั้นต้น ได้แก่

• การปรบัเปลี่ยนวัตถุดิบ• การลดอุณหภูมิทีเ่ตาเผา• การวางตําแหน่งเตาเผา• การเปลีย่นไปใช้การเผาด้วยแก๊ส

การปรับเปลี่ยนโดยใชเ้ทคนิคขั้นต้นนั้นจะทาํได้ค่อนขา้งยาก เนื่องจาก เกี่ยวข้องกับการปรับเปลี่ยนวตัถุดิบและอุปกรณ์ทีใ่ชใ้นกระบวนการผลิต

การควบคุมมลภาวะทางอากาศ

Page 10: การวิเคราะห ์พลังงาน สิ่งแวดล ...ftiweb.off.fti.or.th/demo/6101/sitedata/site22/articles... · 2015. 8. 6. · Presented by :

มลพิษ จากฝุ่น2. เทคนิคขัน้ที่สอง ได้แก่

• อุปกรณ์กรองฝุ่นด้วยไฟฟ้าสถิต (เครื่องตกตะกอนด้วยไฟฟ้าสถิต)

• ที่กรองแบบถุง (ถุงกรอง)• ตัวกรองที่ทนอุณหภูมิสูง (high temperature filter media)• เครื่องกรองอากาศแบบเปียก (wet scrubber)

การควบคุมมลภาวะทางอากาศ

Page 11: การวิเคราะห ์พลังงาน สิ่งแวดล ...ftiweb.off.fti.or.th/demo/6101/sitedata/site22/articles... · 2015. 8. 6. · Presented by :

มลพิษ จากออกไซด์ของไนโตรเจน (NOx)มลพิษ NOx เกิดจาก 3 แหล่งหลัก คือ วัตถุดิบ เชื้อเพลิง และ NOx

ร้อน จากกระบวนการหลอมแก้ว ซึง่สามารถหลีกเลี่ยงได ้โดยควบคุมปัจจัยต่างๆ ที่มีผลต่อการเกิด NOx ร้อน ได้แก่ อุณหภูมิเปลวไฟ ปริมาณออกซิเจน และช่วงเวลาในการเผา ซึ่งจะเป็นการลดโอกาสในการเกิดไนโตรเจนและออกซิเจนขึ้นพร้อมกัน

วิธีที่เป็นไปได้ในการลดการปล่อยสารพิษ NOx สามารถทําได้ 2 วิธี คือ1. วิธีการขั้นต้น – การป้องกันการก่อตัวของ NOx2. วิธีการขั้นที่สอง – การบําบัดมลพิษก่อนปลดปล่อย NOx สู่อากาศ

การควบคุมมลภาวะทางอากาศ

Page 12: การวิเคราะห ์พลังงาน สิ่งแวดล ...ftiweb.off.fti.or.th/demo/6101/sitedata/site22/articles... · 2015. 8. 6. · Presented by :

1. เทคนิคขัน้ต้น ในการป้องกนัการก่อตวัของ NOx ได้แก่• การแก้ไขการเผาไหม้• สูตรของวัสดุที่ใช้• การออกแบบเตาเผาแบบพิเศษ• การหลอมด้วยเชื้อเพลิงออกซิเจน• ปฏิกิรยิาเคมีจากเชื้อเพลิง

การควบคุมมลภาวะทางอากาศมลพิษ จากออกไซด์ของไนโตรเจน (NOx)

Page 13: การวิเคราะห ์พลังงาน สิ่งแวดล ...ftiweb.off.fti.or.th/demo/6101/sitedata/site22/articles... · 2015. 8. 6. · Presented by :

การแก้ไขการเผาไหม้ สามารถทําได้โดยวิธีการดังต่อไปนี้การควบคุมมลภาวะทางอากาศ

วิธีการ การแก้ไข อุปกรณ์ ประสิทธิภาพ หมายเหตุอัตราส่วนของอากาศที่ถูกรีดิวซ์และเชื้อเพลิง

ควบคุมการรั่วของอากาศที่เข้าไปในเตาเผา โดยเฉพาะบริเวณรอบๆ หัวเผาและตัวป้อน

เบ้าภาชนะเผาผนึก

ลดการปล่อยมลพิษได้ 40%

ค่อนข้างถูกและมีประสิทธิภาพ

อุณหภูมิอากาศเผาไหม้ที่ถูกรีดิวซ์

ลดอุณหภูมิอากาศเผาไหม้ที่อุ่นล่วงหน้า

- N/A ประสิทธิภาพของเตาเผาและเชื้อเพลิงจะต่ําลงไปด้วย

การเผาไหม้เปน็ขั้นตอน

ป้อนอากาศเปน็ขั้นตอนอย่างสมดุลเพื่อใหเ้กิดการเผาไหม้ที่สมบูรณ์

- N/A ใช้กันทั่วไปในเตาเผาแบบดั้งเดิม

การไหลเวียนก๊าซเชื้อเพลิงซ้ํา

นําไอเสียจากเตาเผามาพ่นใส่เปลวไฟเพื่อลดออกซเิจนและอุณหภูมิ

46-59 % มีความยุ่งยากในการใช้ในอุตสาหกรรมแก้วเต็มรูปแบบ

หัวเผา NOx ต่ํา มีการผสมเชื้อเพลิงและอากาศช้ากว่า และความเร็วในการพ่นน้อย

หัวเผา NOx ต่ํา

30 % แบบของหัวฉีดที่แตกต่าง

การเลือกเชื้อเพลิง เตาเผาแบบก๊าซจะปล่อย NOx สูงกว่าน้ํามันเชื้อเพลิง

- N/A เลือกใหเ้หมาะสมกับสภาพเศรษฐกิจและนโยบายของรัฐ

Page 14: การวิเคราะห ์พลังงาน สิ่งแวดล ...ftiweb.off.fti.or.th/demo/6101/sitedata/site22/articles... · 2015. 8. 6. · Presented by :

ตัวอย่างการใช้งานระบบหัวเผา เทคโนโลยี Glass- FLOX โรงงานผลิตแก้วหลอดไฟ ประเทศเยอรมนี

ที่มา: ข้อมูลบริการ BINE, ข้อมูลโครงการ 05/2008

การควบคุมมลภาวะทางอากาศ

Page 15: การวิเคราะห ์พลังงาน สิ่งแวดล ...ftiweb.off.fti.or.th/demo/6101/sitedata/site22/articles... · 2015. 8. 6. · Presented by :

ข้อดีและข้อเสียของการการปรับแต่งการเผาไหม้

การควบคุมมลภาวะทางอากาศ

Page 16: การวิเคราะห ์พลังงาน สิ่งแวดล ...ftiweb.off.fti.or.th/demo/6101/sitedata/site22/articles... · 2015. 8. 6. · Presented by :

• ควรมีการออกแบบสูตรวัสดุในการผลิตแก้วให้เหมาะสม เพื่อให้เกิด NOx ต่ํา เนื่องจากไนเตรทเป็นสารออกซิไดซ์ และเป็นสารช่วยตกตะกอนในอุตสาหกรรมแก้ว

• ปริมาณไนเตรทต้นแบบที่แนะนําอยู่ที่ประมาณ 0.5-1% เชน่ NaNO35-10 กก. สําหรับแก้ว 1 ตัน

• ระดับไนเตรทจะลดลงได้โดยการทดสอบผลิตภัณฑ์และเงื่อนไขในการหลอมแบบเดียวกัน

สูตรวัสดุในการผลิต

การควบคุมมลภาวะทางอากาศ

Page 17: การวิเคราะห ์พลังงาน สิ่งแวดล ...ftiweb.off.fti.or.th/demo/6101/sitedata/site22/articles... · 2015. 8. 6. · Presented by :

• หลักการสําคัญคือ การออกแบบให้ได้เปลวไฟอณุหภูมิต่ํา• เตาเผาแบบนี้ที่รู้จักกนัดี ได้แก่ Sorg LoNOx และ Flex • มลพิษที่ปล่อยจากเตาเผาแบบ Sorg LoNOx อยู่ที่ 420-440 มก./นิวตัน

ม.3 ซึง่เทียบได้น้อยกว่า NOx 1 kg/แก้วหลอม 1 ตัน• ข้อจํากัดของเตาเผาแบบพิเศษนี้ คือ ต้องมีการอุ่นวัตถุดิบให้ร้อนก่อน

ดังนั้น เทคนิคนี้จะใช้ได้จรงิกับโรงงานที่มีเศษแก้วหลอมที่มาก เช่น มากกว่า 70% และมีการหลอมเต็มอัตราเท่านั้น

การออกแบบเตาเผาพิเศษ

การควบคุมมลภาวะทางอากาศ

Page 18: การวิเคราะห ์พลังงาน สิ่งแวดล ...ftiweb.off.fti.or.th/demo/6101/sitedata/site22/articles... · 2015. 8. 6. · Presented by :

• หลักการสําคัญคือ การแทนที่อากาศเผาไหม้ด้วยออกซิเจน (ความบริสุทธิ์ > 90%) ทําใหไ้ม่จาํเป็นต้องอุ่นไนโตรเจนในบรรยากาศให้เท่ากับอุณหภูมิเปลวไฟ

• เทคนิคนี้สามารถใชไ้ด้กับเชื้อเพลิงที่เป็นก๊าซธรรมชาติและน้ํามัน• เตาหลอมด้วยเชื้อเพลิงออกซิเจน สามารถลดการปล่อย NOx ได้

ถึง 70-90% ซึง่เทียบได้น้อยกว่า 1 kg/แก้วหลอม 1 ตัน

การหลอมด้วยเชื้อเพลิงออกซิเจน

การควบคุมมลภาวะทางอากาศ

Page 19: การวิเคราะห ์พลังงาน สิ่งแวดล ...ftiweb.off.fti.or.th/demo/6101/sitedata/site22/articles... · 2015. 8. 6. · Presented by :

• หลักการสําคัญคือ การเติมเชื้อเพลิงให้แก่กระแสไอเสียเพื่อลด NOx ทางเคมีไปเป็น N2 ผ่านปฏิกิริยาเคมีต่างๆ

• เทคนิคหลัก 2 อย่าง สําหรับหลักการนี้ คือ กระบวนการ 3R และกระบวนการเผาซ้ํา

• เทคนิคนี้ สามารถลดการปล่อย NOx ได้ถึง 70-85% ซึง่เทียบเท่ากับ 1.0 – 1.5 kg/แก้วหลอม 1 ตัน

• ข้อจํากัดของเทคนิคนี้ คือ การบริโภคพลังงานที่มากเป็นพิเศษ

ปฏิกิริยาเคมีจากเชื้อเพลิง

การควบคุมมลภาวะทางอากาศ

Page 20: การวิเคราะห ์พลังงาน สิ่งแวดล ...ftiweb.off.fti.or.th/demo/6101/sitedata/site22/articles... · 2015. 8. 6. · Presented by :

การควบคุมมลภาวะทางอากาศกระบวนการเลือกใช้เคมีแบบไม่ต้องมีตัวเร่ง (Selective non-catalytic reduction, SNCR)

• กระบวนการที่ใช้บ่อยที่สุด คือ การเปลี่ยนไนโตรเจนออกไซดไ์ปเป็นไนโตรเจนและน้ําด้วยแอมโมเนีย

• ภาวะที่เหมาะสมสําหรับเทคนิคนี้ คือ ภายใต้อุณหภูมิ 850 – 1050 ๐C ปฏิกิรยิาจะดําเนินได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ

• เทคนิคนี้ สามารถลดการปล่อย NOx ได้ถึง 30-70% ซึง่เทียบเท่ากับ 1.0– 1.5 kg/แก้วหลอม 1 ตัน

• ข้อจํากัดของเทคนิคนี้ คือ พื้นที่ที่เกิดอุณหภูมิอาจยากที่จะเข้าไปหรอือยู่ในตําแหน่งการไหลของก๊าซ ซึง่จะมีผลกับการเกิดปฏิกิริยา

Page 21: การวิเคราะห ์พลังงาน สิ่งแวดล ...ftiweb.off.fti.or.th/demo/6101/sitedata/site22/articles... · 2015. 8. 6. · Presented by :

การควบคุมมลภาวะทางอากาศกระบวนการเลือกใช้เคมีแบบมีตัวเร่ง (Selective catalytic reduction, SCR)

• กระบวนการที่ใช้บ่อยที่สุด คือ การเปลี่ยนไนโตรเจนออกไซดไ์ปเป็นไนโตรเจนและน้ําด้วยแอมโมเนีย

• ภาวะที่เหมาะสมสําหรับเทคนิคนี้ คือ ภายใต้อุณหภูมิ 200-400 ๐C โดยต้องมีตัวเร่งปฏิกิริยาเข้ามาช่วย

• ตัวเร่งปฏิกิรยิาที่ใช้ เช่น สารละลายน้ํากระด้าง NH3 25% หรอื ยูเรีย• เทคนิคนี้ สามารถลดการปล่อย NOx ได้ถึง 70-95%• ข้อจํากัดของเทคนิคนี้ คือ จําเป็นต้องติดตั้งกับเครื่องกรองฝุ่นและเครื่อง

กรองกา๊ซกรดด้วย ฝุ่นและ SO2

Page 22: การวิเคราะห ์พลังงาน สิ่งแวดล ...ftiweb.off.fti.or.th/demo/6101/sitedata/site22/articles... · 2015. 8. 6. · Presented by :

การควบคุมมลภาวะทางอากาศกระบวนการเลือกใช้เคมีแบบมีตัวเร่ง

Page 23: การวิเคราะห ์พลังงาน สิ่งแวดล ...ftiweb.off.fti.or.th/demo/6101/sitedata/site22/articles... · 2015. 8. 6. · Presented by :

มลพิษ จากออกไซด์ของกํามะถัน (SOx)มลพิษ NOx เกิดจาก 2 แหล่งหลัก คือ ปฏิกิริยาออกซิเดชั่นของ

กํามะถันในเชื้อเพลิง และการสลายตัว/ออกซิเดชั่นของสารประกอบกํามะถันในวัสดุหลอมแก้ว

วิธีที่เป็นไปได้ในการลดการปล่อยสารพิษ SOx สามารถทําได้ 2 วิธี คือ1. การเลือกเลื้อเพลิง2. การกําหนดวัสดุในการหลอม3. เครือ่งกรองอากาศแบบอบแห้ง หรือกึง่แห้ง

การควบคุมมลภาวะทางอากาศ

Page 24: การวิเคราะห ์พลังงาน สิ่งแวดล ...ftiweb.off.fti.or.th/demo/6101/sitedata/site22/articles... · 2015. 8. 6. · Presented by :

การควบคุมมลภาวะทางอากาศการเลือกเชื้อเพลิง

ปริมาณการปล่อยสารพิษ SOx ในไอเสียแก้วเตาเผาของเชื้อเพลิงต่างๆ

ที่มา: เอกสาร BREF อุตสาหกรรมการผลิตแก้ว

การกําหนดวัสดุในการหลอม เตาเผาแก้วแบบดั้งเดิม SOx จะเกิดจากซัลเฟท ซึง่เป็นสารช่วยตกตะกอน

และสารออกซไิดซ์ที่สําคัญ ในกระบวนการหลอม แต่ในปัจจุบันเตาเผาแก้วสมัยใหม่ส่วนใหญ่ ระดับซัลเฟทในวัสดุหลอมถูกลดลงจนต่ํามากในทางปฏิบัติ

Page 25: การวิเคราะห ์พลังงาน สิ่งแวดล ...ftiweb.off.fti.or.th/demo/6101/sitedata/site22/articles... · 2015. 8. 6. · Presented by :

การควบคุมมลภาวะทางอากาศเครื่องกรองอากาศแบบแห้ง และแบบกึ่งแห้ง

• เครื่องกรองทัง้ 2 แบบ ใช้หลักการเดี่ยวกัน คือ ตัวดูดซับจะถูกนําเข้ามาและแพร่ในกระแสไอเสีย ซึง่จะทาํปฏิกิริยากับ SOx เพื่อก่อตัวเป็นของแข็ง แล้วนําไปผ่านการตกตะกอนด้วยไฟฟ้า หรือระบบถุงกรองต่อไป

• ตัวดูดซับที่ใช้ ได้แก่ แป้งแห้ง (เช่น Ca(OH)2, NaHCO3, Na2(CO)3, CaO เป็นต้น)

• กระบวนการนี้ สามารถลดการปล่อย SOx ได้ระหว่าง 10 และ 90% ขึ้นอยู่กับอัตราส่วนตัวดูดซับ/SOx อุณหภูมิ ชนิดตัวดูดซับ เป็นต้น

• ในอุตสาหกรรมแก้ว กระบวนการแหง้พบได้บ่อยกว่าอุตสาหกรรมกึ่งแหง้

Page 26: การวิเคราะห ์พลังงาน สิ่งแวดล ...ftiweb.off.fti.or.th/demo/6101/sitedata/site22/articles... · 2015. 8. 6. · Presented by :

เทคนิคการควบคมุการปล่อยมลภาวะจากกิจกรรมที่ไม่ใช่การหลอม

กิจกรรมที่ไม่ใช้การหลอม ครอบคลุมกิจกรรมดังตอ่ไปนี้ เช่น การขึ้นรูปผลิตภัณฑ์ การขึ้นรูปชิ้นส่วนในกระบวนการหลักต่างๆ ซึง่จะถูกเรียกว่า กิจกรรมอันดับล่าง (Downstream activities)

การควบคุมมลภาวะทางอากาศ

Page 27: การวิเคราะห ์พลังงาน สิ่งแวดล ...ftiweb.off.fti.or.th/demo/6101/sitedata/site22/articles... · 2015. 8. 6. · Presented by :

ตัวอย่างเทคนคิการลดการปล่อยสารพิษ จากกิจกรรมที่ไม่ใช่การหลอมการควบคุมมลภาวะทางอากาศ

Page 28: การวิเคราะห ์พลังงาน สิ่งแวดล ...ftiweb.off.fti.or.th/demo/6101/sitedata/site22/articles... · 2015. 8. 6. · Presented by :

น้ําเสียจากอุตสาหกรรมแก้ว โดยทั่วไปเกิดจาก แก้วของแข็ง การปนเปือ้นด้วยน้ํามันบางอย่าง วัสดุทําแก้วที่ละลายได้บางชนิด และสารเคมีในการบําบัดระบบระบายความร้อน เป็นต้น

การควบคุมน้ําเสีย

Page 29: การวิเคราะห ์พลังงาน สิ่งแวดล ...ftiweb.off.fti.or.th/demo/6101/sitedata/site22/articles... · 2015. 8. 6. · Presented by :

แหล่งที่มาของการปล่อยมลพิษทางน้ํา1. น้ําระบายความร้อน2. น้ําประปา3 .การตัดแบบหล้อเย็น4. น้ําในกระบวนการขึ้นรูป5. น้ําเสียจากเครื่องกรองอากาศ6. การแปรรูปเชิงกล7. การเคลือบ8. การแปรรูปทางเคมี9. แหล่งอื่นๆ เช่น การหกรัว่ของวัตถุดิบ น้ําระบายที่พื้นผิว

การควบคุมน้ําเสีย

Page 30: การวิเคราะห ์พลังงาน สิ่งแวดล ...ftiweb.off.fti.or.th/demo/6101/sitedata/site22/articles... · 2015. 8. 6. · Presented by :

วิธีในการป้องกันและควบคุมน้ําเสีย ได้แก่1. การลดการบริโภคน้ําและลดการปล่อยความร้อนลงในน้ํา2. การลดการปล่อยสารเคมีลงไปในน้ํา3 .การลดการใช้ยาฆ่าแมลงด้วยการจ่ายยาแบบเป้า4. การลดการรั่วไหล5. การมองหาการประหยัดพลังงานโดยรวมสูงสุด เมื่อเลือกระหว่างการระบายน้ําแบบเปียก แบบแหง้ และทั้งแบบเปียกและแหง้ ขึ้นอยู่กับความต้องการของกระบวนการและสถานที่6. การลดการบริโภคพลังงานโดยตรง และการลดความต้านทานน้ําและ/หรอือากาศในระบบระบายความร้อนโดยการใช้เครื่องมือประหยัดพลังงานสมัยใหม่

การควบคุมน้ําเสีย

Page 31: การวิเคราะห ์พลังงาน สิ่งแวดล ...ftiweb.off.fti.or.th/demo/6101/sitedata/site22/articles... · 2015. 8. 6. · Presented by :

แหล่งที่มาของการปล่อยมลพิษทางน้ํา1. ขยะวัสดุในการหลอม2. ผุ่นที่รวบรวมจากกระแสไอเสีย3 .ผลผลิตของเสีย4. ขยะของแข็งจากระบบบําบัดน้ําเสีย5. วัสดุเตาเผา

การควบคุมขยะ

Page 32: การวิเคราะห ์พลังงาน สิ่งแวดล ...ftiweb.off.fti.or.th/demo/6101/sitedata/site22/articles... · 2015. 8. 6. · Presented by :

วิธีในการป้องกันและควบคุมขยะ ได้แก่1. การรไีซเคิลวัสดุหลอมที่มีคุณภาพตามกําหนด2. การลดการสูญเสียวัสดุให้น้อยที่สุดระหว่างการเก็บและการจัดการวัตถุดิบ3 .การรไีซเคิลเศษแก้วภายในจากการผลิตที่ถูกตีกลับ การรไีซเคิลฝุ่นกรองในการผสมวัสดุใชห้ลอมที่มีคุณภาพเพียงพอ

การควบคุมขยะ

Page 33: การวิเคราะห ์พลังงาน สิ่งแวดล ...ftiweb.off.fti.or.th/demo/6101/sitedata/site22/articles... · 2015. 8. 6. · Presented by :

เสียงจากระบวนการผลิตแก้ว แหล่งที่มาสําคญัของมลพิษทางเสียง ได้แก่ อากาศแรงดันในระบบระบายอากาศ พัดลมในระบบเผาไหม้ พัดลมในระบบแยกไอเสีย เครื่องขึ้นรูป เครื่องตัด การเจีย การขัด เป็นต้น

วิธีในการป้องกันและควบคุมเสียงรบกวน ได้แก่1. การรไีซเคิลวัสดุหลอมที่มีคุณภาพตามกําหนด2. การลดการสูญเสียวัสดุให้น้อยที่สุดระหว่างการเก็บและการจัดการวัตถุดิบ3 .การรไีซเคิลเศษแก้วภายในจากการผลิตที่ถูกตีกลับ การรไีซเคิลฝุ่นกรองในการผสมวัสดุใชห้ลอมที่มีคุณภาพเพียงพอ

การควบคุมเสียงรบกวน

Page 34: การวิเคราะห ์พลังงาน สิ่งแวดล ...ftiweb.off.fti.or.th/demo/6101/sitedata/site22/articles... · 2015. 8. 6. · Presented by :

การควบคุมความปลอดภัย

การควบคุมความปลอดภยั แบ่งออกได้ ดังนี้

1. ความปลอดภัยด้านสิ่งแวดล้อม2. ความปลอดภัยต่อการทํางานและสุขภาพ

Page 35: การวิเคราะห ์พลังงาน สิ่งแวดล ...ftiweb.off.fti.or.th/demo/6101/sitedata/site22/articles... · 2015. 8. 6. · Presented by :

การควบคุมความปลอดภัย

ผลกระทบในอุตสาหกรรมแก้วที่อาจจะเกิดขึ้นต่อสิ่งแวดล้อม ชุมชนผู้อยู่อาศัย หรอือุตสาหกรรมใกล้เคียงมีเพยีงเล็กน้อย โดยทั่วไปปริมาณของสสารที่ใช้ในอุตสาหกรรมแก้วมีปริมาณน้อยเกินกว่าที่จะเป็นสาเหตุก่อให้เกิดอันตรายได้ อย่างไรก็ตาม ความเสี่ยงที่ก่อให้เกิดอันตรายอาจเกิดจากการจัดเก็บ และการจัดการวัสดุของเหลวหรือของแข็งที่สามารถติดไฟควรมีการจดัระดับความเสี่ยงในกระบวนการทํางานที่กําลังดําเนินการอยู่

การควบคุมความปลอดภยัด้านสิ่งแวดล้อม

Page 36: การวิเคราะห ์พลังงาน สิ่งแวดล ...ftiweb.off.fti.or.th/demo/6101/sitedata/site22/articles... · 2015. 8. 6. · Presented by :

ชนิดและปริมาณของวัสดุที่ติดไฟได้ และวัสดุของแข็งที่ใช้ในอุตสาหกรรมแก้ว ควรมีการจดบันทึกและรวบรวมเป็นตารางสรุปผลซึ่งมีข้อมูล ดังต่อไปนี้•ชื่อและรายละเอียดของวัตถุอันตราย เช่น ส่วนประกอบของสารผสม (เช่น ส่วนประกอบในการผสม)•การจัดกลุ่มของวัตถุอันตราย (เช่น ระบุโค้ด กลุ่ม หรือประเภท)•ปริมาณการใช้วัตถุอันตรายต่อเดือน•ลักษณะของการเกิดอันตราย (เช่น การติดไฟ ความเป็นพิษ)

การควบคุมความปลอดภยัด้านสิ่งแวดล้อม

การควบคุมความปลอดภัย

Page 37: การวิเคราะห ์พลังงาน สิ่งแวดล ...ftiweb.off.fti.or.th/demo/6101/sitedata/site22/articles... · 2015. 8. 6. · Presented by :

• อันตรายจากการจัดการ / การจดัระเบียบองค์กร• อันตรายจากเครื่องกล• อันตรายจากกระแสไฟฟ้า• สสารอนัตราย / สารชวีภาพ• อันตรายจากเพลิงไหม้ และ การระเบิด• อันตรายจากความร้อน• อันตรายที่มีผลกระทบทางกายภาพโดยเฉพาะ• อันตรายจากสภาพแวดล้อมการทํางาน• ภาระต่อร่างกาย / การทํางานหนัก / ปัจจจัยด้านจิตใจ

ความปลอดภยัต่อการทํางานและสุขภาพ สามารถจัดตามกลุ่มของความเสี่ยง ได้ดังต่อไปนี้

การควบคุมความปลอดภัย

Page 38: การวิเคราะห ์พลังงาน สิ่งแวดล ...ftiweb.off.fti.or.th/demo/6101/sitedata/site22/articles... · 2015. 8. 6. · Presented by :

อันตรายต่ออาชีวอนามัยและความปลอดภัยส่วนใหญ่เกิดขึ้นระหว่างขั้นตอนการผลิตแก้วของโรงงาน และรวมทัง้ขั้นตอนพื้นฐาน ดังต่อไปนี้•การสัมผัสถูกความร้อน•การรับเสียงรบกวน•การรับสารอันตรายเข้าทางระบบหายใจ•อันตรายด้านกายภาพ•อันตรายจากไฟฟ้า

ความปลอดภยัและสุขภาพในการประกอบอาชีพ สําหรับการทํางานในอุตสาหกรรมการผลิตแก้ว

การควบคุมความปลอดภัย

Page 39: การวิเคราะห ์พลังงาน สิ่งแวดล ...ftiweb.off.fti.or.th/demo/6101/sitedata/site22/articles... · 2015. 8. 6. · Presented by :

วิธีการป้องกันและควบคุม - การสัมผัสถูกความร้อน

• ลดเวลาที่ใชใ้นการทางานในสภาพแวดล้อมที่มอีุณหภูมิสูงลง ลดการดําเนนิงานในพื้นที่เหล่านัน้ลง

• ป้องกันความร้อนที่มากเกินไปในสถานทีท่ํางาน การระบายอากาศทีเ่พียงพอ และมีอากาศเย็นไหลผ่านเพื่อไล่ควันและฝุ่นออกจากสถานทีท่ํางาน

• การเพิ่มอากาศ หรือออกซเิจน ตามความต้องการ เพื่อชว่ยในการหายใจ• ป้องกันพื้นผิวทีใ่กล้ชิดกับคนงานและรวมถึงการสัมผสักับอุปกรณ์ที่ร้อน จําเปน็ต้องใช้

อปุกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล (PPE) รวมถึงถุงมือป้องกันและรองเท้า

การควบคุมความปลอดภัยความปลอดภยัต่อการทํางานและสุขภาพ

Page 40: การวิเคราะห ์พลังงาน สิ่งแวดล ...ftiweb.off.fti.or.th/demo/6101/sitedata/site22/articles... · 2015. 8. 6. · Presented by :

วิธีการป้องกันและควบคุม - การรับเสยีงรบกวนในกระบวนการขึน้รูปภาชนะแกว้จะเกิดความดันสูงในกระบวนการขึ้นรปูเย็นซึ่งอาจสูงถึง 100 เดซิเบลหรือมากกว่า ดังนั้นควรมีวิธีการปเองกันสขุภาพของพนักงานทีเ่กีย่วข้อง ดังนี้•การควรระบุพื้นที่ในการใชเ้สียงแตล่ะระดับให้ชัดเจน •การใชเ้ครื่องกําจัดเสียงกับท่อไอเสียทีเ่กิดเสียงมาจากลม•การลดการใชเ้ครือ่งอานวยความสะดวกเพื่อทาความเย็นทั้งการกระจายด้านขวาง และขอบรอบๆ•ใช้หัวฉีดที่มีหลายรู เช่นอุปกรณ์ฉีดพ่น

การควบคุมความปลอดภัยความปลอดภยัต่อการทํางานและสุขภาพ

Page 41: การวิเคราะห ์พลังงาน สิ่งแวดล ...ftiweb.off.fti.or.th/demo/6101/sitedata/site22/articles... · 2015. 8. 6. · Presented by :

วิธีการป้องกันและควบคุม - การรับสารอันตรายเข้าทางระบบหายใจตัวอย่างสารอันตรายจากอุตสาหกรรมผลิตแก้ว ยกตัวอย่างเช่น•แร่ใยหินสังเคราะห์บนวงแหวนแบบจุ่ม หรือวัสดุทีเ่ป็นฉนวน•น้าผสมน้ามันสาหรับหล่อเย็นกรรไกรตัด•น้ามันหล่อลื่นแม่พิมพ์ และ ไอระเหยและควัน•สารประกอบอินทรีย์ กรดไฮโดรคลอริคที่ใชส้าหรับเคลือบในการหลอม•ก๊าซติดไฟ

การควบคุมความปลอดภัยความปลอดภยัต่อการทํางานและสุขภาพ

Page 42: การวิเคราะห ์พลังงาน สิ่งแวดล ...ftiweb.off.fti.or.th/demo/6101/sitedata/site22/articles... · 2015. 8. 6. · Presented by :

วิธีการป้องกันและควบคุม - การรับสารอันตรายเข้าทางระบบหายใจ

วิธีการป้องกันและควบคุมอันตรายจากสารเคมี•ใช้ทดแทน โดยการค้นหา/ ทดสอบ•ทาการลงทะเบียนวัตถุอันตราย•ค้นหาความเสี่ยงจากการสัมผสัถูกวัตถุอันตราย•มีคาสั่งพักการใช้สารทีเ่ป็นวัตถุอันตรายตามกฎหมาย•ฝกึอบรมผู้ประกันตน

การควบคุมความปลอดภัยความปลอดภยัต่อการทํางานและสุขภาพ

Page 43: การวิเคราะห ์พลังงาน สิ่งแวดล ...ftiweb.off.fti.or.th/demo/6101/sitedata/site22/articles... · 2015. 8. 6. · Presented by :

วิธีการป้องกันและควบคุม - อันตรายด้านกายภาพ

• อันตรายทีเ่กิดจากเศษแก้วและอนุภาคของเศษแก้วที่กระเด็นอันก่อให้เกิดการบาดเจ็บที่ดวงตาเป็นปจัจัยเสี่ยงปกติทีเ่กิดในการผลิตแก้ว และควรทําการป้องกันโดยการใชก้ระจกนิรภัยสาหรับพนกังานและผูเ้ยี่ยมชม

• การบาดเจ็บจากการตัดกระจกสามารถเกดิได้ในกรณีทีก่ระจกเกิดการแตกในระหว่างการทางาน ควรลดความเสี่ยงของการบาดเจ็บโดยการใช้ระบบหยุดการตัดโดยอัตโนมัติ และใช้ถุงมือและอุปกรณ์ป้องกันสาหรับพนักงานทีต่้องทํางานกับกระจก

การควบคุมความปลอดภัยความปลอดภยัต่อการทํางานและสุขภาพ

Page 44: การวิเคราะห ์พลังงาน สิ่งแวดล ...ftiweb.off.fti.or.th/demo/6101/sitedata/site22/articles... · 2015. 8. 6. · Presented by :

วิธีการป้องกันและควบคุม - อันตรายจากไฟฟ้า• การเพิ่มขึ้นของสนามไฟฟ้า สนามแม่เหล็ก และสนามแมเ่หล็กไฟฟ้า ภายในโรงงาน

สําหรับเครื่องจักรผลิตแก้วแบบกลวง เนื่องจากมีการเพิม่ขึ้นของเครื่องหลอมแก้วและอุปกรณ์ที่ใชส้าหรับการลาํเลียง จําเป็นต้องมีมาตรการเพื่อป้องกันอันตรายต่อชีวิตและสุขภาพในการทํางาน

• อุปกรณ์หรือเครือ่งจักรทีต่ั้งอยู่ในกระบวนการผลิตจําเปน็ต้องอยู่ภายใต้การควบคุมของช่างไฟฟ้าหรือคําสั่งของหัวหน้าวิศวกรไฟฟ้า ในการปรับแต่ง หรือการซ่อมบํารุงจะต้องมั่นใจว่าการทํางานของระบบไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้าเปน็ไปตามกฏ สําหรับการติดตั้งระบบไฟฟ้าและอุปกรณ์ต้องมีการตรวจสอบ (เริ่มและทดสอบเป็นระยะๆ)

การควบคุมความปลอดภัยความปลอดภยัต่อการทํางานและสุขภาพ

Page 45: การวิเคราะห ์พลังงาน สิ่งแวดล ...ftiweb.off.fti.or.th/demo/6101/sitedata/site22/articles... · 2015. 8. 6. · Presented by :

Thank youThank you

PadungsakPadungsak UU--nontakarnnontakarn

Bright Management Consulting Co., Ltd.Bright Management Consulting Co., Ltd.Tel : 0Tel : 0--26422642--1270, Fax : 01270, Fax : 0--26422642--12421242email : email : padungsaku@[email protected]