วิชาเอกการเง ิน · 2.3 ชื่อเต็มภาษาอ...

82
หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต วิชาเอกการเงิน (หลักสูตรปรับปรุง .. 2548) คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี กระทรวงศึกษาธิการ

Upload: others

Post on 12-Jan-2020

4 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: วิชาเอกการเง ิน · 2.3 ชื่อเต็มภาษาอ ังกฤษ Bachelor of Business Administration (Finance) 2.4 ชื่อย อภาษาอ

หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิตวิชาเอกการเงิน

(หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2548)

คณะบริหารธุรกิจมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

กระทรวงศึกษาธิการ

Page 2: วิชาเอกการเง ิน · 2.3 ชื่อเต็มภาษาอ ังกฤษ Bachelor of Business Administration (Finance) 2.4 ชื่อย อภาษาอ

หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิตวิชาเอกการเงิน

(หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2548)

คณะบริหารธุรกิจมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

กระทรวงศึกษาธิการ

Page 3: วิชาเอกการเง ิน · 2.3 ชื่อเต็มภาษาอ ังกฤษ Bachelor of Business Administration (Finance) 2.4 ชื่อย อภาษาอ

คํานํา

หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต วิชาเอกการเงิน ฉบับนี้เปนฉบับปรับปรุงครั้งท่ี 2 ในปพุทธศักราช 2548 เพื่อใชในการจัดการศึกษาของคณะบริหารธุรกิจ ภาควิชาการเงิน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การปรับปรุงครั้งนี้ไดพิจารณาใหมีกลุมวิชาชีพเพิ่มขึ้นเพื่อใหสอดคลองตอการพัฒนาทางเทคโนโลยีและเปนการรองรับถึงสถานการณท่ีคาดวาจะมีการเปล่ียนแปลงในอนาคต โดยมีการจัดเนื้อหาหลักสูตรมุงท้ังทฤษฎีและปฏิบัติรวมท้ังการสัมมนา การสรางแบบจําลอง การอภิปรายปญหาตาง ๆ ทางวิชาการ ซ่ึงคาดหวังวา นักศึกษาท่ีสําเร็จตามหลักสูตรนี้มีความรู ความสามารถและทักษะระดับมาตรฐานสากลรวมทั้งเปนผูมีความรับผิดชอบและมี คุณธรรมในการปฏิบัติงานเพื่อประโยชนตอสังคมและประเทศชาติตอไป

หลักสูตรฉบับนี้ประกอบดวยวัตถุประสงคของหลักสูตร โครงสรางหลักสูตร แผนการเรียนและคําอธิบายรายวิชา การที่จะนําหลักสูตรฉบับนี้ไปใชในการดําเนินการเรียนการสอนควรพิจารณาใหสอดคลองกับความมุงหมายและปรัชญาการศึกษา เพื่อชวยใหสามารถใชหลักสูตรไดอยางมีประสิทธิภาพและตรงตามวัตถุประสงคของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

คณะบริหารธุรกิจมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

Page 4: วิชาเอกการเง ิน · 2.3 ชื่อเต็มภาษาอ ังกฤษ Bachelor of Business Administration (Finance) 2.4 ชื่อย อภาษาอ

สารบัญหนา

วัตถุประสงคของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี กปรัชญาการจัดการศึกษาของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ขชื่อหลักสูตร 1ชื่อปริญญา 1หนวยงานที่รับผิดชอบ 1วัตถุประสงคของหลักสูตร 1กําหนดการเปดสอน 2คุณสมบัติของผูมีสิทธิ์เขาศึกษา 2วิธีการคัดเลือกผูเขาศึกษา 2ระบบการศึกษา 2ระยะเวลาการศึกษา 3การลงทะเบียนเรียน 3การวัดผลและการสําเร็จการศึกษา 3อาจารยผูทําการสอน 5จํานวนนักศึกษา 6สถานที่และอปุกรณการสอน 6หองสมุด 6งบประมาณ 7หลักสูตร 7

- จํานวนหนวยกิตรวมตลอดหลักสูตร 7- โครงสรางของหลักสูตร 7- รายวิชา 8- แผนการศึกษา 20- คําอธิบายรายวิชา 29

ขอแตกตางระหวางหลักสูตรเดิมและหลักสูตรปรับปรุง 67

Page 5: วิชาเอกการเง ิน · 2.3 ชื่อเต็มภาษาอ ังกฤษ Bachelor of Business Administration (Finance) 2.4 ชื่อย อภาษาอ

- ก -

วัตถุประสงค

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เปนสถาบันการศึกษาและการวิจัย มีวัตถุประสงคที่จะผลิตครูอาชีวศึกษาระดับปริญญาตรี ใหการศึกษาทางดานวิชาชีพทั้งระดับต่ํากวาปริญญาระดับปริญญาตรีและประกาศนียบัตรชั้นสูง ทําการวิจัยสงเสริมการศึกษาดานวิชาชีพ และใหบริการทางวิชาการแกสังคม

Page 6: วิชาเอกการเง ิน · 2.3 ชื่อเต็มภาษาอ ังกฤษ Bachelor of Business Administration (Finance) 2.4 ชื่อย อภาษาอ

- ข -

ปรัชญาการศึกษา

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี จัดการศึกษาโดยมุงเนนพัฒนากําลังคนใหมีคุณสมบัติ พรอมที่จะประยุกตและพัฒนาเทคโนโลยี เพ่ือการพัฒนาสังคมและเศรษฐกิจของประเทศไทย

Page 7: วิชาเอกการเง ิน · 2.3 ชื่อเต็มภาษาอ ังกฤษ Bachelor of Business Administration (Finance) 2.4 ชื่อย อภาษาอ

หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิตวิชาเอกการเงิน

(หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2548)

1. ชื่อหลักสูตร1.1 ช่ือภาษาไทย หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต วิชาเอกการเงิน1.2 ช่ือภาษาอังกฤษ Bachelor of Business Administration Program in Finance

2. ชื่อปริญญา2.1 ช่ือเต็มภาษาไทย บริหารธุรกิจบัณฑิต (การเงิน)2.2 ช่ือยอภาษาไทย บธ.บ. (การเงิน)2.3 ช่ือเต็มภาษาอังกฤษ Bachelor of Business Administration (Finance)2.4 ช่ือยอภาษาอังกฤษ B.B.A. (Finance)

3. หนวยงานที่รับผิดชอบ ภาควิชาการเงินคณะบริหารธุรกิจมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

4. วัตถุประสงคของหลักสูตร4.1 เพื่อใหผูสําเร็จการศึกษา สามารถปฏิบัติในหนาที่เกี่ยวกับการบริหารงานทางดานการเงิน

และการประกันภัย รวมถึงการเปนผูมีความรูความสามารถดานการบริหารทั่วไป เกี่ยวกับการวางแผนการตัดสินใจ การติดตอประสานงาน การควบคุม และการติดตามประเมินผล

4.2 เพื่อปรับปรุงคุณภาพขององคความรูของผูสําเร็จการศึกษาใหทันตอสถานการณที่มีการเปลี่ยนแปลง และสามารถนําไปวิเคราะหสถานการณทางเศรษฐกิจปจจุบัน รวมไปถึงการประเมินสถานการณที่จะเกิดขึ้นในอนาคต

4.3 เพื่อฝกใหเปนผูมีความคิดริเร่ิม มนีิสัยชอบการคนควา เปนผูใฝรู และรูจักปรับปรุงตนเองใหเปนผูมีความกาวหนา รูจักการแกปญหา และสามารถนําความรูไปประยุกตใชในการประกอบอาชีพ

Page 8: วิชาเอกการเง ิน · 2.3 ชื่อเต็มภาษาอ ังกฤษ Bachelor of Business Administration (Finance) 2.4 ชื่อย อภาษาอ

2

4.4 เพื่อเพิ่มความหลากหลายของสาขางานดานการเงิน เพื่อใหผูสําเร็จการศึกษา มีความรูความสามารถในดานตาง ๆ ที่สนใจเพิ่มมากขึ้น และเปนการรองรับตอการพัฒนาของประเทศที่กาวไปสูสากลมากขึ้น

4.5 เพื่อปลูกฝงจิตสํานึกที่ดีดานความรับผิดชอบตองาน ตอสังคม รวมถึงการพัฒนาดานคุณธรรมและจริยธรรม ความซื่อสัตย โดยเฉพาะอยางยิ่ง การสรางจิตสํานึกของจรรยาบรรณในวิชาชีพ

5. กําหนดการเปดสอนจะเปดดําเนินการเรียนการสอนตามหลักสูตร ตั้งแตปการศกึษา 2548 เปนตนไป

6. คุณสมบัติของผูมีสิทธ์ิเขาศึกษา6.1 รับผูสําเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

(ม.6) หรือเทียบเทา6.2 รับผูสําเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยชุมชนที่มีคุณวุฒิ และสาขาเทียบเทาตามที่สถาบันฯ

กําหนด6.3 รับผูสําเร็จการศึกษาระดับอนุปริญญา และมีสาขาเทียบเทาตามที่สถาบันฯกําหนด

7. วิธีการคัดเลือกผูเขาศึกษาโดยวิธีการสอบคัดเลอืกตามระเบียบการสอบคัดเลือก เพื่อศึกษาตอระดับปริญญาตรี

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี และ/หรือ ระเบียบการสอบคัดเลือกเพื่อศึกษาตอระดับปริญญาตรีของสํานักงานคณะกรมมการการอุดมศึกษา

8. ระบบการศึกษา8.1 การจัดการศึกษา

ใชระบบทวิภาค โดยแบงเวลาการศึกษาในปการศึกษาหนึ่ง ๆ ออกเปน 2 ภาคการศึกษาปกติ ซ่ึงเปนภาคการศึกษาบังคับ คือ

ภาคการศึกษาที่หนึ่ง ตั้งแตวันจันทรแรกของเดือนมิถุนายนเปนตนไป รวม 18 สัปดาหภาคการศกึษาที่สอง ตั้งแตวันจันทรแรกของเดือนพฤศจิกายนเปนตนไป รวม 18 สัปดาหและ คณะบริหารธุรกิจอาจเปดภาคการศึกษาฤดูรอน ซ่ึงเปนภาคการศึกษาที่ไมบังคับ ใชเวลา

ศึกษา 6 – 9 สัปดาห โดยใหเพิ่มคาบการศึกษาในแตละวิชาใหเทากับภาคการศึกษาปกติหรือ เปดภาคการศึกษาตามระยะเวลาที่เหมาะสมตอการจัดการศึกษา โดยใหมีระยะเวลาในการ

ศึกษาแตละภาคการศึกษา 18 สัปดาหหรือเทียบเทา

Page 9: วิชาเอกการเง ิน · 2.3 ชื่อเต็มภาษาอ ังกฤษ Bachelor of Business Administration (Finance) 2.4 ชื่อย อภาษาอ

3

8.2 การคิดหนวยกิต8.2.1 รายวิชาบรรยาย (ภาคทฤษฎี) ที่เทียบเทา 1 คาบตอสัปดาห ตลอดภาคการ

ศึกษา คิดเปนปริมาณการศึกษา 1 หนวยกิต8.2.2 รายวิชาปฏิบัติ (ภาคปฏิบัติ) ที่ใชเวลาปฏิบัติ 2 – 3 คาบตอสัปดาห ตลอดภาค

การศึกษา คิดเปนปริมาณการศึกษา 1 หนวยกิต8.2.3 การฝกงานหรือการฝกภาคสนาม ที่ใชเวลาฝกไมนอยกวา 45 ช่ัวโมงตอภาค

การศึกษาปกติ ใหมีคาเทากับ 1 หนวยกิตระบบทวิภาค

9. ระยะเวลาการศึกษา9.1 นักศึกษาภาคปกติ ระยะเวลาการศึกษาตลอดหลักสูตรสําหรับนักศึกษาภาคปกติ 4 ป

การศึกษาอยางมากไมเกิน 8 ปการศึกษา และสําเร็จการศึกษาไดไมกอน 7 ภาคการศึกษาปกติ9.2 นักศึกษาภาคสมทบ ระยะเวลาการศึกษาตลอดหลักสูตรสําหรับนักศึกษาภาคสมทบ

อยางมากไมเกิน 9 ปการศึกษา และสําเร็จการศึกษาไดไมกอน 8 ภาคการศึกษาปกติ

10. การลงทะเบียนเรียน10.1 นักศึกษาภาคปกติ ในแตละภาคการศึกษาปกติ นักศึกษาจะลงทะเบียนเรียนไดไมต่ํากวา

9 หนวยกิต และไมเกิน 22 หนวยกิต สําหรับภาคฤดูรอนนักศึกษา จะลงทะเบียนไดไมเกิน 9 หนวยกิต การลงทะเบียนเรียนเกินกวากําหนดไว จะกระทําไดตอเมื่อไดอนุญาตจากคณบดี หรือผูอํานวยการแตตองไมเกิน 25 หนวยกิตในภาคการศึกษาใดภาคการศึกษาหนึ่งเพียงภาคการศึกษาเดียว

10.2 นักศึกษาภาคสมทบ ในแตละภาคการศึกษาปกติ นักศึกษาจะลงทะเบียนเรียนไดไมต่ํากวา 9 หนวยกิต และไมเกิน 18 หนวยกิต สําหรับภาคฤดูรอนนักศึกษาจะลงทะเบียนไดไมเกิน 9หนวยกิต

11. การวัดผลและการสําเร็จการศึกษา11.1 การวัดผลการศึกษา ใหปฏิบัติตามขอบังคับสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วาดวยการ

ศึกษาระดับปริญญา พ.ศ. 2537 และขอบังคับสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วาดวยการศึกษาระดับปริญญา (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2541, (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2543, (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2544, (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545, (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2545 และ (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2547

ใหคณะและวิทยาเขตที่เปดสอนในมหาวิทยาลัย จัดการวัดผลและประเมินผลการศึกษาสําหรับรายวิชาที่นักศึกษาลงทะเบียนเรียนไวในภาคการศึกษาหนึ่ง ๆ

Page 10: วิชาเอกการเง ิน · 2.3 ชื่อเต็มภาษาอ ังกฤษ Bachelor of Business Administration (Finance) 2.4 ชื่อย อภาษาอ

4

การประเมินผลการศึกษาในแตละรายวิชา ใหกําหนดเปนระดับคะแนนตาง ๆ ซ่ึงมีคาระดับคะแนนตอหนวยกิต และผลการศึกษา ดังตอไปนี้

ระดับคะแนน (GRADE) คาระดับคะแนนตอหนวยกิต ผลการศึกษา ก หรือ A 4.0 ดีเยี่ยม (EXCELLENT) ข+ หรือ B+ 3.5 ดีมาก (VERY GOOD) ข หรือ B 3.0 ดี (GOOD) ค+ หรือ C+ 2.5 ดีพอใช (FAIRLY GOOD) ค หรือ C 2.0 พอใช (FAIR) ง+ หรือ D+ 1.5 ออน (POOR) ง หรือ D 1.0 ออนมาก (VERY POOR) ต หรือ F 0.0 ตก (FAIL) ถ หรือ W - ถอนรายวิชา (WITHDRAWN) ม.ส หรือ I - ไมสมบูรณ (INCOMPLETE) พ.จ หรือ S - พอใจ (SATISFACTORY) ม.จ หรือ U - ไมพอใจ (UNSATISFACTORY) ม.น หรือ AU - ไมนับหนวยกิต (AUDIT)

11.2 การสําเร็จการศึกษานักศึกษาไดขึ้นทะเบียนเปนนักศึกษาของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี และ

ตองศึกษารายวิชาตาง ๆ ใหครบตามหลักสูตรของสาขาวิชานั้น ๆ กับหนวยกิตสะสมรวมไมต่ํากวาที่หลักสูตรกําหนดไว โดยไดคาระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรไมต่ํากวา 2.00

Page 11: วิชาเอกการเง ิน · 2.3 ชื่อเต็มภาษาอ ังกฤษ Bachelor of Business Administration (Finance) 2.4 ชื่อย อภาษาอ

5

12. อาจารยผูทําการสอน12.1 อาจารยประจํา

ช่ือ – นามสกุล คุณวุฒิ ตําแหนงวิชาการ1. ผศ. นภาพร นิลาภรณกุล พบ.ม. ผูชวยศาสตราจารย2. ผศ.วันเพ็ญ วศินารมณ MBA , พบ.ม. ผูชวยศาสตราจารย3 ผศ.จินตนา อาจหาญ บธ.ม. ผูชวยศาสตราจารย4 ผศ.สุภา ทองคง พบ.ม. ผูชวยศาสตราจารย5. ผศ.อภิรดา สุทธิสานนท บธ.ม. ผูชวยศาสตราจารย6. อ.ภราดัย ไชยนุวัติ บธ.ม อาจารย7. ผศ.สุวิมล แมนจริง พบ.ม ผูชวยศาสตราจารย8. ผศ.ดร.วันชัย ประเสริฐศรี Ph.D.(commerce) ผูชวยศาสตราจารย9. อ.มาลี จตุรัส บช.ม.(บัญชีการเงิน) อาจารย10. อ.สุนทรี พงศสุภาพชน พบ.ม.(สถิติประยุกต) อาจารย11. อ.นันทวรรณ เรืองปราชญ ศศ.ม. อาจารย

12.2 อาจารยพิเศษช่ือ – นามสกุล คุณวุฒิ ตําแหนงวิชาการ

1. ดร.สุพิณ ฉายศิริไพบูลย PH.D อาจารย2. นายกวีพงษ หิรัญกสิ บธ.ม. อาจารย3. นายยุทธนา ไหลประเสริฐ MBA. อาจารย4. นายอภิชาต ศิรินุกูลชร MBA. อาจารย5. นายสุนทร ชลพันธ บธ.ม. อาจารย

Page 12: วิชาเอกการเง ิน · 2.3 ชื่อเต็มภาษาอ ังกฤษ Bachelor of Business Administration (Finance) 2.4 ชื่อย อภาษาอ

6

13. จํานวนนักศึกษา13.1 จํานวนนักศึกษาที่จะรับ

ปการศึกษานักศึกษาระดับปริญญาตรี

2548 2549 2550 2551 2552ช้ันปที่ 1 135 135 135 135 135ช้ันปที่ 2 - 135 135 135 135ช้ันปที่ 3 - - 135 135 135ช้ันปที่ 4 - - 135 135รวม 135 270 405 540 540

12.2 จํานวนนักศึกษาที่คาดวาจะสําเร็จการศึกษานักศึกษาหลักสูตร 4 ป ที่รับตามหลักสูตรปการศึกษา 2548 รุนแรกจะสําเร็จการ

ศึกษาในปการศึกษา 2551 จํานวน 135 คน

14. สถานที่และอุปกรณการสอนใชสถานที่และอุปกรณการสอนของภาควิชาการเงิน คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี

ราชมงคลธัญบุรี และวิทยาเขตตาง ๆ ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี โดยความเห็นชอบของสภามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

15. หองสมุด15.1 หองสมุดประจําคณะบริหารธุรกิจ

หนังสือและตําราเรียนภาษาไทย 35,000 เลมหนังสือและตําราเรียนภาษาอังกฤษ 10,000 เลมวารสารตาง ๆ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 120 รายช่ือเอกสารพิเศษ 500 เลม

15.2 หองสมุดสังกัดสถาบันวิทยบริการ ศูนยกลางมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีซ่ึงใหบริการรวมสําหรับทุกคณะ

15.3 ฐานขอมูลวิชาการทางอินเตอรเน็ท ซ่ึงทางคณะบริหารธุรกิจ ไดจัดทําการเชื่อมตอสูฐานขอมูลทางวิชาการที่สําคัญทั่วโลก ซ่ึงผูเรียนสามารถเชื่อมตอเขาคนควาขอมูลไดตลอด 24 ช่ัวโมงจากทุกแหงในประเทศไทยที่มีระบบอินเตอรเน็ทและจากทั่วโลก

Page 13: วิชาเอกการเง ิน · 2.3 ชื่อเต็มภาษาอ ังกฤษ Bachelor of Business Administration (Finance) 2.4 ชื่อย อภาษาอ

7

16. งบประมาณใชงบประมาณคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี โดยคาใชจายเฉพาะงบ

ดําเนินการในการผลิตบัณฑิตตอคนตอป ประมาณ 25,000 บาท โดยมีรายละเอียด ดังนี้1. คาวัสดุฝก 2,500 บาท2. คาเสื่อมราคาครุภัณฑ 4,500 บาท3. คาตอบแทน 9,000 บาท4. คาบริการการศึกษา 3,000 บาท5. คาสาธารณูปโภค 2,500 บาท6. รายจายอื่น ๆ 3,500 บาท

รวม 25,000 บาท

17. หลักสูตร17.1 จํานวนหนวยกิตรวมตลอดหลักสูตร 134 หนวยกิต17.2 โครงสรางของหลักสูตร

1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 32 หนวยกิต1.1 กลุมวิชาสังคมศาสตร 3 หนวยกิต1.2 กลุมวิชามนุษยศาสตร 3 หนวยกิต1.3 กลุมวิชาภาษา 12 หนวยกิต1.4 กลุมวิชาวิทยาศาสตรกับคณิตศาสตร 12 หนวยกิต1.5 กลุมวิชาพลศึกษาหรือนันทนาการหรือกิจกรรม 2 หนวยกิต

2. หมวดวิชาเฉพาะ 96 หนวยกิต2.1 กลุมวิชาพื้นฐานวชิาชีพ 45 หนวยกิต2.2 กลุมวิชาชีพบังคับ 36 หนวยกิต2.3 กลุมวิชาชีพเลือก 15 หนวยกิต

3. หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หนวยกิต

Page 14: วิชาเอกการเง ิน · 2.3 ชื่อเต็มภาษาอ ังกฤษ Bachelor of Business Administration (Finance) 2.4 ชื่อย อภาษาอ

8

12.3 รายวิชา 1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 32 หนวยกิต

1.1 กลุมวิชาสังคมศาสตร 3 หนวยกิต ใหเลือกศึกษาจากวิชาตอไปนี้ 01-110-004 มนุษยกับสังคม 3(3-0-3)

Man and Society 01-110-005 มนุษยสัมพันธ 3(3-0-3)

Human Relations 01-110-006 สังคมกับสิ่งแวดลอม 3(3-0-3)

Society and Environment 01-110-007 ชุมชนกับการพัฒนา 3(3-0-3)

Community and Development 01-110-351 สังคมวิทยาอาชีพ 3(3-0-3)

Occupational Sociology **01-110-353 ประชากรศาสตรเบื้องตน 3(3-0-3)

Introduction to Demography01-110-355 ระเบียบวิธีวิจัย 3(3-0-3) Research Methodology

01-120-001 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและสังคม 3(3-0-3) Life and Social Skills01-130-001 สังคมกับเศรษฐกิจ 3(3-0-3)

Society and Economic01-140-001 สังคมกับการปกครอง 3(3-0-3)

Society and Governmentหมายเหตุ วิชาที่มี ** เปนวิชาบังคับ ของกลุมวิชาการประกันภัย

Page 15: วิชาเอกการเง ิน · 2.3 ชื่อเต็มภาษาอ ังกฤษ Bachelor of Business Administration (Finance) 2.4 ชื่อย อภาษาอ

9

1.2 กลุมวิชามนุษยศาสตร 3 หนวยกิต ใหเลือกศึกษาจากวิชาตอไปนี้01-210-001 การเขียนรายงานและการใชหองสมุด 3(3-0-3)

Report Writing and Library Usage01-220-001 จิตวิทยาทั่วไป 3(3-0-3)

General Psychology01-220-009 เทคนิคการพัฒนาบุคลิกภาพ 3(3-0-3)

Personality Development Techniques01-230-001 ปรัชญาเบื้องตน 3(3-0-3)

Introduction to Philosophy01-230-002 ตรรกวิทยาเบื้องตน 3(3-0-3)

Introduction to Logic01-230-007 ศาสนาเปรียบเทียบ 3(3-0-3)

Comparative Religions01-240-002 ไทยศึกษา 3(3-0-3)

Thai Studies01-240-007 อารยธรรมเปรียบเทียบ 3(3-0-3)

Comparative Civilizations01-250-001 มนุษยกับวรรณกรรม 3(3-0-3)

Man and Literature 1.3 กลุมวิชาภาษา 12 หนวยกิต ใหเลือกศึกษาจากวิชาตอไปนี้

1.3.1 วิชาภาษาไทย01-310-101 ภาษาไทย 1 3(3-0-3)

Thai 101-310-351 เทคนิคการเขียน 3(3-0-3)

Writing Techniques01-310-352 การเขียนรายงานทางวิชาชีพ 3(3-0-3)

Professional Report Writing

Page 16: วิชาเอกการเง ิน · 2.3 ชื่อเต็มภาษาอ ังกฤษ Bachelor of Business Administration (Finance) 2.4 ชื่อย อภาษาอ

10

1.3.2 กลุมวิชาภาษาอังกฤษ 01-320-005 สนทนาภาษาอังกฤษ 1 3(3-0-3)

English Conversation 101-320-009 ภาษาอังกฤษในชีวิตประจําวัน 3(3-0-3)

English for Everyday Use 01-320-011 การอาน 1 3(3-0-3)

Reading 101-320-012 การอาน 2 3(3-0-3)

Reading 201-320-013 การเขียน 1 3(3-0-3)

Writing 101-320-014 การเขียน 2 3(3-0-3)

Writing 201-320-017 ภาษาอังกฤษเพื่ออาชีพ 1 3(3-0-3)

English for Career 101-320-018 ภาษาอังกฤษเพื่ออาชีพ 2 3(3-0-3)

English for Career 2 *01-320-101 ภาษาอังกฤษ 1 3(3-0-3)

English 1 *01-320-102 ภาษาอังกฤษ 2 3(3-0-3)

English 2หมายเหตุ วิชาที่มี * เปนวิชาบังคับ

Page 17: วิชาเอกการเง ิน · 2.3 ชื่อเต็มภาษาอ ังกฤษ Bachelor of Business Administration (Finance) 2.4 ชื่อย อภาษาอ

11

1.4 กลุมวิชาวิทยาศาสตรกับคณิตศาสตร 12 หนวยกิต ใหเลือกศึกษาจากวิชาตอไปนี้

13-010-145 คณิตศาสตร 3(3-0-3) Mathematics

13-010-151 อันตคณิตศาสตร 3(3-0-3) Finite Mathematics

**13-011-125 แคลคูลัส 1-1 3(3-0-3) Calculus 1-1

**13-011-126 แคลคูลัส 1-2 3(3-0-3) Calculus 1-2

13-012-125 คณิตศาสตรประยุกตทางธุรกิจ 3(3-0-3) Applied Mathematics for Business

13-041-140 ชีววิทยา 3(3-0-3) Biology

13-041-146 ส่ิงแวดลอมและการจัดการทรัพยากร 3(3-0-3) Environmental and Management Resource

*13-121-245 สถิติ 1 3(3-0-3) Statistics 1

13-121-246 สถิติ 2 3(3-0-3) Statistics 2

หมายเหตุ วิชาที่มี * เปนวิชาบังคับ ** เปนวิชาบังคับ ของกลุมวิชาการประกันภัย

Page 18: วิชาเอกการเง ิน · 2.3 ชื่อเต็มภาษาอ ังกฤษ Bachelor of Business Administration (Finance) 2.4 ชื่อย อภาษาอ

12

1.5 กลุมวิชาพลศึกษาหรือนันทนาการหรือกิจกรรม 2 หนวยกิต ใหเลือกศึกษาจากวิชาตอไปนี้

01-610-001 พลศึกษา 1(0-2-1) Physical Education

01-610-023 กิจกรรมเขาจังหวะ 1(0-2-1) Rhythmic Activities

01-620-001 นันทนาการ 1(0-2-1) Recreation

01-630-001 กิจกรรม 1 1(0-2-1) Activities 1

01-630-002 กิจกรรม 2 1(0-2-1) Activities 2

01-630-007 สวัสดิศึกษา 1(0-2-1) Safety Education

หมายเหตุ หมวดศึกษาวิชาทั่วไป ตองศึกษา 32 หนวยกิต จะเลือกเนนศึกษาในกลุมวิชาใดวิชาหนึ่งมากนอยก็ไดตามความเหมาะสมและจําเปน ทั้งนี้จะตองศึกษาตามโครงสรางและสัดสวนของหลักสูตรที่ภาควิชากําหนด โดยอาจารยที่ปรึกษาเห็นชอบ

1. หมวดวิชาเฉพาะ 96 หนวยกิต1.1 กลุมวิชาพื้นฐานวิชาชีพ 45 หนวยกิต

2.1.1 วิชาบังคับ 42 หนวยกิต ใหศึกษาจากวิชาตอไปนี้ 05-110-106 กฏหมายธุรกิจ 1 3(3-0-3)

Business Law 105-110-211 การวิเคราะหธุรกิจเชิงสถิติ 3(3-0-3)

Statistical Analysis in Business05-110-216 การภาษีอากร 3(3-0-3)

Taxation05-210-101 หลักการตลาด 3(3-0-3)

Principles of Marketing

Page 19: วิชาเอกการเง ิน · 2.3 ชื่อเต็มภาษาอ ังกฤษ Bachelor of Business Administration (Finance) 2.4 ชื่อย อภาษาอ

13

05-310-101 หลักการจัดการ 3(3-0-3) Principles of Management

05-410-101 การบัญชีช้ันตน 1 3(3-0-3) Introduction to Accounting 1

05-410-102 การบัญชีช้ันตน 2 3(3-0-3) Introduction to Accounting 2

05-550-251 การใชคอมพิวเตอรในงานธุรกิจ 3(3-0-3) Use of Computers in Business

05-610-205 การเงินธุรกิจ 3(3-0-3) Business Finance

05-711-101 เศรษฐศาสตรจุลภาค 1 3(3-0-3) Microeconomics 1

05-711-102 เศรษฐศาสตรมหภาค 1 3(3-0-3) Macroeconomics 1

05-810-201 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารธุรกิจ 1 3(3-0-3) Thai for Business Communication 1

05-820-220 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารธุรกิจ 1 3(3-0-3) English for Business Communication1

05-910-201 ความรูเบื้องตนทางธุรกิจระหวางประเทศ 3(3-0-3) Introduction to International Business2.1.2 วิชาเลือก 3 หนวยกิต ใหเลือกศึกษาจากวิชาตอไปนี้05-110-105 จิตวิทยาธุรกิจ 3(3-0-3)

Business Psychology05-110-226 มนุษยสัมพันธทางธุรกิจ 3(3-0-3)

Human Relations in Business05-310-209 เทคนิคการจัดการสมัยใหม 3(3-0-3)

Modern Management Techniques05-310-427 การบริหารธุรกิจขนาดยอม 3(3-0-3)

Small Business Management

Page 20: วิชาเอกการเง ิน · 2.3 ชื่อเต็มภาษาอ ังกฤษ Bachelor of Business Administration (Finance) 2.4 ชื่อย อภาษาอ

14

05-340-305 การจัดการสํานักงาน 3(3-0-3) Office Management

05-410-103 หลักการบัญชี 3(3-0-3) Principles of Accounting

05-510-203 ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร 3(3-0-3) Management Information System

05-722-302 เศรษฐศาสตรวิเคราะห 3(3-0-3) Economic Analysis

05-810-203 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารธุรกิจ 2 3(3-0-3) Thai for Business Communication 2

05-820-225 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารธุรกิจ 2 3(3-0-3) English for Business Communication 2

2.2 กลุมวิชาชีพบังคับ 36 หนวยกิต ใหศึกษาจากวิชาตอไปนี้2.2.1 กลุมวิชาบริหารการเงิน

05-420-201 การบัญชีเพื่อการจัดการ 3(3-0-3) Accounting for Management

05-610-204 คณิตศาสตรการเงิน 3(2-2-3) Mathematics for Finance

05-610-206 การเงินการธนาคาร 3(3-0-3) Money and Banking05-610-207 สถาบันและตลาดการเงิน 3(3-0-3)

Financial Institution and Market05-610-319 หลักการลงทุน 3(3-0-3)

Principles of Investment05-610-322 การวิเคราะหรายงานทางการเงิน 3(2-2-3)

Financial Report Analysis 05-610-323 การบริหารสินเชื่อ 3(3-0-3)

Credit Management

Page 21: วิชาเอกการเง ิน · 2.3 ชื่อเต็มภาษาอ ังกฤษ Bachelor of Business Administration (Finance) 2.4 ชื่อย อภาษาอ

15

05-610-325 การบริหารการเงิน 3(3-0-3) Financial Management

05-610-347 การคลังสาธารณะ 3(3-0-3) Public Finance

05-610-401 การเงินระหวางประเทศ 3(3-0-3) International Finance

05-610-402 การวิเคราะหเชิงปริมาณทางการเงิน 3(2-2-3) Quantitative Analysis in Finance

05-610-405 สัมมนาทางการเงิน 3(2-2-3) Seminar in Finance

1.2.2 กลุมวิชาการประกันภัย05-620-201 ความรูเบื้องตนทางการประกันภัย 3(3-0-3)

Introduction to Insurance05-620-203 กฎหมายประกันภัย 3(3-0-3)

Insurance Law05-620-205 สถิติประกันภัย 3(2-2-3)

Insurance Statistics05-620-301 การประกันสังคม 3(3-0-3)

Social Insurance05-620-303 การประกันวินาศภัย 1 3(3-0-3)

Casualty Insurance 105-620-304 การประกันวินาศภัย 2 3(3-0-3)

Casualty Insurance 205-620-307 การประกันภัยทางทะเล 3(3-0-3)

Marine Insurance05-620-309 การประกันชีวิตและสุขภาพ 3(3-0-3)

Life and Health Insurance

Page 22: วิชาเอกการเง ิน · 2.3 ชื่อเต็มภาษาอ ังกฤษ Bachelor of Business Administration (Finance) 2.4 ชื่อย อภาษาอ

16

05-620-411 ระบบสารสนเทศการประกันภัย 3(2-2-3) Information System in Insurance

05-620-412 การบริหารธุรกิจประกันภัย 3(3-0-3) Insurance Management

05-620-413 รายงานการเงินธุรกิจประกันภัย 3(2-2-3) Financial Report of Insurance Business

05-620-415 สัมมนาการประกันภัย 3(2-2-3) Seminar in Insurance

2.3 กลุมวิชาชีพเลือก 15 หนวยกิต ใหเลือกศึกษาจากวิชาตอไปนี้ 2.3.1 กลุมวิชาฝกงานและประสบการณ ใหเลือกศึกษาอยางนอย 1 รายวิชา ซ่ึงเปน

รายวิชาปฏิบัติ จากรายวิชา ตอไปนี้05-110-339 สหกิจศึกษาทางบริหารธุรกิจ 6(0-40-0)

และเศรษฐศาสตร Co-operative Education in Business and Economics

05-110-340 การฝกงาน 1 3(0-40-0) Job Training 1

05-110-341 การฝกงานทางบริหารธุรกิจ 3(0-40-0) และเศรษฐศาสตร

Business and Economics Training05-110-342 ประสบการณทางวิชาชีพบริหารธุรกิจ 3(0-40-0)

และเศรษฐศาสตรในตางประเทศ Business and Economics Experience in Foreign Countries

หมายเหตุ สําหรับกลุมวิชาฝกงานและประสบการณ1. วิชาสหกิจศึกษาทางบริหารธุรกิจและเศรษฐศาสตร ใชเวลาในการฝกปฏิบัติไมนอยกวา 1

ภาคการศึกษาปกติ2. สวนรายวิชาปฏิบัติอ่ืน ใชเวลาในการฝกปฏิบัติไมนอยกวา 200 ช่ัวโมง

Page 23: วิชาเอกการเง ิน · 2.3 ชื่อเต็มภาษาอ ังกฤษ Bachelor of Business Administration (Finance) 2.4 ชื่อย อภาษาอ

17

2.3.2 กลุมวิชาชีพเลือกท่ัวไป ใหเลือกศึกษาจากรายวิชาตอไปนี้ **05-610-301 การเงินสวนบุคคล 3(3-0-3)

Personal Finance05-610-303 การบริหารการเงินบุคคล 3(3-0-3)

Personal Finance Management05-610-307 การพยากรณทางธุรกิจ 3(2-2-3)

Business Forecasting05-610-320 การวิเคราะหหลักทรัพย 3(2-2-3) Security Analysis05-610-331 หลักการบริหารสถาบันการเงิน 3(3-0-3)

Financial Institution Management05-610-339 การบริหารธนาคารพาณิชย 3(3-0-3)

Bank Management05-610-341 การบริหารงานสหกรณ 3(3-0-3)

Cooperative Management05-610-349 หลักการงบประมาณแผนดิน 3(3-0-3)

Government Budgeting05-610-403 การวิจัยทางการเงิน 3(2-2-3)

Research in Finance05-610-409 การวางแผนและควบคุมทางการเงิน 3(2-2-3)

Financial Planning and Control05-610-411 การบริหารระบบขอมูลทางการเงิน 3(2-2-3)

Management in Financial Information System05-610-415 การวิเคราะหโครงการลงทุน 3(2-2-3)

Project Investment Analysis05-610-417 การวาณิชธนกิจ 3(3-0-3)

Investment Banking05-610-419 อนุพันธทางการเงิน 3(3-0-3)

Financial Derivatives

Page 24: วิชาเอกการเง ิน · 2.3 ชื่อเต็มภาษาอ ังกฤษ Bachelor of Business Administration (Finance) 2.4 ชื่อย อภาษาอ

18

05-620-311 กลยุทธการประกันภัย 3(3-0-3) Insurance Strategy

05-620-313 การวิจัยดานการประกันภัย 3(2-2-3) Insurance Research

05-630-413 การประเมินราคาทรัพยสินภาครัฐ 3(3-0-3) Statutory Valuation05-630-414 การประเมินราคาภาคการเกษตร 3(2-2-3)

Rural Valuation 05-630-415 การประเมินราคาทรัพยสินเพื่อการลงทุน 3(2-2-3)

Investment Valuation 05-630-416 การประเมินราคาทรัพยสินลักษณะพิเศษ 3(2-2-3)

Special Property Valuation05-630-417 การบริหารทรัพยสิน 3(3-0-3)

Property Management05-630-418 การวิจัยดานอสังหาริมทรัพย 3(2-2-3)

Real Estate Research 05-630-419 การจัดการเพื่องานบริการทางวิชาชีพ 3(3-0-3)

Professional Service Management หมายเหตุ 1. วิชาที่มี ** เปนวิชาชีพเลือกทุกสาขาวิชา ยกเวน สาขาวิชาการเงิน กลุมวิชาบริหารการเงิน

2. สําหรับกลุมวิชาชีพเลือกทั่วไป นักศึกษาสามารถเลือกศึกษาจากกลุมวิชาชีพของสาขาวิชาเอกอ่ืนในคณะบริหารธุรกิจ โดยมีเงื่อนไข ดังนี้

- ศึกษาจากกลุมวิชาชีพกลุมใดกลุมหนึ่งของสาขาวิชาเอกอื่น 15 หนวยกิต จะนับเปน วิชาโท (Minor)

- ศึกษาวิชาใดวิชาหนึ่งในแตละสาขาวิชาเอกรวมกัน 15 หนวยกิต จะไมนับเปนวิชาโท(Minor)

Page 25: วิชาเอกการเง ิน · 2.3 ชื่อเต็มภาษาอ ังกฤษ Bachelor of Business Administration (Finance) 2.4 ชื่อย อภาษาอ

19

3. หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หนวยกิตนักศึกษาสามารถเลือกเรียนวิชาใดก็ได 6 หนวยกิต วิชาเหลานี้อาจเปนวิชาที่เปดสอน

ในคณะบริหารธุรกิจ หรือ เปนวิชาที่เปดสอนโดยคณะอื่นๆ ในระดับปริญญาตรี โดยไดรับความเห็นชอบจากอาจารยที่ปรึกษา และ/หรือ หัวหนาภาควิชา

Page 26: วิชาเอกการเง ิน · 2.3 ชื่อเต็มภาษาอ ังกฤษ Bachelor of Business Administration (Finance) 2.4 ชื่อย อภาษาอ

20

17.4 แผนการศึกษา แผนการเรียนเสนอแนะ หลักสูตรปริญญาตรี คณะบริหารธุรกิจกลุมวิชาบริหารการเงิน

ปการศึกษาท่ี 1

ภาคการศึกษาที่ 1

01-320-101 ภาษาอังกฤษ 1 3(3-0-3)01-610-023 กิจกรรมเขาจังหวะ 1(0-2-1)05-310-101 หลักการจัดการ 3(3-0-3)05-410-101 การบัญชีช้ันตน 1 3(3-0-3)05-711-101 เศรษฐศาสตรจุลภาค 1 3(3-0-3)13-010-145 คณิตศาสตร 3(3-0-3)

รวม 16 หนวยกิต

ภาคการศึกษาที่ 2

01-220-009 เทคนิคการพัฒนาบุคลิกภาพ 3(3-0-3)01-320-102 ภาษาอังกฤษ 2 3(3-0-3)01-610-001 พลศึกษา 1(0-2-1)05-210-101 หลักการตลาด 3(3-0-3)05-410-102 การบัญชีช้ันตน 2 3(3-0-3)05-711-102 เศรษฐศาสตรมหภาค 1 3(3-0-3)13-121-245 สถิติ 1 3(3-0-3)

รวม 19 หนวยกิต

Page 27: วิชาเอกการเง ิน · 2.3 ชื่อเต็มภาษาอ ังกฤษ Bachelor of Business Administration (Finance) 2.4 ชื่อย อภาษาอ

21

ปการศึกษาท่ี 2

ภาคการศึกษาที่ 1

01-120-001 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและสังคม 3(3-0-3)01-320-011 การอาน 1 3(3-0-3)05-110-106 กฏหมายธุรกิจ 1 3(3-0-3)05-110-211 การวิเคราะหธุรกิจเชิงสถิติ 3(3-0-3)05-550-251 การใชคอมพิวเตอรในงานธุรกิจ 3(3-0-3)05-610-206 การเงินการธนาคาร 3(3-0-3) รวม 18 หนวยกิต

ภาคการศึกษาที่ 2

01-320-009 ภาษาอังกฤษในชีวิตประจําวัน 3(3-0-3)05-420-201 การบัญชีเพื่อการจัดการ 3(3-0-3)05-610-204 คณิตศาสตรการเงิน 3(2-2-3)05-610-205 การเงินธุรกิจ 3(3-0-3)05-610-207 สถาบันและตลาดการเงิน 3(3-0-3)05-910-201 ความรูเบื้องตนทางธุรกิจระหวางประเทศ 3(3-0-3)

รวม 18 หนวยกิต

Page 28: วิชาเอกการเง ิน · 2.3 ชื่อเต็มภาษาอ ังกฤษ Bachelor of Business Administration (Finance) 2.4 ชื่อย อภาษาอ

22

ปการศึกษาท่ี 3

ภาคการศึกษาที่ 1

05-610-319 หลักการลงทุน 3(3-0-3)05-610-323 การบริหารสินเชื่อ 3(3-0-3)05-610-325 การบริหารการเงิน 3(3-0-3)05-610-347 การคลังสาธารณะ 3(3-0-3)05-810-201 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารธุรกิจ 1 3(3-0-3)

รวม 15 หนวยกิต

ภาคการศึกษาที่ 2

05-110-216 การภาษีอากร 3(3-0-3)05-310-427 การบริหารธุรกิจขนาดยอม 3(3-0-3)05-610-322 การวิเคราะหรายงานทางการเงิน 3(2-2-3)05-820-220 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารธุรกิจ 1 3(3-0-3)13-041-146 ส่ิงแวดลอมและการจัดการทรัพยากร 3(3-0-3)

รวม 15 หนวยกิต

ภาคการศึกษาที่ 3 (ภาคฤดูรอน)

05-110-340 การฝกงาน 1 3(0-40-0)หรือ 05-110-341 การฝกงานทางบริหารธุรกิจและเศรษฐศาสตร 3(0-40-0)หรือ 05-110-342 ประสบการณทางวิชาชีพบริหารธุรกิจ 3(0-40-0)

และเศรษฐศาสตรในตางประเทศรวม 3 หนวยกิต

หมายเหตุ : ใหนักศึกษาเลือกลงทะเบียนวิชาใดวิชาหนึ่งเพียง 1 รายวิชา หรือกรณีที่นักศึกษาเลือกลงทะเบียนในวิชาสหกิจศึกษา (6 หนวยกิต) ซ่ึงจะตองลงทะเบียนในภาคการศึกษาปกติของปการศึกษาที่ 3 หรือ 4 เทานั้น วิชาชีพเลือกจะเรียนเพียง 3 รายวิชา จึงครบหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต

Page 29: วิชาเอกการเง ิน · 2.3 ชื่อเต็มภาษาอ ังกฤษ Bachelor of Business Administration (Finance) 2.4 ชื่อย อภาษาอ

23

ปการศึกษาท่ี 4

ภาคการศึกษาที่ 1

05-610-401 การเงินระหวางประเทศ 3(3-0-3)13-012-125 คณิตศาสตรประยุกตทางธุรกิจ 3(3-0-3)xx-xxx-xxx วิชาชีพเลือก (1) 3(3-0-3)xx-xxx-xxx วิชาชีพเลือก (2) 3(3-0-3)xx-xxx-xxx วิชาเลือกเสรี (1) 3(3-0-3)

รวม 15 หนวยกิต

ภาคการศึกษาที่ 2

05-610-402 การวิเคราะหเชิงปริมาณทางการเงิน 3(2-2-3)05-610-405 สัมมนาทางการเงิน 3(2-2-3)xx-xxx-xxx วิชาชีพเลือก (3) 3(3-0-3)xx-xxx-xxx วิชาชีพเลือก (4) 3(3-0-3)xx-xxx-xxx วิชาเลือกเสรี (2) 3(3-0-3)

รวม 15 หนวยกิต

Page 30: วิชาเอกการเง ิน · 2.3 ชื่อเต็มภาษาอ ังกฤษ Bachelor of Business Administration (Finance) 2.4 ชื่อย อภาษาอ

24

กลุมวิชาการประกันภัย

ปการศึกษาท่ี 1

ภาคการศึกษาที่ 1

01-320-101 ภาษาอังกฤษ 1 3(3-0-3)01-610-023 กิจกรรมเขาจังหวะ 1(0-2-1)05-310-101 หลักการจัดการ 3(3-0-3)05-410-101 การบัญชีช้ันตน 1 3(3-0-3)05-711-101 เศรษฐศาสตรจุลภาค 1 3(3-0-3)13-121-245 สถิติ 1 3(3-0-3)

รวม 16 หนวยกิต

ภาคการศึกษาที่ 2

01-220-009 เทคนิคการพัฒนาบุคลิกภาพ 3(3-0-3)01-320-102 ภาษาอังกฤษ 2 3(3-0-3)01-610-001 พลศึกษา 1(0-2-1)05-210-101 หลักการตลาด 3(3-0-3)05-410-102 การบัญชีช้ันตน 2 3(3-0-3)05-711-102 เศรษฐศาสตรมหภาค 1 3(3-0-3)13-011-125 แคลคูลัส 1-1 3(3-0-3)

รวม 19 หนวยกิต

Page 31: วิชาเอกการเง ิน · 2.3 ชื่อเต็มภาษาอ ังกฤษ Bachelor of Business Administration (Finance) 2.4 ชื่อย อภาษาอ

25

ปการศึกษาท่ี 2

ภาคการศึกษาที่ 1

01-110-353 ประชากรศาสตรเบื้องตน 3(3-0-3)01-320-011 การอาน 1 3(3-0-3)05-110-106 กฎหมายธุรกิจ 1 3(3-0-3)05-110-211 การวิเคราะหธุรกิจเชิงสถิติ 3(3-0-3)05-550-251 การใชคอมพิวเตอรในงานธุรกิจ 3(3-0-3)05-620-201 ความรูเบื้องตนทางการประกันภัย 3(3-0-3) รวม 18 หนวยกิต

ภาคการศึกษาที่ 2

01-320-009 ภาษาอังกฤษในชีวิตประจําวัน 3(3-0-3)05-610-205 การเงินธุรกิจ 3(3-0-3)05-620-203 กฎหมายประกันภัย 3(3-0-3)05-620-205 สถิติการประกันภัย 3(2-2-3)05-910-201 ความรูเบื้องตนทางธุรกิจระหวางประเทศ 3(3-0-3)13-041-146 ส่ิงแวดลอมและการจัดการทรัพยากร 3(3-0-3) รวม 18 หนวยกิต

Page 32: วิชาเอกการเง ิน · 2.3 ชื่อเต็มภาษาอ ังกฤษ Bachelor of Business Administration (Finance) 2.4 ชื่อย อภาษาอ

26

ปการศึกษาท่ี 3

ภาคการศึกษาที่ 1

05-620-301 การประกันสังคม 3(3-0-3)05-620-303 การประกันวินาศภัย 1 3(3-0-3)05-620-307 การประกันภัยทางทะเล 3(3-0-3)05-810-201 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารธุรกิจ 1 3(3-0-3)13-011-126 แคลคูลัส 1-2 3(3-0-3)

รวม 15 หนวยกิต

ภาคการศึกษาที่ 2

05-110-216 การภาษีอากร 3(3-0-3)05-310-427 การบริหารธุรกิจขนาดยอม 3(3-0-3)05-620-304 การประกันวินาศภัย 2 3(3-0-3)05-620-309 การประกันชีวิตและสุขภาพ 3(3-0-3)05-820-220 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารธุรกิจ 1 3(3-0-3)

รวม 15 หนวยกิต

ภาคการศึกษาที่ 3 (ภาคฤดูรอน)

05-110-340 การฝกงาน 1 3(0-40-0)หรือ 05-110-341 การฝกงานทางบริหารธุรกิจและเศรษฐศาสตร 3(0-40-0)หรือ 05-110-342 ประสบการณทางวิชาชีพบริหารธุรกิจ 3(0-40-0)

และเศรษฐศาสตรในตางประเทศรวม 3 หนวยกิต

หมายเหตุ : ใหนักศึกษาเลือกลงทะเบียนวิชาใดวิชาหนึ่งเพียง 1 รายวิชา หรือกรณีที่นักศึกษาเลือกลงทะเบียนในวิชาสหกิจศึกษา (6 หนวยกิต) ซ่ึงจะตองลงทะเบียนในภาคการศึกษาปกติของปการศึกษาที่ 3 หรือ 4 เทานั้น วิชาชีพเลือกจะเรียนเพียง 3 รายวิชา จึงครบหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต

Page 33: วิชาเอกการเง ิน · 2.3 ชื่อเต็มภาษาอ ังกฤษ Bachelor of Business Administration (Finance) 2.4 ชื่อย อภาษาอ

27

ปการศึกษาท่ี 4

ภาคการศึกษาที่ 1

05-620-411 ระบบสารสนเทศการประกันภัย 3(2-2-3)05-620-413 รายงานการเงินธุรกิจประกันภัย 3(2-2-3)xx-xxx-xxx วิชาชีพเลือก (1) 3(3-0-3)xx-xxx-xxx วิชาชีพเลือก (2) 3(3-0-3)xx-xxx-xxx วิชาเลือกเสรี (1) 3(3-0-3)

รวม 15 หนวยกิต

ภาคการศึกษาที่ 2

05-620-412 การบริหารธุรกิจประกันภัย 3(3-0-3)05-620-415 สัมมนาการประกันภัย 3(2-2-3)xx-xxx-xxx วิชาชีพเลือก (3) 3(3-0-3)xx-xxx-xxx วิชาชีพเลือก (4) 3(3-0-3)xx-xxx-xxx วิชาเลือกเสรี (2) 3(3-0-3)

รวม 15 หนวยกิต

Page 34: วิชาเอกการเง ิน · 2.3 ชื่อเต็มภาษาอ ังกฤษ Bachelor of Business Administration (Finance) 2.4 ชื่อย อภาษาอ

28

17.5 ความหมายของเลขรหัสรายวิชา

คณะภาควิชาหมวดวิชาหมวดวิชายอยปที่ควรศึกษาลําดับวิชาในหมวดวิชา

X X -X X X -X X X1 2 3 4 5 6 7 8

ตําแหนงที่ 1 – 2 หมายถึง คณะตําแหนงที่ 3 หมายถึง ภาควิชาตําแหนงที่ 4 หมายถึง หมวดวิชาตําแหนงที่ 5 หมายถึง หมวดวิชายอยตําแหนงที่ 6 หมายถึง ปที่ควรศึกษาตําแหนงที่ 7 - 8 หมายถึง ลําดับวิชาในหมวดวิชา

ความหมายของรหัสการจัดชั่วโมงเรียน

หนวยกิตคาบเรียนทฤษฎีคาบเรียนปฏิบัติช่ัวโมงการศึกษานอกเวลา

X (X - X - X )

Page 35: วิชาเอกการเง ิน · 2.3 ชื่อเต็มภาษาอ ังกฤษ Bachelor of Business Administration (Finance) 2.4 ชื่อย อภาษาอ

29

17.6 คําอธิบายรายวิชา

01-110-004 มนุษยกับสังคม 3(3-0-3)Man and Societyศึกษาความหมาย ขอบเขตและความสําคัญของสังคมศาสตร ความหมาย องคประกอบของสังคมและวัฒนธรรม บทบาทและหนาที่ของสังคมและวัฒนธรรม ความหมายและลักษณะของพฤติกรรมมนุษย การจัดระเบียบทางสังคมการขัดเกลาทางสังคม สถาบันสังคม การจําแนกความแตกตางทางสังคม การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม ปญหาสังคมตาง ๆ

01-110-005 มนุษยสัมพันธ 3(3-0-3)Human Relationsศึกษาเกี่ยวกับความสําคัญ เนื้อหาสาระของมนุษยสัมพันธ หลักจิตวิทยาและทฤษฎีเกี่ยวของกับวิชามนุษยสัมพันธ แรงจูงใจสําหรับมนุษยสัมพันธในหนวยงานและครอบครัว ผูนํากับมนุษยสัมพันธ การสื่อความหมาย มนุษย-สัมพันธกับหลักจริยธรรมในทางศาสนา มนุษยสัมพันธในหนวยงานตามพื้นฐานวัฒนธรรมไทย การฝกอบรมเพื่อมนุษยสัมพันธ

01-110-006 สังคมกับสิ่งแวดลอม 3(3-0-3) Society and Environment

ศึกษาความหมายของสังคม ส่ิงแวดลอมและความสัมพันธระหวางสังคมกับสิ่งแวดลอม การศึกษาแนวความคิดพื้นฐานเกี่ยวกับนิเวศวิทยาและความรูเกี่ยวกับระบบนิเวศที่นํามาเปนหลักการพื้นฐานในการศึกษาเกี่ยวกับสิ่งแวด-ลอม การใชประโยชนและการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม รวมทั้งศึกษาปญหาและสาเหตุของปญหาสิ่งแวดลอม อันเนื่องมาจากความตองการของสังคม ปญหาและลักษณะมลพิษสิ่งแวดลอมในรูปแบบตาง ๆ ที่มีผลกระทบตอสังคมและสิ่งแวดลอม ตลอดจนศึกษาแนวทางแกไขปญหาและอุปสรรค การวิเคราะหระบบสิ่งแวดลอม การประเมินผลกระทบ และการจัดการสิ่งแวดลอมอยางมีระบบแบบแผนโดยมีการฝกใหคิดเปน ทําเปน ในกิจกรรมของกลุมเพื่อใหนําไปแกปญหาสิ่งแวดลอมตอไป

Page 36: วิชาเอกการเง ิน · 2.3 ชื่อเต็มภาษาอ ังกฤษ Bachelor of Business Administration (Finance) 2.4 ชื่อย อภาษาอ

30

01-110-007 ชุมชนกับการพัฒนา 3(3-0-3)Community and Developmentศึกษาเกี่ยวกับความหมาย ลักษณะของชุมชน การพัฒนา สาเหตุของการพัฒนาชุมชน ปรัชญา หลักการ และเปาหมายของการพัฒนาชุมชน การพัฒนาชุมชนของไทย หนวยงานของรัฐกับการพัฒนาประเทศ การพัฒนาชุมชนและการพัฒนาชนบท วิธีการพัฒนาชุมชน การประเมินผลการพัฒนาแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติกับการพัฒนาชุมชนชนบท ความรวมมือระหวางรัฐ ประชาชน และเอกชนในการพัฒนาประเทศ การพัฒนาชนบทในตางประเทศ

01-110-351 สังคมวิทยาอาชีพ 3(3-0-3)Occupational Sociologyศึกษาถึงประวัติความเปนมาของการใชแรงงานเพื่อการดํารงชีวิตของมนุษยอันเปนตนกําเนิดของการประกอบอาชีพในรูปแบบตาง ๆ และความแตกตางของการประกอบอาชีพในสังคมที่เปนเมืองและชนบท ศึกษาถึงรูปแบบการจัดองคการสมัยใหมในการทํางาน รวมทั้งความสัมพันธของปจเจกชนในองคการทํางานนั้น โดยการนําเอาแนวความคิดและทฤษฎีทางสังคมและองคการมาใชในการทํางานในยุคสมัยใหม เขาใจบทบาทของกลุมอาชีพตาง ๆ ในสังคม โดยสามารถศึกษาถึงวิธีการแกไขปญหาที่เกิดขึ้นในกลุมการประกอบอาชีพ โดยยึดหลักการประชาธิปไตยและการมีสวนรวมในการตัดสินใจในการทํางานรวมกัน

Page 37: วิชาเอกการเง ิน · 2.3 ชื่อเต็มภาษาอ ังกฤษ Bachelor of Business Administration (Finance) 2.4 ชื่อย อภาษาอ

31

01-110-353 ประชากรศาสตรเบื้องตน 3(3-0-3)Introduction to Demographyศึกษาลักษณะของวิชาประชากรศาสตรโดยเขาใจโครงสรางทางประชากรทางดานเพศและอายุ และองคประกอบทางประชากร เชน การเกิด การตาย การยายถ่ิน ชาติพันธุ การศึกษา ศาสนา ฯลฯ รวมถึงการคํานวณหาอัตราและสัดสวนของโครงสรางและองคประกอบของประชากรอยางงาย ศึกษาอิทธิพลของการเพิ่มประชากร โดยกลาวถึงทฤษฎีพื้นฐานในการอธิบายปรากฎการณทางประชากรที่มีอิทธิพลตอสังคมรวมถึงความสําคัญของการกําหนดนโยบายและการวางแผนทางประชากรในการพัฒนาประเทศ

01-110-355 ระเบียบวิธีวิจัย 3(3-0-3)Research Methodologyวิชาบังคับกอน : 13-121-245 สถิติ 1ศึกษาความหมาย ความสําคัญ วัตถุประสงคและประเภทของงานวิจัย ศึกษาขั้นตอนสําคัญของการวิจัย การออกแบบการวิจัย ตัวแปรประเภทตาง ๆ วิธีการสุมตัวอยาง การเก็บขอมูล วิธีการทางขอมูล การวิเคราะห การตีความ การนําเสนอขอมูล การเขียนรายงานการวิจัย และการเขียนเคาโครงงานวิจัย

01-120-001 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและสังคม 3(3-0-3)Life and Social Skillsศึกษาเกี่ยวกับปรัชญาในการดํารงชีวิตและการทํางานของบุคคล การสรางแนวคิดเจตคติตอชีวิตของตนเอง ธรรมะกับการพัฒนาคุณภาพชีวิต บทบาท หนาที่และความรับผิดชอบตอตนเองและผูอ่ืน การบริหารตนใหเขากับชีวิตและสังคมและการปรับตนเพื่อรวมกิจกรรมทางสังคม ศึกษาเทคนิคการครองใจคนและการสรางผลิตผลในการทํางานใหมีประสิทธิภาพ

Page 38: วิชาเอกการเง ิน · 2.3 ชื่อเต็มภาษาอ ังกฤษ Bachelor of Business Administration (Finance) 2.4 ชื่อย อภาษาอ

32

01-130-001 สังคมกับเศรษฐกิจ 3(3-0-3)Society and Economicศึกษาความหมายขอบเขต และวิธีวิเคราะหทางสังคมศาสตร ความสัมพันธระหวางสังคมและเศรษฐกิจ วิวัฒนาการของระบบเศรษฐกิจและความรูพื้นฐานทางเศรษฐศาสตร การกําหนดราคา ระบบการผลิต ตลาดทรัพยากรมนุษย และสถาบันทางเศรษฐกิจ ตลอดจนการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมที่มีผลตอการเปลี่ยนแปลงเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม

01-140-001 สังคมกับการปกครอง 3(3-0-3)Society and Governmentศึกษาความหมายและวิวัฒนาการของรัฐ ตลอดจนอํานาจอธิปไตยและรูปแบบการปกครองตาง ๆ รวมทั้งการปกครองแบบประชาธิปไตย ศึกษาแนวความคิด ทฤษฎีหรืออุดมการณทางการเมือง ศึกษาสถาบันและกระบวนการทางการเมือง ตลอดจนปญหาและอุปสรรคตาง ๆ ในการเปลี่ยนของสังคมการเมือง

01-210-001 การเขียนรายงานและการใชหองสมุด 3(3-0-3)Report Writing and Library Usageศึกษาเกี่ยวกับเรื่องหองสมุดทั่ว ๆ ไป หองสมุดของเรา วัสดุสารนิเทศหนังสืออางอิง การจัดหมวดหมูหนังสือ การจัดเรียงวัสดุสารนิเทศ เครื่องชวยคนวัสดุสารนิเทศ สวนตาง ๆ ของหนังสือและการระวังรักษารายงานทางวิชาการ ขั้นตอนการเขียนรายงานและรูปแบบของรายงาน หลักเกณฑ และการเขียนบรรณานุกรมและเชงิอรรถ

01-220-001 จิตวิทยาท่ัวไป 3(3-0-3)General Psychologyศึกษาความหมายและขอบเขตของวิชาจิตวิทยา อิทธิพลของพันธุกรรมและสิ่งแวดลอม พัฒนาการของมนุษย ระบบอวัยวะตาง ๆ ของมนุษยโดยสังเขปเชาวปญญา การรับรู การเรียนรู การจูงใจ บุคลิกภาพ การปรับตัว สุขภาพจิตและพฤติกรรมทางสังคม

Page 39: วิชาเอกการเง ิน · 2.3 ชื่อเต็มภาษาอ ังกฤษ Bachelor of Business Administration (Finance) 2.4 ชื่อย อภาษาอ

33

01-220-009 เทคนิคการพัฒนาบุคลิกภาพ 3(3-0-3)Personality Development Techniquesศึกษาความรูพื้นฐานเกี่ยวกับบุคลิกภาพ ทฤษฎีบุคลิกภาพ ปจจัยที่มีอิทธิพลตอบุคลิกภาพ เทคนิควิธีปรับปรุงบุคลิกภาพ การรับรูเกี่ยวกับตนเอง สุขภาพจิตและการปรับตัว อิทธิพลของมนุษยตอบุคคล มนุษยสัมพันธกับบุคลิกภาพและบุคลิกภาพที่พัฒนาสมบูรณ

01-230-001 ปรัชญาเบื้องตน 3(3-0-3)Introduction to Philosophyศึกษาความหมายทั่ว ๆ ไปของปรัชญา โครงสรางของปรัชญา ปญหาหลักทางปรัชญาของนักปรัชญาบางคนและลัทธิปรัชญาบางลัทธิทั้งทางตะวันตกและตะวันออก

01-230-002 ตรรกวิทยาเบื้องตน 3(3-0-3)Introduction to Logicศึกษาที่มาและกฎเกณฑตาง ๆ ของเหตุผลตามแบบของนักปรัชญาในยุคกรีกโบราณ และตามแนวของนักปรัชญาสมัยใหม ในสวนที่เปนยุคโบราณนั้นเนนการศึกษาหลักการของอริสโตเติล ในยุคใหม เนนตรรกวิทยา สัญลักษณใหนักศึกษาฝกคิด วิพากษวิจารณ ทดสอบและพิสูจนเหตุผลตามรูปแบบตาง ๆ

01-230-007 ศาสนาเปรยีบเทียบ 3(3-0-3)Comparative Religionsศึกษาประวัติ วิวัฒนาการ คัมภีร หลักคําสอน สถาบันสืบทอดและพิธีกรรมของศาสนาหลักที่สําคัญ ๆ ตลอดจนศึกษาเปรียบเทียบหลักคําสอนของศาสนาตาง ๆ

Page 40: วิชาเอกการเง ิน · 2.3 ชื่อเต็มภาษาอ ังกฤษ Bachelor of Business Administration (Finance) 2.4 ชื่อย อภาษาอ

34

01-240-002 ไทยศึกษา 3(3-0-3)Thai Studiesศึกษาลักษณะและวิวัฒนาการวิวัฒนธรรมทางภาษา สังคม เศรษฐกิจ การเมืองการปกครอง ศึกษาวิวัฒนาการทางสถาปตยกรรม ประติมากรรมจิตรกรรม พิธีกรรม วรรณกรรม เพลงและการละเลนพื้นบาน ดนตรี ละครและอาหารไทย

01-240-007 อารยธรรมเปรียบเทียบ 3(3-0-3)Comparative Civilizationsศึกษาความเปนมาและเปรียบเทียบอารยธรรมไทยสมัยกอนรับอิทธิพลตางชาติ และสมัยที่รับอิทธิพลตางชาติ อิทธิพลและผลกระทบของอารยธรรมตะวันตกตอสภาพเศรษฐกิจ สังคม การปกครองและนโยบายตางประเทศของไทยเปรียบเทียบอารยธรรมตะวันตก และอารยธรรมตะวันออก

01-250-001 มนษุยกับวรรณกรรม 3(3-0-3)Man and Literatureศึกษาความรูเบื้องตนกับวรรณกรรม ความสัมพันธระหวางมนุษยกับวรรณกรรมการวิเคราะหวรรณกรรมปจจุบัน การวิเคราะหวรรณกรรมในอดีต วรรณกรรมเอกของไทย วรรณกรรมเอกนานาชาติ และคุณคาของวรรณกรรมตอมนุษยชาติ

01-310-101 ภาษาไทย 1 3(3-0-3)Thai 1ศึกษาหลักกลวิธีและฝกทักษะการรับสาร การพูดในโอกาสและสถานการณ ไดแก การสนทนา การแสดงความคิดเห็น การประชุม การพูดในที่ชุมชน การกลาวในโอกาสตาง ๆ มารยาทในการพูดและการฟง การเขียนจดหมาย รายงานสรุปความ บันทึก โครงการ บทคัดยอ การกรอกแบบฟอรม เชน ใบสมัคร คํารอง เอกสาร สัญญา เปนตน

Page 41: วิชาเอกการเง ิน · 2.3 ชื่อเต็มภาษาอ ังกฤษ Bachelor of Business Administration (Finance) 2.4 ชื่อย อภาษาอ

35

01-310-351 เทคนิคการเขียน 3(3-0-3)Writing Techniquesศึกษาและฝกทักษะเกี่ยวกับการเขียน ไดแก การเลือกใชคํา หลักเกณฑในการผูกประโยค ชนิดของสํานวนโวหาร การเขียนยอหนา การเขียนเรียงความ การเขียนบทความ และการเขียนประเภทอื่น ๆ ที่จําเปนสําหรับวิชาชีพ รวมทั้งศึกษาและฝกทักษะการอานเพื่อสรุปสาระสําคัญ การวิเคราะหสารจากเรื่องที่อาน

01-310-352 การเขียนรายงานทางวิชาชีพ 3(3-0-3)Professional Report Writingความจําเปนในการเขียนรายงานวิชาการ ลักษณะสําคัญของรายงานวิชาการ สวนประกอบและโครงสรางหลักของรายงาน เทคนิคการหาขอมูลจากแหลงวิทยาการตาง ๆ การเขียนโครงสราง การนําขอมูลมาเขียนรายงาน การเขียนบทคัดยอ การนําเสนอรายงาน

01-320-005 สนทนาภาษาอังกฤษ 1 3(3-0-3)English Conversation 1วิชาบังคับกอน : ภาษาอังกฤษ 2 รายวิชาศึกษาและฝกทักษะการสนทนาเรื่องทั่วๆไปในชีวิตประจําวัน การใชสํานวนภาษาตามวัฒนธรรมของเจาของภาษา

01-320-009 ภาษาอังกฤษในชีวิตประจําวัน 3(3-0-3)English for Everyday Useวิชาบังคับกอน : ภาษาอังกฤษ 2 รายวิชาศึกษาและฝกทักษะการใชภาษอังกฤษในชีวิตประจําวัน

Page 42: วิชาเอกการเง ิน · 2.3 ชื่อเต็มภาษาอ ังกฤษ Bachelor of Business Administration (Finance) 2.4 ชื่อย อภาษาอ

36

01-320-011 การอาน 1 3(3-0-3)Reading 1วิชาบังคับกอน : ภาษาอังกฤษ 2 รายวิชาใชกลวิธีในการอานเพื่อใหเกิดทักษะในการอาน ไดแก การตั้งวัตถุประสงคในการอาน การใชพจนานุกรมหาความหมายของคําศัพท การเดาความหมายของคําศัพทโดยดูสวนประกอบของคําศัพทจากโครงสรางประโยคจากปริบท เชน คําอางอิง เครื่องหมายสัมพันธความ ฯลฯ การอานโดยการเดาขอความลวงหนา การตีความ การใชความรูเดิมและความรูรอบตัวชวยในการอาน การหาความคิดหลักประโยคหลักและขอมลูที่สนับสนุนความคิดหลักในอนุเฉท วิธีการจดบันทึกเรื่องที่อานอยางมีระบบ

01-320-012 การอาน 2 3(3-0-3)Reading 2วิชาบังคับกอน : 01-320-011 การอาน 1ฝกทักษะการอานเร็ว การอานเพื่อหาขอมูลรวมและการอานเพื่อหาขอมูลเฉพาะจุด อานขอเขียนประเภทตาง ๆ เชน อานหนังสือพิมพ บทความ วารสาร ตําราวิชาชีพที่มีโครงสรางภาษาซับซอนและแสดงความคิดเห็นตอเร่ืองที่อาน โดยเปรียบเทียบ ยกตัวอยาง บอกขอดีขอเสีย ใหเหตุผลเพื่อสนับสนุนขอวิจารณ ใชภาษาของตนสรุปเรื่องที่อาน

01-320-013 การเขียน 1 3(3-0-3)Writing 1วิชาบังคับกอน : ภาษาอังกฤษ 2 รายวิชาเห็นความคลายคลึงและความแตกตางระหวางภาษาพูดและภาษาเขียน ฝกทักษะการเขียนประโยค การเขียนเรียงความ ระดับยอหนา การออกแบบฟอรมประเภทตาง ๆ การเขียนจดหมายสวนตัว การเขียนบันทึกประจําวัน บันทึกที่ใชในสํานักงาน การจดขอความโดยยอ การเขียนสรุปและยอความจากเรื่องที่อานหรือฟง

Page 43: วิชาเอกการเง ิน · 2.3 ชื่อเต็มภาษาอ ังกฤษ Bachelor of Business Administration (Finance) 2.4 ชื่อย อภาษาอ

37

01-320-014 การเขียน 2 3(3-0-3)Writing 2วิชาบังคับกอน : 01-320-013 การเขียน 1ฝกทักษะการเขียนประเภทตาง ๆ และการตรวจแกไขงานเขียนของตนเองและผูอ่ืน ฝกการเขียนประกาศ โฆษณา การเขียนขอมูลจําเพาะ เขียนรายงานสั้น ๆเขียนจดหมายเชิญ จดหมายตอบรับหรือปฏิเสธคําเชิญ จดหมายติดตองานเพื่อสอบถามขอมูล เขียนวิจารณ เขียนสรุปความ

01-320-017 ภาษาอังกฤษเพื่ออาชีพ 1 3(3-0-3)English for Career 1วิชาบังคับกอน : ภาษาอังกฤษ 2 รายวิชาคัดเลือกเนื้อหาวิชาตามสาขาวิชาของนักศึกษา พัฒนาทักษะการใชภาษาอังกฤษเปนเครื่องมือในการประกอบอาชีพ ใหมีการฝกฝนการใชภาษาโดยสถานการณจําลองซึ่งนักศึกษาจะตองพบระหวางการปฏิบัติงาน

01-320-018 ภาษาอังกฤษเพื่ออาชีพ 2 3(3-0-3)English for Career 2วิชาบังคับกอน : 01-320-017 ภาษาอังกฤษเพื่ออาชีพ 1ฝกฝนทักษะการฟง การพูด การอานและการเขียนภาษาอังกฤษโดยใชสถานการณจําลองจากสถานการณจริงที่นักศึกษาจะพบระหวางการปฏิบัติงานในสถานประกอบการควบคูไปกับการเขาหองปฏิบัติการทางภาษา เพื่อฝกฝนการออกเสียงและการฟง

Page 44: วิชาเอกการเง ิน · 2.3 ชื่อเต็มภาษาอ ังกฤษ Bachelor of Business Administration (Finance) 2.4 ชื่อย อภาษาอ

38

01-320-101 ภาษาอังกฤษ 1 3(3-0-3)English 1ศึกษาและฝกทักษะการฟง การพูด การอานและการเขียน การจับใจความสําคัญและรายละเอียด เทคนิคการหาความหมายของคําศัพทและสํานวน การสื่อสารในชีวิตประจําวันโดยใชสํานวนและโครงสรางภาษาพื้นฐานอยางเหมาะสมในระดับประโยคและขอความสั้นๆ

* รายวิชานี้ นักศึกษาสามารถไดรับการยกเวนไมตองลงทะเบียนเรียน ถานักศึกษาสอบผานการทดสอบวัดความรูภาษาอังกฤษ (Placement Test)

01-320-102 ภาษาอังกฤษ 2 3(3-0-3)English 2วิชาบังคับกอน : 01-320-101 ภาษาอังกฤษ 1ศึกษาและฝกทักษะการฟง การพูด การอานและการเขียน การจับใจความสําคัญและรายละเอียด และการพัฒนาเทคนิคการหาความหมายของคําศัพทและสํานวนในระดับประโยคและยอหนา การสื่อสารในสถานการณตางๆ โดยใชภาษาที่ซับซอน

* รายวิชานี้ นักศึกษาสามารถไดรับการยกเวนไมตองลงทะเบียนเรียน ถานักศึกษาสอบผานการทดสอบวัดความรูภาษาอังกฤษ (Placement Test)

13-010-145 คณิตศาสตร 3(3-0-3)Mathematicsศึกษาเกี่ยวกับตรรกศาสตรเบื้องตน เมทริกซและดีเทอรมิแนนท เทคนิคการนับ การเรียงสับเปลี่ยน การจัดหมู ความนาจะเปนเบื้องตน ทฤษฏีบททวิ-นาม ลําดับและอนุกรม

13-010-151 อันตคณิตศาสตร 3(3-0-3)Finite Mathematicsศึกษาเกี่ยวกับเซต ระบบจํานวน เทคนิคการนับ ความนาจะเปนเบื้องตนทฤษฏีบททวินาม ตรรกศาสตร เมทริกซ ระบบเชิงเสน กําหนดการเชิงเสน

Page 45: วิชาเอกการเง ิน · 2.3 ชื่อเต็มภาษาอ ังกฤษ Bachelor of Business Administration (Finance) 2.4 ชื่อย อภาษาอ

39

13-011-125 แคลคูลัส 1–1 3(3-0-3)Calculus 1-1เรขาคณิตวิเคราะหเบื้องตน ฟงกชัน ชนิดของฟงกชัน กราฟของฟงกชัน ลิมิตและความตอเนื่อง อนุพันธและการประยุกต ปริพันธ เทคนิคการหาปริพันธและการประยุกต

13-011-126 แคลคูลัส 1-2 3(3-0-3)Calculus 1-2วิชาบังคับกอน : 13-011-125 แคลคูลัส 1-1ฟงกชันหลายตัวแปร อนุพันธยอยและบทประยุกตของอนุพันธยอยทางธุรกิจปริพันธสองชั้นและบทประยุกต สมการเชิงอนุพนัธอันดับหนึ่งแบบแยกตัวแปรและสมการเชิงอนุพันธเชิงเสนอันดับหนึ่ง

13-012-125 คณิตศาสตรประยุกตทางธุรกิจ 3(3-0-3)Applied Mathematics for Businessเมทริกซ ดีเทอรมิแนนทและการนําเมทริกซไปประยุกตใช สมการเชิงเสนและอสมการเชิงเสน การโปรแกรมเชิงเสน ปญหาการขนสง

13-041-140 ชีววิทยา 3(3-0-3)Biologyศึกษาเกี่ยวกับพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต กลไกของสิ่งมีชีวิต เนื้อเยื่อและโครงสรางพืช เนื้อเยื่อและโครงสรางของสัตว การจําแนกสิ่งมีชีวิต นิเวศวิทยาและหลักพันธุศาสตรเบื้องตน

13-041-146 สิ่งแวดลอมและการจัดการทรัพยากร 3(3-0-3)Environmental and Management Resourceความรูพื้นฐานเกี่ยวกับสิ่งแวดลอมและการจัดการทรัพยากร หลักนิเวศวิทยาและสมดุลธรรมชาติ ทรัพยากรธรรมชาติ การอนุรักษมลพิษสิ่งแวดลอม และการกําจัดมลสารทางวิทยาศาสตร การประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม การบริหาร การจัดการเพื่อพัฒนาสิ่งแวดลอมแบบผสมผสาน

Page 46: วิชาเอกการเง ิน · 2.3 ชื่อเต็มภาษาอ ังกฤษ Bachelor of Business Administration (Finance) 2.4 ชื่อย อภาษาอ

40

13-121-245 สถิติ 1 3(3-0-3)Statistics 1ศึกษาเกี่ยวกับสถิติเชิงพรรณนา ความนาจะเปน ตัวแปรสุม การแจกแจงตัวแปรสุม การสุมตัวอยาง การแจกแจงของกลุมตัวอยาง การประมาณคา การทดสอบสมมติฐานของคาเฉลี่ยประชากรกลุมเดียว และการทดสอบไควสแควร

13-121-246 สถิติ 2 3(3-0-3)Statistics 2วิชาบังคับกอน : 13-121-245 สถิติ 1การแจกแจงของกลุมตัวอยาง การประมาณคาพารามิเตอร การทดสอบสมมติฐาน การวิเคราะหความแปรปรวน การวิเคราะหความถดถอยและสห-สัมพันธ การแปลความหมายจากผลการใชโปรแกรมสําเร็จรูป

01-610-001 พลศึกษา 1(0-2-1)Physical Educationรูความหมายของพลศึกษา การเสริมสรางและทดสอบสมรรถภาพทางกาย เขาใจวิทยาศาสตรการกีฬา สวัสดิภาพในกิจกรรมพลศึกษา รูระเบียบ กติกา มารยาทและการเลนเปนทีม รูจักจัดและดําเนินการกิจกรรมการแขงกีฬา

01-610-023 กิจกรรมเขาจังหวะ 1(0-2-1)Rhythmic Activitiesเพื่อทราบความเปนมาและประโยชนของกิจกรรมเขาจังหวะ หลักการเคลื่อนไหวเบื้องตน พื้นฐานตาง ๆ ในการจัดทรวดทรงของรางกาย ตลอดจนกิจกรรมและทาตาง ๆ ในการใชประกอบจังหวะการเตนรําพื้นเมืองหรือแบบสากล

Page 47: วิชาเอกการเง ิน · 2.3 ชื่อเต็มภาษาอ ังกฤษ Bachelor of Business Administration (Finance) 2.4 ชื่อย อภาษาอ

41

01-620-001 นันทนาการ 1(0-2-1)Recreationเพื่อทราบปรัชญาและความหมายของการนันทนาการ ทราบลักษณะกิจกรรมและรูปแบบของนันทนาการในการพักผอนหยอนใจขององคกรตาง ๆ เชนโรงเรียน ชุมชน หรือหนวยงานตาง ๆ เปนตน รูจักกิจกรรมที่ใชในการนันทนาการ ตลอดจนสามารถคนควาและใชกิจกรรมตาง ๆ ในการนันทนาการในโอกาสตาง ๆ เชน การใชเกมส การแขงขัน การนันทนาการนอกสถานที่ เปนตน

01-630-001 กิจกรรม 1 1(0-2-1)Activities 1เพื่อใหนักศึกษาเขารวมกิจกรรม โดยกระบวนการกลุม (Group Dynamics)หรือดําเนินกิจกรรมโดยคําแนะนําและควบคุมของผูสอนตลอดเวลา มุงเนนการฝกฝนในการพัฒนาตนเองเพื่อใหเกิดความรูและทักษะในการอยูรวมกันในสังคม การจัดกิจกรรมออกกําลังกายเพื่อสุขภาพ การจัดกิจกรรมดานระเบียบวินัย คุณธรรมและจริยธรรม

01-630-002 กิจกรรม 2 1(0-2-1)Activities 2ใหนักศึกษาเขารวมกิจกรรมโดยกระบวนการกลุม (Group Dynamics) หรือการจัดกิจกรรมโดยคําแนะนําและควบคุมของผูสอนตลอดเวลาเพื่อใหเกิดความรู และฝกทักษะในการนําไปใชที่เปนประโยชนตอสังคม และฝกการจัดกิจกรรมนันทนาการในหนวยงาน การจัดกิจกรรมเกี่ยวกับชมรมและสโมสรนักศึกษา การจัดกิจกรรมอนุรักษธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม และการจัดกิจกรรมสงเสริมเอกลักษณไทย

Page 48: วิชาเอกการเง ิน · 2.3 ชื่อเต็มภาษาอ ังกฤษ Bachelor of Business Administration (Finance) 2.4 ชื่อย อภาษาอ

42

01-630-007 สวัสดิศึกษา 1(0-2-1)Safety Educationเพื่อทราบความหมายและแนวคิดเกี่ยวกับสวัสดิภาพและสวัสดิศึกษา เพื่อสามารถปองกันอุบัติเหตุและการปฐมพยาบาลโดยทั่วไปในสถานที่ตาง ๆ เชนภายในบาน ในสถานที่ทํางาน เปนตน และฝกทักษะและการคิดคนวิธีการปองกันอุบัติเหตุและการสรางความปลอดภัยในสังคม เปนวิชาที่จัดขึ้นเพื่อใหนักศึกษาทุกคนไดเขารวมกิจกรรม และดําเนินกิจกรรมตาง ๆ ภายใตคําแนะนําปรึกษาจากอาจารยผูสอน

05-110-105 จิตวิทยาธุรกิจ 3(3-0-3)Business Psychologyศึกษาความรูและการประยุกตใชความรูทางจิตวิทยากับในการประกอบกิจกรรมทางธุรกิจ โดยใหมีเนื้อหาครอบคลุมหัวขอเกี่ยวกับความหมายและความสําคัญของจิตวิทยาธุรกิจ บุคลิกภาพทางธุรกิจ การปรับปรุงตนเองใหเอื้อตอการประกอบอาชีพธุรกิจ การพิจารณาเลือกงานอาชีพ การสมัครงาน การเขารับการสัมภาษณงาน การเรียนรู การถายโยงการจํา การลืมกับการฝกอบรมทางธุรกิจ ทัศนคติและขวัญกับการจูงใจทางธุรกิจ รวมทั้งจิตวิทยาการขายและการโฆษณา

05-110-106 กฎหมายธุรกิจ 1 3(3-0-3)Business Law 1การตีความ การอุดชองวางของกฎหมาย หลักทั่วไปเกี่ยวกับสิทธิและการใชสิทธิรวมถึงการปฏิบัติตามกฎหมาย บุคคล ทรัพย นิติกรรมและสัญญาหนี้ละเมิด จัดการงานนอกคําสั่ง ลาภมิควรได สัญญาซื้อขาย สัญญาขายฝากสัญญาเชาทรัพย เชาซื้อ สัญญายืม สัญญาฝากทรัพย สัญญาค้ําประกันสัญญาจํานอง สัญญาจํานํา สัญญาตัวแทนและนายหนา ประกันภัย ทรัพยสินทางปญญา

Page 49: วิชาเอกการเง ิน · 2.3 ชื่อเต็มภาษาอ ังกฤษ Bachelor of Business Administration (Finance) 2.4 ชื่อย อภาษาอ

43

05-110-211 การวิเคราะหธุรกิจเชิงสถิติ 3(3-0-3)Statistical Analysis in Businessวิชาบังคับกอน : 13-121-245 สถิติ 1 หรือวิชาสถิติอ่ืน ๆ ที่มีเนื้อหาเทียบเทาศึกษาความรู และการประยุกตใชความรูทางสถิติกับปญหาทางธุรกิจ โดยใหมีเนื้อหาครอบคลุมหัวขอเกี่ยวกับ ตัวแปรสุม การแจกแจงตัวแปรสุมชนิดไมตอเนื่องแบบตาง ๆ การแจกแจงตัวอยาง การประมาณคาและการทดสอบสมมติฐาน การวิเคราะหการถดถอยและสหสัมพันธ การวิเคราะหอนุกรมเวลา การวิเคราะหความแปรปรวนและการตัดสินใจภายใตความไมแนนอน

05-110-216 การภาษีอากร 3(3-0-3)Taxationศึกษาหลักการ ทฤษฎี วิธีการและความจําเปนที่รัฐตองจัดเก็บภาษี แหลงรายรับของรัฐบาล ความแตกตางของรายรับอื่น ๆ ที่ไมไดมาจากการภาษีอากรนโยบายและสวนประกอบภาษีอากร ปญหาภาษีอากรที่เกิดขึ้นภายในประเทศและวิธีแกไข วิธีการจัดเก็บตามประมวลรัษฎากร ซ่ึงไดแก ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา ภาษีเงินไดนิติบุคคล ภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป หลักและวิธีการจัดเก็บภาษีอากรศุลกากร ภาษีสรรพสามิต ภาษีปายภาษีโรงเรือนและที่ดิน ภาษีบํารุงทองที่ ภาษีเฉพาะอยางอื่น ๆ ซ่ึงรัฐอาจกําหนดขึ้นตามความจําเปนและสภาวะเศรษฐกิจ

05-110-226 มนุษยสัมพันธทางธุรกิจ 3(3-0-3)Human Relations in Businessศึกษาความรูและการประยุกตใชความรูเกี่ยวกับหลักการมนุษยสัมพันธในการประกอบกิจกรรมทางธุรกิจ โดยใหมีเนื้อหาครอบคลุมหัวขอเกี่ยวกับความหมายและความสําคัญของมนุษยสัมพันธในธุรกิจ การปรับปรุงตนเองใหเอื้อตอการสรางเสริมมนุษยสัมพันธ การจูงใจและการครองใจคน การปฏิบัติตอผูรวมงาน กลุมและภาวะผูนํา การทํางานเปนทีม ธรรมะกับมนุษยสัมพันธตลอดจนปจจัยตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับการสรางเสริมมนุษยสัมพันธทางธุรกิจ

Page 50: วิชาเอกการเง ิน · 2.3 ชื่อเต็มภาษาอ ังกฤษ Bachelor of Business Administration (Finance) 2.4 ชื่อย อภาษาอ

44

05-110-339 สหกิจศึกษาทางบริหารธุรกิจและเศรษฐศาสตร 6(0-40-0)Co-operative Education in Business and Economicsการศึกษาที่เนนการปฏิบัติงานทางดานการบริหารธุรกิจและเศรษฐศาสตรในสถานประกอบการ โดยมีการวางแผนรวมกันระหวางสถาบันอุดมศึกษาและสถานประกอบการ นักศึกษาจะตองเขาไปปฎิบัติงานเต็มเวลาเสมือนเปนพนักงานของหนวยงานนั้น โดยมีพนักงานที่ปรึกษาที่สถานประกอบการมอบหมายใหทําหนาที่ดูแลรับผิดชอบการปฏิบัติงานของนักศึกษา มีการกําหนดลักษณะงาน แผนการปฏิบัติงานใหกับนักศึกษา นักศึกษาจะตองจัดทํารายงานภายหลังเสร็จสิ้นการปฏิบัติงาน เพื่อการประเมินผลการศึกษาหมายเหตุ 1. นักศึกษาตองผานการเตรียมความพรอม ในเรื่องวิชาชีพ

จรรยาบรรณ บุคลิกภาพ การทํางานเปนทีม และอื่นๆ กอน ไปปฏิบัติงาน ณ สถานประกอบการ ระยะเวลาการฝกงาน 1 ภาคการ ศึกษาปกติ

2. การประเมินผลนักศึกษา ใหคาระดับคะแนนเปน พ.จ. หรือ S - พอใจ (Satisfactory) และ

ม.จ. หรือ U - ไมพอใจ (Unsatisfactory)

05-110-340 การฝกงาน 1 3(0-40-0)Job Training 1การศึกษาที่เนนการปฏิบัติงานในสถานประกอบการ นักศึกษาจะตองเขาฝกปฏิบัติงานเต็มเวลาในหนวยงานนั้น โดยมีพนักงานที่ปรึกษาที่องคกรมอบหมายใหทําหนาที่ดูแลรับผิดชอบการปฏิบัติงานของนักศึกษา มีการกําหนดลักษณะงาน แผนการปฏิบัติงานใหนักศึกษา เพื่อการประเมินผลการศึกษาหมายเหตุ 1. ระยะเวลาการฝกงานไมนอยกวา 200 ช่ัวโมง หรือ 1 ภาคการ

ศึกษาฤดูรอน 2. การประเมินผลนักศึกษา ใหคาระดับคะแนนเปน พ.จ. หรือ S - พอใจ (Satisfactory) และ ม.จ. หรือ U - ไมพอใจ (Unsatisfactory)

Page 51: วิชาเอกการเง ิน · 2.3 ชื่อเต็มภาษาอ ังกฤษ Bachelor of Business Administration (Finance) 2.4 ชื่อย อภาษาอ

45

05-110-341 การฝกงานทางบริหารธุรกิจและเศรษฐศาสตร 3(0-40-0)Business and Economics Trainingการศึกษาที่เนนการปฏิบัติงานทางดานการบริหารธุรกิจและเศรษฐศาสตรในสถานประกอบการ นักศึกษาจะตองเขาปฏิบัติงานเต็มเวลาในหนวยงานนั้นโดยมีพนักงานที่ปรึกษาที่สถานประกอบการมอบหมายใหทําหนาที่ดูแลรับผิดชอบการปฏิบัติงานของนักศึกษา มีการกําหนดลักษณะงาน แผนการปฏิบัติงานใหนักศึกษา เพื่อการประเมินผลการศึกษาหมายเหตุ 1. ระยะเวลาการฝกงานไมนอยกวา 200 ช่ัวโมง หรือ 1 ภาคการ

ศึกษาฤดูรอน 2. การประเมินผลนักศึกษา ใหคาระดับคะแนนเปน

พ.จ. หรือ S - พอใจ (Satisfactory) และ ม.จ. หรือ U - ไมพอใจ (Unsatisfactory)

05-110-342 ประสบการณทางวิชาชีพบริหารธุรกิจและเศรษฐศาสตร 3(0-40-0)ในตางประเทศBusiness and Economics Experience in Foreign Countriesการศึกษาที่เนนการดูงานและ/หรือฝกอบรม และ/หรือฝกปฏิบัติทางดานการ

บริหารธุรกิจและเศรษฐศาสตรในตางประเทศหมายเหตุ การประเมินผลนักศึกษา ใหคาระดับคะแนนเปน

พ.จ. หรือ S - พอใจ (Satisfactory) และ ม.จ. หรือ U - ไมพอใจ (Unsatisfactory)

Page 52: วิชาเอกการเง ิน · 2.3 ชื่อเต็มภาษาอ ังกฤษ Bachelor of Business Administration (Finance) 2.4 ชื่อย อภาษาอ

46

05-210-101 หลักการตลาด 3(3-0-3)Principles of Marketingศกึษาบทบาทและความสาํคญัของการตลาดทีม่ตีอสังคม เศรษฐกจิ พฒันาการของแนวความคดิการตลาด กจิกรรมและหนาทีต่างๆทางการตลาด ลักษณะและพฤติกรรมการซื้อแตละตลาด ปจจัยที่มีอิทธิพลตอการกําหนดสวนประสม การตลาด กลยทุธการตลาดทีเ่หมาะสมสาํหรับแตละสวนประสม การประยกุตเทคโนโลยีสมัยใหมเขามาใชในกิจกรรมการตลาด จริยธรรมการตลาดและความรบัผิดชอบตอสังคม

05-310-101 หลักการจัดการ 3(3-0-3)Principles of Managementศึกษาถึงลักษณะทั่วไปของการประกอบธุรกิจ แนวความคิดและวิวัฒนาการทางการจัดการ ปจจัยตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับการจัดการรวมทั้งหนาที่ของ ผูบริหารทางดานตาง ๆ คือ การวางแผน การจัดองคการ การชี้นําและการควบคุม โดยศึกษาแตละหนาที่และมุงถึงความสําคัญกับผลกระทบของ องคประกอบทางดานบุคคลที่มีตอองคการ ศึกษาความมีจริยธรรม และความรับผิดชอบตอสังคม

05-310-209 เทคนิคการจัดการสมัยใหม 3(3-0-3)Modern Management Techiquesวิชาบังคับกอน : 05-310-101 หลักการจัดการศึกษาถึงวิวัฒนาการของทฤษฎีการจัดการ การจัดการเชิงกระบวนการ การจัดการเชิงปริมาณ การจัดการเชิงพฤติกรรม การจัดการเชิงระบบ ศึกษาแนวทางของการจัดการสมัยใหม บทบาทของผูบริหารหรือผูนําในโลกยุคโลกาภิวฒัน จริยธรรมในการบริหาร การบริหารความเปลี่ยนแปลง รวมทั้งแนวทางการจัดการธุรกิจในประเทศและการบริหารระหวางประเทศ

Page 53: วิชาเอกการเง ิน · 2.3 ชื่อเต็มภาษาอ ังกฤษ Bachelor of Business Administration (Finance) 2.4 ชื่อย อภาษาอ

47

05-310-427 การบริหารธุรกิจขนาดยอม 3(3-0-3)Small Business Managementวิชาบังคับกอน: 05-310-101 หลักการจัดการศึกษาสภาพของการดําเนินงานในรูปแบบของธุรกิจขนาดยอม การวางแผนทางธุรกิจ การหาโอกาสของการประกอบธุรกิจขนาดยอม การวางแผนทางการตลาด การจัดการผลิต การจัดหาเงินทุน บุคลากร แหลงขอมูล รายละเอียดทางดานกฏหมาย ปญหาขอจํากัดของรัฐอันมีผลตอการประกอบธุรกิจขนาดยอมทั้งในปจจุบันและอนาคต ตลอดจนการฝกจัดทําแผนธุรกิจ

05-340-305 การจัดการสํานักงาน 3(3-0-3)Office Managementวิชาบังคับกอน : 05-310-101 หลักการจัดการศึกษาบทบาทและหนาที่งานสํานักงานทั้งในองคการธุรกิจและราชการ การวางแผน การจัดองคการ การอํานวยการและการควบคุมสํานักงาน การจัดผังสํานักงาน สายการดําเนินงาน การบริหารงานเอกสารและเครื่องใชสํานักงานการจัดระบบวิธีปฏิบัติ การนิเทศพนักงาน การประเมินผลเพื่อประสิทธิภาพงานสํานักงาน ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด ปรัชญา และวิธี ปฎิบัติงานในการจัดการสํานักงานทั้งองคการธุรกิจและราชการ

05-410-101 การบัญชีชั้นตน 1 3(3-0-3)Introduction to Accounting 1ศึกษาแมบทการบัญชี หลักและวิธีการทําบัญชี ตั้งแตเร่ิมบันทึกรายการในสมุดรายวันขั้นตน สมุดแยกประเภท การทํางบทดลอง การปรับปรุง แกไขขอผิดพลาดทางบัญชี การปดบัญชี การจัดทํากระดาษทําการ งบการเงินของกิจการใหบริการและซื้อขายสินคา การบัญชีสวนของเจาของ การบัญชีเกี่ยวกับสินคาและการบัญชีเกี่ยวกับภาษีมูลคาเพิ่ม

Page 54: วิชาเอกการเง ิน · 2.3 ชื่อเต็มภาษาอ ังกฤษ Bachelor of Business Administration (Finance) 2.4 ชื่อย อภาษาอ

48

05-410-102 การบัญชีชั้นตน 2 3(3-0-3)Introduction to Accounting 2วิชาบังคับกอน : 01-410-101 การบัญชีช้ันตน 1ศึกษาหลักและวิธีการบันทึกรายการเกี่ยวกับเงินสดและเงินสดยอย ระบบใบสําคัญ หลักทรัพยลงทุน ลูกหนี้และตั๋วเงิน ที่ดิน อาคารและอุปกรณ สินทรัพยที่ไมมีตัวตน ตลอดจนการบัญชีสําหรับคาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนายการบัญชีของกิจการอุตสาหกรรมอยางงาย การบัญชีของกิจการที่ไมหวังผลกําไรและระบบบัญชีเดี่ยว

05-410-103 หลักการบัญชี 3(3-0-3)Principles of Accountingศึกษาถึงความหมายและประเภทของการบัญชี ประโยชนและความสําคัญของการบัญชีที่มีตอสังคม แมบทการบัญชี หลักเกณฑและวิธีการขั้นพื้นฐานในการบันทึกบัญชีและการจัดทํารายงานการเงินของกิจการใหบริการ กิจการซื้อขายสินคา และกิจการผลิตและขายสินคาที่จัดตั้งในรูปของกิจการเจาของคนเดียว หางหุนสวนและบริษัท ตลอดจนการวิเคราะหและการตีความรายงานการเงิน

05-420-201 การบัญชีเพื่อการจัดการ 3(3-0-3)Accounting for Managementวิชาบังคับกอน : 05-410-102 การบัญชีช้ันตน 2

หรือ 05-410-103 หลักการบัญชีศึกษาความสําคัญของการบัญชีเพื่อการจัดการ การใชประโยชนของงบการเงิน ความสัมพันธระหวางรายการในงบการเงิน การจัดทํางบประมาณ การใชขอมูลทางบัญชีเพื่อชวยในการวางแผน การควบคุมและตัดสินใจดําเนินงาน

Page 55: วิชาเอกการเง ิน · 2.3 ชื่อเต็มภาษาอ ังกฤษ Bachelor of Business Administration (Finance) 2.4 ชื่อย อภาษาอ

49

05-510-203 ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร 3(3-0-3)Management Information Systemศึกษาถึงความหมายของสารสนเทศ สารสนเทศเพื่อการวางแผนการปฏิบัติงานและการควบคุม ลักษณะที่สําคัญของระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารความสัมพันธระหวางผูบริหารกับสารสนเทศ ความถี่ของการใชสารสนเทศการบริหารโดยการตัดสินใจประเภทตาง ๆ ประโยชนของสารสนเทศ การนําระบบเครือขายอินเตอรเน็ตและอินทราเน็ตมาใชในการดําเนินงานสารสนเทศในองคกร

05-550-251 การใชคอมพิวเตอรในงานธุรกิจ 3(3-0-3)Use of Computers in Businessศึกษาวิธีการตาง ๆ ในการประมวลขอมูล ประวัติความเปนมาและความรูทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอรและองคประกอบของคอมพิวเตอร แนวความคิดในการนําคอมพิวเตอรมาใชในงานธุรกิจประเภทตาง ๆ การใชโปรแกรมสํานักงานเบื้องตน ไดแก โปรแกรมประมวลผลคํา โปรแกรมกระดาษทําการ และโปรแกรมเพื่อการนําเสนอ การใชระบบเครือขายและอินเตอรเน็ต

05-610-204 คณิตศาสตรการเงิน 3(2-2-3)Mathematics for Financeศึกษาหลักเกณฑทางคณิตศาสตรที่จะนําไปใชในงานดานการเงินและธุรกิจทั่วไป การคิดดอกเบี้ยลักษณะตาง ๆ การคํานวณหามูลคาของเงินตามเวลาและการประยุกตเพื่อนําไปใชในดําเนินงาน การพยากรณยอดขายขั้นพื้นฐาน การนําคณิตศาสตรมาใชเปนเครื่องมือวางแผนและตัดสินใจทางดานการเงิน

Page 56: วิชาเอกการเง ิน · 2.3 ชื่อเต็มภาษาอ ังกฤษ Bachelor of Business Administration (Finance) 2.4 ชื่อย อภาษาอ

50

05-610-205 การเงินธุรกิจ 3(3-0-3)Business Financeวิชาบังคับกอน : 05-410-102 การบัญชีช้ันตน 2

หรือ 05-410-103 หลักการบัญชีศึกษา ความหมายและความสําคัญของการเงินธุรกิจ ขอบเขต บทบาทและหนาที่ของฝายการเงิน รูปแบบของธุรกิจและการภาษีอากร การวิเคราะหการพยากรณและการวางแผนทางการเงิน หลักเกณฑการบริหารทุนหมุนเวียนและ งบลงทุน มูลคาของเงิน โครงสรางทางการเงินและวิธีการจัดหาเงินทุนของธุรกิจ

05-610-206 การเงินการธนาคาร 3(3-0-3)Money and Bankingศึกษาลักษณะและบทบาทหนาที่ของระบบการเงิน ประเภทของสนิทรัพยทางการเงิน คําจํากัดความของปริมาณและการหมุนเวียนของเงินทุนในตลาดเงินขาวสารขอมูลเพื่อการตัดสินใจในตลาดการเงินไทย ทฤษฎีวาดวยการเงินระบบการเงินระหวางประเทศและอนุพันธทางการเงินเบื้องตน ระบบธนาคารพาณิชย บทบาทหนาที่ของธนาคารแหงประเทศไทย

05-610-207 สถาบันและตลาดการเงิน 3(3-0-3)Financial Institution and Marketวิชาบังคับกอน : 05-711-102 เศรษฐศาสตรมหภาค 1

หรือ 05-722-302 เศรษฐศาสตรวิเคราะหศึกษาโครงสรางและบทบาทหนาที่ของตลาดการเงิน พัฒนาการของตลาดการเงินไทย เครื่องมือทางการเงิน ประเภทของสถาบันการเงินและลักษณะการดําเนินงาน ตลอดจนแหลงที่มาและการใชไปของเงินทุนของสถาบันการเงินประเภทตาง ๆ ในประเทศไทย

Page 57: วิชาเอกการเง ิน · 2.3 ชื่อเต็มภาษาอ ังกฤษ Bachelor of Business Administration (Finance) 2.4 ชื่อย อภาษาอ

51

05-610-301 การเงินสวนบุคคล 3(3-0-3)Personal Financeศึกษาเกี่ยวกับการวางแผนทางการเงินสวนบุคคล สินเชื่อบุคคล การออมทรัพย และการตัดสินใจลงทุน การจัดการรายจายสวนบุคคล การจัดทํางบประมาณ และการวางแผนในการประกันภัย รวมถึงแผนในวัยเกษียณอายุ

05-610-303 การบริหารการเงินบุคคล 3(3-0-3)Personal Finance Managementวิชาบังคับกอน : 05-610-205 การเงินธุรกิจศึกษาเกี่ยวกับการวางแผนทางการเงิน การวัดฐานะทางการเงิน การบริหารเงินสด และสินทรัพยสภาพคลอง สินเชื่อบุคคล การวางแผนรายจายสวนบุคคล การบริหารความเสี่ยงและประกันภัย การออมทรัพยและการตัดสินใจลงทุนในตราสารทางการเงิน การวางแผนในวัยเกษียณอายุ และการจัดทําพินัยกรรม การแตงตั้งผูดูแลผลประโยชน รวมถึง การเปนที่ปรึกษาทางการเงินใหบุคคลอื่น

05-610-307 การพยากรณทางธุรกิจ 3(2-2-3)Business Forecastingวิชาบังคับกอน : 05-110-211 การวิเคราะหธุรกิจเชิงสถิติ

และ 05-610-205 การเงินธุรกิจศึกษาถึงปจจัยตาง ๆ ที่มีผลกระทบตอการบริหารทางการเงินของธุรกิจความสําคัญ หลักเกณฑที่ใชในการพยากรณ แหลงของขอมูลและการเก็บรวบรวมขอมูล เทคนิคและวิธีการตาง ๆ ที่ใชในการพยากรณทั้งระยะสั้นและระยะยาว การใชโปรแกรมสําเร็จรูปในการประมวลผลขอมูลการประเมินผลของการพยากรณ รวมถึงศึกษาถึงปจจัยที่ใชพิจารณาวิธีการพยากรณที่เหมาะสม

Page 58: วิชาเอกการเง ิน · 2.3 ชื่อเต็มภาษาอ ังกฤษ Bachelor of Business Administration (Finance) 2.4 ชื่อย อภาษาอ

52

05-610-319 หลักการลงทุน 3(3-0-3)Principles of Investmentวิชาบังคับกอน : 05-610-205 การเงินธุรกิจศึกษาถึงความหมายของการลงทุน ความแตกตางระหวางการลงทุนกับการเก็งกําไร กระบวนการการลงทุน ผลตอบแทนและความเสี่ยงจากการลงทุน การพิจารณาหลักทรัพยชนิดตางๆ ทั้งหลักทรัพยรัฐบาลและหลักทรัพยธุรกิจ การคํานวณอัตราผลตอบแทนจากการลงทุนในหลักทรัพยชนิดตางๆ หลักการเบื้องตนในการวิเคราะหหลักทรัพยทั้งการวิเคราะหพื้นฐานและการวิเคราะหเทคนิคตลอดจนวธีิปฏิบัติในการซื้อขายหลักทรัพยในตลาดหลักทรัพย

05-610-320 การวิเคราะหหลักทรัพย 3(2-2-3)Security Analysisวิชาบังคับกอน : 05-610-319 หลักการลงทุนศึกษาหลักการวิเคราะหหลักทรัพยตามแนวความคิดการวิเคราะหพื้นฐาน การวิเคราะหทางเทคนิคและแนวความคิดประสิทธิภาพของตลาด ตลอดจนทฤษฎีกลุมหลักทรัพย โดยการศึกษาจะเนนการใชบทความ กรณีศึกษา การอภิปรายในชั้นเรียนและการฝกปฏิบัติการวิเคราะหหลักทรัพย

05-610-322 การวิเคราะหรายงานทางการเงิน 3(2-2-3)Financial Report Analysisวิชาบังคับกอน : 05-610-205 การเงินธุรกิจศึกษาถงึการจัดทํางบการเงินรูปแบบตางๆ ตามวัตถุประสงค ประโยชนของงบการเงิน ขั้นตอนและเครื่องมือการวิเคราะหรายงานการเงิน ศึกษาถึงผลกระทบของหลักการบัญชีที่กิจการเลือกนํามาปฎิบัติตอตัวเลขที่แสดงในรายงานการเงินและงบการเงิน

05-610-323 การบริหารสินเชื่อ 3(3-0-3)Credit Managementวิชาบังคับกอน : 05-610-205 การเงินธุรกิจศึกษาถึงความสําคัญและประเภทของการใหสินเชื่อ การกําหนดหลักเกณฑและนโยบายการใหสินเชื่อของธุรกิจการคา สถาบันการเงิน เทคนิคในการวิเคราะหและพิจารณาสินเชื่อเพื่อกําหนดวงเงินและอัตราดอกเบี้ย การพิจารณาโครงการเงินกู การควบคุม การจัดเก็บ การติดตามหนี้และการแกไขหนี้ที่มีปญหาตลอดจนการใชระบบประมวลขอมูลโดยการใชคอมพิวเตอร

Page 59: วิชาเอกการเง ิน · 2.3 ชื่อเต็มภาษาอ ังกฤษ Bachelor of Business Administration (Finance) 2.4 ชื่อย อภาษาอ

53

05-610-325 การบริหารการเงิน 3(3-0-3)Financial Managementวิชาบังคับกอน : 05-610-205 การเงินธุรกิจศึกษาการประเมินผลตอบแทนและความเสี่ยงของการลงทุน และกลุมหลักทรัพย การประเมินมูลคาหลักทรัพย โครงสรางทางการเงินและคาของทุนการประเมินโครงการลงทุนภายใตภาวะความไมแนนอน รวมถึงการศึกษานโยบายการเงินตาง ๆ ที่มีผลตอการตัดสินใจในการบริหารการเงินเพื่อใหบรรลุเปาหมายอยางมีประสิทธิภาพ

05-610-331 หลักการบริหารสถาบันการเงิน 3(3-0-3)Financial Institution Managementวิชาบังคับกอน : 05-610-207 สถาบันและตลาดการเงินศึกษาถึงโครงสราง การจัดองคการ ระบบงานและการบัญชี ลักษณะงานและกลยุทธการใหบริการในดานตาง ๆ ของสถาบันการเงิน กฎหมายที่เกี่ยวของรวมทั้งการบริหารเงินทุนและสภาพคลอง การบริหารกําไร ตลอดจนการวิเคราะหฐานะและความมั่นคงของสถาบันการเงิน ศึกษาเกี่ยวกับความเสี่ยงที่เกี่ยวของ เทคนิคและเครื่องมือในการบริหารความเสี่ยง รวมถึงการแสดงรายงานประกอบงบการเงิน

05-610-339 การบริหารธนาคารพาณิชย 3(3-0-3)Bank Managementวิชาบังคับกอน : 05-610-207 สถาบันและตลาดการเงินศึกษาถึงการจัดองคการ แหลงที่มาและการลงทุนของธนาคาร หนาที่และความรับผิดชอบของฝายอํานวยการ เจาหนาที่ฝายตางๆ ของสํานักงาน การควบคุมของรัฐ กฏขอบังคับและแบบแผนวิธีปฎิบัติงานเกี่ยวกับธนาคารพาณิชย

Page 60: วิชาเอกการเง ิน · 2.3 ชื่อเต็มภาษาอ ังกฤษ Bachelor of Business Administration (Finance) 2.4 ชื่อย อภาษาอ

54

05-610-341 การบริหารงานสหกรณ 3(3-0-3)Cooperative Managementวิชาบังคับกอน : 05-610-207 สถาบันและตลาดการเงินศึกษาถึงประวัติและวิวัฒนาการของการสหกรณ ประเภทและหลักการสหกรณ การจัดองคกร การจัดการและการบริหารงานของสหกรณประเภทตาง ๆ การดําเนินงานสหกรณ รวมทั้งปญหาในการดําเนินงานสหกรณทั้งภายในและภายนอก

05-610-347 การคลังสาธารณะ 3(3-0-3)Public Financeวิชาบังคับกอน : 05-711-102 เศรษฐศาสตรมหภาค 1

หรือ 05-722-302 เศรษฐศาสตรวิเคราะหศึกษาถึงความหมาย ขอบเขตและบทบาทของการคลังรัฐบาล การจัดทํางบประมาณรายรับของรัฐบาลในลักษณะตาง ๆ รายจายของรัฐบาลทุกประเภทหนี้สาธารณะและการบริหารหนี้สาธารณะ รวมทั้งนโยบายการคลังที่มีผลกระทบตอระบบเศรษฐกิจและสังคม

05-610-349 หลักการงบประมาณแผนดิน 3(3-0-3)Government Budgetingวิชาบังคับกอน : 05-610-347 การคลังสาธารณะศึกษาความเปนมาของงบประมาณแผนดิน แนวคิดในการจัดทํางบประมาณแผนดินของสากลและของประเทศไทย บทบาทและความสําคัญของงบประมาณ โดยพิจารณาดานสาระสําคัญ ประโยชน ปญหาและขอจํากัดวงจรงบประมาณ การจัดทํางบประมาณทั้งรายรับและรายจาย การบริหารงบประมาณและการติดตามประเมินผล

Page 61: วิชาเอกการเง ิน · 2.3 ชื่อเต็มภาษาอ ังกฤษ Bachelor of Business Administration (Finance) 2.4 ชื่อย อภาษาอ

55

05-610-401 การเงินระหวางประเทศ 3(3-0-3)International Financeวิชาบังคับกอน : 05-610-205 การเงินธุรกิจ

และ 05-610-207 สถาบันและตลาดการเงินศึกษาลักษณะและปญหาดุลการชําระเงิน สกุลเงินตางๆ ระบบอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา ความเสี่ยงที่เกิดจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา เครื่องมือทางการเงินในการลดความเสี่ยง ตลาดเงินตราตางประเทศ ระบบการเงินระหวางประเทศ สถาบันการเงินระหวางประเทศและปญหาทางดานเศรษฐกิจทางการเงิน

05-610-402 การวิเคราะหเชิงปริมาณทางการเงิน 3(2-2-3)Quantitative Analysis in Financeศึกษาถึงความหมายและกระบวนการวิเคราะหเชิงปริมาณ เทคนิคทางคณิตศาสตรประยุกตเพื่อนําไปใชในการแกปญหาและตัดสินใจทางการเงินอยางมีหลักการและเปนระบบโดยการนําคอมพิวเตอรเขามาชวยในการแกปญหานั้นดวย

05-610-403 การวิจัยทางการเงิน 3(2-2-3)Research in Financeศึกษาถึงความสําคัญ หลักการและกระบวนการของการวิจัย โดยจะเลือกหัวขอในการวิจัยที่เกี่ยวกับปญหาทางการเงินที่นาสนใจในชวงเวลานั้น รวมถึงการนําโปรมแกรมสําเร็จรูปมาใชในการประมวลผลการวิจัย รวมถึงวิธีการในการนําเสนอผลงานวิจัย

Page 62: วิชาเอกการเง ิน · 2.3 ชื่อเต็มภาษาอ ังกฤษ Bachelor of Business Administration (Finance) 2.4 ชื่อย อภาษาอ

56

05-610-405 สัมมนาทางการเงิน 3(2-2-3)Seminar in Financeวิชาบังคับกอน : 05-610-319 หลักการลงทุน

และ 05-610-325 การบริหารการเงินศึกษาถึงปญหาตาง ๆ ทางการเงินที่เกิดขึ้นในองคกรทั้งภาครัฐและเอกชน นําเสนอในรูปกรณีศึกษาและเปดโอกาสใหนักศึกษาวิเคราะหเพื่อหาสาเหตุของปญหาที่เกิดขึ้นและการนําเสนอทางเลือกในการแกปญหานั้น มุงเนนการอภิปรายในชั้นเรียนรวมถึงการนําเสนอแนวทางในการพัฒนาองคกรใหดีขึ้น

05-610-409 การวางแผนและควบคุมทางการเงิน 3(2-2-3)Financial Planning and Controlวิชาบังคับกอน : 05-610-205 การเงินธุรกิจเปนการศึกษาถึงกระบวนการวางแผนทางการเงินทั้งแผนระยะสั้นและระยะยาว แผนการดําเนินงาน แผนกลยุทธ นําเครื่องมือทางการเงินมาวิเคราะหประเมินความตองการทางการเงิน วางแผนการจัดหาเงินทุน ประเมินผลการปฏิบัติงาน

05-610-411 การบริหารระบบขอมูลทางการเงิน 3(2-2-3)Management in Financial Information Systemวิชาบังคับกอน : 05-610-205 การเงินธุรกิจศึกษาองคประกอบของระบบสารสนเทศทางการเงิน ความสัมพันธขององคประกอบเหลานั้น บทบาท หนาที่ของระบบสารสนเทศทางการเงินเพื่อการบริหารและการควบคุม การจัดโครงสรางของฐานขอมูลทางการเงินรูปแบบตาง ๆ การเรียกใชงาน การจัดทํา การปรับปรุงแฟมขอมูลรวมถึงการประยุกตใชในการทํางาน การศึกษาจะเนนการฝกปฎิบัติ การสรางฐานขอมูลและการใชงาน

Page 63: วิชาเอกการเง ิน · 2.3 ชื่อเต็มภาษาอ ังกฤษ Bachelor of Business Administration (Finance) 2.4 ชื่อย อภาษาอ

57

05-610-415 การวิเคราะหโครงการลงทุน 3(2-2-3)Project Investment Analysisวิชาบังคับกอน : 05-610-325 การบริหารการเงินศึกษาถึงวัตถุประสงคในการจัดทําโครงการ ประเภทของโครงการ แนวทางในการวางแผน การจัดหาขอมูล ความสัมพันธของขอมูลและการประมาณการขอมูลทางการเงินเพื่อนํามาใชในการวิเคราะหความเปนไปไดของโครงการ รวมทั้งศึกษาเครื่องมือที่นํามาใชในการตัดสินใจโครงการภายใตความเสี่ยง การนําโปรแกรมสําเร็จรูปมาใชในการประเมินโครงการ การศึกษาจะเนนการปฏิบัติการในการจัดทําโครงการและวิธีการนําเสนอ

05-610-417 การวาณิชธนกิจ 3(3-0-3)Investment Bankingวิชาบังคับกอน: 05-610-319 หลักการลงทุน

และ 05-610-325 การบริหารการเงินศึกษาถึงหลักการและเทคนิคการวาณิชธนกิจของธุรกิจหลักทรัพย โดยเนนหลักการสรางมูลคาใหกิจการและการลงทุน การเสนอขายหลักทรัพยของกิจการในรูปแบบตางๆ การลงทุนของธุรกิจในรูปแบบตางๆ ตลอดจนการรวมกิจการ

05-610-419 อนุพันธทางการเงิน 3(3-0-3)Financial Derivativesวิชาบังคับกอน: 05-610-401 การเงินระหวางประเทศศึกษาผลกระทบที่มาจากความเสี่ยงในการดําเนินงาน โดยจะเนนถึงเทคนิคการบริหารความเสี่ยงโดยอาศัยอนุพันธทางการเงิน ไดแก สัญญาการซื้อขายลวงหนา (Futures) สัญญาสิทธิ (Options) และขอตกลงการแลกเปลี่ยน(Swaps) รวมถึงองคการหรือสถาบันที่เกี่ยวของ การประเมินคาอนุพันธและการประยุกตไปใชในการดําเนินงาน

Page 64: วิชาเอกการเง ิน · 2.3 ชื่อเต็มภาษาอ ังกฤษ Bachelor of Business Administration (Finance) 2.4 ชื่อย อภาษาอ

58

05-620-201 ความรูเบื้องตนทางการประกันภัย 3(3-0-3)Introduction to Insuranceศึกษาลักษณะความเสี่ยงภัยและความเสียหายทางการเงินที่อาจเกิดแกบุคคลทั่วไป ธุรกิจและองคกรตาง ๆ ประเภทของความเสียหายที่เกิดขึ้น การบริหารความเสี่ยงภัย ปจจัยที่มีผลตอการบริหารความเสี่ยงภัย หลักการประกันภัยความรูเบื้องตนของการประกันภัยแขนงตาง ๆ ปจจัยภายนอกที่มีผลตอการดําเนินธุรกรรมของบริษัทประกันภัยซ่ึงครอบคลุมถึงผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงในระดบัสากล

05-620-203 กฎหมายประกันภัย 3(3-0-3)Insurance Lawวิชาบังคับกอน : 05-110-106 กฎหมายธุรกิจ 1ศึกษาถึงกฎหมายตางๆที่เกี่ยวของกับการประกันภัย ขอกําหนดในการจัดตั้งบริษัทประกันภัย สิทธิและประโยชนที่ผูเอาประกันพึงไดรับ สาระสําคัญของกรรมธรรม การชดใชคาสินไหมทดแทนรวมถึงขอกําหนดในการเปนนายหนาหรือตัวแทนประกัน

05-620-205 สถิติประกันภัย 3(2-2-3)Insurance Statisticsวิชาบังคับกอน : 05-110-211 การวิเคราะหธุรกิจเชิงสถิติศึกษาเกี่ยวกับประเภทและแหลงของขอมูลทั้งดานการประกันชีวิต วินาศภัยรวมถึงสถิติความเสียหายที่เกิดขึ้น การเก็บรวบรวมขอมูลเหลานั้น การแจกแจงทางสถิติที่นําไปใช ประโยชนดานการประกันภัย การวิเคราะหและการนําเสนอ การคํานวณคาเบี้ยประกันภัยเบื้องตนในรูปแบบตางๆของการประกันภัย

Page 65: วิชาเอกการเง ิน · 2.3 ชื่อเต็มภาษาอ ังกฤษ Bachelor of Business Administration (Finance) 2.4 ชื่อย อภาษาอ

59

05-620-301 การประกันสังคม 3(3-0-3)Social Insuranceวิชาบังคับกอน : 05-620-201 ความรูเบื้องตนทางการประกันภัยศึกษาถึงสภาพปญหาของสังคมไทย นโยบายของรัฐในการแกปญหานั้นโครงการของรัฐบาลที่มีผลโดยตรงในระดับครอบครัวและสังคม การกําหนดนโยบายการประกัน การวางงาน ความพิการ ความชราภาพ ความเจ็บปวยและอื่นๆ ซ่ึงมีผลตอสภาพความมั่นคงตอสังคมไทย รวมถึงศึกษาเกี่ยวกับกฎหมายประกันสังคม กองทุนเงินทดแทนและกองทุนเงินประกันสังคม

05-620-303 การประกันวินาศภัย 1 3(3-0-3)Casualty Insurance 1วิชาบังคับกอน : 05-620-201 ความรูเบื้องตนทางการประกันภัยศึกษาเกี่ยวกับเนนการประกันวินาศภัยดานอัคคีภัยรวมถึงความเสียหายที่เกี่ยวเนื่องกับอัคคีภัยนั้น และการประกันภัยการขนสงภายในประเทศ ลักษณะการศึกษาเนนสาระสําคัญของกรรมธรรม ความคุมครอง เงื่อนไขและขอยกเวนสิทธิประโยชนของผูเอาประกัน การคํานวณเบี้ยประกัน ทุนประกัน รวมถึงการคํานวณในดานตางๆที่เกี่ยวของ

05-620-304 การประกันวินาศภัย 2 3(3-0-3)Casualty Insurance 2วิชาบังคับกอน : 05-620-201 ความรูเบื้องตนทางการประกันภัยศึกษาเกี่ยวกับการประกันภัยรถยนต อุบัติเหตุสวนบุคคล ความรับผิดชอบตอบุคคลที่สาม การประกันภัยทรัพยสิน การประกันภัยการโจรกรรม รวมถึงการประกันภัยเบ็ดเตล็ดอื่นๆ โดยศึกษาถึงสาระสําคัญของกรรมธรรม ความคุมครอง เงื่อนไขและขอยกเวน การคํานวณคาเบี้ยประกันและทุนประกันรวมถึงการคํานวณในดานตางๆที่เกี่ยวของ

Page 66: วิชาเอกการเง ิน · 2.3 ชื่อเต็มภาษาอ ังกฤษ Bachelor of Business Administration (Finance) 2.4 ชื่อย อภาษาอ

60

05-620-307 การประกันภัยทางทะเล 3(3-0-3)Marine Insuranceวิชาบังคับกอน : 05-620-201 ความรูเบื้องตนทางการประกันภัยศึกษาเกี่ยวกับเนน การประกันภัยตัวเรือและสินคา โดยเนนประเภทและเงื่อนไขในกรรมธรรม การคํานวณเบี้ยประกัน คาสินไหมทดแทน สิทธิและประโยชนของผูเอาประกันที่พึงไดรับ กฎหมายระหวางประเทศที่เกี่ยวของรวมถึงการประกันภัยในระหวางการขนสงทางทะเล

05-620-309 การประกันชีวิตและสุขภาพ 3(3-0-3)Life and Health Insuranceวิชาบังคับกอน : 05-620-201 ความรูเบื้องตนทางการประกันภัยศึกษาแนวคิดของการประกันชีวิตและสุขภาพ รูปแบบตางๆ ของการประกันชีวิตและสุขภาพในสวนนี้ ลักษณะความคุมครองและเงื่อนไขของกรรมธรรมการคํานวณเบี้ยประกันและทุนประกัน

05-620-311 กลยุทธการประกันภัย 3(3-0-3)Insurance Strategyศึกษาถึงกลยุทธตางๆที่ใชในการดําเนินงานเพื่อใหบรรลุเปาหมายที่วางไว การบริหารทางดานการเงิน การลงทุน การใชกลยุทธทางการตลาด การใชเทคนิคการขายอยางมีประสิทธิภาพ การกําหนดกลุมเปาหมาย การสรางโอกาสทางธุรกิจและศึกษาจรรยาบรรณทางวิชาชีพ

05-620-313 การวิจัยดานการประกันภัย 3(2-2-3)Insurance Researchศึกษาถึงความสําคัญ หลักการและกระบวนการของการวิจัย โดยจะเลือกหัวขอในการวิจัยที่เกี่ยวกับปญหาทางการประกันภัยที่นาสนใจในชวงเวลานั้น รวมถึงการนําโปรมแกรมสําเร็จรูปมาใชในการประมวลผลการวิจัย และวิธีการในการนําเสนอผลงานวิจัย

Page 67: วิชาเอกการเง ิน · 2.3 ชื่อเต็มภาษาอ ังกฤษ Bachelor of Business Administration (Finance) 2.4 ชื่อย อภาษาอ

61

05-620-411 ระบบสารสนเทศการประกันภัย 3(2-2-3)Information System in Insuranceวิชาบังคับกอน : 05-550-251 การใชคอมพิวเตอรในงานธุรกิจ

และ 05-620-205 สถิติประกันภัยศึกษาเกี่ยวกับระบบคอมพิวเตอรในการประมวลขอมูลดานการประกันภัย การสรางความสัมพันธของระบบเพื่อนํามาใชในการตัดสินใจ โครงสรางระบบ การจัดการฐานขอมูล การวิเคราะหและการนําเสนอผลงาน ตลอดจนการวิเคราะหขอมูลดวยโปรแกรมสําเร็จรูปตาง ๆ ในลักษณะของการจัดทํากรณีศึกษา

05-620-412 การบริหารธุรกิจประกันภัย 3(3-0-3)Insurance Managementศึกษารูปแบบการดําเนินงานของธุรกิจประกันภัย การคํานวณตนทุนในการดําเนินงานและการคํานวณผลตอบแทนที่ไดรับ รูปแบบของการลงทุนของธุรกิจการลงทุนในตราสารทางการเงิน หรือการลงทุนในอสังหาริมทรัพย

05-620-413 รายงานการเงินธุรกิจประกันภัย 3(2-2-3)Financial Report of Insurance Businessวิชาบังคับกอน : 05-610-205 การเงินธุรกิจศึกษาเกี่ยวกับการบันทึกรายการจากการดําเนินงาน รูปแบบของรายงานทางการเงิน ขอกําหนดตามมาตรฐานทางบัญชีที่รับรองทั่วไป โดยจะเนนการเปดเผยขอมูลในหมายเหตุประกอบงบการเงิน รวมทั้งการวิเคราะหทางการเงินการภาษีอากร

05-620-415 สัมมนาการประกันภัย 3(2-2-3)Seminar in Insuranceศึกษาถึงปญหาที่เกดิขึ้นทางดานการประกันภัย นําเสนอโดยการใชกรณีศึกษาเปดโอกาสใหนักศึกษาใชความรูความสามารถในการวิเคราะห วิจารณปญหาและนําเสนอทางแกไขปญหา รวมถึงการเชิญวิทยากรที่มีประสบการณมาบรรยายเพื่อเพิ่มองคความรูใหแกนักศึกษา

Page 68: วิชาเอกการเง ิน · 2.3 ชื่อเต็มภาษาอ ังกฤษ Bachelor of Business Administration (Finance) 2.4 ชื่อย อภาษาอ

62

05-630-413 การประเมินราคาทรัพยสินภาครัฐ 3(3-0-3)Statutory Valuationศึกษาเกี่ยวกับวัตถุประสงคของการใชทรัพยสินเปนฐานคํานวณภาษี ความหมายของคําศัพททางวิชาการที่เกี่ยวของกับการประเมินราคาเพื่อจัดเก็บภาษีและเวนคืน วิธีการจัดเก็บภาษีของกฎหมายตาง ๆ ในปจจุบัน หลักสากลในการประเมินราคาเพื่อการเวนคืน (Expropriation purposes) และการอุทธรณ

05-630-414 การประเมินราคาภาคการเกษตร 3(2-2-3)Rural Valuationวิชาบังคับ : 05-630-405 การประเมินราคาทรัพยสินขั้นสูงศึกษาความหมาย ประเภท ขั้นตอนและวิธีการประเมินคาฟารมแบบตาง ๆ ไดแก วิธีการประเมินมูลคาตลาด วิธีรายไดและวิธีตนทุน การเปรียบเทียบวิธีประเมินคาฟารมตามมูลคาตลาดและรายได แผนที่ประเมินและการจัดทํารายการเกี่ยวกับที่ดิน ปจจัยที่มีผลกระทบตอผลิตภาพของที่ดิน การจัดลําดับผลิตภาพของที่ดินและจําแนกสมรรถนะที่ดิน ผลผลิตพืชและระบบการปลูกพืช การจัดลําดับชั้นของฟารมและพื้นที่ขนาดใหญ

05-630-415 การประเมินราคาทรัพยสินเพื่อการลงทุน 3(2-2-3)Investment Valuationวิชาบังคบั : 05-630-405 การประเมินราคาทรัพยสินขั้นสูงศึกษาเกี่ยวกับแนวคิดในเรื่องของผลตอบแทน การประมาณการกระแสรายรับบนพื้นฐานของความไมแนนอนในอนาคต ซ่ึงเปนปจจัยในการตัดสินใจลงทุนรวมทั้งเทคนิค วิธีการที่เปนมาตรฐานสากลที่สําคัญในการวิเคราะหแบบจําลองทางการเงิน เพื่อกําหนดทางเลือกที่เหมาะสมสําหรับการลงทุนโดยการใชเครื่องช้ีวัดทางการเงิน มาประยุกตใชสําหรับการตัดสินใจลงทุนในโครงการอสังหาริมทรัพยที่มีวัตถุประสงคในเชิงพาณิชย

Page 69: วิชาเอกการเง ิน · 2.3 ชื่อเต็มภาษาอ ังกฤษ Bachelor of Business Administration (Finance) 2.4 ชื่อย อภาษาอ

63

05-630-416 การประเมินราคาทรัพยสินลักษณะพิเศษ 3(2-2-3)Special Property Valuationวิชาบังคับ : 05-630-405 การประเมินราคาทรัพยสินขั้นสูงศึกษานิยามของทรัพยสินที่มีลักษณะพิเศษซึ่งเกี่ยวของกับสิ่งปลูกสรางที่มีรูปแบบแตกตางจากอาคารทั่วไป หลักการของการทดแทนในดานเศรษฐศาสตรการประยุกตใชวิธีประเมินราคาทรัพยสินสําหรับทรัพยสินที่มีลักษณะเฉพาะ ไดแก สถานีบริการน้ํามัน สนามกอลฟ โรงพยาบาล สัมปทานเหมืองแร โรงแรมตามมาตรฐานสากล รัฐวิสาหกิจ การสาธารณูปโภค การควบคุมสภาพสิ่งแวดลอม ทรัพยสินที่ใชประโยชนเพื่อการเกษตร เปนตน

05-630-417 การบริหารทรัพยสิน 3(3-0-3)Property Managementศึกษาลักษณะ และความแตกตางของอาคารที่มีเจาของเพียงรายเดียวและเจาของหลายราย การประยุกตใชกฎหมายการจัดการอาคารชุดในประเทศไทย นิติบุคคลอาคารชุด การประชุมตาง ๆ ที่เกี่ยวของในการจัดการทรัพยสิน คําจํากัดความของพื้นที่สวนกลางและเกณฑการพิจารณาเกี่ยวกับตนทุนในการดําเนินงาน การบํารุงรักษาและการปองกันภัย การรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม การจัดทํางบประมาณระยะยาวและการควบคุมตนทุน การบริหารสัญญา

05-630-418 การวิจัยดานอสังหาริมทรัพย 3(2-2-3)Real Estate Researchศึกษาถึงความสําคัญ หลักการและกระบวนการของการวิจัย โดยจะเลือกหัวขอในการวิจัยที่เกี่ยวกับปญหาทางการประเมินราคาทรัพยสินที่นาสนใจในชวงเวลานั้น รวมถึงการนําโปรมแกรมสําเร็จรูปมาใชในการประมวลผลการวิจัย รวมถึงวิธีการในการนําเสนอผลงานวิจัย

Page 70: วิชาเอกการเง ิน · 2.3 ชื่อเต็มภาษาอ ังกฤษ Bachelor of Business Administration (Finance) 2.4 ชื่อย อภาษาอ

64

05-630-419 การจัดการเพื่องานบริการทางวิชาชีพ 3(3-0-3)Professional Service Managementศึกษาในเรื่องคุณลักษณะของการใหบริการในวิชาชีพประเมินราคาที่แตกตางไปจากงานบริการอื่น ๆ ทั้งในแงมุมของการใชระบบสารสนเทศ การสรางความสัมพันธกับลูกคา การวางแผนการปฏิบัติงานใหกับลูกคา การศึกษาในวิชานี้ยังครอบคลุมไปถึงการพัฒนาและวางแผนบุคลากรในการใหบริการตามสายวิชาชีพ วิธีการนําเสนอใหกับลูกคาอยางมีประสิทธิภาพ ขอกําหนดการจางงานจากลูกคารวมทั้งการควบคุมเอกสารในการปฏิบัติงานในสายวิชาชีพ และปญหาในการบริหารงานเพื่อการใหบริการแกลูกคา รวมถึงจรรยาบรรณในงานอาชีพ

05-711-101 เศรษฐศาสตรจุลภาค 1 3(3-0-3)Microeconomics 1ศึกษาความรูทั่วไปเกี่ยวกับเศรษฐศาสตรจุลภาค อุปสงค อุปทานและการกําหนดราคา ความยืดหยุน ทฤษฏีพฤติกรรมผูบริโภค ทฤษฏีการผลิต ตนทุน รายรับและกําไรจากการผลิต ตลาดแขงขันสมบูรณ ตลาดแขงขันไมสมบูรณและตลาดปจจัยการผลิต

05-711-102 เศรษฐศาสตรมหภาค 1 3(3-0-3)Macroeconomics 1ศึกษาความรูทั่วไปเกี่ยวกับเศรษฐศาสตรมหภาค ความหมายและการคํานวณรายไดประชาชาติ องคประกอบของรายไดประชาชาติ การคํานวณรายไดประชาชาติ ดุลยภาพการเงินและการธนาคาร การคลัง เศรษฐศาสตรระหวางประเทศ การจางงาน เงินเฟอและเงินฝดกับการแกไขปญหาเศรษฐกิจมหภาคและการพัฒนาเศรษฐกิจ

Page 71: วิชาเอกการเง ิน · 2.3 ชื่อเต็มภาษาอ ังกฤษ Bachelor of Business Administration (Finance) 2.4 ชื่อย อภาษาอ

65

05-722-302 เศรษฐศาสตรวิเคราะห 3(3-0-3)Economic Analysisศึกษาทฤษฏีเศรษฐศาสตรทั้งจุลภาคและมหภาคเกี่ยวกับพฤติกรรมของผูบริโภค พฤติกรรมของผูผลิต ดุลยภาพของตลาด รายไดประชาชาตินโยบายการเงิน การคลังและระหวางประเทศ และนําทฤษฎีเศรษฐศาสตรตางๆ ดังกลาวมาประยุกตใชกับปรากฎการณทางดานเศรษฐกิจ

05-810-201 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารธุรกิจ 1 3(3-0-3)Thai for Business Communication 1ศึกษาและทบทวนหลักเกณฑการใชภาษาไทยในการเขียนเพื่อการสื่อสารทางธุรกิจ ฝกทักษะการเขียนจดหมายประเภทตางๆ เชน จดหมายเสนอขาย จดหมายสอบถามและตอบสอบถาม จดหมายตอวาและตอบตอวา จดหมายเกี่ยวกับเครดิต จดหมายติดตามหนี้ จดหมายไมตรีจิต และจดหมายสมัครงาน รวมทั้งการเขียนบันทึกรายงานธุรกิจ และโครงการธุรกิจ

05-810-203 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารธุรกิจ 2 3(3-0-3)Thai for Business Communication 2วิชาบังคับกอน : 05-810-201 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารธุรกิจ 1ศึกษาและฝกทักษะการใชภาษาไทยดวยเครื่องมือส่ือสารตางๆทางธุรกิจ การเขียนหนังสือติดตอราชการ การเขียนเพื่อการประชาสัมพันธ การเขียนคํากลาวในพิธี เทคนิคการจัดประชุม การจดบันทึกการประชุม การเขียนรายงานการประชุม ตลอดจนเทคนิคการนําเสนองานทางธุรกิจ

05-820-220 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารธุรกิจ 1 3(3-0-3)English for Business Communication 1วิชาบังคับกอน : 01-320-102 ภาษาอังกฤษ 2ศึกษาภาษาอังกฤษที่ใชในการสื่อสารทางธุรกิจ โดยเนนฝกทักษะการอานและการเขียนจดหมายธุรกิจในรูปแบบตางๆ เชน จดหมายเชิญ จดหมายแสดงความยินดี จดหมายขอบคุณ จดหมายแสดงความเสียใจ จดหมายสอบถาม ตอบสอบถาม จดหมายสั่งซื้อ ตอบสั่งซื้อ การเขียนบันทึกขอความ การประกาศและโฆษณา

Page 72: วิชาเอกการเง ิน · 2.3 ชื่อเต็มภาษาอ ังกฤษ Bachelor of Business Administration (Finance) 2.4 ชื่อย อภาษาอ

66

05-820-225 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารธุรกิจ 2 3(3-0-3)English for Business Communication 2วิชาบังคับกอน : 05-820-220 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารธุรกิจ 1ศึกษาและฝกทักษะการเขียนจดหมายภาษาอังกฤษ เชน จดหมายรองเรียน จดหมายทวงหนี้ จดหมายสมัครงาน การเขียนประวัติและการกรอกใบสมัครการเขียนรายงานธุรกิจและรายงานการประชุม

05-910-201 ความรูเบื้องตนทางธุรกิจระหวางประเทศ 3(3-0-3)Introduction to International Businessศึกษาถึงแนวคิดและความสําคัญในการดําเนินธุรกิจระหวางประเทศ รูปแบบในการดําเนินธุรกิจระหวางประเทศ ปจจัยตางๆที่มีผลตอการดําเนินการ รวมทั้งสภาพแวดลอมที่มีผลตอการดําเนินงานของธุรกิจระหวางประเทศและจริยธรรมในระดับสากล

18. รายละเอียดเพิ่มเติมสําหรับหลักสูตรท่ีขอปรับปรุง18.1 เหตุผลที่ขอปรับปรุง

1. เพื่อปรับปรุงโครงสรางหลักสูตร ในสวนของวิชาชีพพื้นฐานใหเหมาะสมกับทุกหลักสูตรของคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

2. เพื่อปรับปรุงโครงสรางหลักสูตรและเพิ่มกลุมวิชาชีพเฉพาะใหเหมาะสม สอดคลองกับเทคโนโลยี เศรษฐกิจและความตองการของตลาดแรงงาน

3. ปรับปรุงคําอธิบายรายวิชาและรหัสวิชาใหเหมาะสม18.2 ปการศึกษาที่เร่ิมใชหลักสูตรเดิมและหลักสูตรปรับปรุง

หลักสูตรเดิม เริ่มใชในปการศึกษา 2542 หลักสูตรปรับปรุง เริ่มใชในปการศึกษา 2548

Page 73: วิชาเอกการเง ิน · 2.3 ชื่อเต็มภาษาอ ังกฤษ Bachelor of Business Administration (Finance) 2.4 ชื่อย อภาษาอ

67

18.3 ขอแตกตางระหวางหลักสูตรเดิมและหลักสูตรปรับปรุง

หัวขอ หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2542 หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 25481. ชื่อหลักสูตร - หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต

วิชาเอกการเงิน- Bachelor of Business Administration

Program in Finance

- หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิตวิชาเอกการเงิน

- Bachelor of Business AdministrationProgram in Finance

2. ชื่อปริญญา - บริหารธุรกิจบัณฑิต (การเงิน)- บธ.บ. (การเงิน)- Bachelor of Business Administration

(Finance)- B.B.A.(Finance)

- บริหารธุรกิจบัณฑิต (การเงิน)- บธ.บ. (การเงิน)- Bachelor of Business Administration

(Finance)- B.B.A.(Finance)

3. หนวยงานรับผิดชอบ

ภาควิชาการเงินคณะบริหารธุรกิจมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

ภาควิชาการเงินคณะบริหารธุรกิจมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

4. คุณสมบัติของผูมีสิทธ์ิเขาศึกษา

1. รับผูสําเร็จการศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือเทียบเทา

2. รับผูสําเร็จการศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง (ปวส.) บริหารธุรกิจ โดยวิธีเทียบโอนหนวยกิต

1. รับผูสําเร็จการศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย(ม.6) หรือเทียบเทา

2. รับผูสําเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยชุมชนที่มีคุณวุฒิและสาขาเทียบเทาตามที่สถาบันฯกําหนด

3. รับผูสําเร็จการศึกษาระดับอนุปริญญาและมีสาขาเทียบเทาตามที่สถาบันฯกําหนด

Page 74: วิชาเอกการเง ิน · 2.3 ชื่อเต็มภาษาอ ังกฤษ Bachelor of Business Administration (Finance) 2.4 ชื่อย อภาษาอ

68

หัวขอ หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2542 หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 25485. ชื่อหลักสูตร จํานวนหนวยกิต รวมตลอดหลักสูตร

140 หนวยกิต

1 หมวดศึกษาทั่วไป 35 หนวยกิต1.1 กลุมวิชาสังคมศาสตรํ 6 หนวยกิต1.2 กลุมวิชามนุษยศาสตร 6 หนวยกิต1.3 กลุมวิชาภาษา 9 หนวยกิต1.4 กลุมวิชาวิทยาศาสตรกับคณิตศาสตร 12 หนวยกิต1.5 กลุมวิชาพลศึกษา หรือนันทนาการ หรือ

กิจกรรม 2 หนวยกิต

จํานวนหนวยกิต รวมตลอดหลักสูตร 134 หนวยกิต

1 หมวดศึกษาทั่วไป 32 หนวยกิต1.1 กลุมวิชาสังคมศาสตร 3 หนวยกิต1.2 กลุมวิชามนุษยศาสตร 3 หนวยกิต1.3 กลุมวิชาภาษา 12 หนวยกิต1.4 กลุมวิชาวิทยาศาสตรกับคณิตศาสตร 12 หนวยกิต1.5 กลุมวิชาพลศึกษา หรือนันทนาการ หรือ

กิจกรรม 2 หนวยกิต

2. หมวดวิชาเฉพาะ 99 หนวยกิต2.1 กลุมวิชาพื้นฐานวิชาชีพ 45 หนวยกิต2.2 กลุมวิชาชีพบังคับ 36 หนวยกิต2.3 กลุมวิชาชีพเลือก 18 หนวยกิต

3 หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หนวยกิต

รวมหนวยกิตรวมตลอดหลักสูตร 140 หนวยกิต

2. หมวดวิชาเฉพาะ 96 หนวยกิต2.1 กลุมวิชาพื้นฐานวิชาชีพ 45 หนวยกิต2.2 กลุมวิชาชีพบังคับ 36 หนวยกิต2.3 กลุมวิชาชีพเลือก 15 หนวยกิต

3 หมวดวิชาเลือกเสร ี 6 หนวยกิต

รวมหนวยกิตรวมตลอดหลักสูตร 134 หนวยกิต

Page 75: วิชาเอกการเง ิน · 2.3 ชื่อเต็มภาษาอ ังกฤษ Bachelor of Business Administration (Finance) 2.4 ชื่อย อภาษาอ

69

หัวขอ หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2542 หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 25486. รายวิชา รายวิชากลุมวิชาพื้นฐานวิชาชีพ

วิชาบังคับ 39 หนวยกิต ดังนี้

05-110-106 กฎหมายธุรกิจ05-110-211 การวิเคราะหธุรกิจเชิงสถิติ05-110-216 การภาษีอากร05-210-102 หลักการตลาด05-310-101 หลักการจัดการ05-410-101 การบัญชีช้ันตน 105-410-102 การบัญชีช้ันตน 205-550-251 การใชคอมพิวเตอรในงานธุรกิจ05-601-205 การเงินธุรกิจ05-711-101 เศรษฐศาสตรจุลภาค 105-711-102 เศรษฐศาสตรมหภาค 105-810-201 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร ธุรกิจ 105-820-220 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ธุรกิจ 1

รายวิชากลุมวิชาพื้นฐานวิชาชีพวิชาบังคับ 42 หนวยกิต ดังนี้

05-110-106 กฏหมายธุรกิจ 105-110-211 การวิเคราะหธุรกิจเชิงสถิติ05-110-216 การภาษีอากร05-210-101 หลักการตลาด05-310-101 หลักการจัดการ05-410-101 การบัญชีช้ันตน 105-410-102 การบัญชีช้ันตน 205-550-251 การใชคอมพิวเตอรในงานธุรกิจ05-610-205 การเงินธุรกิจ05-711-101 เศรษฐศาสตรจุลภาค 105-711-102 เศรษฐศาสตรมหภาค 105-810-201 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร ธุรกิจ 105-820-220 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ธุรกิจ 105-910-201 ความรูเบื้องตนทางธุรกิจ

ระหวางประเทศ

ใหเลือกศึกษา 6 หนวยกิต จากวิชาตอไปนี้

05-110-105 จิตวิทยาธุรกิจ05-110-212 ธุรกิจระหวางประเทศ05-110-226 มนุษยสัมพันธทางธุรกิจ05-310-209 เทคนิคการจัดการสมัยใหม05-410-103 การบัญชีการเงิน

ใหเลือกศึกษา 3 หนวยกิต จากวิชาตอไปนี้

05-110-105 จิตวิทยาธุรกิจ05-110-226 มนุษยสัมพันธทางธุรกิจ05-310-209 เทคนิคการจัดการสมัยใหม05-310-427 การบริหารธุรกิจขนาดยอม05-340-305 การจัดการสํานักงาน

Page 76: วิชาเอกการเง ิน · 2.3 ชื่อเต็มภาษาอ ังกฤษ Bachelor of Business Administration (Finance) 2.4 ชื่อย อภาษาอ

70

หัวขอ หลักสูตร 2542 หลักสูตรปรับปรุง 25486. รายวิชา (ตอ) 05-510-203 ระบบสารสนเทศเพื่อการ

บริหาร05-710-202 เศรษฐศาสตรวิเคราะห05-810-203 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร ธุรกิจ 205-820-207 การฟงและการพูดภาษา

อังกฤษทางธุรกิจ05-820-225 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ธุรกิจ 2

05-410-103 หลักการบัญชี05-510-203 ระบบสารสนเทศเพื่อการ

บริหาร05-722-302 เศรษฐศาสตรวิเคราะห05-810-203 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร ธุรกิจ 205-820-225 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ธุรกิจ 2

รายวิชากลุมวิชาชีพวิชาบังคับ 36 หนวยกิต

05-420-201 การบัญชีเพื่อการจัดการ05-610-206 การเงินการธนาคาร05-610-207 สถาบันและตลาดการเงิน05-610-322 การวิเคราะหรายงานทางการเงิน05-610-323 การบริหารสินเชื่อ05-610-325 การบริหารการเงิน05-610-347 การคลังสาธารณะ05-610-401 การวิเคราะหเชิงปริมาณทาง

การเงิน05-610-405 สัมมนาทางการเงิน05-610-407 การเงินระหวางประเทศ05-610-409 การวางแผนและการควบคุมทาง

การเงิน05-620-319 หลักการลงทุน

รายวิชากลุมวิชาชีพวิชาบังคับ 36 หนวยกิต

กลุมวิชาบริหารการเงิน05-420-201 การบัญชีเพื่อการจัดการ05-610-204 คณิตศาสตรการเงิน05-610-206 การเงินการธนาคาร05-610-207 สถาบันและตลาดการเงิน05-610-319 หลักการลงทุน05-610-322 การวิเคราะหรายงานทางการเงิน05-610-323 การบริหารสินเชื่อ05-610-325 การบริหารการเงิน05-610-347 การคลังสาธารณะ05-610-401 การเงินระหวางประเทศ05-610-402 การวิเคราะหเชิงปริมาณทาง

การเงิน05-610-405 สัมมนาทางการเงิน

Page 77: วิชาเอกการเง ิน · 2.3 ชื่อเต็มภาษาอ ังกฤษ Bachelor of Business Administration (Finance) 2.4 ชื่อย อภาษาอ

71

หัวขอ หลักสูตร 2542 หลักสูตรปรับปรุง 25486 รายวิชา(ตอ)

กลุมวิชาการประกันภัย05-620-201 ความรูเบื้องตนทางการประกันภัย05-620-203 กฎหมายประกันภัย05-620-205 สถิติประกันภัย05-620-301 การประกันสังคม05-620-303 การประกันวินาศภัย 105-620-304 การประกันวินาศภัย 205-620-307 การประกันภัยทางทะเล05-620-309 การประกันชีวิตและสุขภาพ05-620-411 ระบบสารสนเทศการประกันภัย05-620-412 การบริหารธุรกิจประกันภัย05-620-413 รายงานการเงินธุรกิจประกันภัย05-620-415 สัมมนาการประกันภัย

วิชาเลือก 18 หนวยกิตจากวิชาตอไปนี้05-610-204 คณิตศาสตรการเงิน05-610-331 หลักการบริหารสถาบันการเงิน05-610-339 การบริหารงานธนาคาร05-610-341 การบริหารงานสหกรณ05-610-343 การงบประมาณของรัฐ05-610-345 การบริหารความเสี่ยงภัยและ การประกันภัย05-610-403 การวิจัยทางการเงิน05-610-411 การบริหารระบบขอมูลทาง

การเงิน05-620-303 การบริหารการเงินบุคคล

วิชาเลือก 15 หนวยกิต จากวิชาตอไปนี้05-110-339 สหกิจศึกษาทางบริหารธุรกิจและ

เศรษฐศาสตร05-110-340 การฝกงาน 105-110-341 การฝกงานทางบริหารธุรกิจและ

เศรษฐศาสตร05-110-342 ประสบการณทางวิชาชีพ

บริหารธุรกิจและเศรษฐศาสตร ในตางประเทศ05-610-301 การเงินสวนบุคคล05-601-303 การบริหารการเงินบุคคล05-610-307 การพยากรณทางธุรกิจ

Page 78: วิชาเอกการเง ิน · 2.3 ชื่อเต็มภาษาอ ังกฤษ Bachelor of Business Administration (Finance) 2.4 ชื่อย อภาษาอ

72

หัวขอ หลักสูตร 2542 หลักสูตรปรับปรุง 25486. รายวิชา (ตอ) 05-620-307 การพยากรณทางธุรกิจ

05-620-311 การจัดหาเงินทุนธุรกิจ05-620-313 การบริหารธุรกิจ

อสังหาริมทรัพย05-620-320 การวิเคราะหหลักทรัพย05-620-321 การประเมินราคาอสังหาริมทรัพย05-620-401 การวิเคราะหโครงการลงทุน

05-610-320 การวิเคราะหหลักทรัพย05-610-331 หลักการบริหารสถาบันการเงิน05-610-339 การบริหารธนาคารพาณิชย05-610-341 การบริหารงานสหกรณ05-610-349 หลักการงบประมาณแผนดิน05-610-403 การวิจัยทางการเงิน05-610-409 การวางแผนและควบคุมทางการ เงิน05-610-411 การบริหารระบบขอมูลทางการ

เงิน05-610-415 การวิเคราะหโครงการลงทุน05-610-417 การวาณิชธนกิจ05-610-419 อนุพันธทางการเงิน05-620-311 กลยุทธการประกันภัย05-620-313 การวิจัยดานการประกันภัย05-630-413 การประเมินราคาทรัพยสินภาครัฐ05-630-414 การประเมินราคาภาคการเกษตร05-630-415 การประเมินราคาทรัพยสินเพื่อ การลงทุน05-630-416 การประเมินราคาทรัพยสินลักษณะ

พิเศษ05-630-417 การบริหารทรัพยสิน05-630-418 การวิจัยดานอสังหาริมทรัพย05-630-419 การจัดการเพื่องานบริการทาง

วิชาชีพ

Page 79: วิชาเอกการเง ิน · 2.3 ชื่อเต็มภาษาอ ังกฤษ Bachelor of Business Administration (Finance) 2.4 ชื่อย อภาษาอ

73

หัวขอ หลักสูตร 2542 หลักสูตรปรับปรุง 2548หมายเหตุ1. กลุมวิชาชีพเลือกจะตองเรียนปฎิบัติวิชาใดวิชาหนึ่งจากวิชาตอไปนี้ วิชาสหกิจศึกษาทางบริหารธุรกิจและเศรษฐศาสตร หรือการฝกงาน1 หรือ การฝกงานทางบริหารธุรกิจและ เศรษฐศาสตร หรือ ประสบการณทางวิชาชีพบริหารธุรกิจและเศรษฐศาสตรในตางประเทศ จึงจะถือวาครบตามหลักสูตร บริหารธุรกิจบัณฑิต2. รายวิชาที่เหลือสามารถเลือกเรียนอีก 12หนวยกิต โดยมีเงื่อนไขการนับรวมเปนวิชาโท(Minor) ดังนี้ - อาจเลือกจากกลุมวิชาชีพกลุมใดกลุมหนึ่งของวิชาเอกอื่น15 หนวยกิต จะนับเปนวิชาโท

7. แผนการศึกษา

- แผนการศึกษา 4 ป ภาคปกติ ตอจากระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเทา

- แผนการศึกษา 2 ป ภาคปกติ ตอจากระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง(ปวส.) บริหารธุรกิจ โดยวิธีเทียบโอนหนวยกิต

- แผนการศึกษา 3 ป ภาคสมทบ ตอจากระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง(ปวส.) บริหารธุรกิจ โดยวิธีเทียบโอนหนวยกิต

- แผนการศึกษา 4 ป ภาคปกติ ตอจากระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเทา

Page 80: วิชาเอกการเง ิน · 2.3 ชื่อเต็มภาษาอ ังกฤษ Bachelor of Business Administration (Finance) 2.4 ชื่อย อภาษาอ

74

ภาคผนวก

การจัดทําหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิตวิชาเอก การเงิน

(หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2548)คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

Page 81: วิชาเอกการเง ิน · 2.3 ชื่อเต็มภาษาอ ังกฤษ Bachelor of Business Administration (Finance) 2.4 ชื่อย อภาษาอ

75

รายนามคณะกรรมการจัดทําหลักสูตร

1. คณะกรรมการยกรางหลักสูตรกรรมการที่ปรึกษา

1. คณบดี คณะบริหารธุรกิจ2. รองคณบดีฝายวิชาการ คณะบริหารธุรกิจ

กรรมการจัดทําหลักสูตร1. ผศ.นภาพร นิลาภรณกุล ประธานกรรมการ2. ผศ.วันเพ็ญ วศินารมณ กรรมการ3. ผศ.จินตนา อาจหาญ กรรมการ4. ผศ.อภิรดา สุทธิสานนท กรรมการ5. อ.ภราดัย ไชยนุวัติ กรรมการ6. ผศ.สุภา ทองคง กรรมการและเลขนุการ

2. กรรมการผูทรงคุณวุฒิจากสถานประกอบการ1. ผศ.ดร.ฐิติวดี ชัยวัฒน2. นายอภิสิทธิ์ ชูอริยมรรค3. นายสมเกียรติ วิทยวัตรเจริญ4. นายวีระชัย งามดีวิไลศักดิ์5. นางรัตนา คุมกนก

3. กรรมการพฒันาหลักสูตร1. รองศาสตราจารยชนงกรณ กุณฑลบุตร ประธานกรรมการ2. ผูชวยศาสตราจารยสุภาพร ทินประภา รองประธานกรรมการ3. นางสาวฉัตรปารี อยูเย็น กรรมการ4. นายวัลลภ นิมมานนท กรรมการ5. ผูชวยศาสตราจารยเนตรพัณณา ยาวิราช กรรมการ6. ผูชวยศาสตราจารยนุชจรี พิเชฐกุล กรรมการ7. นางนันทวรรณ เรืองปราชญ กรรมการ8. ผูชวยศาสตราจารยนภาพร นิลาภรณกุล กรรมการ9. นางนาถรพี ชัยมงคล กรรมการ10. นางสุดาพร กุณฑลบุตร กรรมการ11. ผูชวยศาสตราจารยสุภา ทองคง กรรมการและเลขานุการ12. นางสาวนพวรรณ พจนพิศุทธิพงศ กรรมการและผูชวยเลขานุการ

Page 82: วิชาเอกการเง ิน · 2.3 ชื่อเต็มภาษาอ ังกฤษ Bachelor of Business Administration (Finance) 2.4 ชื่อย อภาษาอ

76

ตารางแสดงการจําแนกหนวยกิตทฤษฎีและหนวยกิตปฏิบัติ

หมวดวิชา จํานวนหนวยกิตรวม

จํานวนหนวยกิตทฤษฎี

จํานวนหนวยกิตปฏิบัติ

ศึกษาทั่วไป 129 123 6วิชาชีพเฉพาะ 153 135 18