การจัดการการเง ิน รศ พูนศักดิ์...

34
BM-698 ประมวลความรู (การจัดการการเงิน (Financial Management)) 1 การจัดการการเงิน รุ5 สรุป เนื้อหา การจัดการการเงิน (รศ.พูนศักดิแสงสันต – 6 .. 2549) Balance Sheet (II). Investing (I). Financing DEBT CURRENT ASSETS COMMON STOCKS FIXED ASSETS R/E (III). Managing อาจารยบอกวา ภาพดานบนนี้มีความสําคัญที่สามารถนําไปเชื่อมโยงในการตอบคําถามในหลายๆ กรณี ภาพ ดานบน คือ ภาพโดยยอของงบดุล (Balance Sheet) จะแบงออกเปน 2 ดานคือ ดานขวามือจะเปน หนี้สิน (Debt) และ Equity ซึ่ง Equity ก็จะประกอบดวย 2 ตัวคือ Common Stock กับ Retain Earning (กําไรสะสม) โครงสรางใหญๆ จะประกอบไปดวย 2 สวนคือ สวนที่เปนหนีและสวนที่เปน Equity โดย Equity ไดมาจาก การลงทุนของเจาของกิจการผูถือหุนสามัญ Common Stock และเมื่อมีกําไรเกิดขึ้น กําไรนั้นก็จะสะสมอยูในบัญชีกําไร สะสมคือ เลข 3 ดานขวามือนั้น จะเปนแหลงที่มาของเงินทุน โดยมาจาก Debt และมาจาก Equity และ Equity ที่เปน Common Stock นีบริษัทจะตองจายคาตอบแทนในรูปของเงินปนผล เงินปนผลนี้ก็ถือวาเปนตนทุนของเงินทุนอยางหนึ่ง ใน สวนของ WACC สวนที่เปนหนี้สิน (Debt) ก็มีตนทุนเหมือนกัน คือเราตองจายดอกเบี้ยใหแกเจาหนีนี่ก็มีตนทุนสวนหนึ่งที่อยู ใน WACC สวนที่เปนกําไรสะสม (Retain Earning) เราจะบอกวาไมมีตนทุนก็ไมเชิง เพราะวาการที่บริษัทไมจายเงินปน ผล แตเอาผลกําไรนั้นมาสะสมไวในบริษัท ก็เทากับวามีตนทุนเสียโอกาส (opportunities cost) ของผูถือหุซึ่งเคาควร จะไดเงินปนผล แตกับไมไดเพราะวาบริษัทกักเก็บเอาไว ดังนั้นตรงนี้ก็มีตนทุน ที่เรียกวา ตนทุนของกําไรสะสม คือ ตนทุนของหุนสามัญ ของกําไรสะสม ก็คือสวนที่เปนวงเล็บปกกาที่เปนของ Equity เรียกรวมๆ กันวา Cost of Retain Earning เพราะฉะนั้น ทางขวามือก็คือแหลงที่มาของเงินทุนวา เงินทุนนั้นไดมาจากที่ไหน ไดมาจากเจาของกิจการ ไดมาจากเจาหนีและก็ไดมาจากผลการประกอบการที่มีกําไร Equity

Upload: others

Post on 08-Feb-2020

4 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: การจัดการการเง ิน รศ พูนศักดิ์ ...mindgayro.com/sheet/money_poonsak.pdf · 2015-03-01 · การจัดการการเง

BM-698 ประมวลความรู (การจัดการการเงิน (Financial Management)) 1

การจัดการการเงิน รุน 5 สรุป เนื้อหา การจัดการการเงิน

(รศ.พูนศักดิ์ แสงสันต – 6 ธ.ค. 2549)

Balance Sheet (II). Investing (I). Financing

DEBT CURRENT ASSETS

COMMON STOCKS

FIXED ASSETS R/E

(III). Managing อาจารยบอกวา ภาพดานบนนี้มีความสําคัญที่สามารถนําไปเชื่อมโยงในการตอบคําถามในหลายๆ กรณี ภาพดานบน คือ ภาพโดยยอของงบดุล (Balance Sheet) จะแบงออกเปน 2 ดานคือ ดานขวามือจะเปน หนี้สิน (Debt) และ Equity ซ่ึง Equity ก็จะประกอบดวย 2 ตัวคือ Common Stock กับ Retain Earning (กําไรสะสม) โครงสรางใหญๆ จะประกอบไปดวย 2 สวนคือ สวนที่เปนหนี้ และสวนที่เปน Equity โดย Equity ไดมาจากการลงทุนของเจาของกิจการผูถือหุนสามัญ Common Stock และเมื่อมีกําไรเกิดขึ้น กําไรนั้นก็จะสะสมอยูในบัญชีกําไรสะสมคือ เลข 3 ดานขวามือนั้น จะเปนแหลงท่ีมาของเงินทุน โดยมาจาก Debt และมาจาก Equity และ Equity ที่เปน Common Stock นี้ บริษัทจะตองจายคาตอบแทนในรูปของเงินปนผล เงินปนผลนี้ก็ถือวาเปนตนทุนของเงินทุนอยางหนึ่ง ในสวนของ WACC สวนที่เปนหนี้สิน (Debt) ก็มีตนทุนเหมือนกัน คือเราตองจายดอกเบี้ยใหแกเจาหนี้ นี่ก็มีตนทุนสวนหนึ่งที่อยูใน WACC สวนที่เปนกําไรสะสม (Retain Earning) เราจะบอกวาไมมีตนทุนก็ไมเชิง เพราะวาการที่บริษัทไมจายเงินปนผล แตเอาผลกําไรนั้นมาสะสมไวในบริษัท ก็เทากับวามีตนทุนเสียโอกาส (opportunities cost) ของผูถือหุน ซ่ึงเคาควรจะไดเงินปนผล แตกับไมไดเพราะวาบริษัทกักเก็บเอาไว ดังนั้นตรงนี้ก็มีตนทุน ที่เรียกวา ตนทุนของกําไรสะสม คือ ตนทุนของหุนสามัญ ของกําไรสะสม ก็คือสวนที่เปนวงเล็บปกกาที่เปนของ Equity เรียกรวมๆ กันวา Cost of Retain Earning เพราะฉะนั้น ทางขวามือก็คือแหลงที่มาของเงินทุนวา เงินทุนนั้นไดมาจากที่ไหน ไดมาจากเจาของกิจการ ไดมาจากเจาหนี้ และก็ไดมาจากผลการประกอบการที่มีกําไร

Equity

Page 2: การจัดการการเง ิน รศ พูนศักดิ์ ...mindgayro.com/sheet/money_poonsak.pdf · 2015-03-01 · การจัดการการเง

BM-698 ประมวลความรู (การจัดการการเงิน (Financial Management)) 2

การหาแหลงเงินทุนนั้นเราจะพยายาม หาแหลงเงินทุนที่มีตนทุนที่ต่ําที่สุดเทาที่จะทําได เพื่อที่จะใหเราสามารถประกอบการที่จะสูกับคูแขงได ทําใหตนทุนของเราต่ํา ก็จะมีกําไรมากขึ้น ซ่ึงจะตองเนนให WACC ใหต่ําสุด ซ่ึงมันจะสงผลกระทบใหราคาหุนสูงสุด อันนี้เปนโครงสรางของเงินทุนท่ีดีท่ีสุด ถาอาจารยถามวาโครงสรางของเงินทุนท่ีดีท่ีสุดอยูตรงไหน คําตอบอาจารย คืออยูที่มันทําใหราคาหุนสูงสุด ซ่ึงอาจจะมีตัวแปรหลายตัว แตตัวแปรที่เราสามารถควบคุมได คือ WACC ดังนั้น เราก็จะตองพยายามทําให WACC ต่ําสุด หนาท่ีของผูจัดการฝายการเงิน

1. ในหนาที่หนึ่งของผูจัดการฝายการเงิน คือ จะตองทําการจัดหาเงินทุนที่เราเรียกวา Financing เปนหนาที่ของฝายการเงิน หรือผูบริหารทางดานการเงิน เมื่อจัดหาเงินมาแลว ก็จะขามมาลงทุนยังฝงซายมือของงบดุล ก็คือมาลงใน Current Assets มาลงใน Fixed Assets การลงทุนนั้นเปนเรื่องของการลงทุนในสินทรัพยหมุนเวียน การนําเงินมาลงทุนในสินทรัพยหมุนเวียน เพราะตัวสินทรัพยหมุนเวียนนี้เปนตัวที่ทําใหเกิดกําไรโดยตรง ถาเปรียบกับการเลนฟุตบอลพวกนี้ก็จะเปนพวกกองหนา ที่จะทําประตู ในการทํากําไรตัวสินคาจะเปนหัวหอกที่จะทําใหไดกําไร เพราะฉะนั้นเราก็จะพยายามหมุนสินคาใหเร็วที่สุด เทาที่จะเร็วได ถามันขายเปนเงินเชื่อก็ตองพยายามเก็บเงินจากลูกหนี้ใหเร็วที่สุด เพื่อที่จะไดหมุนกับมาเปนเงินสด เมื่อไดเงินสดกลับมาแลว ก็จะไดนําไปลงทุนตอ ดังนั้น Turnover นั้นสําคัญจะตองเร็วและก็จะตองสอดคลองกับหนี้ที่เรากอข้ึนมา คือ การหมุนของสินคาของเราจะตองเร็วและไดเงินสดกลับมาทันกับการชําระหนี้ ใหกับเจาหนี้ เพราะฉะนั้นการจัด Timing เปรียบเทียบระหวาง Credit ที่เราไดจากเจาหนี้ กับ Credit ที่เราใหกับลูกหนี้ เราจะตองพยายามให Credit ของเจาหนี้ยาวกวา เชน ถาเราได Credit จากเจาหนี้ 60 วัน เวลาที่เราปลอย Credit ใหกับลูกหนี้ก็ไมควรจะเกิน 60 วัน ไมงั้นเราอาจจะเกิดการขาดสภาพคลอง เชน หางสรรพสินคาใหญๆ อยางเชน Macro, Carrefour, Tesco Lotus เคาได Credit จาก Supplier ที่ขายสินคาใหกับเคา 60 วัน และเคาก็เอาสินคาไปขายและขายเปนเงินสด เคาก็จะไดเงินสดมาเลย โดยเคาไมตองไปชําระใหกับเจาหนี้เพราะวามีอํานาจในการตอรองสูง เคาสามารถทีจะตอรองกับ Supplier ไดวาขอจายเงิน 60 วัน เพราะฉะนั้นเงินที่เคาขายสินคาไดก็จะสามารถนําไปทําอยางอื่นไดอีก และคอยไปชําระใหกับ supplier เมื่อครบกําหนด 60 วัน จะเห็นไดวาเปนการหาจังหวะ ทําเงินใหหมุนเขาออกใหเกิดประสิทธิภาพมากที่สุด

2. หนาที่ประการที่สองคือ Investing คือพยายามจัดสรรลงทุนใหเกิดประโยชนมากที่สุด นอกจาก Current

Assets แลว ก็มี Fixed Assets โดย Fixed Assets ก็จะเปนตัวที่ชวยในการทําธุรกิจ เชน พวกที่ดิน อาคาร อุปกรณ มันเปนตัวอํานวยความสะดวก เปนตัวที่จะผลิตสินคา เปนตัวชวยให Transaction ของการดําเนินงานเปนไปไดอยางราบรื่น อาจารยถามวาเราไมมี Fixed Assets ไดหรือไม คําตอบคือได เราก็ใชวิธีเชา (Leasing) ก็จะทําใหงบการเงินของเราดูดี คือไมไปจมอยูในตัว Fixed Assets เพราวาการเชานั้น ก็เหมือนกับเปนการ Finance มา และการที่เราเสียคาเชา ซ่ึงคาเชาก็สามารถที่จะหักเปนคาใชจายได อยางไรก็ตามเราก็ตองมีการ

Page 3: การจัดการการเง ิน รศ พูนศักดิ์ ...mindgayro.com/sheet/money_poonsak.pdf · 2015-03-01 · การจัดการการเง

BM-698 ประมวลความรู (การจัดการการเงิน (Financial Management)) 3

เปรียบเทียบวา ระหวางที่เราลงทุนซื้อเอง กับการเชา อยางไหนจะดีกวากัน (อาจารยใหไปดูในบทที่ 20 Leasing)

3. หนาที่ประการที่สามของฝายการเงิน คือการบริหารจัดการ (Managing) ให Financing และ Investing มันมี

ประสิทธิภาพสูงสุด เรา Finance โดยไดแหลงเงินทุนทีมีตนทุนที่ต่ําที่สุดเทาที่จะทําได และก็ Invest ก็คือทําใหไดกําไรมากที่สุดเทาที่จะทําได นี่ก็คือเปนเปาหมายในการดําเนินธุรกิจ

ดังนั้น ถาราตองการใหกิจการประสบความสําเร็จ เราก็จะตองบริหารจัดการทีดี เปน Good Management

คําถามที่อาจจะถามคือ ถานักศึกษาไดรับการแตงตั้งใหเปนผูจัดการทางการเงิน หรือวาเปน CEO ของบริษัท นักศึกษาจะวางแผนเกี่ยวกับการเงินอยางไร หรือมีหนาที่ ที่จะตองรับผิดชอบอะไรบาง คําตอบอาจารย ทีอาจารยสรุปใหมี 3 ประเด็นที่เราจะตองทํา หรือตองรับผิดชอบ คือ Financing, Investing, Managing โดยใน PowerPoint ที่นักศึกษามี มันอาจจะแบงยอยออกไดดังนี้ หนาท่ีและความรับผิดชอบของฝายการเงิน (Responsibility of the Financial Staff)

- Maximize stock value by: ทําใหมูลคาหุนสูงสุด 1. Forecasting and planning (การพยากรณและการวางแผน) นี้ก็คือการ Managing 2. Investment and financing decisions (การตัดสินใจลงทุนและการจัดหาเงินทุน) นี้ก็คือการ Financing และ

การ Investing 3. Coordination and control (การประสานงานและการควบคุม) นี้ก็คือการ Managing 4. Transactions in the financial markets (การติดตอกับตลาดการเงิน) นี้ก็คือการ Financing และ Managing 5. Managing risk (การจัดการความเสี่ยง) นี้ก็คือการ Managing

อาจารยบอกวา การสอบประมวลความรูนั้นจะไมเนนในเรื่องของการคํานวณ นักศึกษาจะตองแมนในหลักเกณฑและสามารถที่จะประยุกตใชกับเหตุการณ โดยอาจจะเห็นกรณีศึกษา หรือเหตุการณปจจุบัน ส่ิงที่เราตองตระหนักคือ เปาหมายของการบริหารจัดการเกี่ยวกับทางดานธุรกิจ เรามีเปาหมายอยางไร ก็คือทําราคาหุนสูงสุด ทําใหเราไดกําไรสูงสุดซึ่งกําไรสูงสุดจะสงผลกระทบไปยังราคาหุน จะทําใหคนอยากจะมาลงทุนซื้อ ซ่ึงราคาหุนสูงสุดอาจจะมี Factor หลายๆ อยางมากระทบ เชน อาจจะมีเร่ืองของเศรษฐกิจ เร่ืองของการบริหารจัดการภายใน ส่ิงที่อาจารยใหนักศึกษามองอีกอยางคือ เร่ืองของความรับผิดชอบตอสังคม การที่ทําธุรกิจแลวมีกําไรแตวาเปนการเอาเปรียบสังคมก็เปนสิ่งที่ไมควรจะทํา เราจะตองมีสํานึกในการที่จะรับผิดชอบตอสังคมดวย คือตองไมทําให

Page 4: การจัดการการเง ิน รศ พูนศักดิ์ ...mindgayro.com/sheet/money_poonsak.pdf · 2015-03-01 · การจัดการการเง

BM-698 ประมวลความรู (การจัดการการเงิน (Financial Management)) 4

สังคมเดือดรอน ไมทําเรื่องของมลพิษ น้ําเสีย อากาศเปนพิษ ไดกําไรมากจริง แตเปนกําไรที่อยูบนความทุกของคนอื่น เราก็ไมควรที่จะทํา ซ่ึงเราจะตองไปโยงกับเรื่องของจริยธรรมในการประกอบธุรกิจ เพราะฉะนั้นในเรื่องของจริยธรรมในการประกอบธุรกิจ ถานักศึกษามีเวลา ก็ขอใหหาเพิ่มเติมจากในหนังสือพิมพ หรือใน Internet เพราะวาอาจจะเปนเร่ืองท่ีอาจจะถูกถามในขอสอบก็ได และอีกเร่ืองก็คือ เร่ืองของเศรษฐกิจท่ีพอเพียง ใหนักศึกษาไปคนควาเพิ่มเติม อานจากในบทความตางๆ และก็จะมีประโยชนท่ีจะนํามาตอบ เพราะฉะนั้น สิ่งท่ีตองไปหาเพิ่มเติม เอาไวตอบคําถามคือ

1. จริยธรรมในการประกอบธุรกิจ 2. เศรษฐกิจพอเพียง

PowerPoint Slide 1-20, 1-21 จริยธรรมทางธุรกิจ (Business Ethics) Ethics หมายถึง ทัศนคติและการปฏิบัติตอบุคคลที่เกี่ยวของดวยความซื่อสัตยและยุติธรรม เชน ผลิตสินคาคุณภาพดี ผูบริโภคมีความปลอดภัย ปฏิบัติตอพนักงานดวยความเปนธรรม ทั้งนี้ ผูบริหารทั้งหลายเชื่อวา “จริยธรรมมีความสัมพันธทางบวก (Positive Correlation) กับความสามารถในการทํากําไรในระยะยาว” ดวยเหตุผลดังนี้

1. บริษัทไมตองเสียคาปรับและคาทนายความ 2. เปนการสรางความเชื่อถือใหกับสาธารณชน 3. ทําใหลูกคาที่พอใจใหการสนับสนุน 4. เปนการสรางขวัญและกําลังใจใหพนักงาน 5. ชวยใหเศรษฐกิจดําเนินไปดวยดี

แตในทางปฏิบัติกําไรกับจริยธรรมจะขัดแยงกัน ผูบริหารระดับสูงตองใชวิจารณญาณวาควรทําอยางไร การเปลี่ยนแปลงในโลกปจจุบันนั้น มันมีการเปลี่ยนแปลงในเทคโนโลยีที่รวดเร็ว เราเปนบริษัท หรือเปนธุรกิจ เราก็จะตองปรับตัวใหเขากับเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไปอยางรวดเร็ว ดานการเงินก็จะมีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว กิจกรรมทางการเงินก็เปลี่ยนแปลงไป ซึ่งแตกอนเราก็ไมเคยเห็นธนาคารเปดในหางสรรพสินคา แมแตเวลากลายคืนก็เปด เราจะไปเบิกถอนก็สามารถที่จะทําได อยางนี้ก็เปนเรื่องของกิจกรรมของสถาบันการเงินใหม สินคาใหมๆ ก็เกิดขึ้นมา เชน พวกตราสารอนุพันธตางๆ PowerPoint Slide 1-31 ปจจัยที่มีผลกระทบตอราคาหุน จะมีเร่ืองของ

1. Projected cash flows to shareholders (ประมาณการกระแสเงินสดที่ผูถือหุนจะไดรับ) 2. Timing of the cash flow stream (ชวงเวลาที่ไดรับกระแสเงินสด) ถาระยะเวลามันยาว ความไมแนนอนก็จะมี

สูง 3. Riskiness of the cash flows (ความเสี่ยงของกระแสเงินสด)

Page 5: การจัดการการเง ิน รศ พูนศักดิ์ ...mindgayro.com/sheet/money_poonsak.pdf · 2015-03-01 · การจัดการการเง

BM-698 ประมวลความรู (การจัดการการเงิน (Financial Management)) 5

บทที่ 2 งบการเงิน กระแสเงินสด และภาษ ี

อาจารยถามวา งบการเงินคืออะไร คําตอบอาจารย คือรายงานทางการเงิน เปนรายงานทางการเงินที่จะแสดงใหเห็นถึงฐานะทางการเงินของกิจการ ผลการดําเนินงานของกิจการ หรือกิจกรรมทางการเงินอื่นๆ แลวแตวาจะเปนงบ อะไร - ถาเปนงบดุล ก็จะเปนงบที่แสดงฐานะทางการเงินของกิจการ ณ วันใดวันหนึ่ง - ถาเปนงบกําไรขาดทุน ก็จะเปนงบที่แสดง ผลการดําเนินงานของกิจการ สําหรับชวง ณ เวลาใดเวลาหนึ่ง - ถาเปนงบกําไรสะสม ก็จะเปนงบที่แสดงผลกําไร หรือขาดทุน สะสมตั้งแตเร่ิมดําเนินมาจนกระทั่งถึงปจจุบัน

วามีผลกําไรหรือขาดทุนสะสมอยูเทาไร งบกําไรสะสมเปรียบไดกับกระปุกออมสิน ที่เราหยอดเงินลงไปก็จะมีมากขึ้นๆ และมันก็จะลดลงไปถาเรานําเงินออกมา

- งบกระแสเงินสด เปนงบที่แสดงใหเราเห็นวาแหลงที่มาของเงินสดมันมาจากอะไร และก็ใชไปทําอะไร ดังนั้น งบกระแสเงินสดก็เปนงบที่แสดงแหลงที่มา และใชไปของเงินสด แตในปจจุบันนิยมที่จะแบงกิจกรรม ออกมาเปน 3 กิจกรรม คือ เปนกิจกรรมการดําเนินงาน กิจกรรมการลงทุน และก็กิจกรรมทางการเงิน ทําใหเห็นการเคลื่อนไหวของเงินสด ที่มันไหลเขาไหลออก ในกิจกรรมทั้ง 3 กิจกรรม

ดังนั้น บทที่ 2 เปนบทที่ปูพื้นเกี่ยวกับงบการเงิน อาจารยใหไปดูเพิ่มเติมวา ในงบดุลนั้น มีรายการอะไรบาง สินทรัพยประกอบดวยอะไรบาง สินทรัพยหมุนเวียนคืออะไร สินทรัพยไมหมุนเวียนคืออะไร สินทรัพยไมหมุนเวียน ก็ประกอบดวยที่ดิน อาคาร สินทรัพยหมุนเวียน ก็คือ สินทรัพย ที่มีคุณลักษณะที่มันสามารถเปลี่ยนกลับไปเปนเงินสดไดรวดเร็ว ประกอบดวย เงินสด ลูกหนี้ สินคา อาจจะมีตั๋วเงินรับ และอื่นๆ

Page 6: การจัดการการเง ิน รศ พูนศักดิ์ ...mindgayro.com/sheet/money_poonsak.pdf · 2015-03-01 · การจัดการการเง

BM-698 ประมวลความรู (การจัดการการเงิน (Financial Management)) 6

อาจารยถามวา สินทรัพยหมุนเวียน สินทรัพยไมหมุนเวียนมีบทบาทอะไร คําตอบอาจารย

สินทรัพยหมุนเวียน (Current Assets) มันทําหนาที่เพื่อจะแสวงหากําไร คือสินคามันจะหมุนไปทํากําไร เราตองการ Turnover เร็วๆ เพื่อที่จะไดกําไรเยอะๆ เพราะวาแตระรอบที่เราเอาสินคาไปขายเราจะบวกกําไรเขาไป ดังนั้นถาเราหมุนเร็วเทาไรกําไรก็จะเกิดขึ้นมาก

สินทรัพยไมหมุนเวียน (Fixed Assets) มันก็ทําหนาที่ Backup เปนตัวชวยสนับสนุน หรือสงกําลังบํารุงนั่นเอง และทําใหธุรกิจนั้น มีสถานที่ตั้ง มีเครื่องจักร มีอุปกรณตางๆ ทางดานหนี้สิน ก็จะประกอบไปดวย หนี้สินหมุนเวียน และหนี้สินไมหมุนเวียน

- หนี้สินหมุนเวียน ก็คือ หนี้สินที่เราจะตองชําระใหแกเจาหนี้ภายใน หนึ่งป หรือหนึ่งรอบระยะเวลาบัญชี ปรกติ ก็ไดแก เจาหนี้การคา คาใชจายคางจาย ภาษีเงินไดคางจาย เปนตน ท่ีเราจะตองชําระใหแกเจาหนี้ ภายใน 1 ปหรือ 1 รอบระยะเวลาบัญชี

- หนี้สินระยะยาว (Long Term Debt) เกิน 1 ป ก็ถือวาเปนหนี้สินระยะยาว หนี้สินระยะยาวเรากอขึ้นมา เพื่อที่จะใชเปนทุนในการดําเนินการ ซ่ึงไมตองหวงในเรื่องของการชําระหนี้ ไมเหมือนหนี้สินหมุนเวียนที่ครบกําหนดเร็ว ดังนั้น หนี้สินระยะยาวก็จะชวยใหเราสามารถที่จะนําเงินไปลงทุนในชวงยาวๆ ได แตก็ขอเสียที่วา คาใชจายมันจะสูงกวา โดยปกติหนี้ระยะยาวจะมีดอกเบี้ยที่แพงกวาหนี้ระยะสั้น

ทุนเรือนหุนก็ไดแกหุนสามัญ หุนบุริมสิทธ ถือวาเปนเจาของกิจการ เพราะวาผลตอบแทนที่กลุมนี้ไดรับ ก็คือไดรับเงินปนผล ซ่ึงถือวาเปนสวนแบงผลกําไร

บทที่ 3 การวิเคราะหงบการเงิน

เปนเรื่องของการวิเคราะหอัตราสวนทางการเงิน อาจารยถามวา อัตราสวนทางการเงินคืออะไร คําตอบอาจารย คือเปนการจัดเอารายการมากกวาสองรายการมาสัมพันธกันในรูปของอัตราสวน หรือ Ratio ตัวหนึ่งเปนตัวเศษ อีกตัวหนึ่งเปนตัวสวน ทําไมตองนํามาหารกัน เพราะวาตองการทําใหเปนคามาตรฐาน โดยคามาตรฐานนั้นมีประโยชน เพื่อสามารถนําไปเปรียบเทียบกับบริษัทอื่นก็ได กับคาเฉลี่ยของอุตสาหกรรมก็ได

Page 7: การจัดการการเง ิน รศ พูนศักดิ์ ...mindgayro.com/sheet/money_poonsak.pdf · 2015-03-01 · การจัดการการเง

BM-698 ประมวลความรู (การจัดการการเงิน (Financial Management)) 7

ส่ิงที่นักศึกษาจะตองเขาใจอยางดีก็คือ เร่ืองของอัตราสวน 5 กลุมนี้ PowerPoint Slide 3-7, 3-8, 3-9 ถาม อัตราสวนแบงไดกี่กลุม แตละกลุมตอบคําถามอะไรบาง ? ตอบ แบงเปน 5 กลุม คือ

1. สภาพคลอง (Liquidity) ความสามารถในการชําระหนี้สินระยะสั้นที่ครบกําหนด

2. ประสิทธิภาพการใชสินทรัพย (Asset Management) ประสิทธิภาพในการใช สินทรัพย (amount of assets vs. sales)

3. การบริหารหนี้สิน (Debt Management) การลงทุนในสินทรัพยทั้งสิ้นไดเงินทุนจากหนี้สินเพียงไร

4. ความสามารถในการทํากําไร (Profitability) วัดประสิทธิภาพการบริหารงานวาบรรลุตามเปาหมายหรือไม ซ่ึงพิจารณาจากอัตราสวน PM, ROE และROA

5. ประเมินผลธุรกิจโดยรวม (Market Value) ผูลงทุนคิดวากิจการเปนอยางไร ซ่ึงพิจารณาจากอัตราสวน P/E และ M/B

อาจารยบอกวาคงไมตองคํานวณ แตตองนํามาใชใหเปน เชน

1. อัตราสวนหมุนเวียน (Current ratio) เปนอัตราสวนระหวาง สินทรัพยหมุนเวียน กับ หนี้สินหมุนเวียน จากตัวอยางไร Current Ratio = 3.2 และคาเฉล่ียอุตสาหกรรม = 4.2 จะเห็นไดวาสภาพคลองนั้นดอยกวา คาเฉลี่ยอุตสาหกรรม เราจะตองทําการปรับปรุง และวิธีการที่ใชในการปรับปรุง ก็ตองดูองคประกอบของมัน โดยองคประกอบของมันประกอบดวย สินทรัพยหมุนเวียน กับ หนี้สิน

Page 8: การจัดการการเง ิน รศ พูนศักดิ์ ...mindgayro.com/sheet/money_poonsak.pdf · 2015-03-01 · การจัดการการเง

BM-698 ประมวลความรู (การจัดการการเงิน (Financial Management)) 8

หมุนเวียน ถาอัตราสวนนี้มันต่ํา เราก็ตองพยายามปรับใหมันสูงขึ้น โดยการ เพิ่มสินทรัพยหมุนเวียน หรือ ลดหนี้สินหมุนเวียนลง สินทรัพยหมุนเวียนจะสามารถเพิ่มไดโดย เชน ขายสินทรัพยถาวรไดเงินสดเขามาสินทรัพยหมุนเวียนก็เพิ่มขึ้น หรือใชการกูยืมระยะยาวเพื่อนํามาชําระหนี้ระยะสั้นก็จะทําใหหนี้สินหมุนเวียนนั้นลดลงไป หรือโดยการเพิ่มทุน โดยออกหุนสามัญเพิ่ม เงินสดก็จะเพิ่มขึ้น อาจารยถามวา ทําไมถึงจําเพาะ ตองนําสินทรัพยหมุนเวียนมาเทียบกับหนี้สินหมุนเวียน คําตอบอาจารย เพราะวาโดยปกติของการทําธุรกิจ เวลาที่จะชําระหนี้ใหกับเจาหนี้เคาก็จะนําเงินสดไปชําระ แตถาเงินสดไมพอ ก็จะเก็บเงินจากลูกหนี้ หรือไมก็ขายสินคาและไปชําระหนี้ ดังนั้นธุรกิจจะเปลี่ยนจากสินทรัพยหมุนเวียนไปเปนเงินสดไปชําระหนี้สินหมุนเวียน เคาจึงจําเพาะเจาะจง นําสินคาหมุนเวียนมาเทียบกับหนี้สินหมุนเวียน วาสัดสวนนี้ มันคุมครองเจาหนี้ระยะสั้นไดหรือไม

2. อัตราสวนหมุนเร็ว (Quick or Acid test ratio) เปนการวัดที่เขมขึ้น ไมจําเปนตองไปเพิ่มสินคาคงเหลือ กิจการยังคงมีความสามารถในการชําระหนี้ระยะสั้นไดแคไหน อาจารยฝากใหไปดู เพราะวาอัตราสวนนี้คอนขางเปนที่นิยม

3. อัตราการหมุนของสินคา (Inventory turnover ratio) เราพยายามที่จะใหสินคานั้นหมุนเร็วๆ เพราะถาหมุนเร็วก็จะทําใหเราไดกําไรเยอะ ถาธุรกิจ Turnover ต่ํา มันก็แสดงใหเห็นวา ฝายขายไมมีความสามารถ หรือไมก็ สินคาของเราไมเปนที่ตองการของตลาด เราก็ตองปรับปรุงใหมันดีขึ้น

Page 9: การจัดการการเง ิน รศ พูนศักดิ์ ...mindgayro.com/sheet/money_poonsak.pdf · 2015-03-01 · การจัดการการเง

BM-698 ประมวลความรู (การจัดการการเงิน (Financial Management)) 9

อาจารยถามวาทําไมบริษัทตองไปกอหนี้ ขอดี

เชนเราไปกูเกินมา 100 บาทและเรานําไปทําประโยชนและไดกําไรมา 20 บาท และจายดอกเบี้ย 10% ก็คือจายดอกเบี้ย 10 บาท ที่เหลือ 10 บาทก็เปนของเรา ถาเราสามารถหมุนเงิน 100 บาทใหสามารถไดกําไร 60 บาท เราจายดอกเบี้ยแค 10% คือ 10 บาท ที่เหลือ 50 บาทก็เปนของเรา นี้ก็คือการใชการกอหนี้เพื่อกอใหเกิดประโยชน

ทําไมบริษัทจะตองไปกอหนี้ ก็เพราะวาเงินทุนมีจํากัด เราจึงตองไปกูเงิน ไปกอหนี้ แตถาเรามีความสามารถในการทําใหเงินที่กูมามันไดประโยชนคุมกับคาดอกเบี้ย อยางนี้ก็ดี แตถาไมคุม ไปไมไหวก็ไมควรใชวิธีนี้ อาจารยสรุปให 2 ประเด็น สําหรับการกอหนี ้1. ถาเรามองวาเศรษฐกิจขางหนามันมีความหวัง มีความเจริญกาวหนา ทํากิจการดี อยางนี้ก็ควรที่จะกูเงินมา

ลงทุน เพราะวาโอกาสที่จะทํากําไรมีสูง ปญหาของการที่เราไมสามารถที่จะชําระหนี้ไดนั้นจะเกิดขึ้นนอย เพราะเศรษฐกิจดี

2. ถาเรามองวาอนาคตไมแนนอน เศรษฐกิจไมคอยดี แตเรามีความจําเปนระดมเงินทุนมาใชในการดําเนินงาน กรณีนี้ เพื่อความปลอดภัยใหใชวิธีออกหุนสามัญ หรือวาใชสวนที่เปน Equity มาดําเนินธุรกิจ เนื่องจากวาถาเกิดพลาดพลั้งก็จะไมมีปญหาในเรื่องของการชําระดอกเบี้ย

- อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย [Return on total assets (ROA) หรือ Return on Investment (ROI)] คือวัดวากําไรสุทธิเทียบกับสินทรัพยทั้งสิ้น เปนเทาไร การลงทุนในสินทรัพยนั้น ไดกําไรเทาไร ยิ่งมากยิ่งดี

- อัตราผลตอบแทนสวนของผูเปนเจาของ [(Return on common equity (ROE)] ดูในสวนของผูถือหุน ไดกําไรเปนที่นาพอใจหรือไม ยิ่งมากก็ยิ่งดี

Page 10: การจัดการการเง ิน รศ พูนศักดิ์ ...mindgayro.com/sheet/money_poonsak.pdf · 2015-03-01 · การจัดการการเง

BM-698 ประมวลความรู (การจัดการการเงิน (Financial Management)) 10

- ราคาตลาดกับกําไรสุทธิตอหุน [Price/Earnings (P/E) Ratio]

คาที่ได 10.1 นั้นหมายความวา ราคาตลาดตอหุนสูงเปน 10.1 เทาของกําไรสุทธิตอหุน มันบอกวา บริษัทมีกําไรสุทธิ 1 บาท ผูลงทุนยินดีที่จะซื้อหุนราคาเทาไร คา P/E Ratio ถาต่ําเกินไปแสดงวาหุนนั้นไมเปนที่ตองการของตลาด ถา P/E Ratio สูงมากๆ ก็แสดงเปนหุนเก็งกําไรไมเหมาะที่เราจะเขาไปลงทุน

ดังนั้น P/E Ratio จะเปนที่บอกใหเราทราบวาตลาดมีความตองการหุนตัวนั้นๆ ขนาดไหน

บทที่ 4 ตลาดการเงิน สถาบันการเงิน และอัตราดอกเบี้ย

PowerPoint Slide 4-5 ตลาด, ตลาดการเงิน คืออะไร (What is a market?)

- ตลาด คือ สถานที่ซ่ึงทําใหมีการแลกเปลี่ยนสินคาและบริการกัน - ตลาดการเงิน คือ สถานที่ซ่ึงบุคคลและองคการตาง ๆ ที่ตองการกูเงินมาพบกับผูที่มีเงินใหกู

PowerPoint Slide 4-8 คูที่เราตองใหความสนใจคือ Money markets กับ Capital markets เราจะใชชวงระยะเวลาในการแบงตลาดทั้งสองนี้ คือถาการครบอายุไถถอนภายใน 1 ป เราก็ถือวา ตราสารทางการเงินที่อยูในตลาดนั้น เปนตลาดเงิน (Money markets) ถามันเกิน 1 ป ก็ถือวาเปนตลาดทุน (Capital markets) เชน หุนกู พันบัตร

- Money markets ตลาดที่ซ้ือขายหลักทรัพยที่มีอายุ ไมเกิน 1 ป เชน ตั๋วเงินคลัง - Capital markets ตลาดที่ซ้ือขายหลักทรัพยที่มีอายุ เกิน 1 ป เชน หุนสามัญ หุนกู พันธบัตรรัฐบาล

Page 11: การจัดการการเง ิน รศ พูนศักดิ์ ...mindgayro.com/sheet/money_poonsak.pdf · 2015-03-01 · การจัดการการเง

BM-698 ประมวลความรู (การจัดการการเงิน (Financial Management)) 11

อาจารยถามวา เงินทุนที่อยูในตลาดทั้งสอง มันสามารถที่จะยักยายถายเท ไปมาระหวางกันไดหรือไม คําตอบอาจารย ได ถามตอไปวา และอะไรเปนตัวทําใหมันเกิดการเคลื่อนไหวของเงินในตลาดทั้งสอง คําตอบคือ เราทําธุรกิจก็คือผลประโยชน โดยผลประโยชนเปนตัวผลักดัน ผลประโยชนที่ออกมาในรูปของตลาดเงิน ตลาดทุน ก็คืออัตราดอกเบี้ย และผลประโยชนของตลาดใดสูงกวาก็จะทําใหเงินเขามาในตลาดนั้น

- Primary markets (ตลาดแรก) : ตลาดที่ซ้ือขายหลักทรัพยคร้ังแรก (หลักทรัพยที่ออกใหมถือวาเปนการออก

ในตลาดแรก) อาจารยบอกวา เปรียบเหมือนการแตงงานในครั้งแรก ก็เรียกวาเปนตลาดแรก - Secondary markets (ตลาดรอง) : ตลาดที่ซ้ือขายหลักทรัพยเปลี่ยนมือระหวางผูลงทุนดวยกัน (หลักทรัพยที่

เคยผานการซื้อขายในตลาดแรกมาแลว) เปรียบเหมือนการแตงงานในครั้งที่ 2 3 4 (ในครั้งตอๆ ไป) ก็เรียกวาเปนตลาดรอง

เปนภาพที่แสดง ชวงของตลาดทั้งสอง ตลาดแรก ตลาดรอง

Page 12: การจัดการการเง ิน รศ พูนศักดิ์ ...mindgayro.com/sheet/money_poonsak.pdf · 2015-03-01 · การจัดการการเง

BM-698 ประมวลความรู (การจัดการการเงิน (Financial Management)) 12

คําถามที่อาจารยถาม ตลาดทั้งสองมีความสําคัญ และมีความสัมพันธ กันอยางไร (อาจารยเนน บอกใหไปเตรียมคําตอบไวดวย ใหไปอานเพิ่มเติม อาจจะโดนถาม) คําตอบอาจารย ตลาดแรก (Primary Market) มีความสําคัญคือ ตลาดแรกเปนตลาดที่ระดมเงินออมของประชาชนมาอยูที่ตลาดแรก เปนตลาดที่ระดมเงินออมที่เปนเบี้ยหัวแตก ที่กระจัดกระจายมาอยูที่ตลาดแรก เพราะวาบริษัทก็ออกหลักทรัพยมาขายเงินก็จะไหลมาที่บริษัท บริษัทก็จะไดเงิน พอไดเงินมาแลวก็เอาไปประกอบธุรกิจ ก็ทําใหธุรกิจนั้นมีกําไร มีการเติบโต มีการจางงาน มีรายไดของคน รายไดประชาชาติก็จะเพิ่มขึ้น รัฐบาลก็เก็บภาษีได มันก็จะทําใหเศรษฐกิจของประเทศขยายตัว เติบโตได ตลาดรอง (Secondary Market) มีความสําคัญคือ ถาไมมีตลาดรอง ก็จะเกิดความไมเชื่อถือวาซื้อหุนไปแลวจะไปขายไดเมื่อไรไมรู เมื่อตองการเงินก็ไมรูวาจะไปขายที่ไหน คนก็ไมอยากจะซื้อหุนเพราะกลัววาเงินจะไปจมในหุนที่ซ้ือไว และไมรูจะไปขายที่ไหน จึงตองมีตลาดรอง (Secondary Market) มารองรับการซื้อขายหุนในครั้งตอๆ ไป ทําใหซ้ืองายขายคลอง สามารถเปลี่ยนมือได ซ่ึงจะทําใหคนมีความเชื่อถือวาเมื่อซ้ือหุนไปแลวใจเย็นได เมื่อหุนขึ้นและเราอยากจะไดเงิน เราก็ไปขาย ก็จะไดกําไรที่เรียกวาเปนการไดกําไรสวนทุน (Capital gain) ดังนั้นจะเห็นวา ตลาดรอง (Secondary Market) ก็มีความสําคัญ

เปนเงินท่ีออกจาก Saver (Saver คือ ประชาชน) ท่ีไปลงทุนในธุรกิจ สามารถที่จะลงทุนได 3 วิธี คือ

1. เอาเงินไปลงทุนในธุรกิจเลย 2. ผาน “Investment Banking House” ก็คือ ผานวาณิชธนกิจ เปนสถาบันที่ชวยในการจัดการเกี่ยวกับการออกหุน

หรือระดมทุนของบริษัท เปนตัวเชื่อมระหวางธุรกิจ กับ Savers 3. ผาน “Financial Intermediary” ก็คือ ผานธนาคารตางๆ คือธนาคารรับฝากเงิน และก็ไปปลอยกู

Page 13: การจัดการการเง ิน รศ พูนศักดิ์ ...mindgayro.com/sheet/money_poonsak.pdf · 2015-03-01 · การจัดการการเง

BM-698 ประมวลความรู (การจัดการการเงิน (Financial Management)) 13

ตนทุนของเงินก็คือคาใชจายท่ีจะตองเสียไปเพื่อใหไดเงินมา - ถาไดเงินมาจากการกูยืม ตนทุนของเงินก็คือดอกเบี้ย - ถาไดเงินมาจากการออกหุนสามัญ ตนทุนของเงินก็คือเงินปนผลที่ตองจายตอบแทนใหกับผูถือหุน

เพราะฉะนั้น เงินปนผลถือเปนรายไดของผูลงทุน ถือวาเปนตนทุน หรือคาใชจายของบริษัทที่ตองเสียไป

ปจจัยท่ีมีผลกระทบตอตนทุนของเงินทุน

- Production opportunities (โอกาสในการผลิตสินคา) - Time preferences for consumption (ชวงเวลาที่ตองการใชจายเงิน) - Risk (ความเสี่ยงท่ีจะไดรับดอกเบี้ยและเงินตนคืน) ถามันเสี่ยงสูงตนทุนก็จะตองสูงตาม High Risk High Return คนที่มองวาการลงทุนมีความเสี่ยงสูง เคาก็จะตองเรียกรองผลตอบแทนที่สูงดวย - Expected inflation (เงินเฟอท่ีคาดวาจะเกิดขึ้นในอนาคต) ถาเงินเฟอสูง คนทีจะปลอยเงินกู เคาก็จะตองคิดดอกเบี้ยแพงขึ้น ก็จะทําใหตนทุนสูงขึ้น

Page 14: การจัดการการเง ิน รศ พูนศักดิ์ ...mindgayro.com/sheet/money_poonsak.pdf · 2015-03-01 · การจัดการการเง

BM-698 ประมวลความรู (การจัดการการเงิน (Financial Management)) 14

อัตราดอกเบี้ยจะสูง หรือ จะต่ําดูท่ี Demand, Supply

- ถา Demand มาก Supply นอย ดอกเบี้ยจะแพง - ถา Demand นอย Supply มาก ดอกเบี้ยก็จะถูก

Page 15: การจัดการการเง ิน รศ พูนศักดิ์ ...mindgayro.com/sheet/money_poonsak.pdf · 2015-03-01 · การจัดการการเง

BM-698 ประมวลความรู (การจัดการการเงิน (Financial Management)) 15

เวลาท่ีเราจะใหคนอื่นกูยืม จะปลอยกู มองในฐานะเจาหนี้ สิ่งท่ีเจาหนี้ตองคิดคือ 1. K* คือ อัตราผลตอบแทนที่ไมมีความเสี่ยงใดๆ เลย 2. IP คือ ถาคาดวาปหนาจะมีอัตราเงินเฟอ 3% ก็จะตองบวกเพื่อเขาไป 3. DRP (default risk premium) คือถาเราปลอยกูออกไปแลว ลูกหนี้จะเบี้ยวหรือเปลา จะชักดาบหรือเปลา พวกนี้

คือความเสี่ยง เราก็จะตองบอกสวนชดเชยความเสี่ยงจากการไมสามารถชําระหนี้ไดตามกําหนด 4. LP (liquidity premium) การปลอยเงินออกไปใหกู ทําใหเจาหนี้ขาดสภาพคลอง ตองรอจนกวานี้จะครบ

กําหนด เจาหนี้ก็จะบวกเพิ่มเขาไปดวย 5. MRP (maturity risk premium) คือ ระยะเวลาในการกูยืมมันยาวนานหรือไม ถามันยาวนาน ความเสียง

เหตุการณตางๆ ก็จะมีสูง

Yield Curve อัตราดอกเบี้ยจากตัวอยาง คือ

- 1 ป 2.0 % - 5 ป 4.5 % - 10 ป 5.2 % - 30 ป 5.7 %

เราก็เอาอัตราเหลานี้มา Plot เปนจุดๆ ไดทั้งหมด 4 จุด และก็ลากเสนใหเชื่อมตอกัน เสนที่ไดนี้ เรียกวา Yield Curve เปนการดูวาในชวงระยะเวลาหนึ่ง อัตราดอกเบี้ยระยะตางๆ มันเปนเทาไร เอาตรงนี้มา Plot เปน Graph ก็จะได Yield Curve Yield Curve บอกใหเราเห็นวาดอกเบี้ยระยะส้ันจะต่ํากวาดอกเบี้ยระยะยาว เหตุผลคือ คนเราชอบที่จะปลอยเงินกูระยะสั้นมากกวาระยะยาว แตคนที่กูชอบที่จะกูเงินระยะยาวมากกวาระยะสั้น จะเห็นวา Demand และ Supply มันจะสวนทางกัน ทําใหเกิด Yield Curve ทีเปน Normal Yield Curve หรือ Upward Sloping การลงทุนในตางประเทศ ส่ิงทีตางกัน คือ ความเสี่ยงที่เพิ่มขึ้นมาคือ

1. Exchange Rate Risk 2. Country Risk

Page 16: การจัดการการเง ิน รศ พูนศักดิ์ ...mindgayro.com/sheet/money_poonsak.pdf · 2015-03-01 · การจัดการการเง

BM-698 ประมวลความรู (การจัดการการเงิน (Financial Management)) 16

บทที่ 5 ความเสี่ยงและอัตราผลตอบแทน

1. ความเสี่ยงท่ีหลีกเล่ียงได (diversifiable risk) เปนความเสี่ยงที่ไมเปนระบบ Unsystematic Risk 2. ความเสี่ยงท่ีหลีกเล่ียงไมได (market risk, relevant risk) เปนความเสี่ยงที่เปนระบบ Systematic Risk

ความเสี่ยงจากการลงทุน

1. ความเสี่ยงเกี่ยวกับความนาจะเปนที่จะไดรับ ผลตอบแทนต่ําหรือขาดทุน (low or negative return) 2. ถาความนาจะเปนนี้สูงการลงทุนจะมีความเสี่ยงสูงดวย

ความเสี่ยงคือ

1. UNFAVORABLE OUTCOME 2. HIGH RISK, HIGH RETURN 3. DON’T PUT ALL EGGS IN ONE BASKET

Page 17: การจัดการการเง ิน รศ พูนศักดิ์ ...mindgayro.com/sheet/money_poonsak.pdf · 2015-03-01 · การจัดการการเง

BM-698 ประมวลความรู (การจัดการการเงิน (Financial Management)) 17

DIVERSIFY RISK การที่เรากระจายความเสี่ยงจะทําให ความเสี่ยงนั้นลดลงได เรียกวาเปน Unsystematic Risk ความเสี่ยงที่เราไมสามารถที่จะหลีกเลี่ยงได ที่เรียกสา Systematic Risk เปนความเสี่ยงที่เกิดขึ้นในลักษณะของ Macro เชน อัตราดอกเบี้ยที่เพิ่มขึ้น สภาวะเงินเฟอ สภาพเศรษฐกิจตกต่ํา ภัยสงคราม ราคาน้ํามันทีสูงขึ้น

อาจารยถามวา ตัว Sigma (Standard deviation) กับ Beta (Variance) ตางกันอยางไร อาจารยตอบ Sigma เปนการวัดความเสี่ยงที่เราเรียกวา ความเสี่ยงรวม (Total Risk) Beta เปนการวัดความเสี่ยงที่เปนระบบ (Systematic Risk)

CV คือ คาสัมประสิทธ์ิของความแปรปรวน เราใชทําให คาความเสี่ยง เปนคามาตรฐาน เพื่อที่จะสามารถนําไปเทียบกับบริษัทตางๆ ได คา CV ของใครสูงก็แสดงวามีความเสี่ยงที่สูงกวา Risk Premium คือ สวนชดเชยความเสี่ยง ผลตางระหวางผลตอบแทนจากสินทรัพยที่มีความเสี่ยงสูงกับสินทรัพยที่มีความเสี่ยงต่ํากวา ซ่ึงจะเปนผลตอบแทนที่ชดเชยใหแกผูที่ลงทุนในหลักทรัพยซ่ึงมีความเสี่ยงมากกวา (ถามีความเสี่ยงเพิ่มขึ้น เราก็จะเรียกรองผลตอบแทนมากขึ้น)

Page 18: การจัดการการเง ิน รศ พูนศักดิ์ ...mindgayro.com/sheet/money_poonsak.pdf · 2015-03-01 · การจัดการการเง

BM-698 ประมวลความรู (การจัดการการเงิน (Financial Management)) 18

ความเสี่ยงของกลุมสินทรัพยลงทุน (Portfolio Risk) Portfolio:

1. กลุมของสินทรัพย 2 ชนิดขึ้นไป 2. การลงทุนในสินทรัพยเปนกลุมทําใหความเสี่ยงต่ํา

CAPM เปน Model ทีแสดงความสัมพันธระหวาง Risk กับ Return อาจารยถามวา CAPM คืออะไร อาจารยตอบ CAPM คือ ตัวแบบ หรือสมการที่แสดงความสัมพันธระหวาง ความเสี่ยง (Risk) กับผลตอบแทน (Return) เปนเครื่องมือที่ชวยนักลงทุน ในการคํานวณ กําหนดราคาของหลักทรัพย คํานวณวาหลักทรัพยที่เราจะเขาไปลงทุนมีความเสี่ยงเทานี้ เรานาจะไดผลตอบแทนเทาไร

สมการ CAPM ki = kRF + (kM - kRF)bi

ดังจะเห็นไดวา เปนความสัมพันธระหวาง Risk (Risk ก็คือ Beta) กับ Return (Return ก็คือคา K)

- Ki คืออัตราผลตอบแทนที่ผูลงทุนตองการในหุน i (ผูลงทุนตองการอยางนอย = KRF คือเทากับอัตรา

ผลตอบแทนที่ไมมีความเสี่ยงเลย แตหุน i มันมีความเสี่ยง ก็เลยตองบวกสวน ชดเชยความเสี่ยง + (kM - kRF)bi ซ่ึง kM - kRF เรียก Market Risk Premium คูณ กับคา bi (Beta) ซ่ึง bi ของตลาด = 1

Page 19: การจัดการการเง ิน รศ พูนศักดิ์ ...mindgayro.com/sheet/money_poonsak.pdf · 2015-03-01 · การจัดการการเง

BM-698 ประมวลความรู (การจัดการการเงิน (Financial Management)) 19

BETA คืออะไร คือ มันจะวัดความไวของหุนตัวนั้นวา Return ของมันจะผันผวนเทียบกับตลาด

อาจารยใหไปทบทวน CAPM

Page 20: การจัดการการเง ิน รศ พูนศักดิ์ ...mindgayro.com/sheet/money_poonsak.pdf · 2015-03-01 · การจัดการการเง

BM-698 ประมวลความรู (การจัดการการเงิน (Financial Management)) 20

บทที่ 6 มูลคาของเงินตามเวลา

บทที่ 7

พันธบัตรและมูลคาพันธบัตร อาจารยบอกวา สิ่งท่ีเนน และอยากใหนักศึกไปทบทวนคือ พันธบัตรคืออะไร ลักษณะที่สําคัญของพันธบัตร พันธบัตรคืออะไร พันธบัตร คือ ตราสารหนี้ระยะยาวซึ่งผูกู (ผูออกพันธบัตร) ไดสัญญาวาจะจายชําระคืนเงินตนและดอกเบี้ยตามวันที่กําหนดไวใหแกผูถือพันธบัตร ลักษณะที่สําคัญของพันธบัตร

1. มูลคาท่ีตราไว (Par value) จํานวนเงินที่ผูออกพันธบัตรจะตองชําระคืนแกผูถือพันธบัตร 1 ฉบับเมื่อครบกําหนดไถถอน

2. อัตราดอกเบี้ยท่ีกําหนด (Coupon interest rate) - Floating rate bonds พันธบัตรที่อัตราดอกเบี้ยลอยตัวตามอัตราดอกเบี้ยของตลาด

Page 21: การจัดการการเง ิน รศ พูนศักดิ์ ...mindgayro.com/sheet/money_poonsak.pdf · 2015-03-01 · การจัดการการเง

BM-698 ประมวลความรู (การจัดการการเงิน (Financial Management)) 21

- Fixed rate bonds พันธบัตรที่กําหนดอัตราดอกเบี้ยไวแนนอน - Zero coupon bonds พันธบัตรที่ไมมีการจายดอกเบี้ย ผูลงทุนจะซื้อโดยหักสวนลดไว

3. กําหนดไถถอน (Maturity date) ปกติจะอยูในชวงเวลา 10 - 40 ป 4. การไถถอนกอนครบกําหนด (Call provisions) พันธบัตรที่ออกจําหนายกําหนดเงื่อนไขนี้ไว เมื่ออัตรา

ดอกเบี้ยของตลาดลดลงต่ํากวาอัตราดอกเบี้ยของพันธบัตร ผูออกพันธบัตรจะใชสิทธิไถถอนพันธบัตรกอนกําหนด

5. เงินกองทุนเพื่อไถถอนพันธบัตร (Sinking funds) พันธบัตรอาจกําหนดใหผูออกพันธบัตรจัดตั้งเงินกองทุนเพื่อไถถอนพันธบัตรได

6. พันธบัตรแปลงสภาพ (Convertible bonds) พันธบัตรที่กําหนดใหผูถือพันธบัตรนํามา แปลงสภาพเปนหุนสามัญได

7. พันธบัตรควบใบสําคัญแสดงสิทธิในการซื้อหุนสามัญ (Bonds issued with warrants) ผูซ้ือพันธบัตรจะ ไดรับใบสําคัญแสดงสิทธิในการซื้อ หุนสามัญซึ่งนํามาซื้อหุนสามัญได

8. พันธบัตรรายได (Income bond) พันธบัตร ที่จะจายดอกเบี้ยเมื่อมีรายไดเพียงพอ เทานั้น 9. Indexd bond (Purchasing power bond) พันธบัตรที่ปรับอัตราดอกเบี้ย ตามภาวะเงินเฟอ

อาจารยถามวา ขอที่บงชี้วาเปนพันธบัตรคืออะไร อาจารยตอบ 3 สวนที่สําคัญที่ทําใหเรารูวาเปนพันธบัตร หรือไม คือ

1. ตองมีราคา Par 2. ตองมีอัตราดอกเบี้ยที่กําหนดเอาไว 3. ตองมีวันครบกําหนดไถถอน

สูตรท่ีใชในการประเมินมูลคาพันธบัตร คําถามจากอาจารย ทําไมตองมีการประเมินมูลคาพันธบัตร มันมีประโยชนอยางไร

Page 22: การจัดการการเง ิน รศ พูนศักดิ์ ...mindgayro.com/sheet/money_poonsak.pdf · 2015-03-01 · การจัดการการเง

BM-698 ประมวลความรู (การจัดการการเงิน (Financial Management)) 22

คําตอบอาจารย เพราะวาเราอยากจะรูวามันมีราคาเทาไร เพื่อที่จะเอาไปเทียบกับราคาตลาดของพันธบัตร เชน สมมุติเราประเมินไดวาพันธบัตรฉบับนี้ควรจะมีราคา 1050 บาท แตราคาตลาดที่เคาขายกันอยูที่ 1100 บาท เราก็จะเห็นวามันแพงไป เราก็ไมซ้ือ ก็คือ เพื่อเทียบกับราคาตลาด และใชในการตัดสินใจลงทุน

พันธบัตรจะมีราคาที่ซ้ือขายกันในตลาด อยู 3 ราคาดวยกันคือ

1. ราคาแรก คือ ราคา Par คือเทากับตลาด อันนี้เกิดจากกรณีที่อัตราดอกเบี้ยของพันธบัตรกับอัตราผลตอบแทนที่ผูลงทุนตองการ หรืออัตราดอกเบี้ยของตลาด มันเทากัน ก็เลยขายในราคา Par

2. ถาอัตราดอกเบี้ยของตลาด หรือวาอัตราผลตอบแทนที่ผูลงทุนตองการ สูงกวา อัตราดอกเบี้ยของพันธบัตร ราคาที่ประเมินไดก็จะเปนราคา Discount (Discount Bond)

3. ถาอัตราดอกเบี้ยของตลาด หรือวาอัตราผลตอบแทนที่ผูลงทุนตองการ ต่ํากวา อัตราดอกเบี้ยของพันธบัตร ราคาที่ประเมินไดก็จะเปนราคา Premium (Premium Bond)

เมื่อเวลาผานไป ไมวาจะเปน Discount Bond หรือ Premuim Bond ก็ตาม ราคามันจะมาบรรจบกันที่จุด M ก็คือวันที่ครบกําหนดไถถอน ราคาของพันธบัตร ไมวาจะเปน Discount Bond หรือ Premuim Bond จะเทากับ Par เสมอ นี่ก็เปนกฎตายตัวของพันธบัตร เสนที่วานี้ไมใชเสนตรง มันจะเปนเสนโคง เหตุที่เปนเสนโคง เพราะวา ความสัมพันธระหวาง อัตราดอกเบี้ย กับ ระยะเวลา มันเปนความสัมพันธแบบเสนโคง เปน Parabola

Page 23: การจัดการการเง ิน รศ พูนศักดิ์ ...mindgayro.com/sheet/money_poonsak.pdf · 2015-03-01 · การจัดการการเง

BM-698 ประมวลความรู (การจัดการการเงิน (Financial Management)) 23

อัตราผลตอบแทนจากพันธบัตร Yield to Maturity (YTM) อัตราผลตอบแทนที่ไดรับ ถาถือพันธบัตรไวจนครบกําหนด

อาจารยบอกวา Slide 7-42 มีความสําคัญ คําถามจากอาจารย สมมุติวานักศึกษาเปนผูจัดการกองทุนวงเงิน 100 ลานบาท และเจาของเงินทุนเคามีนโยบายวา จะใหลงทุนในพันธบัตรอยางเดียว ไมลงทุนในหุนสามัญ นักศึกษาจะทําอยางไรถึงจะจัดสรรเงินทุนนี้ใหมีความเสีย่งนอยที่สุด คําตอบจากอาจารย เราจะตองแบงเงินออกเปน 2 สวน คือ

- สวนท่ี 1 ลงทุนในพันธบัตรระยะสั้น - สวนท่ี 2 ลงทุนในพันธบัตรระยะยาว

เพราะวา แตละตัวมีความเสี่ยงที่ไมเหมือนกัน ความเสี่ยงท่ีนักศึกษาจะเจอในเรื่อง พันธบัตร มีอยู 2 ตัวท่ีสําคัญคือ (เราสามารถนําไปประยุกตใชไดกับหลายๆ เร่ือง)

1. ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย (Interest Rate Risk) เชน ถาเราลงทุนใน Bond ราคา Par 1000 ดอกเบี้ย 8% ดอกเบี้ยของตลาด 8% และ Bond นี้จะถูกขายในราคา Par เพราะวาอัตราดอกเบี้ยมันเทากันกับดอกเบี้ยทองตลาด สมมุติวา Bond นี้อายุ 20 ป พอเวลาผานไป ดอกเบี้ยของตลาด เพิ่มเปน 20% ดอกเบี้ยของ Bond ก็จะปรับตัวดวย เพราะฉะนั้น Bond ตัวนี้ ก็จะเปนตัวกดราคาลงมา ยิ่งระยะยาว ยิ่งโดนกดมาก นี่ก็คือ ความเสี่ยงที่เรียกวา ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย (Interest Rate Risk) เปนความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราดอกเบี้ยในตลาดที่เพิ่มสูงขึ้นอยางรวดเร็ว ทําใหผูที่ถือพันธบัตรระยะยาวเกิดความเสียหาย เพราะวาโดน discount จะไปขายก็จะโดนกดราคา แตถาเปนพันธบัตรอายุ 1 ป จะมีผลกระทบนอย เพราะแค 1 ป ก็ไดรับการไถถอน และถาซื้อพันธบัตรใหมจะไดเยอะกวา คือได 20%

Page 24: การจัดการการเง ิน รศ พูนศักดิ์ ...mindgayro.com/sheet/money_poonsak.pdf · 2015-03-01 · การจัดการการเง

BM-698 ประมวลความรู (การจัดการการเงิน (Financial Management)) 24

2. ความเสี่ยงจากอัตราผลตอบแทนที่ไปลงทุนตอ (Reinvestment Rate Risk) เชน ถาเราลงทุนใน Bond ราคา Par 1000 สมมุติ Bond อายุ 1 ป ดอกเบี้ย 8% ดอกเบี้ยของตลาด 8% ตอมาดอกเบี้ยของตลาด ลดลง เหลือ 1% Bond ตัวนี้ก็จะไดผลดีคือ ราคาอาจจะขึ้นเปน 1010 บาท แตพอครบ 1 ป แลว ไดรับการไถถอน เจาของ Bond ก็อยากจะไดดอกเบี้ย 8% เหมือนเดิม ก็ไมอาจจะหาซื้อที่ไหนได เพราะวาในตลาดก็จะมีแค 1% อันนี้คือความเสียหายที่เกิดขึ้นที่เรียกวาความเสี่ยงจากอัตราผลตอบแทนที่ไปลงทุนตอ (Reinvestment Rate Risk) เปนความเสียหายที่เกิดจากการลงทุนครั้งใหม เราไมสามารถที่จะไปหาซ้ือ Bond ที่มีอัตราดอกเบี้ยสูงเหมือนเดิมได ดังนั้นในการที่เราจะ manage เกี่ยวกับ bond มันจะมีความเสี่ยง 2 ตัว อาจารยจึงไดบอกวา ก็ควรจะแบงเงินออกเปน 2 สวน คือ สวนท่ี 1 ซ้ือระยะสั้น สวนท่ี 2 ซ้ือระยะยาว ไมวาดอกเบี้ยจะขึ้น หรือจะลง มันจะเจากันไป ไดอยางหนึ่ง จะเสียอีกอยางหนึ่ง นี่ก็เปนการบริหารความเสี่ยง เราไมไดหวังกําไร เพราะถาเราทุมซื้อระยะสั้น หรือทุมซื้อระยะยาว เพียงอยางเดียว เทากับวาเราเก็งกําไร แตเราไมไดเก็งกําไร แตเปนการปองกันความเสี่ยง

บทที่ 8 หุนและมูลคาหุน

อาจารยแนะนําใหดูลักษณะของหุนบุริมสิทธ หุนสามัญ เปนอยางไร คําถามจากอาจารย ถานักศึกษาเปนผูบริหารบริษัท และบริษัทตองการที่จะเพิ่มทุน จากของเดิม 100 ลาน เพิ่มเปน 200 ลาน และมีคนเสนอวา ควรจะออกหุนกู บางคนเสนอใหออกหุนบุริมสิทธ บางคนเสนอวาควรจะออกหุนสามัญ บางคนเสนอวาวา ควรจะออกผสมกัน หุนสามัญ หุนบุริมสิทธ หุนกู ปญหาอยูที่วา สัดสวนจะออกอยางไร คําตอบจากอาจารย (อาจารยบอกวาตอบอยางไรก็ถูก แตตองมีเหตุผลสนับสนุนคําตอบดวย)

- ถาเราออกหุนกู 100% มันก็จะไปกระทบโครงสรางของเงินทุน - ถาออกหุนสามัญ 100% มันจะทําใหหุนสามัญมีเยอะเกินไป พอบริษัทไดกําไรมาก็ตองมาปนผล ทําใหกําไรที่

ไดมาจริงๆ นอย - ถาออกผสมกัน หุนกู หุนสามัญ สัดสวนเทาไรจะดีที่สุด ธงคําตอบที่อาจารยเนนคือ ใหดูราคาหุนสามัญสูงสุด

อยูตรงไหน (ไมใช earning per share สูงสุด) และ WACC ต่ําสุด

Page 25: การจัดการการเง ิน รศ พูนศักดิ์ ...mindgayro.com/sheet/money_poonsak.pdf · 2015-03-01 · การจัดการการเง

BM-698 ประมวลความรู (การจัดการการเงิน (Financial Management)) 25

สิ่งท่ีนักศึกษาควรรูในบทนี้คือ คุณสมบัติ หรือ ลักษณะของหุนสามัญ เปนอยางไร

1. เปนเจาของกิจการ 2. มีสิทธิ มีเสียงในการลงคะแนน 3. ไดรับเงินปนผล

ส่ิงสําคัญคือ เราตองแยกใหออกวา อันนี้คือหุนสามัญ อันนี้คือหุนกู

เปนการนําสมการ SML มาวาดเปนรูป แกนนอน คือ ความเสี่ยง แทนดวยคา Beta (b) แกนตั้ง คือ อัตราผลตอบแทน ณ ระดับความเสี่ยง = 0 KRF = 8 % ณ ระดับความเสี่ยง = 1 KM = 12 % ณ ระดับความเสี่ยง = 2 คือ ความเสี่ยงมันเพิ่มขึ้น คนก็จะเรียกรองผลตอบแทนที่มากขึ้น ถาหุน X มันมีความเสี่ยง = 2 มันนาจะไดรับผลตอบแทน = 16 % แตไดแค 15% ก็เพราะวาหุนนี้ มันมีราคาแพงเกินไป ซ่ึงเรียกวา Over Value (จุดที่

Page 26: การจัดการการเง ิน รศ พูนศักดิ์ ...mindgayro.com/sheet/money_poonsak.pdf · 2015-03-01 · การจัดการการเง

BM-698 ประมวลความรู (การจัดการการเงิน (Financial Management)) 26

Over Value จะอยูใตเสน SML แตถาหุนนั้นเปนหุนที่ราคาถูก จุดจะอยูเหนือเสน SML ซ่ึงเรียกวา Under Value) ดังนั้น แสดงวา หุนที่อยูใตเสน SML เปนหุนที่แพงเกินไป เมื่อแพงเกินไปคนที่มีหุนอยูก็จะขายหุน คนที่เห็นหุน มัน Trade ในตลาดก็จะไมซ้ือเพราะวามันแพงเกินไป จะทําใหหุนนั้นถูกลง จุดนี้ก็จะเลื่อนไปอยูที่เสน SML อยูในภาวะที่สมดุล แตถาจุดนี้อยูเหนือเสน SML หุนยังมีราคาถูกอยูคนก็จะซื้อ จนกระทั่ง จุดเลื่อนมาอยูที่เสน SML อยูในภาวะที่สมดุล ดังนั้น ในสมมุติฐาน ของ CAPM ตั้งสมมุติฐานวา หุนทุกตัวที่อยูในตลาดมันจะอยูในภาวะที่สมดุล หรือพยายามที่จะอยูในภาวะที่สมดุล คือทุกตัว จะพยายามอยูบนเสน SML ถามันไมอยูบนเสน SML มันก็จะปรับจนใหอยูบนเสน SML อาจารยใหไปทวน CAPM หรือไป Search จาก Interet เพิ่มเติมก็ได หุนบุริมสิทธ์ิ หุนบุริมสิทธิ์มีลักษณะเปนลูกผสมระหวางหุนสามัญกับพันธบัตร

บทที่ 9 ตนทุนของเงินทุน

B/S (II). Investing (I). Financing

DEBT CURRENT ASSETS

COMMON STOCKS

FIXED ASSETS R/E

(III). Managing

Equity

Page 27: การจัดการการเง ิน รศ พูนศักดิ์ ...mindgayro.com/sheet/money_poonsak.pdf · 2015-03-01 · การจัดการการเง

BM-698 ประมวลความรู (การจัดการการเงิน (Financial Management)) 27

บทท่ี 9 พูดในเรื่องของ WACC โดยแยกออกมาเปนสวนๆ

- เราจะตองหา ตนทุนของหนี้ (Cost of Debt) คือ Kd (เปนตนทุนหลังภาษี)

- เราจะตองหา ตนทุนของหุนบุริมสิทธิ์ คือ Kp (เปนตนทุนหลังภาษี)

- เราจะตองหา ตนทุนของกําไรสะสม และตนทุนของหุนสามัญ คือ Ks (เปนตนทุนหลังภาษี)

นํามาคํานวณหา WACC โดยใชวิธีถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนัก ก็คือ เราตองคิดวา สัดสวนของเงินทุนแตละตัว มีเทาไร เราก็ใหความสําคัญกับน้ําหนักของมัน จึงไดสูตรดังนี้ นักศึกษาไมตองกังวลวา จะถามใหคํานวณ แตนาจะถามวา คําถามจากอาจารย WACC เอาไปใชประโยชนทําอะไร คําตอบอาจารย WACC เราเอาไปใชประโยชนในการตัดสินใจลงทุน มนัเปรียบเสมือนเปนตนทนุของเงินทุนวาตนทุนของเงินทุนเทากับเทาไร เชน สมมุติวา WACC = 12% มันจะเปนตัวเทียบกับ Return ของเราวาไดเทากับเทาไร เชน Return ของเราได = 19% อยางนี้เราก็สามารถที่จะลงทุนได เพราะวา มากกวาตนทนุของเรา ดังนัน้ WACC เปนตัวเทียบวา เราจะตัดสินใจลงทนุหรือไม ดังนั้น WACC มันจะไปปรากฏในเสนเวลาที่นักศึกษาเหน็ เปนคา K เราอาจจะใชเปน WACC ก็ได

บทที่ 10 งบลงทุน

วิธีการประเมินโครงการลงทุน 1. ระยะเวลาคืนทุน (PB) 2. ระยะเวลาคืนทุนโดยคิดเปนมูลคาปจจุบัน (DPB) 3. มูลคาปจจุบันสุทธิ (NPV) 4. อัตราผลตอบแทนของโครงการ (IRR) 5. วิธีอัตราผลตอบแทนของโครงการที่ปรับปรุงใหม (MIRR)

อาจารยถามวา Present Value กับ Net Prasent Value เหมือนกันหรือไม อาจารยตอบ ไมเหมือนกัน

Present Value หามูลคาปจจุบันเฉยๆ เชน สมมุติวาเงินที่เราไดรับปหนา 1 ลานบาท เราอยากจะทราบวาในปจจุบันเทาไร เราก็ discount กับมาเทากับ present value

Net Present Value (NPV) เปนการเปรียบเทียบระหวาง กระแสเงินสดที่เราไดรับ กับ กระแสเงินสดที่เราจายไป วามันมีผลออกมาเทาไร ผลที่ออกมา

o ถา NPV เปนบวก คือเงินที่รับ มากกวา เงินที่จาย เราจะยอมรับโครงการนั้น

Page 28: การจัดการการเง ิน รศ พูนศักดิ์ ...mindgayro.com/sheet/money_poonsak.pdf · 2015-03-01 · การจัดการการเง

BM-698 ประมวลความรู (การจัดการการเงิน (Financial Management)) 28

o ถา NPV เปนลบ คือเงินที่รับ นอยกวา เงินที่จาย เราจะปฏิเสธโครงการ อัตราผลตอบแทนของโครงการ (IRR)

การประเมินโครงการวิธีนี้จะหาอัตราสวนลด (discount rate) ที่ทําใหผลรวมมูลคาปจจุบันของกระแสเงินสด ในอนาคตเทากับเงินลงทุนเริ่มแรก (คือ อัตราสวนลดที่ NPV เทากับ 0) IRR คือ อัตราผลตอบแทนที่แทจริง คืออัตราที่เรา discount กระแสเงินสด กับมาเปนปจจุบัน แลวทําให NPV เปนศูนย ใหไปดู IIR กับ NPV ใหไปดูวา IRR มีขอเสียอะไร และแกขอเสียของ IRR อยางไร ดวยวิธีอะไร IRR มีขอเสียท่ีเห็นไดชัดคือ

1. อาจจะมี 2 คาได (Multiple IRR) 2. ตัว rate ที่เอาไปลงทุนตอ ใช rate IRR แทนที่จะเปน rate คา K แสดงวา IRR ไมไดรับรูถึง Oppotunitied cost

IRR หลายอัตรา (Multiple IRRs) บางครั้งในโครงการเดียวอาจมีคา IRR หลายอัตรา เนื่องจากกระแสเงินสดผิดปกติกรณีเชนนี้ควรใชวิธี NPV หรือ MIRR มาเปนเกณฑ ในการประเมินโครงการแทน IRR วิธี MIRR เราจะตองหา Terminal Value Rate ที่ไปขางหนา ใชคา K ซ่ึงผิดกับ IRR ที่ใช rate IRR ซ่ึงมันไมคอยสมเหตุสมผล ดังนั้น MIRR จึงใชคา K การหาคา MIRR จะสามารถแกขอเสียของ IRR ได คือ

1. MIRR จะมีคําตอบเดียว 2. rate ที่ไปขางหนานี้ เปน rate คา K ซ่ึงมันรับสภาพการรับรูของ Opportunities Cost ของโครงการ

อาจารยเนน ใหไปทวน NPV, IRR, MIRR

บทที่ 11, 12 อาจารยบอกวา ไมออกสอบ

Page 29: การจัดการการเง ิน รศ พูนศักดิ์ ...mindgayro.com/sheet/money_poonsak.pdf · 2015-03-01 · การจัดการการเง

BM-698 ประมวลความรู (การจัดการการเงิน (Financial Management)) 29

บทที่ 13 โครงสรางของเงินทุนและการใช Leverage

อาจารยแนะนําบทนี้ดูใหละเอียด ดูใหเขาใจ เพราะเปนเรื่องที่เกี่ยวกับโครงสรางเงินทุน โครงสรางเงินทุนที่อาจารยพูดเนน มันจะประกอบดวย สวนที่เปน Debt และ Equity เราจะใชสัดสวนเทาไรถึงจะเหมาะสมที่สุด อาจารยบอกวา มันไมไดมีสูตรสําเร็จในการที่จะกําหนดโครงสรางของเงินทุนที่เหมาะสม บริษัทถึงแมจะอยูในอุตสาหกรรมเดียวกัน มีขนาดที่เทากัน ก็ไมจําเปนวาจะตองมีโครงสรางเงินทุนที่เหมือนกัน

โครงสรางของเงินทุนเปาหมาย คือ การผสมผสานการใชเงินทุนระหวาง หนี้สิน หุนบุริมสิทธ์ิ และหุนสามัญ ที่กิจการกําหนด เปาหมายไวเพื่อการจัดหาเงินทุนในอนาคต ธุรกิจและความเสี่ยงทางการเงิน

1. ความเสี่ยงทางธุรกิจ ความเสี่ยงที่เกิดจากการทําธุรกิจ ไมวาจะทําอะไรก็ตาม ไมวาจะขายกลวยแขก ขายไอติม ก็จะมีความเสี่ยง

2. Operating Leverage คือ การทําธุรกิจที่เรามีตนทุนคงที่เกิดขึ้น อันนี้จะเกี่ยวกับ Break even

3. ความเสี่ยงทางการเงิน (Financial Risk) จะเกิดขึ้นเมื่อเราไปกูยืมมาลงทุน ถาเราไมกูก็ไมเกิด

Page 30: การจัดการการเง ิน รศ พูนศักดิ์ ...mindgayro.com/sheet/money_poonsak.pdf · 2015-03-01 · การจัดการการเง

BM-698 ประมวลความรู (การจัดการการเงิน (Financial Management)) 30

Break even คือ จุดคุมทุน จุดที่ไมมีกําไร คือ รายได = คาใชจาย อาจารยถามวา เราจะนํา Break even ไปใชประโยชนอยางไร อาจารยตอบ

1. ทําใหเรารูจุดคุมทุน 2. ทําใหเราสามารถวางแผนในการทําธุรกิจไดวาเราตองการกําไร และจะตองบวกเขาไปอีกเทาไร จึงจะไดกําไร

ตามที่เราตองการ ทฤษฎีโครงสรางของเงินทุน ของ M&M และของคนอื่นๆ อาจารยเนนย้ําใหไปอานดู วา เคาพูดถึงโครงสรางของเงินทุนวาอยางไร ตอบ เคาพูดวาโครงสรางเงินทุนจะเปนอยางไรก็ได โดยมี assumption 6 ขอ

เร่ืองของผลของภาษี เร่ือง ผลกระทบจากตนทุนลมละลาย ถามีการยกเวน จะเกิดอะไรขึ้น อาจารยเนนใหไปทวน

Page 31: การจัดการการเง ิน รศ พูนศักดิ์ ...mindgayro.com/sheet/money_poonsak.pdf · 2015-03-01 · การจัดการการเง

BM-698 ประมวลความรู (การจัดการการเงิน (Financial Management)) 31

บทที่ 14 การแบงผลประโยชนใหผูถือหุน : เงินปนผลและการซื้อหุนคืนมา

อาจารยใหทบทวนในเรื่องของนโยบายเงินปนผล มีอยู 3 แบบดวยกัน ทฤษฎีใดมีความถูกตองมากที่สุด จากการทดลองไมสามารถกํ าหนดได ว าทฤษฎี ใด ถูกตองที่ สุ ด ผู บ ริหารจึ งตองใชดุ ลยพินิ จ ในการ กําหนดนโยบายเงินปนผล คือ ทําการวิเคราะหประกอบกับการใชดุลยพินิจ

Page 32: การจัดการการเง ิน รศ พูนศักดิ์ ...mindgayro.com/sheet/money_poonsak.pdf · 2015-03-01 · การจัดการการเง

BM-698 ประมวลความรู (การจัดการการเงิน (Financial Management)) 32

บทท่ี 15 การจัดการสินทรัพยหมุนเวียน

บทท่ี 16 การจัดหาเงินเพื่อลงทุนในสนิทรัพยหมุนเวียน

บทท่ี 15,16 อาจารยใหดูคูกันไป อาจารยใหดูแตประเด็นสําคัญๆ อะไรท่ีเปนการคํานวณก็ไมตองดู เนนประเด็นใหญๆ เชน Equity, Profitability

- เราจะตองนึกถึงความมีสภาพคลองพรอมๆ กับความสามารถในการทํากําไร - ความสอดคลองกันระหวางเงินที่เราเอาไปลงทุน กับ เงินที่เราไดรับมาจากการลงทุน และสามารถนําไปจาย

คืนใหกับเจาหนี้ได บทท่ี 17 อาจารยบอกวาไมนาจะออกสอบ บทท่ี 18 เร่ืองของตราสารอนุพันธ (อาจารยบอกวา นาจะไมออกสอบ) เปนตราสารที่ไมมีมูลคาในตัวมันเอง แตมันตองไปอิงกับตราสารแม บทท่ี 19 การเงินระหวางประเทศ ก็มีเร่ืองของอัตราแลกเปลี่ยน การคาระหวางประเทศ

- การคาระหวางประเทศจะมีความเสี่ยงในเรื่องของอัตราแลกเปลี่ยน

บทท่ี 20 การจัดหาเงินทุนจากหลักทรัพยลูกผสม : - หุนบุริมสิทธิ์ - การเชา (Leasing) - ใบสําคัญแสดงสิทธิในการซื้อหุนสามัญ (Warrant) - หลักทรัพยแปลงสภาพ

ทั้ง 4 ตัวนี้เปนเรื่องของการ Financing เปนเรื่องของการจัดหาเงินทุน ส่ิงที่อาจารยเนน เร่ืองของการออก Warrant ออก Convertible Bond หลักใหญอยูที่วาบริษัทผูออก เคาตองการจะลดตนทุนใหต่ําที่สุด เทาที่จะทําได เคาเลยออกหุนกูแปรสภาพ หรือ ออกหุนกูที่ให Warrant ดวยโดยใหดอกเบี้ยหุนกูต่ํา สมมุติวา ดอกเบี้ยของตลาดอยูที่ 10% แตเคาจายดอกเบี้ยของหุนกูที่เคาออก 7% ขณะที่ตลาดให 10% แลวทําไมถึงขายได ก็เพราะวาคนที่ซ้ือเคามีความหวังวา ราคาหุนสามัญของบริษัทนี้ จะสูงขึ้นในอนาคต เพราะวาบริษัทไดเงินในตนทุนที่ต่ํากวาในทองตลาด และบริษัทไปประกอบธุรกิจไดกําไร และกําไรที่ไดก็ทําใหหุนสามัญสูงขึ้น เชน หุนสามัญเดิมราคาหุนละ 30 บาท ขึ้นไป 90 บาท

Page 33: การจัดการการเง ิน รศ พูนศักดิ์ ...mindgayro.com/sheet/money_poonsak.pdf · 2015-03-01 · การจัดการการเง

BM-698 ประมวลความรู (การจัดการการเงิน (Financial Management)) 33

- คนที่มี Warrant อยูก็จะใชสิทธิไปซื้อในราคาที่กําหนดเอาไว เปนราคาที่ถูกกวา 90 บาท เชนซื้อในราคา 40 บาท ก็จะไดกําไร 50 บาท

- หรือวา คนที่เคามีหุนกูแปรสภาพ เคาก็จะขอแปลงสภาพเปนหุนสามัญ เคาก็จะไดกําไร อาจารยบอกวา นี้ก็เปนประเด็นที่สําคัญของบทนี้ การออกหุนกูที่แปลงสภาพ หรือ หุนกูที่มี Warrant อยู ในดอกเบี้ยที่ต่ํา เปนการขายความหวัง เปนการใหความหวังกับนักลงทุน อาจารยแนะนําใหไปอานทวนในเรื่องของ Warrant, หุนกูแปลงสภาพ

บทที่ 21 การควบกิจการ ใหดูวา Merger คืออะไร

ขอดีของการ Merge 1. ทําใหเกิด Synergy 2 + 2 = 5 2. ไดประโยชนในเรื่องของ ภาษี 3. ไดประโยชนในเรื่องของการประหยัดคาใชจาย

Page 34: การจัดการการเง ิน รศ พูนศักดิ์ ...mindgayro.com/sheet/money_poonsak.pdf · 2015-03-01 · การจัดการการเง

BM-698 ประมวลความรู (การจัดการการเงิน (Financial Management)) 34

สรุป สิ่งท่ีอาจารย เนน อยากใหไปทบทวนคือ 1. บทท่ี 1 หนาท่ีของผูจัดการการเงินมีอะไรบาง เร่ืองของจริยธรรม เร่ืองของเศรษฐกิจพอเพียง 2. บทท่ี 3 เร่ืองของอัตราสวนทางการเงิน 3. บทท่ี 5 เร่ืองความเสี่ยง 4. บทท่ี 10 NPV, IRR, MIRR 5. บทท่ี 13 อาจารยเนน

อาจารยบอกวา ถาอาจารยเปนคนออกขอสอบ อาจารยจะออกเปน Case ประมาณ 1 หนา ใน Case จะมีปญหาตางๆ ที่นักศึกษาจะตองหาเอง ถาอาจารยใจดีก็จะ List ปญหามาใหเปนขอๆ ถาอาจารยไมใหปญหามา เราตองอาน Case เองแลวตีปญหาออกมาเอง วามีปญหาอะไรบาง ที่เราจะตองดึงมาตอบ อาจารยแนะใหไปดูรูปนี้ดวย

B/S

(II). Investing (I). Financing

DEBT CURRENT ASSETS

COMMON STOCKS

FIXED ASSETS R/E

(III). Managing

ปุน (MMM-5) การจัดการทั่วไป

แกไขลาสุด 26 ธ.ค. 49

Equity