หลักการระบบสื่อสาร(7/12)bucroccs.bu.ac.th/courses/documents/crcc9/s07.pdf ·...

14
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . หลักการระบบสื่อสาร (7/12) คณะวิศวกรรมศาสตร ม.กรุงเทพ ม.ค.–พ.ค. 2563 ภูมิพัฒ แสงอุดมเลิศ (ม.กรุงเทพ) หลักการระบบสื่อสาร ม.ค.–พ.ค. 2563 1 / 14

Upload: others

Post on 23-Nov-2020

34 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: หลักการระบบสื่อสาร(7/12)bucroccs.bu.ac.th/courses/documents/CRCC9/s07.pdf · 2020. 1. 13. · เลขฐาน16! บิต(เลขฐาน2)

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

หลักการระบบสื่อสาร (7/12)

คณะวิศวกรรมศาสตร ม.กรุงเทพ

ม.ค.–พ.ค. 2563

ภูมิพัฒ แสงอุดมเลิศ (ม.กรุงเทพ) หลักการระบบสื่อสาร ม.ค.–พ.ค. 2563 1 / 14

Page 2: หลักการระบบสื่อสาร(7/12)bucroccs.bu.ac.th/courses/documents/CRCC9/s07.pdf · 2020. 1. 13. · เลขฐาน16! บิต(เลขฐาน2)

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

4 บิตขอมูล4.1 การแสดงขอมูลดวยบิต

กอนหนา (ในสไลดชุดที่ 1): รหัสแอสกีขยาย (Extended ASCII)สำหรับอักษรภาษาอังกฤษ แปลงแตละตัวอักษรเปน 8 บิต4 บิตจากหมายเลขแถว ตามดวย 4 บิตจากหมายเลขคอลัมน

รหัส UTF-16 (UTF ยอมาจาก Unicode Transformation Format)สำหรับอักษรในภาษาตาง ๆ รวมถึงภาษาไทย แปลงแตละตัวอักษรเปน 16 บิต

ภูมิพัฒ แสงอุดมเลิศ (ม.กรุงเทพ) หลักการระบบสื่อสาร ม.ค.–พ.ค. 2563 2 / 14

Page 3: หลักการระบบสื่อสาร(7/12)bucroccs.bu.ac.th/courses/documents/CRCC9/s07.pdf · 2020. 1. 13. · เลขฐาน16! บิต(เลขฐาน2)

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

รหัส UTF-16 สำหรับอักษรไทย12 บิตจากหมายเลขแถว ตามดวย 4 บิตจากหมายเลขคอลัมน

0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 A B C D E F0E0 ก ข ฃ ค ฅ ฆ ง จ ฉ ช ซ ฌ ญ ฎ ฏ0E1 ฐ ฑ ฒ ณ ด ต ถ ท ธ น บ ป ผ ฝ พ ฟ0E2 ภ ม ย ร ฤ ล ฦ ว ศ ษ ส ห ฬ อ ฮ ฯ0E3 ะ ั า ำ ิ ี ึ ื ุ ู ฺ ฿0E4 เ แ โ ใ ไ ๅ ๆ ็ 0E5 ๐ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙

ตัวอยาง (การเขารหัส UTF-16):ตัวอักษร → เลขฐาน 16 → บิต (เลขฐาน 2)

แปด → 0E41 0E1B 0E14→ 0000 1110 0100 0001

0000 1110 0001 10110000 1110 0001 0100 ■

ภูมิพัฒ แสงอุดมเลิศ (ม.กรุงเทพ) หลักการระบบสื่อสาร ม.ค.–พ.ค. 2563 3 / 14

Page 4: หลักการระบบสื่อสาร(7/12)bucroccs.bu.ac.th/courses/documents/CRCC9/s07.pdf · 2020. 1. 13. · เลขฐาน16! บิต(เลขฐาน2)

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

การแปลงขอมูลสัญญาณแบบตอเนื่องการแปลงขอมูลสัญญาณแบบตอเนื่อง (เชน คลื่นเสียง) เปนบิตขอมูล ทำไดโดยการชักคาสัญญาณ (sampling) และ การควอนไทซ (quantization)การชักคาสัญญาณ: สัญญาณขอมูล → คาชักสัญญาณ (sample)

0 0.01 0.02 0.03 0.04 0.05

-1

-0.5

0

0.5

1

0 10 20 30 40 50

-1

-0.5

0

0.5

1

เวลา

สัญญาณขอมูล

คาชักสัญญาณ

ดัชนีคาชักสัญญาณ ไมมีหนวย

ในรูป อัตราชักคาสัญญาณ (แทนดวย fs) คือ 1 kHz (หรือ 1000 sample/s)ภูมิพัฒ แสงอุดมเลิศ (ม.กรุงเทพ) หลักการระบบสื่อสาร ม.ค.–พ.ค. 2563 4 / 14

Page 5: หลักการระบบสื่อสาร(7/12)bucroccs.bu.ac.th/courses/documents/CRCC9/s07.pdf · 2020. 1. 13. · เลขฐาน16! บิต(เลขฐาน2)

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

การควอนไทซ: คาชักสัญญาณ → บิตขอมูล

0 10 20 30 40 50

-1

-0.875

-0.75

-0.625

-0.5

-0.375

-0.25

-0.125

0

0.125

0.25

0.375

0.5

0.625

0.75

0.875จุดวงกลม คาชักสัญญาณ จุดสี่เหลี่ยม ผลการควอนไทซ

คาสัญญาณสําหรับการควอนไทซ

บิตขอมูล

1111111011011100101110101001100001110110010101000011001000010000

ในรูป จำนวนบิตตอคาชักสัญญาณ คือ 4 (หรือ 4 bit/sample)ภูมิพัฒ แสงอุดมเลิศ (ม.กรุงเทพ) หลักการระบบสื่อสาร ม.ค.–พ.ค. 2563 5 / 14

Page 6: หลักการระบบสื่อสาร(7/12)bucroccs.bu.ac.th/courses/documents/CRCC9/s07.pdf · 2020. 1. 13. · เลขฐาน16! บิต(เลขฐาน2)

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

จากตัวอยางในรูป บิตขอมูลที่ไดคือ

0101 1000 1011 1110 ...

จำนวน คาสัญญาณในการควอนไทซ คือ 2 ยกกำลังจำนวนบิตตอคาชักสัญญาณซึ่งเทากับ 24 = 16 ในรูป

การคำนวณ อัตราบิตขอมูล (bit rate) ที่ไดจากการแปลงสัญญาณเปนบิตนำอัตราชักคาสัญญาณ ( fs ) มาคูณกับจำนวนบิตตอคาชักสัญญาณ

1,000 samples × 4 bit

sample = 4,000 bits = 4 kbps

หมายเหตุ: bps ยอมาจาก bit per second หรือ bit/s

ภูมิพัฒ แสงอุดมเลิศ (ม.กรุงเทพ) หลักการระบบสื่อสาร ม.ค.–พ.ค. 2563 6 / 14

Page 7: หลักการระบบสื่อสาร(7/12)bucroccs.bu.ac.th/courses/documents/CRCC9/s07.pdf · 2020. 1. 13. · เลขฐาน16! บิต(เลขฐาน2)

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

ตัวอยาง (ระบบโทรศัพทสายสง):ใช fs = 8 kHz และ 8 bit/sample

อัตราบิตขอมูล = 8,000 samples × 8 bit

sample = 64 kbps■

ตัวอยาง (แผน CD):ใช fs = 44.1 kHz และ 16 bit/sample และอัดเสียงดวยไมโครโฟน 2 ตัว (ระบบ stereo)

อัตราบิตขอมูล = 44,100 samples × 16 bit

sample × 2 = 1.4112 Mbps

สำหรับแผน CD ที่อัดเสียงได 70 นาที

จำนวนบิตขอมูลรวม = (70× 60) s× 1.4112 Mbps ≈ 5.9 Gb ■

ภูมิพัฒ แสงอุดมเลิศ (ม.กรุงเทพ) หลักการระบบสื่อสาร ม.ค.–พ.ค. 2563 7 / 14

Page 8: หลักการระบบสื่อสาร(7/12)bucroccs.bu.ac.th/courses/documents/CRCC9/s07.pdf · 2020. 1. 13. · เลขฐาน16! บิต(เลขฐาน2)

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

ทฤษฎีชักคาสัญญาณ

ทฤษฎีชักคาสัญญาณ (sampling theorem): สำหรับสัญญาณขอมูลที่มีแบนดวิดท Bถาใช fs ≥ 2B จะสามารถแปลงคาชักสัญญาณกลับเปนสัญญาณเดิมได

ถา fs < 2B การชักคาสัญญาณอาจทำใหเกิดปรากฎการณ aliasingซึ่งหมายถึงกรณีที่ สัญญาณหลายตัว ทำใหเกิดคาชักสัญญาณชุดเดียวกันจึงไมสามารถแปลงกลับเปนสัญญาณตั้งตนได (ดูตัวอยางในหนาถัดไป)

เสียงพูดมี B ≈ 4 kHz จึงใช fs = 2× 4 = 8 kHz ในระบบโทรศัพทเสียงเพลงมี B ≈ 20 kHz จึงควรใช fs = 2× 20 = 40 kHzมาตรฐานแผน CD ใช 44.1 kHzหมายเหตุ: เพื่อเลี่ยง aliasing เรามักผานสัญญาณขอมูลเขาตัวกรอง lowpassแลวจึงชักคาสัญญาณ ในระบบ CD ตัวกรอง lowpass มีแบนดวิดท 22.05 kHz(แทน 20 kHz เพื่อสรางไดงาย) ทำให B = 22.05 kHz และ fs = 2B = 44.1 kHz

ภูมิพัฒ แสงอุดมเลิศ (ม.กรุงเทพ) หลักการระบบสื่อสาร ม.ค.–พ.ค. 2563 8 / 14

Page 9: หลักการระบบสื่อสาร(7/12)bucroccs.bu.ac.th/courses/documents/CRCC9/s07.pdf · 2020. 1. 13. · เลขฐาน16! บิต(เลขฐาน2)

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

ตัวอยาง (ปรากฎการณ aliasing):(ก) คาชักสัญญาณจาก fs = 1 kHz สำหรับสัญญาณไซนความถี่ 1 kHz(ข) สัญญาณไซนความถี่ 0.5 kHz ซึ่งมีคาชักสัญญาณเหมือนกับ (ก)

0 1 2 3 4

-1

-0.5

0

0.5

1

0 1 2 3 4

-1

-0.5

0

0.5

1

คาสัญญาณ

คาสัญญาณก

(ms)

(ms) ■ภูมิพัฒ แสงอุดมเลิศ (ม.กรุงเทพ) หลักการระบบสื่อสาร ม.ค.–พ.ค. 2563 9 / 14

Page 10: หลักการระบบสื่อสาร(7/12)bucroccs.bu.ac.th/courses/documents/CRCC9/s07.pdf · 2020. 1. 13. · เลขฐาน16! บิต(เลขฐาน2)

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

4.2 เลขฐาน 2 8 และ 16

ควรแปลงไปกลับไดระหวางฐานเหลานี้

ฐาน 2 ↔ ฐาน 8:แปลงครั้งละ 3 บิต

ฐาน 2 ↔ ฐาน 16:แปลงครั้งละ 4 บิต

บิตขอมูล เลขฐาน 8 บิตขอมูล เลขฐาน 16000 0 0000 0001 1 0001 1010 2 0010 2011 3 0011 3100 4 0100 4101 5 0101 5110 6 0110 6111 7 0111 7

1000 81001 91010 A1011 B1100 C1101 D1110 E1111 F

ภูมิพัฒ แสงอุดมเลิศ (ม.กรุงเทพ) หลักการระบบสื่อสาร ม.ค.–พ.ค. 2563 10 / 14

Page 11: หลักการระบบสื่อสาร(7/12)bucroccs.bu.ac.th/courses/documents/CRCC9/s07.pdf · 2020. 1. 13. · เลขฐาน16! บิต(เลขฐาน2)

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

4.3 จำนวนและอัตราบิตขอมูล

รหัสบิตขอมูลยาว b บิต มีไดทั้งหมด 2b รหัส

ถาตองการ N รหัสที่แตกตางกัน จำนวนบิตในรหัส อยางต่ำ หาไดดังตอไปนี้

2 b ≥ N ⇒ b ≥ log2 N ⇒ b = ⌈log2 N⌉

หมายเหตุ: ⌈x⌉ = จำนวนเต็มที่นอยที่สุดที่ ≥ x (ปดเศษขึ้น ถามีเศษ)

ตัวอยาง (รหัส นศ.)ถาตองการรหัสตัวเลข 00000 ถึง 99999 จะตองใชจำนวนบิตอยางต่ำ⌈log2 100,000⌉ = 17 บิตคำเตือน: เวลากดเครื่องคิดเลข ตองใชฐานของ log ใหถูกตอง ■

ภูมิพัฒ แสงอุดมเลิศ (ม.กรุงเทพ) หลักการระบบสื่อสาร ม.ค.–พ.ค. 2563 11 / 14

Page 12: หลักการระบบสื่อสาร(7/12)bucroccs.bu.ac.th/courses/documents/CRCC9/s07.pdf · 2020. 1. 13. · เลขฐาน16! บิต(เลขฐาน2)

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

ควรตระหนักถึงความแตกตางระหวาง จำนวนบิต และ อัตราบิต

ตัวอยาง (จำนวนบิตและอัตราบิต):การอัดเสียงพูดดวย fs = 32 kHz และใช 12 bit/sample

ถาอัด 30 นาที จำนวนบิตขอมูลที่ไดคือ

32,000 samples × 12 bit

sample × (30× 60) s = 691.2 Mb

ถาตอสายสงบิตขอมูลที่ไดจากการอัด ตองใชสายสงที่มีอัตราบิตอยางต่ำเทากับ

32,000 samples × 12 bit

sample = 384 kbps■

ภูมิพัฒ แสงอุดมเลิศ (ม.กรุงเทพ) หลักการระบบสื่อสาร ม.ค.–พ.ค. 2563 12 / 14

Page 13: หลักการระบบสื่อสาร(7/12)bucroccs.bu.ac.th/courses/documents/CRCC9/s07.pdf · 2020. 1. 13. · เลขฐาน16! บิต(เลขฐาน2)

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

4.4 แพ็กเกตขอมูลบิตขอมูลมักถูกสงเปนกลุม แตละกลุมเรียก แพ็กเกต (packet)บางครั้งเรียก เฟรม (frame) ขึ้นอยูกับมาตรฐานระบบ

โครงสรางทั่วไปของแพ็กเกตขอมูล

สวนหัว(header)

สวนทาย(trailer)

payload

สวนหัว (header): บอกหมายเลขแพ็กเกต หมายเลข address ประเภทขอมูลลำดับความสำคัญ ฯลฯpayload: บิตขอมูลสวนทาย (trailer): บิตเพิ่มเติมสำหรับเขารหัสเพื่อตรวจจับ/แกไขบิตผิดพลาด

บิตอื่น ๆ ที่ไมใชบิตขอมูล (ใน payload) เรียกวา overheadในระบบที่มี overhead อัตราบิตขอมูล จะต่ำกวา อัตราบิตที่ถูกสง

ภูมิพัฒ แสงอุดมเลิศ (ม.กรุงเทพ) หลักการระบบสื่อสาร ม.ค.–พ.ค. 2563 13 / 14

Page 14: หลักการระบบสื่อสาร(7/12)bucroccs.bu.ac.th/courses/documents/CRCC9/s07.pdf · 2020. 1. 13. · เลขฐาน16! บิต(เลขฐาน2)

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

ตัวอยาง (อัตราบิตในระบบที่มี overhead):สง 500 packet/s แพ็กเกตขนาด 250 บิต โดยขนาด payload คือ 200 บิต

อัตราบิตขอมูล (ไมรวม overhead)

200 bitpacket × 500 packet

s = 100 kbps

อัตราบิตที่ถูกสง (รวม overhead)

250 bitpacket × 500 packet

s = 125 kbps

% ของ overhead =250− 200

250 × 100% = 20% ■

ภูมิพัฒ แสงอุดมเลิศ (ม.กรุงเทพ) หลักการระบบสื่อสาร ม.ค.–พ.ค. 2563 14 / 14