หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี...

111
หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๘ ชื่อสถาบันอุดมศึกษา : มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา : คณะศึกษาศาสตร หมวดที่ 1 ขอมูลทั่วไป ๑. ชื่อหลักสูตร ภาษาไทย : หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา ภาษาอังกฤษ : Doctor of Education Program in Educational Administration ๒. ชื่อปริญญาและสาขาวิชา ภาษาไทย ชื่อเต็ม : ศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต (การบริหารการศึกษา) ชื่อยอ : ศษ.ด. (การบริหารการศึกษา) ภาษาอังกฤษ ชื่อเต็ม : Doctor of Education (Educational Administration) ชื่อยอ : Ed. D. (Educational Administration) ๓. วิชาเอกหรือความเชี่ยวชาญเฉพาะของหลักสูตร การบริหารการศึกษา ๔. จํานวนหนวยกิต ตลอดหลักสูตร ๖๓ หนวยกิต ๕. รูปแบบของหลักสูตร ๕.๑ รูปแบบ : หลักสูตรระดับที่ ๖ ปริญญาเอก ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๒ ๕.๒ ภาษาที่ใช : จัดการเรียนการสอนเปนภาษาไทย และเปนภาษาอังกฤษบางรายวิชา ๕.๓ การรับเขาศึกษา : รับนักศึกษาไทยและนักศึกษาชาวตางประเทศที่สามารถใชภาษาไทยเปนอยางดี ๕.๔ ความรวมมือกับสถาบันอื่น : แสวงหาความรวมมือทางวิชาการ การสัมมนา การศึกษาดูงาน หรืออื่นๆ กับคณาจารยทั้งในและนอกประจําการของ Washington State University หรือมหาวิทยาลัยอื่นใน ประเทศสหรัฐอเมริกาหรือประเทศอื่น ๕.๕ การใหปริญญาแกผูสําเร็จการศึกษา : ใหปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว

Upload: others

Post on 17-Feb-2020

5 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๘

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา : มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย

วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา : คณะศึกษาศาสตร

หมวดที่ 1 ขอมูลทั่วไป

๑. ชื่อหลักสูตร

ภาษาไทย : หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา

ภาษาอังกฤษ : Doctor of Education Program in Educational Administration

๒. ชื่อปริญญาและสาขาวิชา

ภาษาไทย ช่ือเต็ม : ศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต (การบริหารการศึกษา)

ช่ือยอ : ศษ.ด. (การบริหารการศึกษา)

ภาษาอังกฤษ ช่ือเต็ม : Doctor of Education (Educational Administration)

ช่ือยอ : Ed. D. (Educational Administration)

๓. วิชาเอกหรือความเช่ียวชาญเฉพาะของหลักสูตร

การบริหารการศึกษา

๔. จํานวนหนวยกิต

ตลอดหลักสูตร ๖๓ หนวยกิต

๕. รูปแบบของหลักสูตร

๕.๑ รูปแบบ : หลักสูตรระดับที่ ๖ ปริญญาเอก ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๒

๕.๒ ภาษาที่ใช : จัดการเรียนการสอนเปนภาษาไทย และเปนภาษาอังกฤษบางรายวิชา

๕.๓ การรับเขาศึกษา : รับนักศึกษาไทยและนักศึกษาชาวตางประเทศที่สามารถใชภาษาไทยเปนอยางดี

๕.๔ ความรวมมือกับสถาบันอื่น : แสวงหาความรวมมือทางวิชาการ การสัมมนา การศึกษาดูงาน หรืออื่นๆ กับคณาจารยทั้งในและนอกประจําการของ Washington State University หรือมหาวิทยาลัยอื่นในประเทศสหรัฐอเมริกาหรือประเทศอื่น

๕.๕ การใหปริญญาแกผูสําเร็จการศึกษา : ใหปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว

Page 2: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

๖. สถานภาพของหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร

๖.๑ เปนหลักสูตรปรับปรุงใหม พ.ศ. ๒๕๕๘

๖.๒ เริ่มใชในภาคการศึกษาที่ ๑ ปการศึกษา ๒๕๕๙ เปนตนไป

๖.๓ สภาวิชาการพิจารณาอนุมติัหลักสูตรปรับปรุงใหม พ.ศ. ๒๕๕๘ ในการประชุมครั้งที่ .............. เมื่อ

วันที่ ........ เดือน........................... พ.ศ. .................

๖.๔ สภามหาวิทยาลัยพิจารณาเห็นชอบหลักสูตรปรับปรุงใหม พ.ศ. ๒๕๕๘ ในการประชุมครั้งที่

.............. เมื่อวันที่ ........ เดือน........................... พ.ศ. .................

๖.๕ องคกรวิชาชีพรับรองหลักสูตร .............................

๗. ความพรอมในการเผยแพรหลักสูตรท่ีมีคุณภาพและมาตรฐาน

หลักสูตรมีความพรอมในการเผยแพรวาเปนหลักสูตรที่มีคุณภาพและมาตรฐาน ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ

ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๒ ในปการศึกษา ๒๕๕๘

๘. อาชีพท่ีสามารถประกอบอาชีพไดหลังสําเร็จการศึกษา

ผูบริหารสถานศึกษา ผูบริหารการศึกษา นักวิจัย นักวิชาการ อาจารยในสถาบันอุดมศึกษา ทั้งภาครัฐและ

ภาคเอกชน

๙. ลําดับท่ี ชื่อ/ฉายา ชื่อสกุล ตําแหนงทางวิชาการ คุณวุฒิและสาขาวิชา สถานศึกษา ปท่ีสําเร็จ

การศึกษาของอาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตร

๙.๑ อาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตร ณ สวนกลาง จังหวัดนครปฐม

ที่ ชื่อ/ฉายา-ชื่อสกุล ตําแหนงทาง

วิชาการ คุณวุฒิและสาขาวิชา สถานศึกษา

ปที่สําเร็จ

การศึกษา

๑ พระปริยัติสารเวที

อาจารย ปร.ด. (บริหารการศึกษา) อ.ม. (ภาษาบาลีสันสกฤต) ศน.บ. (ภาษาอังกฤษ)

ม.ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย สภาการศึกษา มหามกุฏราชวิทยาลัย

๒๕๕๕ ๒๕๔๒ ๒๕๒๗

๒ พระมหาไกรวรรณ ชินทตฺติโย

อาจารย

ปร.ด. (บริหารการศึกษา) พธ.ม. ป.ธ. ๙

ม. ศิลปากร ม.มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย กองบาลีสนามหลวง

๒๕๕๒ ๒๕๔๕ ๒๕๔๒

๓ นางสาวสุธาสินี แสงมุกดา

อาจารย ค.ด. (บริหารการศึกษา) ค.ม.(การวัดและประเมินผลทางการศึกษา) วท.บ.(วิทยาการคอมพิวเตอร)

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ม. ศิลปากร

๒๕๕๔ ๒๕๕๐

๒๕๔๔

Page 3: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

๙.๑ อาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตร ณ วิทยาเขตอีสาน จังหวัดขอนแกน

ที่ ชื่อ/ฉายา-ชื่อสกุล ตําแหนงทาง

วิชาการ คุณวุฒิและสาขาวิชา สถานศึกษา

ปที่สําเร็จ

การศึกษา

๑ พระครูสุธีจริยวัฒน อาจารย ปร.ด. (บริหารการศึกษา) ศศ.ม. (ภาษาไทย) ศน.บ. (ภาษาอังกฤษ)

ม. ขอนแกน ม. นเรศวร ม. มหามกุฏราชวิทยาลัย

๒๕๕๕ ๒๕๔๓ ๒๕๓๗

๒ พระครูปลัดสมัย ผาสุโก

อาจารย ปร.ด. (บริหารการศึกษา) ศศ.ม. (ไทยคดีศึกษา) ศน.บ. (บริหารการศึกษา)

ม. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ม. มหาสารคาม ม. มหามกุฏราชวิทยาลัย

๒๕๕๕ ๒๕๔๔ ๒๕๓๙

๓ นายวิโรจน สารรัตนะ

รองศาสตราจารย

Post Doc. (Educational Administration) กศ.ด. (พัฒนศึกษาศาสตร) ค.ม. (บริหารการศึกษา) ศศ.บ. (ภาษาอังกฤษ)

Washington State University มศว. ประสานมิตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ม. เชียงใหม

๒๕๔๘

๒๕๓๒ ๒๕๒๕ ๒๕๑๘

๑๐. สถานท่ีจัดการเรียนการสอน

๑๐.๑ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย สวนกลาง อําเภอศาลายา จังหวัดนครปฐม ๑๐.๒ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน อําเภอเมือง จังหวัดขอนแกน

๑๑. สถานการณภายนอกหรือการพัฒนาท่ีจําเปนตองนํามาพิจารณาในการวางแผนปรับปรุงหลักสูตร

๑๑.๑ สถานการณหรือการพัฒนาทางเศรษฐกิจ

หากพิจารณาสถานการณหรือการพัฒนาทางเศรษฐกิจจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๙) มีประเด็นที่การปรับปรุงหลักสูตรใหม พ.ศ. ๒๕๕๘ น้ีควรจะตองคํานึงถึงแนวคิดการพัฒนาผูเรียนเพื่อใหตระหนักถึงปรากฏการณและความคาดหวังทั้งภายนอกและภายในประเทศที่จะมีผลตอเน่ืองถึงการบริหารการศึกษา เพราะประเทศไทยยังตองเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงที่สําคัญ ทั้งในระดับโลก ภูมิภาค และภายในประเทศ ซึ่งมีผลกระทบทั้งที่เปนโอกาสและความเสี่ยงตอการพัฒนาประเทศดวย ดังน้ี เชน (๑) กฎ กติกาใหมของโลกหลายดานสงผลใหทุกประเทศตองปรับตัว เพื่อการจัดระเบียบใหมที่สําคัญของโลก ครอบคลุมถึงกฎ ระเบียบดานการคา และการลงทุนที่เนนสรางความโปรงใสและแกปญหาโลกรอนมากข้ึน การคุมครองทรัพยสินทางปญญา ความรวมมือระหวางประเทศ และการกํากับดูแลดานการเงินที่เขมงวดมากข้ึน (๒) การปรับตัวเขาสูเศรษฐกิจโลกแบบหลายศูนยกลาง รวมทั้งภูมิภาคเอเชีย ทวีความสําคัญเพิ่มข้ึน นอกจากน้ีการรวมกลุมเศรษฐกิจที่สําคัญตอประเทศไทยในชวงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ ไดแก การรวมกลุมในภูมิภาคเอเชีย ภายใตกรอบการคาเสรีของอาเซียนกับจีน ญี่ปุน และอินเดีย และการเปนประชาคมอาเซียน ในป ๒๕๕๘ รวมทั้งกรอบความรวมมืออื่นๆ อาทิ กรอบความรวมมือเอเชีย-แปซิฟค จะมีผลกระทบตอการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของไทยซึ่งตองมีการเตรียมความพรอมในหลายดาน โดยเฉพาะการพัฒนาทรัพยากรมนุษยและการพัฒนากลไกตางๆ (๓) การเปลี่ยนแปลงสภาวะดานเศรษฐกิจ

Page 4: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

ภายในประเทศ ที่ภาคอุตสาหกรรมเปนภาคการผลิตที่มีบทบาทสูง ภาคเกษตรเปนแหลงสรางรายไดหลักของประชาชนสวนใหญในประเทศและเปนฐานในการสรางมูลคาเพิ่มของภาคอุตสาหกรรม ภาคบริการมีบทบาทสําคัญในการสรางมูลคาเพิ่มใหแกเศรษฐกิจ ขณะที่การเช่ือมโยงเศรษฐกิจในประเทศกับตางประเทศทําใหเกิดกิจกรรมทางเศรษฐกิจระหวางประเทศ โดยเฉพาะดานการคาและการลงทุน สําหรับการลงทุนโดยตรงจากตางประเทศยังคงมีบทบาทสําคัญตอการขยายตัวของระบบเศรษฐกิจไทย อยางไรก็ตาม ระบบเศรษฐกิจของไทยมีความออนแอดานปจจัยสนับสนุนในสวนของวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี คุณภาพการบริการของโครงสรางพื้นฐาน กฎหมาย กฎ และระเบียบทางเศรษฐกิจ ที่ไมเอื้อตอการจัดระบบการแขงขันที่เปนธรรมและเหมาะสมกับสถานการณการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ และความพรอมกาวสูประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในป ๒๕๕๘

๑๑.๒ สถานการณหรือการพัฒนาทางสังคมและวัฒนธรรม

ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๙) ไดกลาวถึงการเปลี่ยนแปลงสภาวะดานสังคมและวัฒนธรรมที่การปรับปรุงหลักสูตรใหม พ.ศ. ๒๕๕๘ ควรตองคํานึงถึงการพัฒนาผูเรียนใหตระหนักถึงประเด็นและปญหาตางๆ เพื่อความมีประสิทธิผลการบริหารการศึกษาดวย เชน (๑) ประเทศไทยกาวสูสังคมผูสูงอายุจากการมีโครงสรางประชากรที่วัยสูงอายุเพิ่มข้ึน วัยเด็กและวัยแรงงานลดลง คนไทยไดรับการพัฒนาศักยภาพทุกชวงวัย แตมีปญหาคุณภาพการศึกษาและระดับสติปญญาของเด็ก พฤติกรรมเสี่ยงตอสุขภาพ และผลิตภาพแรงงานตํ่า ประชาชนไดรับการคุมครองทางสังคมเพิ่มข้ึนและมีการจัดสวัสดิการทางสังคมในหลายรูปแบบ แตกลุมผูดอยโอกาสยังไมสามารถเขาถึงบริการทางสังคมไดอยางทั่วถึง ความเหลื่อมล้ําทางรายไดของประชากรและโอกาสการเขาถึงทรัพยากรเปนปญหาการพัฒนาประเทศ สังคมไทยเผชิญวิกฤตความเสื่อมถอยดานคุณธรรม และจริยธรรม และมีการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมที่หลากหลาย รวมถึงเผชิญปญหาการแพรระบาดของยาเสพติดและการเพิ่มข้ึนของการพนันโดยเฉพาะในกลุมเด็กและเยาวชน แตคนไทยต่ืนตัวทางการเมืองและใหความสําคัญกับความรับผิดชอบตอสังคมและธรรมาภิบาลมากข้ึน (๒) การพัฒนาคุณภาพคนไทยใหมีภูมิคุมกันตอการเปลี่ยนแปลง มุงพัฒนาคุณภาพคนไทยทุกชวงวัย สอดแทรกการพัฒนาคนดวยกระบวนการเรียนรูที่เสริมสรางวัฒนธรรมการเกื้อกูล พัฒนาทักษะใหคนมีการเรียนรูตอเน่ืองตลอดชีวิต ตอยอดสูการสรางนวัตกรรมที่เกิดจากการฝกฝนเปนความคิดสรางสรรค ปลูกฝงการพรอมรับฟงความคิดเห็นจากผูอื่น และจิตใจที่มีคุณธรรม ซื่อสัตย มีระเบียบวินัย พัฒนาคนดวยการเรียนรูในศาสตรวิทยาการใหสามารถประกอบอาชีพไดอยางหลากหลาย สอดคลองกับแนวโนมการจางงานและเตรียมความพรอมสูประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน สรางจิตสํานึกใหคนไทยมีความรับผิดชอบตอสังคม เคารพ กฎหมาย หลักสิทธิมนุษยชน สรางคานิยมการผลิตและบริโภคที่รับผิดชอบตอสิ่งแวดลอม เรียนรูการรองรับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดจากสภาพภูมิอากาศและภัยพิบัติ (๓) การสงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิต มุงสรางกระแสสังคมใหการเรียนรูเปนหนาที่ของ คนไทยทุกคน มีนิสัยใฝรูรักการอานต้ังแตวัยเด็ก และสงเสริมการเรียนรูรวมกันของคนตางวัย ควบคูกับการสงเสริมใหองคกร กลุมบุคคล ชุมชน ประชาชน และสื่อทุกประเภทเปนแหลงเรียนรูอยางสรางสรรคสื่อสาร ดวยภาษาที่เขาใจงาย รวมถึงสงเสริมการศึกษาทางเลือกที่สอดคลองกับความตองการของผูเรียน และสรางสังคมแหงการเรียนรูที่มีคุณภาพและสนับสนุนปจจัยที่กอใหเกิดการเรียนรูตลอดชีวิต (๔) การสรางความพรอมในการเขาสูประชาคมอาเซียน เปนการพัฒนาความรวมมือระหวางภาครัฐและภาคธุรกิจเอกชนที่มีศักยภาพในการพัฒนาบุคลากรในทุกภาคสวนเศรษฐกิจ เสริมสรางความเขมแข็งใหสถาบันการศึกษาทั้งของรัฐและเอกชนใหมีมาตรฐาน เปนที่ยอมรับในระดับสากล ยกระดับทักษะฝมือแรงงาน

Page 5: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

กําหนดมาตรฐานข้ันพื้นฐานของคุณภาพสินคาและบริการที่เปนการปองกันสินคาและบริการนําเขาที่ไมไดคุณภาพทั้งในประเทศไทยและประเทศเพื่อนบาน (๕) การเขารวมเปนภาคีความรวมมือระหวางประเทศและภูมิภาคภายใตบทบาทที่สรางสรรค เปนทางเลือกในการดําเนินนโยบายระหวางประเทศในเวทีโลก มุงรักษาบทบาทของไทยในการ มีสวนรวมกําหนดยุทธศาสตรของกรอบความรวมมือทีดํ่าเนินอยู รวมทั้งรักษาดุลยภาพของปฏิสัมพันธกับ มหาอํานาจทางเศรษฐกิจเดิมและมหาอํานาจใหม (๖) การเสริมสรางความเขมแข็งของสถาบันทางสังคม เปนการเสริมสรางความเขมแข็ง และพัฒนาบทบาทของสถาบันหลักทางสังคมใหเอื้อตอการพัฒนาคน สรางคานิยมใหคนไทยภูมิใจในวัฒนธรรมไทย และยอมรับความแตกตางของความหลากหลายทางวัฒนธรรมที่ลดปญหาความขัดแยงทางความคิด และสรางความเปนเอกภาพในสังคม สรางเครือขายความรวมมือทางวัฒนธรรมรวมกับประชาคมโลก โดยเฉพาะประชาคมอาเซียนใหเกิดการไหลเวียนทางวัฒนธรรมในรูปแบบการแลกเปลี่ยนเรียนรูสงเสริมความเขาใจระหวางประชาชนในการเรียนรูประวัติศาสตรวัฒนธรรม และการแลกเปลี่ยนเรียนรูขอมูลขาวสาร (๗) ความกาวหนาทางเทคโนโลยีมีบทบาทสําคัญตอการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม รวมทั้งตอบสนองตอการดํารงชีวิตของประชาชนมากย่ิงข้ึน ทั้งเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร นาโนเทคโนโลยี เทคโนโลยีชีวภาพ และเทคโนโลยีเกี่ยวกับการทํางานของสมองและจิต ที่เปนทั้งโอกาสหรือภัยคุกคามในการพัฒนา อาทิ การจารกรรมขอมูลธุรกิจหรือขอมูลสวนบุคคล ประเทศที่พัฒนาเทคโนโลยีไดชาจะกลายเปนผูซื้อและมีผลิตภาพตํ่า ไมสามารถแขงขันกับประเทศอื่นๆ และการเขาถึงเทคโนโลยีที่ไมเทาเทียมกันของกลุมคนในสังคมจะทําใหเกิดความเหลื่อมล้ําในการพัฒนา จึงเปนความทาทายในการเพิ่มขีดความ สามารถในการแขงขันและลดความเหลื่อมล้ํา

การเปลี่ยนแปลงสภาวะดานสังคมและวัฒนธรรมตามระบุในแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ ดังกลาวขางตน มีความสอดคลองกับแนวโนมการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมในตนศตวรรษที่ ๒๑ ซึ่งจากผลจากการวิเคราะหและสังเคราะหเอกสารทางวิชาการ พบวา มีความเปนโลกใบเดียวกันมากข้ึน มีความเปนดิจิตอลมากข้ึน มีความเปนสังคมความรูและนวัตกรรมมากข้ึน ซึ่งปรากฏการณดังกลาวมีผลตอการเปลี่ยนแปลงในกระบวนทัศนใหมทางการศึกษาหลายประการที่การปรับปรุงหลักสูตรใหม พ.ศ. ๒๕๕๘ ไดคํานึงถึงการพัฒนาผูเรียนเพื่อใหตระหนักถึงแนวโนมการเปลี่ยนแปลงน้ันดวย เชน (๑) แนวคิดเกี่ยวกับโลกเปนหองเรียน ไมใชหองเรียนเปนโลก (๒) แนวคิดการออกแบบหองเรียน หองสมุด วัสดุอุปกรณที่สอดคลองกับพัฒนาการดานเทคโนโลยีดิจิตอล (๓) แนวคิดการสรางรายวิชาออนไลน (online course) ที่สามารถใชผูเช่ียวชาญหรือผูมีอัจฉริยภาพในแตละสาขาสรางรายวิชาเรียนรูดวยการกระทํา (learn by doing course) ข้ึนได (๔) แนวคิดเด็กและผูใหญสรางสรรคนวัตกรรมรวมกัน สรางอนาคตรวมกัน เรียนรูซึ่งกันและกัน (๕) แนวคิดการเปนหลักสูตรรูปแบบยึดโครงงานเปนฐาน (project-based curriculum) ยึดการขับเคลื่อนดวยการวิจัย (research driven) เปนหลักสูตรเพื่อชีวิต เช่ือมโยงชุมชนกับประเทศ กับชาติ และกับนานาชาติ (๖) แนวคิดการพัฒนาทักษะการคิดข้ันสูง พหุปญญา การอานออกเขียนไดเชิงพหุ ทักษะเทคโนโลยีดิจิตอลและมัลติมีเดีย การเรียนรูปญหาจากโลกที่เปนจริง (๗) แนวคิดการกอใหเกิดความรู (knowledge generation) โดยสรางวัฒนธรรมการสืบคน (culture of inquiry) (๘) แนวคิดการกระตุนปลุกเราใหผูเรียนเปนบุคคลเจาความคิดเจาปญญา (resourceful) ที่ยังคงมีการเรียนรูแมหลังเลิกเรียนในแตละวัน หรือแมพนจากวัยเรียนไปแลว (๙) แนวคิดการกระตุนความอยากรูอยากเห็นเพื่อเปนพื้นฐานการเรียนรูตลอดชีวิต (๑๐) แนวคิดการประเมินผลจะเปลี่ยนจากคะแนนการทดสอบ (test scores) เปนการประเมินคุณลักษณะเชิงมนุษย (human qualities) มากข้ึน (๑๑) ความคาดหวังภาวะผูนําจากผูบริหารการศึกษาที่จะตองกลาคิด กลาทํา แกปญหา นําการเปลี่ยนแปลงจากคุณลักษณะ เชน มีวิสัยทัศน (vision) มีสัมพันธภาพ (relationships) ปรับตัว

Page 6: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

(adaptability) มุงมั่น (assertiveness) สรางแรงบันดาลใจ (inspiration) ทะเยอทะยาน (aspiration) โปรงใส (transparency) เปนพี่เลี้ยง (mentoring) และมีพันธะรับผิดชอบ (accountability) เปนตน

๑๒. ผลกระทบจากขอ ๑๑ ตอการปรับปรุงหลักสูตรและความเก่ียวของกับพันธกิจของสถาบัน

๑๒.๑ การปรับปรุงหลักสูตร

จากสถานการณหรือการพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๙) ผนวกกับผลจากการวิเคราะหและสังเคราะหเอกสารทางวิชาการเกี่ยวกับแนวโนมการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมในตนศตวรรษที่ ๒๑ ที่มีผลตอการเปลี่ยนแปลงในกระบวนทัศนใหมทางการศึกษาหลายประการดังกลาวขางตน เมื่อนํามาพิจารณาประกอบกับมาตรฐานวิชาชีพผูบริหารการศึกษาและผูบริหารสถานศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๖ ที่คุรุสภาไดกําหนดมาตรฐานดานความรู ที่ประกอบดวย หลักและกระบวนการบริหารการศึกษา นโยบายและการวางแผนการศึกษา การบริหารจัดการการศึกษา การบริหารทรัพยากร การพัฒนาหลักสูตร การวิจัยทางการศึกษา การบริหารดานวิชาการ การบริหารดานธุรการ การเงิน พัสดุ และอาคารสถานที่ การบริหารงานบุคคล การประกันคุณภาพการศึกษา การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ การบริหารการประชาสัมพันธและความสัมพันธชุมชน และคุณธรรมและจริยธรรมสําหรับผูบริหารสถานศึกษา รวมทั้งผลจากการวิเคราะหความคาดหวังในการปฏิรูปการศึกษา ทั้งจากนัยที่กําหนดในรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย จากพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ จากแผนพัฒนาการศึกษาแหงชาติ จากแผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษา และที่สําคัญคือจากกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาของประเทศไทย (Thai Qualifications Framework for Higher Education: TQF) ซึ่งเปนเครื่องมือในการนํานโยบายที่ปรากฏในพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติเกี่ยวกับมาตรฐานการศึกษาของชาติในสวนของมาตรฐานการอุดมศึกษาไปสูการปฏิบัติในสถานศึกษาอยางเปนรูปธรรม ตลอดจนมาตรฐานทางวิชาการและวิชาชีพที่เกี่ยวของอื่น รวมทั้งปรัชญาของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย คือ ความเปนเลิศทางวิชาการตามแนวพระพุทธศาสนา (Academic Excellence Based on Buddhism) ไดขอสรุปรวมกันวา กรอบแนวคิดในการกําหนดวัตถุประสงคของหลักสูตร โครงสรางหลักสูตร รายวิชาและคําอธิบายรายวิชา โดยเฉพาะรายวิชาบังคับจะคํานึงถึงการเช่ือมโยงกับการพัฒนาในมิติอื่นอยางบูรณาการ ใหผูเรียนไดตระหนักถึงปรากฏการณและความคาดหวังทั้งภายนอกและภายในประเทศที่จะมีผลตอเน่ืองถึงปญหาและคุณภาพของการบริหารการศึกษา ตระหนักถึงแนวโนมและนวัตกรรมเพื่อการบริหารการศึกษาที่เกิดข้ึนอยางเปนผูมีวิสัยทัศนทั้งในระดับโลก ภูมิภาค และภายในประเทศ มีปฏิบัติการวิชาชีพบริหารการศึกษา รวมทั้งจัดใหมีรายวิชาเกี่ยวกับพุทธศาสตรกับการบริหารการศึกษา รายวิชาภาวะผูนําและธรรมาภิบาลที่ดีในการบริหารการศึกษา เพื่อใหนําเอาหลักธรรมคําสอนทางพุทธศาสนาเขามาใชใหเกิดประโยชนตอการบริหารการศึกษาอยางจริงจังและอยางเปนระบบ จากความเปนสถาบันทางพุทธศาสนาที่มีบุคลากรที่มีความรูความเขาใจอยางลึกซึ้งในพุทธศาสตรอยางมากมาย ทั้งน้ีรายวิชาหรือคําอธิบายรายวิชาในลักษณะดังกลาว จะเช่ือมโยงถึงทิศทางการทําดุษฎีนิพนธของนักศึกษาดวยวาจะเปนประเด็นที่ทาทาย มีความลุมลึกการทําวิจัยในระดับสูง มีการจัดการและลึกซึ้งกับปญหาเชิงจริยธรรม สื่อความคิดและขอสรุปจากผลการวิจัยอยางมีประสิทธิภาพ และสงเสริมตอความเปนผูนําการวิจัยในสาขาวิชา

Page 7: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

๑๒.๒ ความเก่ียวของกับพันธกิจของสถาบัน

มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยมีพันธกิจดานการผลิตบัณฑิต การวิจัย การบริการวิชาการแกสังคม และการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมเชนเดียวกับสถาบันอุดมศึกษาอื่นๆ โดยกําหนดใหมีลักษณะเฉพาะความเปนมหาวิทยาลัยสงฆ ดังน้ีคือ (๑) ผลิตบัณฑิตทางดานพระพุทธศาสนา ใหมีคุณสมบัติตามปรัชญาของมหาวิทยาลัย และกระจายโอกาสใหพระภิกษุสามเณร คฤหัสถ และผูสนใจมีโอกาสศึกษามากข้ึน (๒) ใหบริการวิชาการตามแนวพระพุทธศาสนาแกสังคม ชุมชน และทอง ถ่ิน โดยเฉพาะวิชาการทางพระพุทธศาสนา เพื่อมุงเนนการเผยแผพุทธธรรม การแกปญหาสังคม การนําไปประยุกตใชในชีวิตประจําวันใหเกิดสันติสุข การช้ีนําสังคมในทางสรางสรรค และการยุติขอขัดแยงดวยหลักวิชาการพระพุทธศาสนา (๓) วิจัยและพัฒนางานวิชาการเชิงลึกดานพระพุทธศาสนา เพื่อสรางองคความรูทางดานวิชาการพระพุทธศาสนาใหม ๆ ใหสอดคลองกับสภาพเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ และเผยแผองคความรูในระบบเครือขายการเรียนรูที่ทันสมัย (๔) รวบรวมและจัดเก็บขอมูลดานศาสนาและศิลปวัฒนธรรมเพื่อใหมหาวิทยาลัยเปนแหลงคนควา ทํานุบํารุงรักษาภูมิปญญาไทยและทองถ่ิน รวมทั้งสรางชุมชนที่เขมแข็งเพื่อใหมีภูมิคุมกันวัฒนธรรมที่ไมเหมาะสม และขณะเดียวกันมีวัตถุประสงคหลัก (objectives) คือ (๑) ผลิตบัณฑิตพระภิกษุ สามเณร ใหมีความเปนเลิศทางวิชาการตามแนวพระพุทธศาสนาเพื่อจรรโลงพระพุทธศาสนาในระดับชาติและนานาชาติ (๒) ผลิตบัณฑิตคฤหัสถทุกคน ใหเปนคนดี คือ คิดดี พูดดี และทําดี ตามแนวทางแหงพระพุทธศาสนา (๓) บริการวิชาการตามแนวพระพุทธศาสนาแกสังคมใหเกิดผลสัมฤทธ์ิเปนประจักษชัดเจน ตอสังคมไทยและสังคมโลก (๔) ผลิตบัณฑิตเปนผูนํา เพื่อสรางสังคมไทยใหมีความเขมแข็งทางสังคมศาสตร และมีคุณภาพทั้งดานความรูและความประพฤติ (๕) ผลิตบัณฑิตเปนผูนํา เพื่อสรางสังคมไทยใหเปนสังคมแหงภูมิปญญา การเรียนรู และเปนศูนยกลางทางวิชาการพระพุทธศาสนาเถรวาท (๖) ผลิตบัณฑิตเปนผูนํา เพื่อสรางสังคมไทยใหเปนสังคมแหงสมานฉันท ความเอื้ออาทรตอกันและความสามัคคี โดยใชหลักสาราณียธรรมและพรหมวิหารธรรม (๗) สรางระบบการบริหารองคการให เปนองคการที่มีลักษณะของความเปนมหาวิทยาลัยเฉพาะทางพระพุทธศาสนาและมีมาตรฐานระดับสากล

หากพิจารณาจากขอสรุปประเด็นหลักที่ไดนํามาใชเปนกรอบแนวคิดในการปรับปรุงหลักสูตรดังกลาวขางตน เห็นไดวา หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา ที่มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ปรับปรุงใหม พ.ศ. ๒๕๕๘ น้ี มีความเกี่ยวพันในลักษณะที่ตอบสนองตอพันธกิจ และวัตถุประสงคของมหาวิทยาลัยอยางเปนพลังเสริมซึ่งกันและกัน เปนพลังที่มีผลตอการพัฒนาผูเรียนใหเกิดศักยภาพอยางเต็มที่ ทั้งจากศาสตรการบริหารวิถีพุทธกับศาสตรการบริหารตะวันตก เปนโอกาสของมหาวิทยาลัยในการที่จะนําเอาศาสตรการบริหารวิถีพุทธมาใชเพื่อพัฒนาบุคลากรทางการศึกษาใหมากข้ึนได ไมปลอยลําพังใหศาสตรการบริหารตะวันตกมีบทบาทตอการพัฒนาผูเรียนดังที่เปนกระแสหลักในหลักสูตรของมหาวิทยาลัยปกติทั่วไป ในรายวิชาพุทธศาสตรกับการบริหารการศึกษา รายวิชาภาวะผูนําและธรรมาภิบาลที่ดีในการบริหารการศึกษา และจากการสงเสริมใหทําวิจัยที่มีจุดมุงหมายและระเบียบวิธีวิจัยที่หลากหลายโดยคํานึงถึงประเด็นทางพุทธศาสนาดวย

Page 8: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

๑๓. ความสัมพันธ (ถามี) กับหลักสูตรอ่ืนท่ีเปดสอนในคณะ/ภาควิชาอ่ืนของสถาบัน

๑๓.๑ รายวิชาเง่ือนไขของหลักสูตร (1) นักศึกษาที่สําเร็จปริญญามหาบัณฑิตหรือเทียบเทาที่ไมใชทางการศึกษาตองศึกษารายวิชา

GS 3201 พื้นฐานการศึกษา โดยไมนับหนวยกิต (2) นักศึกษาทุกรายตองศึกษารายวิชา GS 3202 พื้นฐานทางการบริหารการศึกษา โดยไมนับ

หนวยกิต

๑๓.๒ การจัดการเรียนการสอน อาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตรประสานงานกับอาจารยสาขาวิชาอื่นของคณะศึกษาศาสตร และอาจารยสังกัดคณะมนุษยศาสตร ในการจัดตารางเวลาเรียนเพื่อพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษระดับดุษฎีบัณฑิต และบัณฑิตวิทยาลัยในการจัดการความรู ตลอดทั้งทุนสําหรับการเสนอผลงานทางวิชาการทั้งในและตางประเทศ

๑๓.๓ ความรวมมือทางวิชาการกับคณาจารยชาวตางประเทศ หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิตสาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย แสวงหาความรวมมือกับคณาจารยทั้งในและนอกประจําการของ Washington State University หรือมหาวิทยาลัยอื่นในประเทศสหรัฐอเมริกาหรือประเทศอื่นๆ เพื่อจัดกิจกรรมทางวิชาการ การสัมมนา และอื่นๆ ที่สามารถจัดกระทําได

Page 9: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

หมวดที่ ๒ ขอมูลเฉพาะของหลักสูตร

๑. ปรัชญา ความสําคัญ และวัตถุประสงคของหลักสูตร

๑.๑ ปรัชญาและความสําคัญ

หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา (ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๘) เปนหลักสูตรที่มุงผลิตดุษฎีบัณฑิตที่มีภาวะผูนําและมีธรรมาภิบาลที่ดี มีการใชหลักธรรมคําสอนในพุทธศาสนา มีความรู ความสามารถ และวิสัยทัศนระดับสูงในสาขาวิชา และสามารถใชกระบวนการวิจัยเพื่อบุกเบิกแสวงหาความรูใหมเพื่อสรางสรรคจรรโลงความกาวหนาทางวิชาการและวิชาชีพ

๑.๒ วัตถุประสงค

หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา (ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๘) มีวัตถุประสงคเพื่อผลิตดุษฎีบัณฑิตใหมีคุณสมบัติ ดังน้ี คือ

๑) มีภาวะผูนําและธรรมาภิบาลที่ดีในการบริหารการศึกษา โดยเฉพาะคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณทางวิชาการ และจรรยาบรรณทางวิชาชีพ รวมทั้งสามารถใชหลักธรรมคําสอนในพุทธศาสนาเพื่อการบริหารการศึกษา โดยคํานึงถึงมาตรฐานวิชาชีพดานความรูที่คุรุสภากําหนด

๒) มีความรูความเขาใจในปรากฏการณทางการบริหารการศึกษาที่เกิดข้ึนในสังคมโลกและสังคมภูมิภาค เพื่อการวิพากษเชิงเปรียบเทียบกับระบบการบริหารการศึกษาของสถานศึกษาในประเทศไทยในมิติตางๆ รวมทั้งมีความรูความเขาใจในหลักการบริหารการศึกษา กาวทันกับการเปลี่ยนแปลง แนวโนม และ

นวัตกรรมเพื่อการบริหารการศึกษา โดยคํานึงถึงมาตรฐานทางวิชาชีพดานความรูที่คุรุสภากําหนด ๓) มีความสามารถทําความเขาใจทฤษฎี ปรากฏการณ การปฏิบัติ การแกไขปญหา และการวิจัย

โดยใชทักษะการคิดข้ันสูงที่เนนการวิเคราะห สังเคราะห และสรางสรรค ทั้งจากการเรียนการสอนแบบปกติในช้ันเรียน และจากการใชเทคโนโลยีดิจิตอล

๔) มีความสามารถในการรวมกิจกรรมการเรียนรูกับผูอื่นทั้งในฐานะผูนําและผูตามไดอยางเหมาะสมทั้งในหลักสูตรและนอกหลักสูตร รวมทั้งมีความรับผิดชอบตอคุณภาพของผลงานการเรียนรูทั้งในเชิงวิชาชีพและเชิงวิชาการ

๕) มีความสามารถใชเทคโนโลยีดิจิตอลไดอยางประสิทธิผล ทั้งเพื่อการเรียนรู การเรียนการสอน การวิจัย การติดตอสื่อสาร การบริหารจัดการ และอื่นๆ

๖) มีความสามารถทําวิจัยในประเด็นที่ทาทาย มีความลุมลึกการทําวิจัยในระดับสูง มีการจัดการและลึกซึ้งกับปญหาเชิงจริยธรรม สื่อความคิดและขอสรุปจากผลการวิจัยอยางมีประสิทธิภาพ และสงเสริมตอความเปนผูนําการวิจัยในสาขาวิชา

Page 10: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

๑๐

๒. แผนพัฒนาปรับปรุง

แผนพัฒนา/เปลี่ยนแปลง

กลยุทธ หลักฐาน/

ตัวบงชี้ความสําเร็จ การพัฒนาทักษะทางวิชาการของอาจารยประจําหลักสูตร

สงเสริมการทําวิจัย การเขียนตําราหรือเอกสารประกอบการสอน การเขารวมการประชุมสัมมนาทางวิชาการ ตลอดถึงการศึกษาดูงานทั้งภายในประเทศและตางประเทศ

ผลิตผลจากการวิจัย การเขียนตําราหรือเอกสารประกอบการสอน จํานวนครั้งในการเขารวมประชุมสัมมนาทางวิชาการและการศึกษาดูงาน

การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนของอาจารยประจําหลักสูตรที่เนนการปฏิบัติในรายวิชาเรียน

สงเสริมการนําแนวคิดใหมทางการเรียนการสอนมาใชใหมากข้ึน เชน แนวคิดเกี่ยวกับ Less Us More Them เปนตน

พฤติกรรมการเรียนการสอนทั้งของผูสอนและนักศึกษาเปลี่ยนไป จากลักษณะที่เปน Passive Learning เปน Active learning มากข้ึน

การพัฒนาหองเรียนและวัสดุอุปกรณใหเอื้อตอการเรียนรูที่มีประสิทธิผล

นําแนวคิด “โลกคือหองเรียน” มาใชเพื่อการเรียนการสอน ทั้งครูและนักศึกษานําเทคโนโลยีดิจิตอลมาใชเพื่อการเรียนการสอนและเพื่อการสืบคนขอมูลสารสนเทศทั้งเพื่อการเรียนรูในรายวิชาและการทําวิทยานิพนธใหหลากหลายและมากข้ึน

มีการใช Blog, Facebook, Line, email, website และอื่นๆ มาใชเพื่อการเรียนรู เพื่อการสื่อสาร เพื่อการบริหารหลักสูตร และเพื่อการเผยแพรผลงานวิชาการที่หลากหลายและอยางมีผลงานที่เห็นไดเชิงประจักษ

การพัฒนาบทบาทการมีสวนรวมของนักศึกษาและผูเกี่ยวของกับหลักสูตรใหเขมแข็ง

กระตุน สงเสริม และสรางความสัมพันธกับนักศึกษาและผูเกี่ยวของกับหลักสูตรใหเกิดความรูสึกรวมในการเปนเจาของหลักสูตร มีความมุงมั่นเพื่อรวมกันทําใหการเรียนการสอนในหลักสูตรเปนไปอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

นักศึกษาและผูเกี่ยวของกับหลักสูตรมีสวนรวมในกิจกรรมและการดําเนินงานของหลักสูตรอยางเขมแข็ง เชน การประชาสัมพันธการรบัสมัครนักศึกษาใหม การเผยแพรผลงานทางวิชาการของหลักสูตร และอื่นๆ

การพัฒนาหรือเปลี่ยน แปลงเน้ือหาในรายวิชาใหสอดคลองกับสถานการณหรือการเปลี่ยนแปลงสําคัญที่เกิดข้ึน

ยึดหลักความยืดหยุนในเน้ือหาการเรียนการสอน ที่เปนผลจากการปรับปรุงหรือเปลี่ยนแปลงในแผนหรือนโยบายที่สําคัญๆ ของประเทศหรือของรัฐบาล

ความริเริ่มสรางสรรคของผูสอนและนักศึกษาในการติดตามความเคลื่อนไหวใหมๆ เพื่อนํามาสูการวิเคราะห วิพากษ และนําเสนอแนวคิดใหม

Page 11: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

๑๑

หมวดที ่๓ ระบบการจัดการศึกษา การดําเนินการ และโครงสรางของหลักสูตร

๑. ระบบการจัดการศึกษา

๑.๑ ระบบ

ระบบการจัดการศึกษาเปนแบบทวิภาค โดยหน่ึงปการศึกษาแบงออกเปนสองภาคการศึกษาปกติ

ในหน่ึงภาคการศึกษามีระยะเวลาไมตํ่ากวา ๑๕ สัปดาห และเปนไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยมหามกุฏราช

วิทยาลัย วาดวยการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๔ หรือระเบียบที่มีการประกาศใชใหม

๑.๒ การจัดการศึกษาภาคฤดูรอน

การจัดการศึกษาภาคฤดูรอน ข้ึนอยูกับคณะกรรมการบริหารหลักสูตรกําหนด

๑.๓ การเทียบเคียงหนวยกิตในระบบทวิภาค

ไมม ี

๒. การดําเนินการหลักสูตร

๒.๑ วัน-เวลาในการดําเนินการเรียนการสอน

๒.๑.๑ ภาคการศึกษาตน เดือนสิงหาคม - เดือนพฤศจิกายน

๒.๑.๑ ภาคการศึกษาปลาย เดือนธันวาคม - เดือนเมษายน

๒.๑.๓ ภาคการศึกษาฤดูรอน เดือนพฤษภาคม - เดือนกรกฎาคม (ถาม)ี

๒.๒ คุณสมบัติของผูเขาศึกษา

๒.๒.๑ เปนผูมีคุณสมบัติตามระเบียบมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วาดวยการศึกษาในระดับ

บัณฑิตศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๔ ขอ ๑๑ หรือเปนไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยมหามกุฏราช

วิทยาลัยที่ปรับปรุงใหม และ

๒.๒.๒ เปนผูสําเร็จการศึกษาปริญญามหาบัณฑิตทางการบริหารการศึกษาหรือเทียบเทา หรือ

ประกาศนียบัตรบัณฑิตช้ันสูง จากสถาบันการศึกษาที่กระทรวงศึกษาธิการใหการรับรอง

๒.๒.๓ มีคะแนนเฉลี่ยสะสมไมตํ่ากวา ๓.๕๐ จากระบบคะแนนเต็ม ๔ หรือ ในกรณีที่มีคะแนน

เฉลี่ยสะสมตํ่ากวา ๓.๕๐ แตไมตํ่ากวา ๓.๓๐ ตองเสนอผลงานและหลักฐานที่แสดงวา มี

ประสบการณการทํางานที่เกี่ยวของกับการบริหารการศึกษาหลังจากสําเร็จการศึกษาระดับ

ปริญญามหาบัณฑิตหรือเทียบเทา หรือประกาศนียบัตรบัณฑิตช้ันสูง

๒.๒.๔ หากมีคุณสมบัติไมเปนไปตามกําหนด หรือเพื่อเปดโอกาสในการขอรับทุนการศึกษาหรือทุน

การวิจัยใดๆ หรือเพื่อเปดโอกาสคัดเลือกผูที่มีความเปนเลิศหรือผูไดรับทุนการศึกษาหรือทุน

การวิจัยเขาศึกษา ใหอยูในดุลยพินิจของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร

Page 12: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

๑๒

๒.๓ ปญหา/ขอจํากัดของนักศึกษา

๒.๓.๑ นักศึกษามีพื้นฐานทางความรูความเขาใจในหลักการ แนวคิด ทฤษฎี ทางการศึกษาและทางบริหารการศึกษาที่แตกตางกัน เน่ืองจากสําเร็จการศึกษาจากสถานศึกษาที่แตกตางกัน จํานวนปที่สําเร็จการศึกษาที่แตกตางกัน ประสบการณการทํางานและอายุการทํางานที่แตกตางกัน และอื่นๆ

๒.๓.๒ นักศึกษาขาดทักษะภาษาอังกฤษที่เพียงพอตอการศึกษาในระดับดุษฎีบัณฑิต เน่ืองจากบริบททางสังคมและการทํางานไมสงเสริมใหมีโอกาสในการใชภาษาอังกฤษ รวมทั้งอันดับความสามารถในทักษะภาษาอังกฤษของประเทศอยูในลําดับที่ ๔๖ จาก ๔๗ ประเทศ

๒.๓.๓ นักศึกษาที่เปนฆราวาสขาดความคุนเคยกับวัฒนธรรมการเรียนการสอนในสถาบันสงฆ การปฏิบัติธรรม และการบริหารวิถีพุทธ

๒.๓.๔ นักศึกษาที่สําเร็จปริญญามหาบัณฑิตหรือเทียบเทาในแผน ข (ไมทําวิทยานิพนธ) ขาดประสบการณการทําวิทยานิพนธ

๒.๔ กลยุทธในการดําเนินการเพ่ือแกไขปญหา/ขอจํากัดของนักศึกษาในขอ ๒.๓ ๒.๔.๑ นักศึกษาที่มีปญหาพื้นฐานทางความรูความเขาใจในหลักการ แนวคิด ทฤษฎี ทางการศึกษา

และทางบริหารการศึกษาแตกตางกัน จะตองไดรับการซอมเสริมปรับพื้นฐานความรูความเขาใจดวยรายวิชาพื้นฐานการศึกษา และรายวิชาพื้นฐานทางการบริหารการศึกษา ตามเงื่อนไขที่หลักสูตรไดกําหนด

๒.๔.๒ นักศึกษาทุกรายจะตองไดรับการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ อาจจากรายวิชาหรือจากการสัมมนาเชิงปฏิบัติการแบบเขมจากผูเช่ียวชาญทางภาษาภายในประเทศหรือตางประเทศ ตามที่หลักสูตรไดกําหนดหรือจะกําหนดใหเหมาะสมกับสถานการณ

๒.๔.๓ นักศึกษาทุกรายจะตองไดรับการปฐมนิเทศและสงเสริมใหมีสวนรวมในศาสนพิธี การปฏิบัติธรรมะ และอื่นๆ ที่หลักสูตรกําหนดหรือจะกําหนด ทั้งในระดับหองเรียนและระดับสถาบัน

๒.๔.๔ นักศึกษาที่สําเร็จปริญญามหาบัณฑิตหรือเทียบเทาในแผน ข (ไมทําวิทยานิพนธ) ตองเขารับการอบรมสัมมนาแนวคิดพื้นฐานเพื่อการวิจัย กอนเปดภาคเรียนแรก ตามที่หลักสูตรกําหนดไมตํ่ากวา 12 ช่ัวโมง

๒.๕ แผนการรับนักศึกษาและผูสําเร็จการศึกษาในระยะ ๕ ป (นับจากป ๒๕๕๙)

๒.๕.๑ หลักสูตรแบบ ๑.๑

ระดับช้ันป จํานวนนักศึกษาในแตละปการศึกษา

๒๕๕๙ ๒๕๖๐ ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ปที่ ๑ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ปที่ ๒ - ๓ ๓ ๓ ๓ ปที่ ๓ - - ๓ ๓ ๓ ปที่ ๔ - - - ๓ ๓

รวม ๓ ๖ ๙ ๑๒ ๑๒ คาดวาจะจบการศึกษา - - - ๓ ๓

Page 13: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

๑๓

๒.๕.๒ หลักสูตรแบบ ๒.๑

ระดับช้ันป จํานวนนักศึกษาในแตละปการศึกษา

๒๕๕๙ ๒๕๖๐ ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ปที่ ๑ ๑๕ ๑๕ ๑๕ ๑๕ ๑๕ ปที่ ๒ ๑๕ ๑๕ ๑๕ ๑๕ ปที่ ๓ ๑๕ ๑๕ ๑๕ ปที่ ๔ ๑๕ ๑๕

รวม ๑๕ ๓๐ ๔๕ ๖๐ ๖๐ คาดวาจะจบการศึกษา ๑๕ ๑๕

๒.๖ งบประมาณตามแผน ใชงบประมาณจากเงินรายไดในหลักสูตร และเงินอุดหนุนจากรัฐ โดยมีรายละเอียดงบประมาณรายรับ

– รายจาย ในหลักสูตรเปนรายป (หนวย : บาท) ดังน้ี

๒.๖.๑ ประมาณการรายรับ

รายการ ปงบประมาณ

รอยละ ๒๕๕๙ ๒๕๖๐ ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๑. คาลงทะเบียน ๔๐ ๑,๖๘๐,๐๐๐ ๓,๓๖๐,๐๐๐ ๑,๘๐๐,๐๐๐ ๓,๔๘๐,๐๐๐ ๒. คาบํารุงการศึกษา ๒๐ ๘๔๐,๐๐๐ ๑,๖๘๐,๐๐๐ ๘๘๐,๐๐๐ ๑,๗๒๐,๐๐๐ ๓. คารักษาสถานภาพ ๑๐ ๖๐,๐๐๐ ๖๐,๐๐๐ ๖๐,๐๐๐ ๖๐,๐๐๐ ๔. อุดหนุนจากรัฐ

(เงินเดือน) ๓๐ ๑,๖๓๒,๐๐๐ ๑,๖๓๒,๐๐๐ ๑,๖๓๒,๐๐๐ ๑,๖๓๒,๐๐๐

รวม ๑๐๐ ๔,๒๑๒,๐๐๐ ๖,๗๓๒,๐๐๐ ๔,๓๗๒,๐๐๐ ๖,๘๙๒,๐๐๐

๒.๖.๒ ประมาณการรายจาย

รายการ ปงบประมาณ รอยละ ๒๕๕๙ ๒๕๖๐ ๒๕๖๑ ๒๕๖๒

๑. เงินเดือนและคาจางประจํา - - - - - ๒. คาจางช่ัวคราว ๓๐ ๙๙๑,๘๐๐ ๙๙๑,๘๐๐ ๙๙๑,๘๐๐ ๙๙๑,๘๐๐ ๓. คาตอบแทน ใชสอย

และวัสดุ ๔๐ ๑,๓๕๗,๖๐๐ ๑,๓๕๗,๖๐๐ ๑,๓๕๗,๖๐๐ ๑,๓๕๗,๖๐๐

๔. หนังสือ วารสาร ตํารา ๑๕ ๒๓๐,๐๐๐ ๒๓๐,๐๐๐ ๒๓๐,๐๐๐ ๒๓๐,๐๐๐ ๕. อื่นๆ ๑๕ ๒๓๐,๐๐๐ ๒๓๐,๐๐๐ ๒๓๐,๐๐๐ ๒๓๐,๐๐๐

รวม ๑๐๐ ๒,๘๐๙,๔๐๐ ๒,๘๐๙,๔๐๐ ๒,๘๐๙,๔๐๐ ๒,๘๐๙,๔๐๐

Page 14: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

๑๔

หมายเหตุ ประมาณการคาใชจายตอหัวในการผลิตดุษฎีบัณฑิตตามหลักสูตร แบงออกเปน ๒ ประเภท ๑. ภาคปกติ ๒๕,๐๐๐ บาท/คน/ภาคเรียน ๒. ภาคพิเศษ ๕๐,๐๐๐ บาท/คน/ภาคเรียน ๓. เงินเดือนและคาจางประจํา ผานระบบการเงินของมหาวิทยาลัย

๒.๗ ระบบการศึกษา ระบบการศึกษาใชระบบช้ันเรียน โดยเปนไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วาดวย

การศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๔ หรือระเบียบที่ประกาศใหม

๒.๘ การเทียบโอนหนวยกิต รายวิชา และการลงทะเบียนเรียนขามมหาวิทยาลัย

การเทียบโอนหนวยกิตและรายวิชาของนักศึกษาจากสถาบันอุดมศึกษาอื่น ตองไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการประจําหลักสูตร คณะกรรมการประจําคณะที่จัดการศึกษา ตามระเบียบมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วาดวยการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๔ ขอ ๑๖ ขอ ๑๗ หรือระเบียบที่ประกาศใหม

๓. หลักสูตรและอาจารยผูสอน หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา (ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๘) เปนหลักสูตร

แบบ ๑.๑ และแบบ ๒.๑ สําหรับผูเขาศึกษาที่สําเร็จปริญญามหาบัณฑิตหรือเทียบเทา หรือประกาศนียบัตรบัณฑิตช้ันสูง โดยมีหนวยกิตรวมตลอดหลักสูตร โครงสรางหลักสูตร รายวิชา คําอธิบายรหัสวิชา แผนการศึกษา คําอธิบายรายวิชา และหัวขอวิจัยที่สาขาวิชามีความสนใจหรือเช่ียวชาญ ดังน้ี

๓.๑ หลักสูตร

๓.๑.๑ จํานวนหนวยกิตรวมตลอดหลักสูตร ไมนอยกวา 63 หนวยกิต

๓.๑.๒ โครงสรางหลักสูตร หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา (ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๘) มี

โครงสราง ดังน้ี

หลักสูตรแบบ ๑.๑ รายการ จํานวนหนวยกิต

ดุษฎีนิพนธ (dissertation) ๖๓ จํานวนหนวยกิตตลอดหลักสูตร ๖๓

หลักสูตรแบบ ๒.๑ รายการ จํานวนหนวยกิต

รายวิชาบังคับ (required courses) รายวิชาเลือก (elective courses) ดุษฎีนิพนธ (dissertation)

๑๘ ไมนอยกวา ๙

๓๖ จํานวนหนวยกิตตลอดหลักสูตร ๖๓

Page 15: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

๑๕

หมายเหตุ เง่ือนไขของหลักสูตรแบบ ๑.๑

นักศึกษาอาจเรียนรายวิชาในหลักสูตรน้ีหรือในหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาของสถาบันอุดมศึกษาอื่น ในรายวิชาใดรายวิชาหน่ึง หรือหลายรายวิชา ตามที่อาจารยที่ปรึกษาและคณะกรรมการบริหารหลักสูตรพิจารณาเห็นสมควร โดยไมนับหนวยกิต

เง่ือนไขของหลักสูตรแบบ ๒.๑ ๑. ผูเขาศึกษาซึ่งสําเร็จปริญญามหาบัณฑิตหรือเทียบเทาหรือประกาศนียบัตรบัณฑิตช้ันสูงที่ไมใช

ทางการศึกษา ตองศึกษารายวิชา GS ๓๒๐๑ พื้นฐานทางการศึกษา ตามที่หลักสูตรกําหนดโดยไมนับหนวยกิต

๒. ผูเขาศึกษาทุกราย ตองศึกษารายวิชา GS ๓๒๐๒ พื้นฐานทางการบริหารการศึกษา ตามที่หลักสูตรกําหนดโดยไมนับหนวยกิต

๓.๑.๓ ความหมายของเลขประจําวิชา หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา (ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๘) ใช

ระบบรหัสวิชาตามที่มหาวิทยาลัยมหามกูฏราชวิทยาลัยกําหนด คือ ประกอบดวยอักษรและตัวเลขรวม ๖ ตัว (GS xxxx) โดยมีความหมายดังน้ี

ลําดับ เลขรหัส ความหมาย อักษรลําดับที่ ๑ GS คณะศึกษาศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย เลขลําดับที่ ๑ ๓ สาขาวิชาการบริหารการศึกษา เลขลําดับที ่๒ ๐ วิชาพื้นฐานบังคับ เลขลําดับที ่๒ ๑ วิชาเสริมพื้นฐาน เลขลําดับที ่๒ ๒ วิชาบังคับไมนับหนวยกิต เลขลําดับที ่๒ ๓ วิชาบังคับเฉพาะสาขา เลขลําดับที ่๒ ๔ วิชาเลือก เลขลําดับที่ # ๙ ดุษฎีนิพนธ เลขลําดับที่ ๓ – ๔ ๐๑ ลําดับวิชา

ตัวอยาง GS ๓๓๐๒ หมายถึง รายวิชาแนวโนมและนวัตกรรมเพื่อการบริหารการศึกษา

๑) เลข ๓ หมายถึง สาขาวิชาการบริหารการศึกษา ๒) เลข ๓ หมายถึง รายวิชาเฉพาะสาขาวิชา ๓) เลข ๐๒ หมายถึง ลําดับวิชาที่ ๒ ๔) อักษรเลขรหัสหนวยกิต เชน ๓ (๓-๐-๖)

- เลข ๓ หมายถึง หนวยกิต - เลข ๓ หมายถึง บรรยาย ๓ ช่ัวโมง - เลข ๐ หมายถึง ไมมีปฏิบัติ - เลข ๖ หมายถึง ศึกษาดวยตนเอง ๖ ช่ัวโมง

Page 16: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

๑๖

๓.๑.๔ รายวิชาตามโครงสรางหลักสูตร หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา (ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๘)

มีรายวิชาตามโครงสรางหลักสูตร ดังน้ี

๑. หมวดวิชาบังคับ เปนรายวิชาหลักที่ตองศึกษาในหลักสูตรแบบ ๒.๑ จํานวน ๑๘ หนวยกิต

GS ๓๓๐๑ วิพากษการศึกษาไทยในสังคมโลกและภูมิภาค Critique of Thai Education in Global and Regional Society

๓ (๓-๐-๖)

GS ๓๓๐๒ แนวโนมและนวัตกรรมเพื่อการบริหารการศึกษา Trend and Innovation for Educational Administration

๓ (๓-๐-๖)

GS ๓๓๐๓ พุทธศาสตรเพื่อการบริหารการศึกษา Buddhism for Educational Administration

๓ (๓-๐-๖)

GS ๓๓๐๔ ภาวะผูนําและธรรมาภิบาลที่ดีในการบริหารการศึกษา Leadership and Good Government in Educational Administration

๓ (๓-๐-๖)

GS ๓๓๐๕ การวิจัยทางการบริหารการศึกษา Research in Educational Administration

๓ (๓-๐-๖)

GS ๓๓๐๖ ปฏิบัติการวิชาชีพบริหารการศึกษา Professional Practicum of Educational Administration

๓ (๐-๖-๖)

๒. หมวดวิชาเลือก จํานวนไมนอยกวา ๙ หนวยกิต

ใหเลือกวิชาตามความถนัด ความสนใจ หรือความจําเปนในการทําดุษฎีนิพนธตามจํานวนหนวยกิตที่กําหนด นอกจากน้ีอาจเลือกวิชาอื่นในระดับบัณฑิตศึกษาที่เกี่ยวของในสาขาวิชาตางๆ ของบัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย หรือรายวิชาอื่นในระดับบัณฑิตศึกษาจะเปดเพิ่มเติมในภายหลัง หรือของมหาวิทยาลัยอื่นตามความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร ดังน้ี

GS ๓๔๐๑ การบริหารทรัพยากรมนุษยทางการศึกษา Human Resources Administration in Education

๓ (๓-๐-๖)

GS ๓๔๐๒ มนุษยสัมพันธกับพฤติกรรมองคการทางการศึกษา Human Relations and Organizational Behavior in Education

๓ (๓-๐-๖)

GS ๓๔๐๓ การพัฒนาวิชาชีพทางการศึกษา Professional Development in Education

๓ (๓-๐-๖)

GS ๓๔๐๔ การพัฒนาคุณภาพของครูและผูบริหารสถานศึกษา Improving Teacher and School Principal Quality

๓ (๓-๐-๖)

GS ๓๔๐๕ ภาวะผูนําเพื่อการเรียนรู Leadership for Learning

๓ (๓-๐-๖)

GS ๓๔๐๖ การวิเคราะหและประเมินนโยบายทางการศึกษา Educational Policy Analysis and Evaluation

๓ (๓-๐-๖)

Page 17: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

๑๗

GS ๓๔๐๗ การเปลี่ยนแปลงองคการทางการศึกษา Educational Organization Change

๓ (๓-๐-๖)

GS ๓๔๐๘ การบริหารและการนําสถานศึกษาสูความสําเร็จ Managing and Leading School to Success

๓ (๓-๐-๖)

GS ๓๔๐๙ พัฒนาเคาโครงวิจัยทางการบริหารการศึกษา Development of Research Proposal in Educational Administration

๓ (๓-๐-๖)

GS ๓๔๑๐ การศึกษาอิสระทางการบริหารการศึกษา Independent Study in Educational Administration

๓ (๓-๐-๖)

GS ๓๔๑๑ สถิติข้ันสูงเพื่อการวิจัยทางการบริหารการศึกษา Advanced Statistics for Research in Educational Administration

๓ (๓-๐-๖)

GS ๓๔๑๒ สถิติวิเคราะหเพื่อการวิจัย Statistical Analysis for Research

๓ (๓-๐-๖)

๓) ดุษฎีนิพนธ

GS ๓๙๐๑ ดุษฎีนิพนธ Dissertation

๖๓ (๐-๐-๙)

GS ๓๙๐๒ ดุษฎีนิพนธ Dissertation

๓๖ (๐-๐-๙)

๔) หมวดวิชาเสริมพ้ืนฐาน

๔.๑ กรณีผูเขาศึกษาซึ่งสําเร็จปริญญามหาบัณฑิตหรือเทียบเทา หรือประกาศนียบัตรบัณฑิตช้ันสูง ที่ไมใชทางการศึกษา ตองศึกษารายวิชา GS ๓๒๐๑ พื้นฐานทางการศึกษา ตามที่หลักสูตรกําหนดโดยไมนับหนวยกิต

๔.๒ กรณีผูเขาศึกษาทุกราย ตองศึกษารายวิชา GS ๓๒๐๒ พื้นฐานทางการบริหารการศึกษา ตามที่หลักสูตรกําหนดโดยไมนับหนวยกิต

GS ๓๒๐๑ พื้นฐานทางการศึกษา Foundations of Education

ไมนับหนวยกิต

GS ๓๒๐๒ พื้นฐานทางการบริหารการศึกษา Fundamental of Educational Administration

ไมนับหนวยกิต

Page 18: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

๑๘

๓.๑.๕ แผนการศึกษา

แผนการศึกษาแบบ ๑.๑

รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จํานวนหนวยกิต

ปท่ี ๑ ภาคเรียนท่ี ๑ GS ๓๙๐๑ ดุษฎีนิพนธ (Dissertation) ๑๕ ลงทะเบียนเรียนรวม ๑๕ หนวยกิตสะสม ๑๕ ปท่ี ๑ ภาคเรียนท่ี ๒ GS ๓๙๐๑ ดุษฎีนิพนธ (Dissertation) ๑๒ ลงทะเบียนเรียนรวม ๑๒ หนวยกิตสะสม ๒๗ ปท่ี ๒ ภาคเรียนท่ี ๑ GS ๓๙๐๑ ดุษฎีนิพนธ (Dissertation) ๑๒ ลงทะเบียนเรียนรวม ๑๒ หนวยกิตสะสม ๓๙ ปท่ี ๒ ภาคเรียนท่ี ๒ GS ๓๙๐๑ ดุษฎีนิพนธ (Dissertation) ๑๒ ลงทะเบียนเรียนรวม ๑๒ หนวยกิตสะสม ๕๑ ปท่ี ๓ ภาคเรียนท่ี ๑ GS ๓๙๐๑ ดุษฎีนิพนธ (Dissertation) ๑๒ ลงทะเบียนเรียนรวม ๑๒ หนวยกิตสะสม ๖๓

หมายเหตุ

นักศึกษาอาจเรียนรายวิชาในหลักสูตรน้ีหรือในหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาของสถาบันอุดมศึกษาอื่น ในรายวิชาใดรายวิชาหน่ึง หรือหลายรายวิชา ตามที่อาจารยที่ปรึกษาและคณะกรรมการบริหารหลักสูตรพิจารณาเห็นสมควร โดยไมนับหนวยกิต

Page 19: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

๑๙

แผนการศึกษาแบบ ๒.๑

รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จํานวนหนวยกิต ปท่ี ๑ ภาคเรียนท่ี ๑ GS ๓๓๐๑ GS ๓๓๐๒ GS ๓๓๐๕ GS ๓๒๐๑ GS ๓๒๐๒

วิพากษการศึกษาไทยในสังคมโลกและภูมิภาค Critique of Thai Education in Global and Regional Society แนวโนมและนวัตกรรมเพื่อการบริหารการศึกษา Trend and Innovation for Educational Administration การวิจัยทางการบริหารการศึกษา Research in Educational Administration พื้นฐานทางการศึกษา (รายวิชาตามเงื่อนไขของหลักสูตร) Foundations of Education พื้นฐานทางการบริหารการศึกษา (รายวิชาตามเงื่อนไขของหลักสูตร) Fundamental of Educational Administration

๓ (๓-๐-๖)

๓ (๓-๐-๖)

๓ (๓-๐-๖)

ไมนับหนวยกิต

ไมนับหนวยกิต

ลงทะเบียนเรียนรวม ๙ หนวยกิตสะสม ๙ ปท่ี ๑ ภาคเรียนท่ี ๒ GS ๓๓๐๓

GS ๓๓๐๔ GS xxxx

พุทธศาสตรเพื่อการบริหารการศึกษา Buddhism for Educational Administration ภาวะผูนําและธรรมาภิบาลที่ดีในการบริหารการศึกษา Leadership and Good Government in Educational Administration รายวิชาเลือก

๓ (๓-๐-๖)

๓ (๓-๐-๖)

๓ (x-x-x) ลงทะเบียนเรียนรวม ๙ หนวยกิตสะสม ๑๘ ปท่ี ๒ ภาคเรียนท่ี ๑ GS ๓๓๐๖

GS xxxx GS xxxx

ปฏิบัติการวิชาชีพบริหารการศึกษา Professional Practicum of Educational Administration รายวิชาเลือก รายวิชาเลือก

๓ (๐-๖-๖)

๓ (x-x-x) ๓ (x-x-x)

ลงทะเบียนเรียนรวม ๙ หนวยกิตสะสม ๒๗ ปท่ี ๒ ภาคเรียนท่ี ๒ GS ๓๙๐๒ ดุษฎีนิพนธ (Dissertation) ๑๒ ลงทะเบียนเรียนรวม ๑๒ หนวยกิตสะสม ๓๙

Page 20: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

๒๐

แผนการศึกษาแบบ ๒.๑ (ตอ) รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จํานวนหนวยกิต

ปท่ี ๓ ภาคเรียนท่ี ๑ GS ๓๙๐๒ ดุษฎีนิพนธ (Dissertation) ๑๒ ลงทะเบียนเรียนรวม ๑๒ หนวยกิตสะสม ๕๑ ปท่ี ๓ ภาคเรียนท่ี ๒ GS ๓๙๐๒ ดุษฎีนิพนธ (Dissertation) ๑๒ ลงทะเบียนเรียนรวม ๑๒ หนวยกิตสะสม ๖๓

๓.๑.๖ รายชื่ออาจารยประจําหลักสูตร

๑) อาจารยประจําหลักสูตร สําหรับเปดสอน ณ คณะศึกษาศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย สวนกลางศาลายา

ที่ ชื่อ/ฉายา-ชื่อสกุล ตําแหนงทาง

วิชาการ คุณวุฒิและสาขาวิชา สถานศึกษา

ปที่สําเร็จ

การศึกษา

๑ พระปริยัติสารเวที, ดร.

อาจารย ปร.ด. (บริหารการศึกษา) อ.ม.(ภาษาบาลีสันสกฤต) ศน.บ.(ภาษาอังกฤษ)

ม.ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย สภาการศึกษามหามกุฏราชวิทยาลัย

๒๕๕๕ ๒๕๔๒ ๒๕๒๗

๒ พระมหาไกรวรรณ ชินทตฺติโย, ดร.

อาจารย

ปร.ด. (บริหารการศึกษา) พธ.ม. ป.ธ. ๙

ม. ศิลปากร ม.มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย กองบาลีสนามหลวง

๒๕๕๒ ๒๕๔๕ ๒๕๔๒

๓ พระราชรัตนมงคล, ดร.

อาจารย

กศ.ด. (การศึกษาผูใหญ) กศ.ม.(การศึกษาผูใหญ) ร.ม. (การเมืองการปกครอง) ร.บ.(การเมืองการปกครอง)

มศว. ประสานมิตร มศว. ประสานมิตร ม.สุโขทัยธรรมาธิราช ม.สุโขทัยธรรมาธิราช

๒๕๕๔ ๒๕๔๗ ๒๕๕๔ ๒๕๔๓

๔ ดร. สุธาสินี แสงมุกดา

อาจารย ค.ด. (บริหารการศึกษา) ค.ม. (การวัดและประเมินผลทางการศึกษา) วท.บ.(วิทยาการคอมพิวเตอร)

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

๒๕๕๔ ๒๕๕๐

๒๕๔๔

๕ ผศ. ดร. สถาพร ขันโต

ผูชวย ศาสตราจารย

กศ.ด. (อุดมศึกษา) กศ.ม. (การมัธยมศึกษา) กศ.บ. (การมัธยมศึกษา)

มศว. ประสานมิตร มศว. ประสานมิตร วิทยาลัยวิชาการศึกษา (วศ.)

๒๕๓๙ ๒๕๒๑ ๒๕๑๖

Page 21: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

๒๑

๒) อาจารยประจําหลักสูตร สําหรับเปดสอน ณ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย

วิทยาเขตอีสาน จังหวัดขอนแกน

ที่ ชื่อ/ฉายา-ชื่อสกุล ตําแหนงทาง

วิชาการ คุณวุฒิและสาขาวิชา สถานศึกษา

ปที่สําเร็จ

การศึกษา

๑ พระครูสุธีจริยวัฒน, ดร.

อาจารย ปร.ด. (บริหารการศึกษา) ศศ.ม. (ภาษาไทย) ศน.บ. (ภาษาอังกฤษ)

ม. ขอนแกน ม. นเรศวร ม. มหามกุฏราชวิทยาลัย

๒๕๕๕ ๒๕๔๓ ๒๕๓๗

๒ พระครูปลัดสมัย ผาสุโก, ดร.

อาจารย ปร.ด. (บริหารการศึกษา) ศศ.ม. (ไทยคดีศึกษา) ศน.บ. (บริหารการศึกษา)

ม.ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ม. มหาสารคาม ม. มหามกุฏราชวิทยาลัย

๒๕๕๕ ๒๕๔๔ ๒๕๓๙

๓ รศ. ดร. วิโรจน สารรัตนะ

รองศาสตราจารย

Post Doc. (Educational Administration) กศ.ด. (พัฒนศึกษาศาสตร) ค.ม. (บริหารการศึกษา) ศศ.บ. (ภาษาอังกฤษ)

Washington State University มศว. ประสานมิตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ม. เชียงใหม

๒๕๔๘

๒๕๓๒ ๒๕๒๕ ๒๕๑๘

๔ ดร. ไกศิษฏ เปลรินทร

อาจารย ศษ.ด. (บริหารการศึกษา) Dip. In Applied Linguistics

ศศ.ม. (ภาษาอังกฤษ) ค.บ. (ภาษาอังกฤษ)

ม. ขอนแกน Regional Language Centre, Singapore ม. เกษตรศาสตร วิทยาลัยครูมหาสารคาม

๒๕๕๒ ๒๕๒๘

๒๕๒๓ ๒๕๑๘

๕ ดร. รัตนาภรณ สมบูรณ

อาจารย ปร.ด. (บริหารการศึกษา) ศษ.ม. (บริหารการศึกษา) ค.บ. (ภูมิศาสตร)

ม. ขอนแกน ม. ขอนแกน วิทยาลัยครูบานสมเด็จเจาพระยา

๒๕๕๖ ๒๕๔๓ ๒๕๑๙

๓.๑.๗ รายชื่ออาจารยผูสอน

๑) อาจารยประจํา

ที่ ช่ือ/ฉายา-ช่ือสกุล คุณวุฒ ิ สังกัดภาควิชา/คณะ

๑ พระปริยัติสารเวที, ดร. ศน.บ., อ.ม., ปร.ด. (บริหารการศึกษา)

หลักสูตรสาขาวิชาการบริหารการศึกษา มมร. สวนกลาง

๒ พระมหาไกรวรรณ ชินทตฺติโย, ดร. ป.ธ. ๙, พธ.ม., ปร.ด. (การบริหาร

การศึกษา)

หลักสูตรสาขาวิชาการบริหารการศึกษา มมร. สวนกลาง

๓ พระราชรัตนมงคล, ดร. ร.บ., ร.ม., กศ.ม., กศ.ด. (การศึกษาผูใหญ)

หลักสูตรสาขาวิชาการบริหารการศึกษา มมร. สวนกลาง

๔ ดร. สุธาสินี แสงมุกดา วท.บ., ค.ม., ค.ด. (บริหารการศึกษา)

หลักสูตรสาขาวิชาการบริหารการศึกษา มมร. สวนกลาง

๕ ดร. สถาพร ขันโต กศ.บ., กศ.ม., กศ.ด. (อุดมศึกษา)

หลักสูตรสาขาวิชาการบริหารการศึกษา มมร. สวนกลาง

๖ พระมหาฉัตรชัย สุฉตฺตชโย, ผศ. ดร. ป.ธ. ๙, พธ.ม., ศศ.ด. (ภาษาสันสกฤต) อาจารยประจําคณะศึกษาศาสตร

๗ พระมหามฆวินทร ปริสุตตโม, ผศ. ดร. ศน.บ, ศน.ม.,Ph.D.(Buddhist Studies) อาจารยประจําบัณฑิตวิทยาลัย

Page 22: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

๒๒

ที่ ช่ือ/ฉายา-ช่ือสกุล คุณวุฒ ิ สังกัดภาควิชา/คณะ

๘ พระมหาวิโรจน ญาณวีโร, ดร. ศน.บ., M.A., Ph.D. (Linguistics) คณะมนุษยศาสตร มมร.

๙ รศ. จํานง คันธิก ศน.บ., M.A. (Philosophy) คณะมนุษยศาสตร มมร.

๑๐ รศ. สุวิทย ภานุจาร ี ศน.บ., M.A. (Linguistics) คณะมนุษยศาสตร มมร.

๑๑ ดร. ขัตติยา ดวงสําราญ ค.บ., ศษ.ม., ปร.ด. (บริหารการศึกษา) อาจารยพิเศษคณะศึกษาศาสตร

๑๒ พระครูสุธีจริยวัฒน , ดร. ศน.บ., ศศ.ม. ปร.ด. (บริหารการศึกษา) หลักสูตรสาขาวิชาการบริหารการศึกษา มมร. วิทยาเขตอีสาน

๑๓ พระครูปลัดสมัย ผาสุโก , ดร. ศน.บ. , ศศ.ม., ปร.ด. (บริหารการศึกษา) หลักสูตรสาขาวิชาการบริหารการศึกษา มมร. วิทยาเขตอีสาน

๑๔ รศ. ดร. วิโรจน สารรัตนะ ศศ.บ., ค.ม., กศ.ด., Post Doc.

(Educational Administration)

หลักสูตรสาขาวิชาการบริหารการศึกษา มมร. วิทยาเขตอีสาน

๑๕ ดร. ไกศิษฏ เปลรินทร ศศ.ม. ค.บ., Dip. In Applied Linguistics, ศษ.ด. (บริหารการศึกษา)

หลักสูตรสาขาวิชาการบริหารการศึกษา มมร. วิทยาเขตอีสาน

๑๖ ดร. รัตนาภรณ สมบูรณ ค.บ., ศศ.ม., ปร.ด. (บริหารการศึกษา) หลักสูตรสาขาวิชาการบริหารการศึกษา มมร. วิทยาเขตอีสาน

๑๗ ผศ. ดร. ไพศาล สุวรรณนอย ศศ.บ., ศศ.ม. Ed.D. (Educational Research and Evaluation)

คณะศึกษาศาสตรมหาวิทยาลัยขอนแกน

๒) อาจารยพิเศษ

ท่ี ชื่อ-ชื่อสกุล คุณวุฒิ สังกัดภาควิชา/คณะ ๑. พระมหาปญญา ปญญาวโร, ดร. ปร.ด. (การบริหารการศึกษา) อาจารยพิเศษคณะศึกษาศาสตร

๒. รศ. ดร. ปรีชา คัมภีรปกรณ Ph.D. (Educational Administration) ขาราชการบํานาญ

๓. รศ. ดร. สมคิด สรอยนํ้า ศษ.ด. (การบริหารการศึกษา) Post Doc. (Educational Administration)

คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี

๔. รศ. ดร. สมโภชน เอ่ียมสุภาษิต PH.D. (Psychology) อาจารยพิเศษคณะศึกษาศาสตร ๕. ผศ. ดร. คนึง สายแกว ศษ.ด.(การบริหารการศึกษา)

Post Doc. (Educational Administration) คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร

๖. ผศ. ดร. ทวีชัย บุญเติม ค.ด. (การอุดมศึกษา) ขาราชการบํานาญ ๗. ผศ. ดร. วาที่พันตรี นภดล เจนอักษร Ph.D. (Educational Administration) อาจารยพิเศษคณะศึกษาศาสตร ๘. ผศ. ดร. นภดล พูลสวัสดิ์ ศษ.ด.(การบริหารการศึกษา)

Post Doc. (Educational Administration) คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร

๙. ผศ. ดร. มัณฑนา อินฑุสมิต ศษ.ด. (การบริหารการศึกษา) Post Doc.(Educational Administration)

คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย

๑๐. ผศ. ดร. สวัสดิ์ โพธิวัฒน ศษ.ด.(การบริหารการศึกษา) Post Doc. (Educational Administration)

คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร

๑๑. ผศ. ดร. สิทธิพร นิยมศรีสมศักดิ์ Ed.D. (Educational Administration) ขาราชการบํานาญ

๑๒. ดร. กิตติ์กาญจน ปฏิพันธ ปร.ด. (การบริหารการศึกษา) ครู วิทยาลัยอาชีวศึกษา ขก. ๑๓. ดร. บูลยาวี ขานมา

ปร.ด. (การบริหารการศึกษา) ครู สพป. ขอนแกน เขต ๕

Page 23: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

๒๓

ท่ี ชื่อ-ชื่อสกุล คุณวุฒิ สังกัดภาควิชา/คณะ ๑๔. ดร. ประยุทธ ชูสอน ศษ.ด. (การบริหารการศึกษา)

Post Doc. (Educational Administration) คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

๑๕. ดร. ศิริกุล นามศิริ ศษ.ด. (การบริหารการศึกษา) สพป. ขอนแกนเขต ๑ ๑๖. ดร. พงษศักดิ์ ภูกาบขาว ปร.ด. (การบริหารการศึกษา) สพป. ขอนแกนเขต ๑ ๑๗. ดร. พรสมบัติ ศรีไสย ปร.ด. (การบริหารการศึกษา) ผูบริหารสถานศึกษา

สพป. ขอนแกน เขต ๓ ๑๘. ดร. ลานนิพนธ เกษลา ปร.ด. (การบริหารการศึกษา) ศึกษานิเทศก

สพป. ขอนแกน เขต ๓ ๑๙. ดร. วิลัยพรณ เสรีวัฒน ปร.ด. (การบริหารการศึกษา) ผูบริหารสถานศึกษา

สพป. ขอนแกน เขต ๑ ๒๐. ดร. ศุภกานต ประเสริฐรัตนะ ปร.ด. (การบริหารการศึกษา) สพป. ขอนแกน เขต ๑ ๒๑. ดร. สัมฤทธ์ิ กางเพ็ง ศษ.ด. (การบริหารการศึกษา) ผูบริหารสถานศึกษา

สพป. ขอนแกนเขต ๑ ๒๒. Professor Dr. Forrest W. Parkay Ph.D. (Educational Leadership) College of Education,

Washington State Uni. ๒๓. Professor Emeritus Dr. Mr. Merrill

M. Oaks Ed.D. (Technology and Special Education)

College of Education, Washington State Uni.

๒๔. Professor Dr. Mrs. Muriel K. Oaks Ph.D. (Distance Education) Center for Distance and Professional Education Washington State Uni.

๔. องคประกอบเก่ียวกับปฏิบัติการวิชาชีพบริหารการศึกษา

ยึดถือรายละเอียดแนบทายประกาศคุรุสภา เรื่อง การรับรองปริญญา และประกาศนียบัตรทางการศึกษา เพื่อการประกอบวิชาชีพ พ.ศ. ๒๕๕๗ ในสวนของมาตรฐานวิชาชีพผูบริหารสถานศึกษา และผูบริหารการศึกษา ซึ่งกําหนดใหมีวิชาปฏิบัติการวิชาชีพบริหารการศึกษาระหวางเรียนตามหลักสูตรที่คุรุสภารับรอง มีเกณฑดังน้ี

๔.๑ มีการกําหนดการปฏิบัติการบริหารสถานศึกษาและบริหารการศึกษา ไมนอย ๓ หนวยกิต และมีช่ัวโมงปฏิบัติไมนอยกวา ๙๐ ช่ัวโมง (๑๕ x ๖ ช่ัวโมง) ประกอบดวย การฝกบริหารสถานศึกษา รอยละ ๕๐ การฝกบริหารการศึกษา รอยละ ๕๐ โดยมีรายช่ือโรงเรียนหรือหนวยงานที่มีคุณสมบัติตามคณะกรรมการคุรุสภากําหนด สําหรับฝกการบริหารสถานศึกษา และการบริหารการศึกษา ไมนอยกวามาตรฐาน รวมทั้งมีรายช่ือผูบริหารพี่เลี้ยงและคณาจารยนิเทศไมนอยกวามาตรฐาน มีรายงานผลการผานเกณฑการประเมินปฏิบัติวิชาชีพบริหารสถานศึกษาหรือบริหารการศึกษา

๔.๒ มีการติดตามผลเชิงประจักษจากคณะอนุกรรมของคุรุสภา หลักสูตรละไมนอยกวา ๑ ครั้ง โดยจะมีการขอพบนักศึกษา คณาจารย พี่เลี้ยง และผูบริหารสถานศึกษาที่นักศึกษาไปปฏิบัติการบริหารสถานศึกษา และการบริหารการศึกษา โดยมหาวิทยาลัยจะตองเตรียม เอกสารขอมูลใหคณะอนุกรรมการตรวจสอบตามแบบฟอรมและรายละเอียดที่คุรุสภากําหนด เพื่อพิจารณาการขยายเวลาการรับรอง พักการรับรอง หรือยุติการรับรอง

Page 24: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

๒๔

๕. ขอกําหนดเก่ียวกับการทําวิจัย ๕.๑ คําอธิบายโดยยอ

๑) หลักสูตรแบบ ๑.๑ เปนหลักสูตรที่นักศึกษาไมตองเรียนรายวิชาในแตละภาคเรียน มุงการทําดุษฎีนิพนธ โดยการ

ลงทะเบียนเพื่อการทําดุษฎีนิพนธ จําแนกเปนภาคเรียนแรก ๑๕ หนวยกิต ภาคเรียนตอๆ ไป ภาคเรียนละ ๑๒ หนวยกิต จนครบจํานวนหนวยกิตตลอดหลักสูตร ๖๓ หนวยกิต โดยคณะกรรมการประจําหลักสูตรจะพิจารณาอาจารยที่จะทําหนาที่ เปนที่ปรึกษาวิทยานิพนธต้ังแตภาคเรียนแรก เพื่อนักศึกษาสามารถปรึกษาหารือประเด็นและแนวคิดเพื่อการทําดุษฎีนิพนธที่ถูกตองและเหมาะสมตามกระบวนการของการทําวิจัย และดวยทางเลือกในระเบียบวิธีวิจัยที่เหมาะสม เชน การวิจัยเชิงนโยบาย การวิจัยเชิงปฏิบัติ การวิจัยอนาคต การวิจัยเชิงประเมิน การวิจัยทฤษฎีฐานราก การวิจัยพัฒนาตัวบงช้ี การวิจัยและพัฒนา การวิจัยเพื่อสรางโมเดลสมการโครงสราง หรืออื่นๆ และภายในขอบขายประเด็นและเน้ือหาที่สอดคลองกับสาขาวิชาการบริหารการศึกษา และสอดคลองกับมาตรฐานดานความรูที่คุรุสภากําหนด เชน หลักและกระบวนการ การบริหารจัดการ คุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณ การวิจัย และการบริหารดานตางๆ เชน วิชาการ หลักสูตร ทรัพยากร บุคคล กิจการนักเรียน ธุรการ การเงิน พัสดุ อาคารสถานที่ เทคโนโลยีสารสนเทศ นิเทศการศึกษา ประกันคุณภาพการศึกษา ประชาสัมพันธและความสัมพันธชุมชน หลักและกระบวนการ การบริหารจัดการ คุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณ และการบริหารดานตางๆ เชน วิชาการ หลักสูตร ทรัพยากร บุคคล กิจการนักเรียน ธุรการ การเงิน พัสดุ อาคารสถานที่ เทคโนโลยีสารสนเทศ นิเทศการศึกษา ประกันคุณภาพการศึกษา ประชาสัมพันธและความสัมพันธชุมชน เปนตน โดยที่ปรึกษาวิทยานิพนธอาจแนะนําใหนักศึกษามีการศึกษาหรือรวมเขาเรียนในรายวิชาที่เกี่ยวของเพิ่มเติม ทั้งจากภายในมหาวิทยาลัยหรือตางมหาวิทยาลัย ใหมีการพบปะหารือกันเปนระยะๆ มีการรายงานความกาวหนาใหที่ปรึกษาและคณะกรรมการประจําหลักสูตรทราบเปนระยะๆ ทั้งน้ีใหมีการสอบวัดคุณสมบัติ (qualify examination) เพื่อประเมินความสามารถในการทําวิจัย เพื่อโอกาสในการสอบเคาโครงดุษฎีนิพนธ การดําเนินการวิจัย การสรุปผลการวิจัย และการสอบปองกัน ตามแนวปฏิบัติที่หลักสูตรกําหนด เมื่อสิ้นสุดการทําวิจัย จะตองมีการเผยแพรผลงานวิจัยตามเงื่อนไขที่มหาวิทยาลัยกําหนด

๒) หลักสูตรแบบ ๒.๑ เปนหลักสูตรที่นักศึกษาตองเรียนรายวิชาในแตละภาคเรียน ทั้งรายวิชาบังคับ รายวิชาเลือก และ

รายวิชาพื้นฐานตามเงื่อนไขที่หลักสูตรกําหนด ในภาคเรียนแรก ๙ หนวยกิต ภาคเรียนที่สอง ๙ หนวยกิต ภาคเรียนที่สาม ๙ หนวยกิต ในภาคเรียนที่สี่ หลักสูตรจะกําหนดใหนักศึกษาแตละรายมีที่ปรึกษาวิทยานิพนธ และเริ่มใหลงทะเบียนเพื่อทําดุษฎีนิพนธ ตอเน่ืองถึงภาคเรียนที่หาและภาคเรียนที่หก ภาคเรียนละ ๑๒ หนวยกิต รวมตลอดหลักสูตร ๖๓ หนวยกิต ดวยทางเลือกในระเบียบวิธีวิจัยที่เหมาะสม เชน การวิจัยเชิงนโยบาย การวิจัยเชิงปฏิบัติ การวิจัยอนาคต การวิจัยเชิงประเมิน การวิจัยทฤษฎีฐานราก การวิจัยพัฒนาตัวบงช้ี การวิจัยและพัฒนา การวิจัยเพื่อสรางโมเดลสมการโครงสราง หรืออื่นๆ และภายในขอบขายประเด็นและเน้ือหาที่สอดคลองกับสาขาวิชาการบริหารการศึกษา และสอดคลองกับมาตรฐานดานความรูที่คุรุสภากําหนด เชน หลักและกระบวนการ การบริหารจัดการ คุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณ การวิจัย และการบริหารดานตางๆ เชน วิชาการ หลักสูตร ทรัพยากร บุคคล กิจการนักเรียน ธุรการ การเงิน พัสดุ อาคารสถานที่ เทคโนโลยีสารสนเทศ นิเทศการศึกษา ประกันคุณภาพการศึกษา ประชาสัมพันธและความสัมพันธชุมชน หลักและกระบวนการ การบริหารจัดการ คุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณ และการบริหารดานตางๆ เชน วิชาการ หลักสูตร ทรัพยากร บุคคล กิจการนักเรียน ธุรการ การเงิน พัสดุ อาคารสถานที่ เทคโนโลยี

Page 25: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

๒๕

สารสนเทศ นิเทศการศึกษา ประกันคุณภาพการศึกษา ประชาสัมพันธและความสัมพันธชุมชน เปนตน ใหมีการพบปะหารือกับที่ปรึกษาเปนระยะๆ นักศึกษามีการรายงานความกาวหนาในการดําเนินงานวิจัยใหที่ปรึกษาและคณะกรรมการประจําหลักสูตรทราบเปนระยะๆ ทั้งน้ีในภาคเรียนที่สี่จะเปดโอกาสใหนักศึกษาสมัครสอบวัดคุณสมบัติ (qualifying examination) เพื่อประเมินความสามารถในการทําวิจัย เพื่อโอกาสในการสอบเคาโครงดุษฎีนิพนธ การดําเนินการวิจัย การสรุปผลการวิจัย และการสอบปองกัน ตามแนวปฏิบัติที่หลักสูตรกําหนด เมื่อสิ้นสุดการทําวิจัย นักศึกษาจะตองมีการเผยแพรผลงานวิจัยตามเงื่อนไขที่มหาวิทยาลัยไดกําหนดไวดวย

๕.๒ มาตรฐานผลการเรียนรูจากการทําวิจัย ๑) มีความลุมลึกการทําวิจัยในระดับสูง เปนประเด็นที่ทาทาย มีการจัดการและลึกซึ้งกับปญหาเชิง

จริยธรรม สื่อความคิดและขอสรุปจากผลการวิจัยอยางมีประสิทธิภาพ และความเปนผูนําการวิจัยในสาขาวิชา

๒) มีความรู ความสามารถและเช่ียวชาญในองคความรูระดับสูงในศาสตรทางการบริหารการศึกษา ๓) มีทักษะการพัฒนางานดานการวิจัยทางการบริหารการศึกษาใหไดความรูใหมและมีการเผยแพร

ผลงานวิจัยตามเงื่อนไขที่มหาวิทยาลัยไดกําหนดไว ๔) มีทัศนคติ บุคลิกภาพ คุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณทางวิชาการและทางวิชาชีพ

๕.๓ ชวงเวลา ๑) นักศึกษาตามหลักสูตรแบบ ๑.๑ เริ่มภาคเรียนที่ ๑ ปการศึกษาที่ ๑ ๒) นักศึกษาตามหลักสูตรแบบ ๒.๑ เริ่มภาคเรียนที่ ๒ ปการศึกษาที่ ๒ (ภาคเรียนที่ ๔)

๕.๔ จํานวนหนวยกิตดุษฎีนิพนธ ๑) นักศึกษาตามหลักสูตรแบบ ๑.๑ จํานวนหนวยกิต รวม ๖๓ หนวยกิต ๒) นักศึกษาตามหลักสูตรแบบ ๒.๑ จํานวนหนวยกิต รวม ๓๖ หนวยกิต

๕.๕ การเตรียมการ สัมมนากรอบของดุษฎีนิพนธ และใหนักศึกษาเสนอหัวขอที่สนใจ โดยมีการใหคําปรึกษา แนะนํา และ

ช้ีประเด็นที่กําลังเปนที่สนใจของสังคม สถานศึกษา หรือหนวยงานทางการศึกษา จากน้ันนักศึกษาและอาจารยที่ปรึกษาทํางานรวมกัน ในการศึกษาวิจัย และกําหนดใหนักศึกษาเขาพบอาจารยที่ปรึกษาเพื่อติดตามความกาวหนาตามขอกําหนดเปนระยะๆ เพื่อใหการทําดุษฎีนิพนธเสร็จตามระยะเวลาของหลักสูตร

๕.๖ กระบวนการประเมินผล กระบวนการประเมินผลงานการทําดุษฎีนิพนธของนักศึกษา มีการสอบเคาโครงการวิจัย การประเมิน

ความกาวหนาทุกภาคการศึกษา การสอบดุษฎีนิพนธตามขอกําหนด การประเมินผลการเผยแพรดุษฎีนิพนธตามขอกําหนดของมหาวิทยาลัย

Page 26: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

๒๖

หมวดที่ ๔ ผลการเรียนรู กลยุทธการสอน และการประเมินผล

๑. การพัฒนาคุณลักษณะพิเศษของนักศึกษา

ที่ คุณลักษณะพิเศษ กลยุทธหรือกิจกรรมนักศึกษา ๑ เสริมสรางทักษะ

ภาษาอังกฤษดวยวิทยากรชาวตางประเทศ

จัดการสัมมนาเชิงปฏิบัติการแบบเขม (intensive workshop) ดวยวิทยากรจาก Washington State University, USA. รุนละ ๒ ครั้งๆ ละ ๓๐ ช่ัวโมง (๕ วัน) ในภาคเรียนที่ ๑ และภาคเรียนที่ ๒ และจัดอบรมทักษะภาษาอังกฤษ (English skills training) ดวยวิทยากรจาก Washington State University, USA. รุนละ ๒ ครั้งๆ ละ ๓๐ ช่ัวโมง (๕ วัน) ในภาคเรียนที่ ๑ และภาคเรียนที่ ๒

๒ การรวมกิจกรรมสัมมนาทางวิชาการนานาชาติ เพื่อเสริมสรางวิสัยทัศนและประสบการณสากลในอเมริกา

จัดโครงการเสริมสรางวิสัยทัศนและประสบการณสากล ในสหรัฐอเมริกา รุนละ 1 ครั้ง ประมาณ 2 สัปดาห โดยมีจุดมุงหมายหลักเพื่อรวมการสัมมนาทางวิชาการประจําปของ American Educational Research Association (AERA) ซึ่งหมุนเวียนจัดตามเมืองใหญ ขณะเดียวกับก็ศึกษาดูงานและทัศนศึกษาสถานที่สําคัญ สถานที่ทองเที่ยว และพิพิธภัณฑ ในเมืองตางๆ ดวย เชน San Francisco, Seattle, Los Angeles, Las Vegas, Chicago, Washington D.C., Philadelphia, New York เปนตน

๓ เสริมสรางทักษะการใชเทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู การสื่อสาร การบริหารจัดการ และความเปนชุมชนเรียนรูรวม

คณาจารยและนักศึกษาใชเทคโนโลยีดิจิตอลใหเปนประโยชนเพื่อการเรียนรู การสื่อสาร และการบริหารจัดการ เชน จัดทํา Blog นําเสนอบทความหรือผลงานทางวิชาการเผยแพรทางอินเตอร จัดทํา line และ facebook เพื่อการสื่อสารประชาสัมพันธสูสาธารณะ ขณะเดียวกันไดจัดทํา line และ facebook ของรุน ของทุกรุน ของฝายบริหาร ของครูผูสอนกับนักศึกษา และของกลุมเฉพาะกิจ เพื่อการมอบหมายงาน สงงาน ปรกึษาหารือ แสดงความเห็น สื่อสารบริหารจัดการ และอื่นๆ ภายในกลุมที่จัดต้ัง รวมทั้งการใช email ของแตละคน และของกลุม

๔ ปฏิบัติธรรมเพื่อพัฒนาดานอารมณและจิตใจ

จัดใหนักศึกษารวมในกิจกรรมปฏิบัติธรรมในศาสนสถาน รุนละ ๑๕ วัน โดยจัดกระจายตามภาคเรียนตางๆ เปนครั้งๆ ละ ๓-๕ วัน

๕ ทักษะทางวิชาการ เปนผูจัด และ/หรือ เขารวมการสัมมนาทางวิชาการที่สถาบันตางๆ จัดข้ึน

Page 27: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

๒๗

๒. การพัฒนาผลการเรียนรูแตละดาน แนวคิด - หลักสูตรปริญญาเอกเปนหลักสูตรที่เนนการศึกษาคนควาที่ลุมลึกในระดับสูงอยางมีอิสระ มีความเช่ียวชาญในพัฒนาการล าสุดขององคความรู ในสาขาวิชาที่ ศึกษาคนควา ตลอดจนการแปลความหมายและประยุกตใชความรูเพื่อเพิ่มพูนและพัฒนาเน้ือหาสาระของรายวิชา ของสาขาวิชาและวิชาชีพ หลักสูตรอาจจะเนนการคนควาวิจัยที่นําไปสูการทําวิทยานิพนธเพื่อเพิ่มพูนองคความรูที่มีอยู หรืออาจผสมผสานระหวางวิทยานิพนธกับการศึกษารายวิชาระดับสูงในสาขาวิชาชีพหรือสาขาวิชา โดยมีแนวการพัฒนาผลการเรียนรูในดานตางๆ ดังน้ี

๒.๑ คุณธรรมและจริยธรรม แนวคิด - สามารถจัดการเกี่ยวกับปญหาทางดานจริยธรรมที่ซับซอนในบริบททางวิชาการหรือวิชาชีพ และเมื่อไมมีจรรยาบรรณของวิชาชีพหรือไมมีระเบียบขอบังคับเพียงพอที่จะจัดการกับปญหาที่เกิดข้ึนได ก็

สามารถใชดุลยพินิจอยางผูรูดวยความยุติธรรม มีหลักฐานและจัดการกับปญหาเหลาน้ันบนพื้นฐานของหลักการที่มีเหตุผลและคานิยมอันดีงาม แสดงออกหรือสื่อถึงขอสรุปของปญหา โดยคํานึงถึงความรูสึกของผูอื่นที่จะไดรับผลกระทบ มีความคิดริเริ่มในการช้ีใหเห็นขอบกพรองของจรรยาบรรณของการปฏิบัติที่ใชอยูในปจจุบัน เพื่อการทบทวนและแกไข มีความกระตือรือรนในการสนับสนุนใหผูอื่นประยุกตใชดุลยพินิจทางดานคุณธรรม จริยธรรมในการจัดการกับความขัดแยงและปญหาที่มีผลกระทบตอตนเองและผูอื่นแสดงออกซึ่งภาวะผูนํา ในการสงเสริมใหมีการประพฤติปฏิบัติตามหลักแหงคุณธรรม จริยธรรมในที่ทํางานและในชุมชนที่กวางขวางข้ึน ผลการเรียนรูที่คาดหวัง ๑) มีการประพฤติปฏิบัติตนเปนแบบอยางที่ดีของความเปนดุษฎีบัณฑิตของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราช

วิทยาลัย เชน การมีวินัย ซื่อสัตย รับผิดชอบตอตนเองและสังคม มีจิตสาธารณะ รักและภูมิใจใน

ทองถ่ิน สถาบัน และประเทศชาติ ๒) เปนผูนําที่สามารถใชดุลยพินิจเพื่อจัดการปญหาหรือทบทวนปญหาอยางเปนผูรู เกี่ยวกับ

จรรยาบรรณทางวิชาการและจรรยาบรรณทางวิชาชีพทางการบริหารการศึกษาไดอยางเหมาะสมตามสถานการณ รวมทั้งสามารถสงเสริมใหมีการประพฤติปฏิบัติตามหลักแหงคุณธรรมจริยธรรมในที่ทํางานและในชุมชนที่กวางขวางข้ึน

กลยุทธการสอน แนวคิด - การพัฒนาดานน้ีเกี่ยวของกับการผสมผสานความรูเกี่ยวกับพฤติกรรมที่เหมาะสมและปฏิบัติตนอยางถูกตองตามกาลเทศะ ทัศนคติ และวุฒิภาวะในการตัดสินใจ ยุทธศาสตรที่ใชในการพัฒนาอาจรวมถึงการเปนแบบอยางที่ดี การวิเคราะหและสะทอนพฤติกรรมของตนเองและของผูอื่นในสถานการณตางๆกัน การอภิปรายเปนกลุมในเรื่องความขัดแยงทางความคิดอยางงายๆ และที่ซับซอนมากข้ึน จะชวยใหนักศึกษาเห็นคานิยมของตนเองไดชัดเจนย่ิงข้ึน และเกิดความคิดโดยใชหลักการทั่วไปวา สิ่งที่ตนเช่ือควรเปนแนวทางกําหนดพฤติกรรมของตนเองได หลักในการถายทอดการเรียนรู จะตองมีการอภิปรายเกี่ยวกับสถานการณที่เปนไปไดตางๆ รวมถึงสถานการณที่นักศึกษาจะตองเผชิญในชีวิตภายหนาและในการทํางาน แมวาผลการเรียนรูดานน้ีอาจถูกจัดเปนรายวิชาใดวิชาหน่ึงโดยเฉพาะ แตควรใชทุกโอกาสที่มีการเสริมการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมในทุกรายวิชาที่สอน โดยมีกลยุทธการสอนในหลักสูตรน้ีดังน้ี

Page 28: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

๒๘

๑) กําหนดใหมีรายวิชาภาวะผูนําและธรรมาภิบาลที่ดีในการบริหารการศึกษา โดยเนนคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณทางวิชาการ และจรรยาบรรณทางวิชาชีพ

๒) สอดแทรกประเด็น เน้ือหา กิจกรรม และการปฏิบัติเกี่ยวกับคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณทางวิชาการ และจรรยาบรรณทางวิชาชีพในรายวิชาอื่นๆ รวมทั้งในการทําดุษฎีนิพนธ

๓) การปฏิบัติธรรมในศาสนสถาน ตามเกณฑและวิธีการที่หลักสูตรหรือมหาวิทยาลัยกําหนด กลยุทธการประเมินผล ๔) ประเมินผลตามสภาพจริง (authentic assessment) ใชแบบการประเมินพฤติกรรมที่สะทอนถึง

ความมคุีณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณทางวิชาการ และจรรยาบรรณทางวิชาชีพ โดยอาจารยผูสอน/อาจารยที่ปรึกษา และเพื่อนนักศึกษา เชน การเขาช้ันเรียน การมีสวนรวมในการเรียนการสอน การรวมในกิจกรรมบริการสาธารณะ คุณภาพผลงานของงานที่ไดรับมอบหมายหรือในการทําดุษฎีนิพนธ เปนตน

๑) จํานวนครั้งและพฤติกรรมการปฏิบัติธรรมตามเกณฑและวิธีการที่หลักสูตรหรือมหาวิทยาลัยกําหนด

๒.๒ ความรู แนวคิด - มีความเขาใจอยางถองแทในองคความรูที่เปนแกนในสาขาวิชาการ หรือวิชาชีพ รวมทั้งขอมูลเฉพาะทางทฤษฎี หลักการและแนวคิดที่เป นรากฐาน มีความรูเกี่ยวกับพัฒนาการลาสุดในสาขาวิชา รวมถึงประเด็นปญหาสําคัญที่กําลังเกิดข้ึน รูเทคนิคการคนควาวิจัยและความทาทายที่มีอยูในการพัฒนาขอสรุปซึ่งเปนที่ยอมรับกันทั่วไป การศึกษาระดับปริญญาเอกในสาขาวิชาชีพ นักศึกษาจะตองมีความเขาใจอยางถองแท และกวางขวางเกี่ยวกับแนวปฏิบัติที่เปลี่ยนแปลงในวิชาชีพ ทั้งในประเทศไทยและประเทศอื่นๆ มีความรูอยางถองแทเกี่ยวกับพัฒนาการในสาขาวิชาที่เกี่ยวของสัมพันธกันซึ่งที่จะมีผลกระทบตอสาขาวิชาที่ศึกษาคนควา ผลการเรียนรูท่ีคาดหวัง ๑) มีความรูความเขาใจในหลักการ แนวคิด และทฤษฎี ตลอดจนประเด็นเพื่อการบริหารจัดการ ๒) มีความรูความเขาใจในปรากฏการณทางการบริหารการศึกษาที่เกิดข้ึนในสังคมโลกและสังคม

ภูมิภาค เพื่อการวิพากษเชิงเปรียบเทียบกับระบบการบริหารการศึกษาของสถานศึกษาในประเทศไทยในมิติตางๆ ที่คํานึงถึงมาตรฐานทางวิชาชีพดานความรูที่คุรุสภากําหนด

๓) มีความรูความเขาใจในหลักการบริหารการศึกษา กาวทันกับการเปลี่ยนแปลง แนวโนม และนวัตกรรมเพื่อการบริหารการศึกษา โดยคํานึงถึงมาตรฐานทางวิชาชีพดานความรูที่คุรุสภากําหนด

๔) มีความรูความเขาใจหลักธรรมคําสอนในพุทธศาสนาที่สามารถนํามาใชในการบริหารการศึกษาในมิติตางๆ โดยคํานึงถึงมาตรฐานวิชาชีพดานความรูที่คุรุสภากําหนด

๕) มีความรูความเขาใจในหลักการ แนวคิด และทฤษฎีภาวะผูนําและธรรมาภิบาลที่ดีในการบริหารการศึกษา โดยเฉพาะคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณทางวิชาการ และจรรยาบรรณทางวิชาชีพ

๖) มีความรูความเขาใจในทิศทางและวิธีดําเนินการวิจัยทางการบริหารการศึกษาทั้งในประเทศและตางประเทศ รวมทั้งระเบียบวิธีวิจัยที่นิยมใชในการวิจัยทางการบริหารการศึกษา

กลยุทธการสอน แนวคิด - การจัดภาพรวมอยางกวางๆ เกี่ยวกับการจัดโครงสรางและเน้ือหาสาระในการเรียนการสอนไวลวงหนา และเมื่อมีขอมูลใหมเพิ่มข้ึนควรจะเช่ือมโยงกับเน้ือหาที่จัดไวน้ัน และเช่ือมโยงกับความรูเดิมของนักศึกษา เพื่อใหงายตอการทําความเขาใจและนํามาใช การใชเครื่องมือชวยจําและการ

Page 29: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

๒๙

ทบทวนเน้ือหาที่สําคัญเปนระยะๆ จะชวยใหมั่นใจไดวาขอมูลน้ันจะอยูในความทรงจําไดในระยะยาว โดยมีกลยุทธการสอนในหลักสูตรน้ีดังน้ี ๑) กําหนดใหมีรายวิชาบังคับเพื่อพัฒนาผูเรียนใหบรรลุผลการเรียนรูดานความรูดังกลาว คือ วิพากษ

การศึกษาไทยในสังคมโลกและภูมิภาค แนวโนมและนวัตกรรมเพื่อการบริหารการศึกษา พุทธศาสตรกับการบริหารการศึกษา ภาวะผูนําและธรรมาภิบาลที่ดีในการบริหารการศึกษา การวิจัยทางการบริหารการศึกษา และปฏิบัติการวิชาชีพบริหารการศึกษา

๗) คําอธิบายในรายวิชาบังคับ คํานึงถึงการพัฒนาผูเรียนตามมาตรฐานทางวิชาชีพดานความรูที่คุรุสภากําหนด เชน หลักและกระบวนการ การบริหารจัดการ คุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณ การวิจัย และการบริหารดานตางๆ เชน วิชาการ หลักสูตร ทรัพยากร บุคคล กิจการนักเรียน ธุรการ การเงิน พัสดุ อาคารสถานที่ เทคโนโลยีสารสนเทศ นิเทศการศึกษา ประกันคุณภาพการศึกษา ประชาสัมพันธและความสัมพันธชุมชน เปนตน

๒) ใชรูปแบบการเรียนการสอนดวยแนวคิดเนนผูเรียนเปนผูปฏิบัติ (less us, more them / active learning) และสรางวัฒนธรรมการเรียนรูดวยการสืบคน (learning culture of inquiry) เพื่อใหผูเรียนเกิดความรักในการเรียนรู (love of learning) ที่จะนําไปสูความเปนผูเรียนรูตลอดชีวิต (life long learners)

กลยุทธการประเมินผล ๑) ประเมินผลตามสภาพจริง (authentic assessment) ใชแบบการประเมินพฤติกรรมที่สะทอนถึง

การมีความรู ความเขาใจ ความสามารถ และสมรรถนะที่คาดหวังในรายวิชาหรือประเด็นตางๆ ตามที่กําหนดในคําอธิบายรายวิชา โดยอาจารยผูสอน/อาจารยที่ปรึกษา และเพื่อนนักศึกษา เชน การมีสวนรวมในการเรียนการสอน การแสดงความคิดเห็นเชิงสรางสรรคในช้ันเรียนและนอกช้ันเรียน การนําเสนอรายงานทั้งในระดับบุคคลและในระดับกลุม คุณภาพของงานที่ไดรับมอบหมาย เปนตน ทั้งน้ีอาจใชวิธีการสอบ (test) ตามความเหมาะสมของบางรายวิชา

๒) สังเกตพฤติกรรมการแสดงออกที่สะทอนใหเห็นถึงความสามารถในการนําความรูความเขาใจสูการปฏิบัติจากรายวิชาปฏิบัติการวิชาชีพบริหารการศึกษา จากการทํางานตามที่มอบหมาย และจากการทําดุษฎีนิพนธ

๒.๓ ทักษะทางปญญา แนวคิด - มีความสามารถในการประยุกตใชความเขาใจอันถองแทในทฤษฎี และเทคนิคการคนควาวิจัยในการวิเคราะหขอโตแยงและปญหาสําคัญตางๆ อยางสรางสรรค และพัฒนาแนวทางการแกไขปญหาดวยวิธีการใหมๆ สามารถสงัเคราะหผลงานการวิจัยและทฤษฎีเพื่อสรางสรรคและพัฒนาความรูความเขาใจใหมบนพื้นฐานของการบูรณาการแนวคิดตางๆ ทั้งจากภายในและภายนอกสาขาวิชาซึ่งมีการศึกษาคนควาระดับสูง สามารถออกแบบและดําเนินการโครงการวิจัยที่สําคัญเพื่อจัดการกับปญหาที่ซับซอนในการพัฒนาองคความรูใหมหรือปรับปรุงแนวปฏิบัติในวิชาชีพ ผลการเรียนรูท่ีคาดหวัง ๑) มีความสามารถในการศึกษาทําความเขาใจทฤษฎี ปรากฏการณ การปฏิบัติ การแกไขปญหา และ

การวิจัย โดยใชทักษะการคิดข้ันสูง ใหมีพัฒนาการเรียนรูจากทักษะการคิดข้ันความจํา (remembering) ไปสูความเขาใจ (understanding) การประยุกต (applying) การวิเคราะห (analyzing) การประเมิน (evaluating) และการสังเคราะหหรือการสรางสรรค (synthetizing /creating) ทั้งจากการเรียนการสอนแบบปกติในช้ันเรียนและจากการใชเทคโนโลยีดิจิตอล

Page 30: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

๓๐

กลยุทธการสอนท่ีใช แนวคิด - การพัฒนาความคิดรวบยอด รวมทั้งหลักการทางทฤษฏีและการฝกปฏิบัติ การวิเคราะหสถานการณและแกไขปญหาตางๆ เปนลําดับข้ันตอนตามแผนที่วางไว และตองฝกปฏิบัติในหลายสถานการณ รวมทั้งที่คลายคลึงกับสถานการณที่คาดวาจะไดใชในอนาคตเพื่อชวยในการถายทอดความรูและนําไปใชในสถานการณตางๆตามความเหมาะสม การพัฒนาความสามารถในการกําหนดและใชทักษะปญญาในการแกไขปญหาใหมๆ ที่ไมคาดคิดมากอน จําเปนตองมีการทํางานในการแกปญหาแบบปลายเปดโดยใหความชวยเหลือในการจําแนกแยกแยะ และการประยุกตใชความรูความเขาใจเพื่อเปนการพัฒนาความสามารถในการคิดและแกไขปญหาไดอยางสรางสรรค นักศึกษาควรถูกฝกใหสามารถสะทอนกระบวนการคิดของตนเอง เมื่อพบกับงานใหมๆที่ทาทายและสามารถพัฒนาการจัดการกลยุทธในการคิดของตนเองเมื่อตองแกไขกับประเด็นปญหาในลักษณะตางๆ โดยมีกลยุทธการสอนในหลักสูตรน้ีดังน้ี ๑) กําหนดคํากริยาในคําอธิบายรายวิชาที่มีทิศทางใหผูเรียนไดพัฒนาการเรียนรูทางปญญาในทักษะ

การคิดข้ันสูง เชน ใชคําวา ประยุกต วิเคราะห ประเมิน สังเคราะห หรือสรางสรรค เปนตน ๓) ใชรูปแบบการเรียนการสอนที่เนนพฤติกรรมการประยุกต วิเคราะห ประเมิน สังเคราะห และ

สรางสรรค จากการสรางวัฒนธรรมการเรียนรูดวยการสืบคน (learning culture of inquiry) และดวยแนวคิดเนนผูเรียนเปนผูปฏิบัติ (less us, more them / active learning) เพื่อใหผูเรียนเกิดความรักในการเรียนรู (love of learning) ที่จะนําไปสูความเปนผูเรียนรูตลอดชีวิต (life long learners)

กลยุทธการประเมินผล ๑) ประเมินผลตามสภาพจริง (authentic assessment) ใชแบบการประเมินพฤติกรรมที่สะทอนถึง

การใชทักษะการคิดจากทักษะข้ันตํ่าไปถึงทักษะข้ันสูง ในรายวิชาหรือประเด็นตางๆ ตามที่กําหนดในคําอธิบายรายวิชา โดยอาจารยผูสอน/อาจารยที่ปรึกษา และเพื่อนนักศึกษา เชน การแสดงความคิดเห็นเชิงประยุกต วิเคราะห วิพากษ และสังเคราะหในช้ันเรียนและนอกช้ันเรียน การนําเสนอรายงานทั้งในระดับบุคคลและในระดับกลุม คุณภาพของของงานที่ไดรับมอบหมายหรือในการทําดุษฎีนิพนธ เปนตน

๒.๔ ทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ แนวคิด - สามารถแสดงออกอยางสม่ําเสมอในการดําเนินการกิจกรรมทางวิชาการ หรือวิชาชีพดวยความเปนอิสระและดวยความคิดริเริ่มในระดับสูง รับผิดชอบอยางเต็มที่ในกิจกรรมของตนเอง มีการประเมินและปรับปรุงประสิทธิภาพของตนเองโดยใชขอมูลยอนกลับ พรอมทั้งมีการวางแผนปรับปรุงแกไขไดอยางสรางสรรคเอื้ออํานวยใหเกิดปฏิสัมพันธในกิจกรรมของกลุมและแสดงออกซึ่งภาวะผูนําที่มีประสิทธิภาพในทางวิชาชีพและทางสังคมที่ซับซอน ผลการเรียนรูท่ีคาดหวัง ๑) สามารถรวมกิจกรรมการเรียนรู (learning activity) กับผูอื่นทั้งในฐานะผูนําและผูตามไดอยาง

เหมาะสม มีมนุษยสัมพันธที่ดีกับเพื่อนรวมช้ันเรียน กับนักศึกษาระหวางรุน กับอาจารยและบุคลากรในหลักสูตรและนอกหลักสูตร

๒) มีความรับผิดชอบตอการทํางานหรือตอกิจกรรมการเรียนรูตามที่ไดรับมอบหมาย รวมทั้งรับผิดชอบตอคุณภาพของผลงานทั้งในเชิงวิชาชีพและเชิงวิชาการ

Page 31: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

๓๑

กลยุทธการสอน แนวคิด - การมีโอกาสในการเขารวมกิจกรรมกลุมและมีขอมูลยอนกลับอยางสรางสรรคตอผลการทํางาน ขอมูลยอนกลับดังกลาวจะมีประสิทธิภาพสูงสุด ถานักศึกษาไดวิเคราะหพฤติกรรมของตนเองในสภาพแวดลอมที่เอื้อและสามารถพัฒนาเปนหลักในการแสดงพฤติกรรมของตนเอง การพัฒนาความสามารถและความรับผิดชอบสําหรับการเรียนรูอยางตอเน่ือง จําเปนตองมอบหมายงานใหนักศึกษาที่จะพัฒนาและกระตุนความสามารถเหลาน้ันดวยความมุงหวังใหมีผลงานที่กาวหนาข้ึนตามลําดับ โดยมีกลยุทธการสอนในหลักสูตรน้ีดังน้ี ๑) ใชรูปแบบการเรียนการสอนที่เนนกระบวนการกลุม (group process) นอกเหนือจากการเรียนรู

ดวยตนเองแบบเด่ียว ทั้งการสืบคนขอมูล การนําเสนอผลการสืบคนขอมูล และการจัดทํารายงาน ๒) ใชรูปแบบการเรียนการสอนดวยแนวคิดเนนผูเรียนเปนผูปฏิบัติ (less us, more them / active

learning) และดวยการสรางวัฒนธรรมการเรียนรูดวยการสืบคน (learning culture of inquiry) รวมทั้งใหความเปนอิสระ (freedom) ในกิจกรรมการเรียนรู ทั้งระดับบุคคลและระดับกลุม เพื่อเสริมสรางคุณลักษณะความริเริ่มสรางสรรคและความรับผิดชอบที่เกิดข้ึนจากแรงกระตุนภายในของผูเรียนเอง

กลยุทธการประเมินผล ๑) ประเมินผลตามสภาพจริง (authentic assessment) ใชแบบการประเมินพฤติกรรมที่สะทอนถึง

ความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบที่ดี ในกิจกรรมการเรียนรูในรายวิชาหรือนอกรายวิชา โดยอาจารยผูสอน/อาจารยที่ปรึกษา และเพื่อนนักศึกษา เชน การมีสวนรวมในกิจกรรมการเรียนรูอยางเปนกัลยาณมิตร ความมีมุนษยสัมพันธที่ดีกับบุคคลอื่นทั้งในช้ันเรียนและนอกช้ันเรียน การเขาเรียน ความมุงมั่นตอการทํางาน และการทํางานที่มุงคุณภาพ เปนตน

๒.๕ ทักษะในการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และเทคโนโลยีสารสนเทศ แนวคิด - สามารถสื่อสารอยางมีประสิทธิภาพในระดับที่เหมาะสมกับผู ฟงทั้งในวงวิชาการและวิชาชีพรวมถึงชุมชน ดวยการรายงานและการนําเสนอทั้งในรูปแบบที่เปนทางการและไมเปนทางการ การใชสิ่งตีพิมพและสื่ออิเลคทรอนิคทั้งทางวิชาการและวิชาชีพ รวมทั้งวิทยานิพนธหรือคนควาที่สําคัญเกี่ยวกับปญหาที่ซับซอน มีการประเมินผลการทํางานเปนประจําและใชขอมูลทางคณิตศาสตรและสถิติอยางมีประสิทธิภาพ มีการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารอยางกวางขวางและเหมาะสมในการศึกษาปญหาและการสื่อสารถึงขอสรุปและขอเสนอแนะ ผลการเรียนรูท่ีคาดหวัง ๑) มีความสามารถในการใชโปรแกรมคอมพิวเตอรเพื่อการวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณและขอมูล

เชิงคุณภาพจากภาคสนาม เพื่อการเรียนรูและเพื่อการวิจัยไดอยางเหมาะสม ๒) มีความสามารถในการใชเทคโนโลยีเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่หลากหลายรูปแบบ

เพื่อการแสวงหาความรู เพื่อการศึกษาคนควาวิจัย เพื่อการริเริ่มสรางสรรค เพื่อการรายงาน การสรุป และการนําเสนอผลการเรียนรูหรือการวิจัย ทั้งเปนรายบุคคลและเปนกลุม

กลยุทธการสอน แนวคิด - การจัดการสอนที่มีการฝกปฏิบัติเปนลําดับข้ันตอนตามที่วางแผนไว พรอมทั้งใหขอมูลยอนกลับและคําแนะนําในการปรับปรุงทักษะที่จําเปนทางดานการคํานวณอยางงายๆ แกนักศึกษา เพื่อปรับปรุงทักษะที่จําเปนทางคณิตศาสตรอยางงายๆ และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร นักศึกษาที่เขาเรียนในระดับอุดมศึกษาอาจมีความสามารถตางกันในการใชทักษะดานการวิเคราะหเชิงตัวเลขและการสื่อสาร ซึ่งบางคนตองไดรับการสอนเปนพิเศษ ทั้งน้ีอาจทําไดโดยการ

Page 32: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

๓๒

สอนโดยตรงรวมกับการฝกปฏิบัติ และควรให ความชวยเหลือในการพัฒนาทักษะเหลาน้ีตามมาตรฐานผลการเรียนรูที่คาดหวังซึ่งสูงข้ึนตามลําดับ โดยมีกลยุทธการสอนในหลักสูตรน้ีดังน้ี ๑) กําหนดใหมีรายวิชาสถิติวิเคราะหเพื่อการวิจัย (statistical analysis for research) เปนวิชา

เลือก เพื่อใหโอกาสผูเรียนไดฝกปฏิบัติการเก็บขอมูลเชิงปริมาณและขอมูลเชิงคุณภาพจากภาคสนาม การใชโปรแกรมวิเคราะหขอมูลที่เหมาะสมภายใตการฝกปฏิบัติของผูเช่ียวชาญทางสถิติ เชน โปรแกรม SPSS window, โปรแกรม LISREL, และโปรแกรม AMOS สําหรับการวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณ โปรแกรม Atlas สําหรับการวิเคราะหขอมูลเชิงคุณภาพ การแปลความหมายจากผลการวิเคราะหและนําเสนอไดอยางถูกตอง

๒) ใชเทคโนโลยีดิจิตอลใหเปนประโยชนเพื่อการเรียนรู การสื่อสาร และการบริหารจัดการ เชน จัดทํา Blog นําเสนอบทความหรือผลงานทางวิชาการเผยแพรทางอินเตอร จัดทํา line และ facebook เพื่อการสื่อสารประชาสัมพันธสูสาธารณะ การจัดทํา line และ facebook ของรุน ของทุกรุน ของฝายบริหาร ของครูผูสอนกับนักศึกษา และของกลุมเฉพาะกิจ เพื่อการมอบหมายงาน สงงาน ปรึกษาหารือ แสดงความเห็น สื่อสารบริหารจัดการ และอื่นๆ ภายในกลุมที่จัดต้ัง รวมทั้งการใช email ของแตละคน และของกลุม

กลยุทธการประเมินผล ๑) ตรวจสอบจํานวนนักศึกษาที่เลือกเรียนรายวิชาสถิติวิเคราะหเพื่อการวิจัย (statistical analysis

for research) และใชหลักการประเมินผลตามสภาพจริง (authentic assessment) โดยใชแบบการประเมินพฤติกรรมที่สะทอนถึงความสามารถของนักศึกษาในการใชโปรแกรมคอมพิวเตอรเพื่อการวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณและขอมูลเชิงคุณภาพจากภาคสนามเพื่อการวิจัยไดอยางเหมาะสม

๒) ประเมินผลตามสภาพจริง (authentic assessment) โดยตรวจสอบผลงานที่เกิดข้ึนจากการใชเทคโนโลยีดิจิตอลใหเปนประโยชนเพื่อการเรียนรู การสื่อสาร และการบริหารจัดการ

Page 33: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

๓๓

แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบตอมาตรฐานผลการเรียนรูจากหลักสูตรสูรายวิชา ของหลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา (ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๘)

ความรับผิดชอบหลัก ความรับผิดชอบรอง

รายวิชา

คุณธร

รมแล

ะจริย

ธรรม

ความ

รู

ทักษะ

ทางป

ญญ

ทักษะ

ความ

สัมพัน

ระหว

างบุค

คลแล

คว

ามรับ

ผิดชอ

ทักษะ

การว

ิเครา

ะห

สื่อสา

ร แล

ะเทค

โนโล

ย ี

๑ ๒ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๑ ๑ ๒ ๑ ๒

วิชาเสริมพื้นฐาน ไมนับหนวยกิต

GS ๓๒๐๑ พ้ืนฐานทางการศึกษา

GS ๓๒๐๒ พ้ืนฐานทางการบริหารการศึกษา

หมวดวิชาบังคับ 18 หนวยกิต

GS ๓๓๐๑ วิพากษการศึกษาไทยในสังคมโลกและภูมิภาค

GS ๓๓๐๒ แนวโนมและนวัตกรรมเพ่ือการบริหารการศึกษา

GS ๓๓๐๓ พุทธศาสตรเพ่ือการบริหารการศึกษา

GS ๓๓๐๔ ภาวะผูนําและธรรมาภิบาลท่ีดีในการบริหารฯ

GS ๓๓๐๕ การวิจัยทางการบริหารการศึกษา

GS ๓๓๐๖ ปฏิบัติการวิชาชีพบริหารการศึกษา

หมวดวิชาเลือก ไมนอยกวา 9 หนวยกิต

GS ๓๔๐๑ การบริหารทรัพยากรมนุษย ฯ

GS ๓๔๐๒ มนุษยสัมพันธกับพฤติกรรมองคการฯ

GS ๓๔๐๓ การพัฒนาวิชาชีพทางการศึกษา

GS ๓๔๐๔ การพัฒนาคุณภาพของครูและผูบริหาร

GS ๓๔๐๕ ภาวะผูนําเพ่ือการเรียนรู

GS ๓๔๐๖ การวิเคราะหและประเมินนโยบายทางการศึกษา

GS ๓๔๐๗ การเปลี่ยนแปลงองคการทางการศึกษา

GS ๓๔๐๘ การบริหารและการนําสถานศึกษาสูความสําเร็จ

GS ๓๔๐๙ การพัฒนาเคาโครงวิจัยทางการบริหารการศึกษา

GS ๓๔๑๐ การศึกษาอิสระทางการบริหารการศึกษา

GS ๓๔๑๑ สถิติข้ันสูงเพ่ือการวิจัยทางการบริหารการศึกษา

GS ๓๔๑๒ สถิติวิเคราะหเพ่ือการวิจัย

วิทยานิพนธ จํานวน 36 หนวยกิต

GS ๓๙๐๒ ดุษฎีนิพนธ

รวมทั้งหมด 63 หนวยกิต

Page 34: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

๒๙

หมวดที ่5 หลักเกณฑในการประเมินผลนักศึกษา

๑. กฎระเบียบหรือหลักเกณฑในการใหระดับคะแนน

การใหคะแนน หรือเกรด ใหเปนไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วาดวยการศึกษาใน

ระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๔ หรือระเบียบที่ประกาศใหม

๒. กระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา

อาจารยผูสอนแตละรายวิชา ทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธ์ิของนักศึกษาโดย

๒.๑ กระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาขณะท่ีเปนนักศึกษา

๑) เทียบเคียงผลการเรียนของนักศึกษาที่เรียนในรายวิชา ซึ่งอาจเปนตางกลุม ตางช้ันป ตางคณะ

แลวแตกรณี เพื่อนําผลมาใชในการปรับปรุงรายวิชา

๒) ทบทวนเน้ือหารายวิชาทุกปการศึกษา โดยอาจพิจารณารวมกับอาจารยผูสอนรายวิชาอื่นที่มี

เน้ือหาใกลเคียงกัน เพื่อไมใหเกิดความซ้ําซอน หรือใหเกิดความสัมพันธและตอเน่ือง แลวแตกรณี

และทบทวนเน้ือหาโดยเทียบเคียงกับรายวิชาของสถาบันอื่น หรือเทียบเคียงกับตําราหรือ

บทความทางวิชาการหรือผลการวิจัย เพื่อใหเกิดการพัฒนาเน้ือหาใหทันสมัยและมีมาตรฐานทาง

วิชาการ

๓) ทบทวนและวิเคราะหจากผลงานการทําดุษฎีนิพนธของนักศึกษา

๒.๒ กระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาหลังจากจบการศึกษา

๑) จากการไดงานทําตรงตามสาขาวิชาของนักศึกษา

๒) จากความพึงพอใจในการทํางาน

๓) จากความกาวหนาในตําแหนงงาน

๓. เกณฑการสําเร็จการศึกษาตามหลักสูตร

๑) สอบผานการสอบวัดคุณสมบัติ (qualifying examination) เพื่อเปนผูมีสิทธ์ิของทําดุษฎีนิพนธ

๒) เสนอดุษฎีนิพนธและผานการสอบปากเปลาข้ันสุดทายตอคณะกรรมการสอบ ซึ่งประกอบดวย

ผูทรงคุณวุฒิจากภายในและภายนอกสถาบัน

๓) ผลงานดุษฎีนิพนธหรือสวนหน่ึงของผลงานดุษฎีนิพนธของนักศึกษาจะตองไดรับการตีพิมพ หรืออยาง

นอยดําเนินการใหผลงานหรือสวนหน่ึงของผลงานไดรับการยอมรับใหตีพิมพในวารสารหรือสิ่งพิมพ

ทางวิชาการที่มีกรรมการภายนอกมารวมกลั่นกรอง (peer review) กอนการตีพิมพ และเปนที่

ยอมรับในสาขาวิชาน้ัน จึงจะถือวาผานโดยสมบูรณ และบัณฑิตวิทยาลัยไดประกาศใหเปนผูสําเร็จ

การศึกษา โดยอนุมัติของมหาวิทยาลัย

๔) ผานกิจกรรมภาคบังคับตามเงื่อนไขที่กําหนดของหนวยงานที่จัดการศึกษา

Page 35: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

๓๐

หมวดที่ 6 การพัฒนาคณาจารย

๑. การเตรียมการสําหรับอาจารยใหม

๑.๑ การใหเขารับการอบรมตามหลักสูตรการพัฒนาอาจารยใหมของมหาวิทยาลัย ซึ่งเปนหลักเกณฑให

อาจารยใหมทุกคนตองเขารับการอบรม ใหมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับหลักสูตรและการบริหาร

วิชาการของมหาวิทยาลัย บทบาทหนาที่ของอาจารยมหาวิทยาลัยและจรรยาบรรณครู และใหมี

ทักษะเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ การสอนสอดแทรกคุณธรรมและ

จริยธรรม และการสอนโดยใชสื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศ

๑.๒ การมอบหมายใหมีอาจารยพี่เลี้ยงทําหนาทีใ่หคําแนะนําและเปนที่ปรึกษาในการจัดการเรียนการสอน

๑.๓ การช้ีแจงและแนะนําหลักสูตร รายวิชาในหลักสูตร

๑.๔ การมอบหมายใหอาจารยใหมศึกษาคนควา จัดทําเอกสารที่เกี่ยวของกับการสอน ในหัวขอหน่ึงหรือ

หลายหัวขอที่อาจารยใหมมีความรูและความถนัด เพื่อทดลองทําการสอนภายใตคําแนะนําของ

อาจารยพี่เลี้ยง หรือประธานหลักสูตร

๑.๕ กําหนดใหอาจารยใหมเขารวมสังเกตการณการสอนของอาจารยในหลักสูตร

๒. การพัฒนาความรูและทักษะใหแกอาจารย

๒.๑ การพัฒนาทักษะการจัดการเรียนการสอน การวัด และการประเมินผล ๑) กําหนดใหอาจารยตองเขารับการอบรมเพื่อพัฒนาตนเองดานการจัดการเรียนการสอน การวัด

และการประเมินผล ตามความตองการของอาจารย และเปนไปตามนโยบายของมหาวิทยาลัย ซึ่งมหาวิทยาลัยมีการเปดหลักสูตรอบรมเพื่อพัฒนาอาจารยในหัวขอตางๆ ที่เกี่ยวของกับการจัดการเรียนการสอน การวิจัย การผลิตผลงานทางวิชาการประจําทุกป

๒) การจัดใหมีการสอนแบบเปนทีม ซึ่งจะสงเสริมโอกาสใหอาจารยไดมีประสบการณการสอนรวมกับคนอื่น รวมถึงมีโอกาสไดเปนผูรับผิดชอบรายวิชา ผูประสานงาน และผูรวมทีมการสอน

๓) การสงเสริมหรือสรางโอกาสใหมีการแลกเปลี่ยนเรียนรูประสบการณดานการจัดการเรียนการสอนระหวางอาจารยในหลักสูตร หรือทําวิจัยการเรียนการสอนที่สามารถนําไปเผยแพรในการประชุมวิชาการที่มีการจัดการเรียนการสอนในสาขาวิชาเดียวกันของหลาย ๆ สถาบัน

๒.๒ การพัฒนาวิชาการและวิชาชีพดานอ่ืนๆ ๑) การสงเสริมใหอาจารยเขารวมการอบรม การประชุมสัมมนาในสาขาวิชาการหรือวิชาชีพที่จัดทั้ง

ภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย อยางนอยปละ 1 ครั้ง ๒) การสงเสริมใหอาจารยผลิตผลงานทางวิชาการในรูปแบบตาง ๆ และการนําเสนอผลงานในการ

ประชุมวิชาการในสาขาวิชาการหรือวิชาชีพ อยางนอยใหมีผลงานการเขียนหรือการนําเสนอปละ 1 เรื่อง

Page 36: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

๓๑

หมวดที่ 7 การประกันคุณภาพหลักสูตร

๑. การบริหารหลักสูตร การจัดการหลักสูตรของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย กําหนดใหทุกหลักสูตรมีคณะกรรมการ

บริหารหลักสูตร ซึ่งตองทําหนาที่ดังน้ี ๑.๑ พัฒนาและปรับปรุงเน้ือหาหลักสูตรและรายวิชาใหมีความทันสมัยอยูเสมอ ๑.๒ จัดหาและกําหนดอาจารยผูสอนที่มีความรูความสามารถและคุณสมบัติตรงตามรายวิชาที่สอน ๑.๓ จัดตารางการเรียนการสอน ตารางสอบ ตารางการฝกปฏิบัติ ตามที่กําหนดในหลักสูตร ๑.๔ ควบคุม กํากับ ติดตาม และประเมินผลการจัดการเรียนการสอนของอาจารยใหมีคุณภาพและเปนไป

ตามวัตถุประสงคของหลักสูตรและรายวิชา ๑.๕ การกําหนดอาจารยที่ปรึกษาดุษฎีนิพนธที่มีความรูความสามารถตามหัวขอที่นักศึกษาสนใจ และ

กํากับติดตามใหการทําดุษฎีนิพนธของนักศึกษาเปนไปตามเปาหมาย ๑.๖ สงเสริมและจัดใหมีการพัฒนาคุณภาพของอาจารยดวยวิธีการตาง ๆ เชน การจัดประชุมวิชาการ การ

สงเสริมการผลิตผลงานทางวิชาการ ๑.๗ สงเสริมและจัดใหมีการพัฒนาคุณภาพบัณฑิตตามเปาหมายคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค ๑.๘ ติดตามผลหลักสูตร โดยศึกษาจากผูมีสวนไดสวนเสีย เชน ผูใชบัณฑิต ศิษยเกา อาจารยและ

นักศึกษาปจจุบัน โดยปรับปรุงเน้ือหารายวิชาและปรับปรุงหลักสูตรทุก 5 ป

๒. การบริหารทรัพยากรการเรียนการสอน

๒.๑ การบริหารงบประมาณ

คณะกรรมการบริหารหลักสูตรจัดทําแผนการใชจายงบประมาณประจําป จากที่ไดรับจัดสรร ดังน้ี

คาวัสดุตําราและสื่อการเรียนการสอน ครุภัณฑ คาใชจายในการพัฒนาอาจารย และการพัฒนานักศึกษา

๒.๒ ทรัพยากรการเรียนการสอนท่ีมีอยูเดิม

๑) หนังสือในหองสมุดมหาวิทยาลัย

ภาษาไทย จํานวน 3,054 รายการ

ภาษาตางประเทศ จํานวน 276 รายการ

๒) หนังสือในหองสมุดคณะ

ภาษาไทย จํานวน 1,145 รายการ

ภาษาตางประเทศ จํานวน 768 รายการ

๓) ฐานขอมูลวารสารและวิทยานิพนธอิ เล็กทรอนิกส (E-database/E-Journal/E-thesis) ประกอบดวย

- ฐานขอมูลวารสารอิเล็กทรอนิกส Project Muse สืบคนที่ http://muse.jhu.edu/search /search.cgi

- ฐานขอมูลวารสารอิเล็กทรอนิกส Oxford Journals Online สืบคนที่ http://www.Oxf ord journals.org

Page 37: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

๓๒

- Emerald Management Xtra สืบคนที่ http://www.emeral dinsight.com/ft - JSTOR The Scholarly Journal Archive: Business สืบคนที่ http://www.jstor.org/ - Cam bridge Journals Online สืบคนที่ http://www.journals.cambridge. org/ - Blackwell Journals Online สืบคนที่ http://www3.interscience.wiley.com/ - Wilson OmniFile: Full Text Select สืบคนที่ http://202. 28.92.194/hwwmds/

main.nsp?view=HWWMDS - H.W.Wilson [บอกรับโดยสกอ.] สืบคนที่ http://vnw eb.hwwilsonweb.com/hww/

jumpstart .jhtml - Science Direct [บอกรับโดยสกอ.] สืบคนทีh่ttp:// www.sciencedirect.com - LINK (Springer) สืบคนที่ http:// www .springerlink.com/home/main. mpx - ฐานขอมูล JCR (คน Impact factor วารสารภาษา ตางประเทศ) สืบคนที ่

http://adminapps. isiknowledge.com/JCR/JCR? SID=S1jA4bGjEh3 PpPGCd9 - SI Web of Science [บอกรับโดยสกอ.] สืบคนที่ http://isiknow ledge.com/ - ฐานขอมูล ABI/INFORM สืบคนที่ ttp://www.bellhowell.infolearning.com/

pqdauto - ERIC (Education Resources Information Center) สืบคนที่ http://www. eric.ed

.gov/ - Education Research Complete(ThaiLIS) สืบคนที่ https://search.ebscohost. com - ฐานขอมูลวิทยานิพนธภาษา ตางประเทศ CHE PDF Dissertation Full Text (๑๗)

ฐานขอมูลวิทยานิพนธภาษาตางประเทศ Dissertation Abstracts Online สืบคนที ่http://proquest.umi.com/login

- วิทยานิพนธ การคนควาอิสระ มหาวิทยาลัยของไทย สืบคนที่ http:// dcms.thailis.or.th/

๔) หนังสืออิเล็กทรอนิกส (E-books) ประกอบดวย (๑) Net-Library สืบคนที่ http://www. net library.com/ (๒) E-book on Science Direct สืบคนที่http://www.sciencedirect.com (๓) LINK (Springer) สืบคนที่ http://www.springerlink.com/home/main.mpx (๔) Wiley Online Library สืบคน ที่ http://www3.interscience.wiley.com/

๒.๓ การจัดหาทรัพยากรการเรียนการสอนเพ่ิมเติม

เสนอแนะใหหองสมุดมหาวิทยาลัยจัดหาหนังสือเฉพาะสาขาวิชาการบริหารการศึกษาเพิ่มเติม

๒.๔ การประเมินความเพียงพอของทรัพยากร

การติดตามและประเมินผลความเพียงพอของตํารา หนังสือ วารสาร จากความถ่ีในการยืม การใช ภาคเรียนละ ๑ ครั้ง

Page 38: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

๓๓

๓. การบริหารคณาจารย

๓.๑ การรับอาจารยใหม

๑) จบการศึกษาระดับปริญญาเอกสาขาวิชาการบริหารการศึกษา หรือสาขาวิชาที่สัมพันธ

๒) สอบแขงขันตามกระบวนการรับบุคลากรของมหาวิทยาลัย

๓) ทดสอบความสามารถในการสอนและการใชสื่อ

๔) ตรวจสอบประวัติ

๓.๒ การมีสวนรวมของคณาจารยในการวางแผน การติดตาม และทบทวนหลักสูตร

คณาจารยทุกคนในหลักสูตร มีสวนรวมในการกําหนดแผนการจัดการเรียนการสอนในแตละภาค

การศึกษา การทบทวนเน้ือหารายวิชา การแลกเปลี่ยนขอมูลเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอน คุณภาพและ

พฤติกรรมของนักศึกษา ตลอดจนการวัดและประเมินผลทางการศึกษา โดยการจัดใหมีก ารประชุม

คณะกรรมการบริหารหลักสูตรเปนประจําทุกเดือนอยางตอเน่ือง

๓.๓ การแตงต้ังคณาจารยพิเศษ

หลักสูตรมีการเชิญอาจารยพิเศษที่มีความเช่ียวชาญเฉพาะดานจากคณะอื่น จากสถาบันอื่น ทั้ง

ภาครัฐและเอกชนมาสอน เปนอาจารยที่ปรึกษารวมหรือกรรมการสอบดุษฎีนิพนธของนักศึกษา เพื่อให

นักศึกษาไดมีความรูเฉพาะทางเกี่ยวกับการบริหารการศึกษาและเรียนรูจากผูมีประสบการณตรง

๓.๔ การแตงต้ังอาจารยควบคุมดุษฎีนิพนธ

๑) ตองมีคุณวุฒิและคุณสมบัติตรงตามสาขาวิชาหรือสาขาวิชาที่สัมพันธกัน

๒) ตองมีสัดสวนจํานวนนักศึกษาตามเกณฑมาตรฐานที่ สกอ. กําหนด

๓) อาจารยผูควบคุมดุษฎีนิพนธหลักตองเปนอาจารยประจําหลักสูตรหรืออาจารยประจําที่มีคุณวุฒิ

และคุณสมบัติตรงตามสาขาวิชาหรือสาขาวิชาที่สัมพันธกัน

๔. การบริหารบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน

๔.๑ การกําหนดคุณสมบัติเฉพาะสําหรับตําแหนง การกําหนดคุณสมบัติเฉพาะสําหรับตําแหนงบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน เปนไปตามที่บัณฑิต

วิทยาลัยหรือหนวยงานที่จัดการศึกษากําหนด และตามที่คณะกรรมการบริหารหลักสูตรเห็นชอบ

๔.๒ การเพ่ิมทักษะความรูเพ่ือการปฏิบัติงาน การพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุนการเรียนการสอนเขารับการฝกอบรมเปนระยะๆ

๕. การสนับสนุนและการใหคําแนะนํานักศึกษา

๕.๑ การใหคําปรึกษาดานวิชาการและอ่ืนๆ แกนักศึกษา คณะกรรมการบริหารหลักสูตรมีการแตงต้ังอาจารยที่ปรึกษาทางวิชาการใหแกนักศึกษาทุกคนเพื่อทํา

หนาที่ใหคําปรึกษาแนะนําดานการเรียน โดยอาจารยหน่ึงคนตอนักศึกษา ๑๐ คน และอาจารยตองกําหนดช่ัวโมงใหคําปรึกษาแกนักศึกษา อยางนอยสัปดาหละ ๓ ช่ัวโมง และการแตงต้ังอาจารยที่ปรึกษาดุษฎีนิพนธตามเกณฑมาตรฐานและระเบียบของมหาวิทยาลัย และดําเนินการตอไปน้ี

Page 39: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

๓๔

๑) มีการปฐมนิเทศนักศึกษาใหม และมีการจัดทําคูมือสําหรับนักศึกษา ๒) มีอาจารยประจําหลักสูตรรับผิดชอบเปนที่ปรึกษาทั่วไปใหนักศึกษาที่รับใหมอยางกระจายทั่วถึง ๓) นักศึกษามีการจัดระบบการบริหารตนเอง และการใหคําแนะนําปรึกษากันเอง ตลอดจนการจัด

เครือขายประสานความรวมมือระหวางรุน ทั้งศิษยเกาและนักศึกษาปจจุบัน ๔) มีการใช e-mail, line, facebook, twitter, blog มาใชใหเปนประโยชนเปนปกติวิสัยทั้งกรณี

การติดตอสื่อสารระหวางอาจารยกับนักศึกษา และระหวางนักศึกษาดวยกันเอง ๕) มีฐานขอมูลนักวิชาการหรือบุคลากรทางการบริหารการศึกษาเพื่อการศึกษา เรียนรู หรือปรึกษา

หาขอเสนอแนะอยางนอย ๓๐ ราย และมีการจัดหาเพิ่มเติมอีกอยางนอยภาคเรียนละ ๕ ราย

๕.๒ การอุทธรณของนักศึกษา

ในกรณีที่นักศึกษาไดรับคะแนนไมเปนธรรม หรือมีความบกพรองในการใหคะแนนของอาจารยในรายวิชาใด นักศึกษาสามารถย่ืนอุทธรณ และมีคณะกรรมการตรวจสอบใหความถูกตองและช้ีแจงเหตุผลได

๖. ความตองการของตลาดแรงงาน สังคม และ/หรือความพึงพอใจของผูใชบัณฑิต

การศึกษาความตองการของตลอดงาน สังคม และความพึงพอใจของผูใชบัณฑิต ดําเนินการดังน้ี ๑) การศึกษาความตองการของตลาดงานและผูใชบัณฑิต กอนการปรับปรุงหลักสูตรทุกรอบ ๕ ป ๒) การสํารวจความพึงพอใจของผูใชบัณฑิต เพื่อใชเปนขอมูลในการปรับปรุงหลักสูตรครั้งตอไป ๓) มีการประชาสัมพันธเพื่อมีผูสมัครไมนอยกวา ๓ เทาของจํานวนที่ประกาศรับสมัครในแตละครั้ง ๔) มีการศึกษาวิเคราะหทิศทางการพัฒนาและความตองการของสังคม หนวยงาน และกลุมเปาหมาย

เพื่อการปรับปรุงหลักสูตรใหสอดคลองทุกระยะ ๕ ป นับต้ังแตเริ่มใชหลักสูตรฉบับน้ี ๕) มีการติดตามผลนักศึกษาภายหลังสําเร็จการศึกษา ๓ ป เพื่อดูความกาวหนาในตําแหนงหนาที่การงาน

การเปนที่ยอมรับของเพื่อนรวมงาน รางวัลเกียรติยศที่ไดรับ และอื่นๆ

๗. ตัวบงชี้ผลการดําเนินงาน (Key Performance Indicators)

ตามรายการขางลาง หลักสูตรมีตัวบงช้ีที่ ๑ – ๕ ตองมีผลการดําเนินงานบรรลุตามเปาหมายติดตอกันไม

นอยกวา ๒ ป และตัวบงช้ีที่ ๖ – ๑๒ ตองมีผลการดําเนินงานบรรลุเปาหมายไมนอยกวา ๘๐% ของตัวบงช้ี

รวม โดยพิจารณาจากจํานวนตัวบงช้ีบังคับและตัวบงช้ีรวมในแตละป ดังตารางในหนา ๓๕

Page 40: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

๓๕

ตัวบงชี้และเปาหมาย ปที่

๑ ๒ ๓ ๔ ๕

๑) อาจารยประจําหลักสูตรอยางนอยรอยละ ๘๐ มีสวนในการประชุมเพื่อวางแผนติดตามและทบทวนการดําเนินงานของหลักสูตร

x x x x x

๒) มีรายละเอียดของหลักสูตรตามแบบ มคอ. ๒ ที่สอดคลองกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแหงชาติ หรือมาตรฐานคุณวุฒิสาขาวิชา (ถามี)

x x x x x

๓) มีรายละเอียดของรายวิชา และรายละเอียดของประสบการณภาคสนาม (ถามี) ตามแบบ มคอ. ๓ และ มคอ. ๔ อยางนอยกอนการเปดสอนในแตละภาคการศึกษาใหครบทุกรายวิชา

x x x x x

๔) จัดทํารายงานผลการดําเ นินการของรายวิชา และรายงานผลการดําเนินการประสบการณภาคสนาม(ถามี) ตามแบบ มคอ. ๕ และ มคอ. ๖ ภายใน ๓๐ วันหลังส้ินสุดภาคการศึกษา ครบทุกวิชา

x x x x x

๕) จัดทํารายงานผลการดําเนินการหลักสูตร ตามแบบ มคอ. ๗ ภายใน ๖๐ วัน หลังส้ินสุดปการศึกษา

x x x x x

๖) มีการทวนผลสอบสัมฤทธ์ิของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรูที่กําหนดใน มคอ. ๓ และ มคอ. ๔ (ถามี) อยางนอยรอยละ ๒๕ ของรายวิชาที่เปดสอนในแตละปการศึกษา

x x x x x

๗) มีการพัฒนา หรือ ปรับปรุงการเรียนการสอน กลยุทธการสอน หรือการประเมินผลการเรียนรู จากผลการประเมินการดําเนินการที่รายงานใน มคอ. ๗ ในปที่ผานมา

x x x x

๘) อาจารยใหม (ถามี) ทุกคนไดรับการปฐมนิเทศหรือคําแนะนําดานการจัดการเรียนการสอน

x x x x x

๙) อาจารยประจําทุกคนไดรับการพัฒนาทางวิชาการ และ/หรือ วิชาชีพ อยางนอยปละ ๑ ครั้ง

x x x x x

๑๐) จํานวนบุคลากรสายสนับสนุนการเรียนการสอน (ถามี) ไดรับการพัฒนาวิชาการ และ/หรือ วิชาชีพ ไมนอยรอยละ ๕๐ ตอป

x x x x x

๑๑) ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปสุดทาย/บัณฑิตใหมที่มีตอคุณภาพหลักสูตร เฉล่ียไมนอยกวา ๓.๕ จากคะแนนเต็ม ๕

x x

๑๒) ระดับความพึงพอใจของผูใชบัณฑิตที่มีตอบัณฑิตใหม เฉล่ียไมนอยกวา ๓.๕ จากคะแนนเต็ม ๕

x

รวมตัวบงชี้ (ขอ) ในแตละป ๙ ๑๐ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ตัวบงชี้บังคับ (ขอที)่ ๑-

๕ ๑-๕

๑-๕

๑-๕

๑-๕

ตัวบงชี้ตองผานรวม (ขอ) ๙ ๑๐ ๑๐ ๑๑ ๑๒

เกณฑประเมิน

หลักสูตรไดมาตรฐานตามกรอบมาตรฐานคุณวุมิฯ ตองผานเกณฑประเมิน ดังน้ี ตัวบงช้ีบังคับ (ตัวบงช้ีที่ ๑-๕) มี

ผลการดําเนินการบรรลุตามเปาหมาย และมีจํานวนตัวบงช้ีที่มีผลการดําเนินการบรรลุเปาหมาย ไมนอยกวา

๘๐% ของตัวบงช้ีรวม โดยพิจารณาจากจํานวนตัวบงช้ีบังคับและตัวบงช้ีรวมในแตละป

Page 41: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

๓๖

หมวดที ่๘ การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของหลักสูตร ๑. การประเมินประสิทธิผลของการสอน

๑.๑ การประเมินกลยุทธการสอน ๑) การประชุมรวมของอาจารยในภาควิชา/สาขาวิชาเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ขอคําแนะนํา

ขอเสนอแนะจากอาจารยที่มีความรูและประสบการณ หรือเพื่อนรวมงาน ๒) การแลกเปลี่ยนโดยสนทนากับนักศึกษา เพื่อสะทอนผลการจัดการเรียนการสอนแตละรายวิชา ๓) การประเมินจากผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักศึกษา เปรียบเทียบพัฒนาการหรือความ

เปลี่ยนแปลงที่เกิดข้ึนจากการใชกลยุทธการสอนที่แตกตางกัน ๔) การทําวิจัยในช้ันเรียน เพื่อประเมินภาพรวมของการจัดการเรียนการสอนในแตละรายวิชาหรือ

กลุมรายวิชา ๑.๒ การประเมินทักษะของอาจารยในการใชแผนกลยุทธการสอน

๑) การประเมินประสิทธิภาพการสอนของอาจารยโดยนักศึกษา ทุกสิ้นภาคการศึกษา ตามระบบของมหาวิทยาลัย

๒) การประเมินการสอนของอาจารยโดยประธานหลักสูตร หรือเพื่อนรวมงานตามระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานประจําปของอาจารย/พนักงานสายผูสอน

๒. การประเมินหลักสูตรในภาพรวม

๒.๑ การประเมินหลักสูตร โดยนักศึกษาปจจุบันและอาจารย เพื่อนําขอมูลมาทบทวนและปรับปรุงการจัดการแผนการเรียน การจัดการเรียนการสอน และเน้ือหารายวิชาที่อาจซ้ําซอน ไมทันสมัย ยาก/งาย เปนตน

๒.๒ การประเมินหลักสูตรโดยศิษยเกา เพื่อติดตามผลการนําความรูและประสบการณที่ไดรับจากการศึกษาในหลักสูตรไปใชในการทํางาน

๒.๓ การประเมินผลโดยผูใชบัณฑิต เพื่อสํารวจความพึงพอใจและความคิดเห็นและขอเสนอแนะจากผูใชบัณฑิตเกี่ยวกับคุณภาพของบัณฑิตที่จบจากหลักสูตรน้ี

๒.๔ ประเมินผลการจัดการหลักสูตร มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ซึ่งดําเนินการทุกสิ้นปการศึกษา

๓. การประเมินผลการดําเนินงานตามรายละเอียดหลักสูตร

การประเมินผลการจัดการหลักสูตร เปนไปตามตัวบงช้ีผลการดําเนินการตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ เพื่อการประกันคุณภาพหลักสูตรและการเรียนการสอน และเกณฑการประเมินประจําป และเปนไปตามระบบ

๔. การทบทวนผลการประเมินและวางแผนปรับปรงุ

๔.๑ อาจารยประจําวิชา อาจารยผูสอน นําผลการประเมินประสิทธิภาพการสอนของอาจารยโดยนักศึกษา ผูบังคับบัญชา และ/หรือเพื่อนรวมงาน แลวแตกรณี มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาที่ตนรับผิดชอบ

Page 42: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

๓๗

๔.๒ คณะกรรมการบริหารหลักสูตร นําผลประเมินตามระบบการจัดการหลักสูตรของมหาวิทยาลัย ซึ่งดําเนินการทุกสิ้นปการศึกษามาทบทวนและวิเคราะห พรอมนําเสนอแนวทางปรับปรุงแกไขในจุดที่มีขอบกพรองสําหรับปการศึกษาถัดไป

๔.๓ คณะกรรมการบริหารหลักสูตร นําผลประเมินภาพรวมของหลักสูตรโดยนักศึกษาปจจุบันและอาจารย โดยศิษยเกา และโดยผูใชบัณฑิต เพื่อทบทวนและพิจารณาในการนําไปแกไขปรับปรุงหลักสูตร ตามรอบระยะเวลาที่กําหนดในระบบประกันคุณภาพการศึกษาของมหาวิทยาลัย

Page 43: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

๓๘

ภาคผนวก

Page 44: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

๓๙

ภาคผนวก ก คําอธิบายรายวิชา

Page 45: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

๔๐

GS ๓๒๐๑ รายวิชาพ้ืนฐานตามเง่ือนไขของหลักสูตร พื้นฐานทางการศึกษา ๓ (๓-๐-๖)

Foundations of Education ทําความเขาใจในปรัชญาทางการศึกษา ประวัติของการศึกษา แนวคิดการปฏิรูปทาง

การศึกษา ทัศนะนักการศึกษากับความเปนวิชาชีพ To understand in educational philosophy, history of education,

concepts for educational reform, and perspectives of educator as a professional.

GS ๓๒๐๒ พื้นฐานทางการบริหารการศึกษา ๓ (๓-๐-๖) Fundamental of Educational Administration

แนวคิดพื้นฐานทางการบริหาร เชน ความหมาย หนาที่ ระดับ ทักษะ บทบาท และจริยธรรม วิวัฒนาการของทฤษฎีการบริหารและการประยุกตใช คือ ยุคด้ังเดิม ยุคทัศนะเชิงพฤติกรรม ยุคทัศนะเชิงปริมาณ ยุคทัศนะรวมสมัยปจจุบัน หนาที่ทางการบริหาร ประกอบดวย แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการวางแผน การจัดองคการ การนํา และการควบคุมคุณภาพองคการ บางประเด็นเพื่อการบริหารการศึกษา เชน วัฒนธรรมและบรรยากาศองคการ องคการและความเปนองคการวิชาชีพ ความเปนโรงเรียนที่มีประสิทธิผล การพัฒนาครูและผูบริหารโรงเรียน การจัดการความรู ผูบริหารกับการบริหารหลักสูตรและการสอน การบริหารเพื่อการเปลี่ยนแปลงและนวัตกรรม

Basic concepts of management such as definition, function, level, skill, role, and ethics. Evolution of management theory and application, they are classical viewpoint, behavioral viewpoint, quantitative viewpoint, and current contemporary viewpoint. Management functions include concepts and theories about planning, organizing, leading and controlling the quality of the organization. Some issues for educational management such as organizational culture and climate, organization and professional organization, school effectiveness, professional development for teachers and school administrators. knowledge management, administrators and managing curriculum and instruction, and management for change and innovation.

GS ๓๓๐๑ รายวิชาบังคับ วิพากษการศึกษาไทยในสังคมโลกและภูมิภาค ๓ (๓-๐-๖) Critique of Thai Education in Global and Regional Society

ตัวช้ีวัดคุณภาพการศึกษาในระดับสากลและภูมิภาคจากสถาบันการจัดอันดับ

การศึกษาโลก ระบบการบริหารการศึกษาของสถานศึกษาที่ดีเดนในระดับตางๆ ในภูมิภาค

และนานาประเทศ วิเคราะหและสังเคราะหในเชิงเปรียบเทียบกับระบบการบริหารการศึกษา

ของสถานศึกษาในประเทศไทยในมิติตางๆ ที่สนใจ เชน หลักและกระบวนการ การบริหาร

Page 46: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

๔๑

จัดการ คุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณ การวิจัย และการบริหารดานตางๆ เชน

วิชาการ หลักสูตร ทรัพยากร บุคคล กิจการนักเรียน ธุรการ การเงิน พัสดุ อาคารสถานที่

เทคโนโลยีสารสนเทศ นิเทศการศึกษา ประกันคุณภาพการศึกษา ประชาสัมพันธและ

ความสัมพันธชุมชน รวมทั้งระเบียบและกฎหมาย เปนตน

The indicators of quality education in the region and internationally

from the world ranking institutions. Studies the educational administration

system of outstanding educational setting in the region and internationally.

Analysis and synthesis in comparison with the Thai educational administration

system in the various dimensions of interest e.g. principle and process,

management, morality, ethics, ethics of code, research, and administrative

areas such as academic, curriculum, resources, personnel, student affairs,

general affairs, fiscal affairs, facilities, building and space, information

technology supplies, educational supervision, educational quality assurance,

public relations, and community relations, etc.

GS ๓๓๐๒ แนวโนมและนวัตกรรมเพ่ือการบริหารการศึกษา ๓ (๓-๐-๖) (Trend and Innovation for Educational Administration)

ความแตกตางระหวางการบริหารและการจัดการ วิพากษจุดเดน จุดดอย โอกาส และ

ปจจัยคุกคามการบริหารการศึกษาไทย สืบคนแนวโนมและนวัตกรรมเพื่อการบริหารการศึกษา

ทั้งจากระดับโลก ภูมิภาค และภายในประเทศ วิเคราะห สังเคราะห และนําเสนอวิสัยทัศนเพื่อ

การกําหนดนโยบาย การวางแผน และการวิจัยทางการศึกษา ที่สัมพันธกับจุดเดน จุดดอย

โอกาส และปจจัยคุกคามในมิติที่เกี่ยวของ เชน หลักและกระบวนการ การบริหารจัดการ

คุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณ การวิจัย และการบริหารดานตางๆ เชน วิชาการ หลักสูตร

ทรัพยากร บุคคล กิจการนักเรียน ธุรการ การเงิน พัสดุ อาคารสถานที่ เทคโนโลยีสารสนเทศ

นิเทศการศึกษา ประกันคุณภาพการศึกษา ประชาสัมพันธและความสัมพันธชุมชน รวมทั้ง

ระเบียบและกฎหมาย เปนตน

The differences between the administration and management. Critique

of strengths, weaknesses, opportunities and threats of Thai educational

administration. Search trends and innovation for educational administration

from a global, regional and domestic areas. Analyze, synthesize, and present

vision for educational policy making, planning and research relative to the

strengths, weaknesses, opportunities and threats in the relevant dimensions

e.g. principle and process, management, moral, ethics, code of ethics, research,

Page 47: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

๔๒

and administrative areas such as academic, curriculum, resources, personnel,

student affairs, general affairs, fiscal affairs, facilities, building and space,

information technology supplies, educational supervision, educational quality

assurance, public relations, and community relations, etc.

GS ๓๓๐๓ พุทธศาสตรเพ่ือการบริหารการศึกษา ๓ (๓-๐-๖) (Buddhism for Educational Administration)

วิเคราะหและสังเคราะหหลักคําสอนในพุทธศาสนาที่มีการนํามาใช และที่สามารถจะ

นํามาใชกับการบริหารสถานศึกษาหรือการบริหารการศึกษา และเพื่อการวิจัย ในมิติตางๆ ที่

เกี่ยวของ เชน หลักและกระบวนการ การบริหารจัดการ คุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณ การ

วิจัย และการบริหารดานตางๆ เชน วิชาการ หลักสูตร ทรัพยากร บุคคล กิจการนักเรียน

ธุรการ การเงิน พัสดุ อาคารสถานที่ เทคโนโลยีสารสนเทศ นิเทศการศึกษา ประกันคุณภาพ

การศึกษา ประชาสัมพันธและความสัมพันธชุมชน รวมทั้งระเบียบและกฎหมาย เปนตน

Analysis and synthesis of Buddhist doctrine has been applied, and that

can be applied to the school administration or the administration of education,

and for research on various dimensions involved e.g. principle and process,

management, moral, ethics, code of ethics, research, and administrative areas

such as academic, curriculum, resources, personnel, student affairs, general

affairs, fiscal affairs, facilities, building and space, information technology

supplies, educational supervision, educational quality assurance, public

relations, and community relations, etc.

GS ๓๓๐๔ ภาวะผูนําและธรรมาภิบาลท่ีดีในการบริหารการศึกษา ๓ (๓-๐-๖) Leadership and Good Government in Educational Administration

หลักการ แนวคิด และทฤษฎีเกี่ยวกับภาวะผูนําและธรรมาภิบาลที่ดี สภาพปจจุบันและ

ปญหา วิเคราะห และสังเคราะหหลักการ แนวคิด และทฤษฎี เพื่อการประยุกตใชและเพื่อการ

พัฒนาภาวะผูนําและธรรมาภิบาลที่ดีของผูบริหารสถานศึกษาและผูบริหารการศึกษา และเพื่อ

การวิจัย โดยเนนคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณทางวิชาการ และจรรยาบรรณทางวิชาชีพ

Principles, concepts, and theories about leadership and good governance.

Current conditions and problems. Analyze and synthesize principles, concepts,

and theories to the application and to develop leadership and good

governance for the school administrators and education administrators. And for

research with an emphasis on moral, ethics, academic ethics, and professional

ethics

Page 48: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

๔๓

GS ๓๓๐๕ การวิจัยทางการบริหารการศึกษา ๓ (๓-๐-๖) Research in Educational Administration

ทิศทางและวิธีดําเนินการวิจัยทางการบริหารการศึกษาทั้งในประเทศและตางประเทศ ศึกษาวิธีดําเนินการวิจัยบางประเภท เชน การวิจัยเชิงนโยบาย การวิจัยอนาคต การวิจัยเชิงปฏิบัติการ การวิจัยและพัฒนา การพัฒนาตัวบงช้ี การสรางโมเดลสมการโครงสราง และการประเมิน รวมทั้งระเบียบวิธีวิจัยแบบผสม เปนตน

Direction and how to conduct research in educational administration, both domestically and abroad. Learn how to perform certain types of research, such as Policy Research Future Research, Action Research, Research and Development, Development of Indicators, Structural Equation Modeling, the mixed research methods and so on.

GS ๓๓๐๖ ปฏิบัติการวิชาชีพบริหารการศึกษา ๓ (๐-๖-๖) (Professional Practicum of Educational Administration)

นําเสนอเอกสารเชิงหลักการเพื่อปฏิบัติการวิชาชีพบริหารการศึกษา ภายใตคําแนะนําของอาจารยที่ปรึกษาหรืออาจารยประจํารายวิชาและผูบริหารพี่เลี้ยง โดยคํานึงถึงมาตรฐานทางวิชาชีพ หลักการ แนวคิด และทฤษฎีที่เกี่ยวของ ปฏิบัติการวิชาชีพในสถานศึกษาและในหนวยงานทางการศึกษาที่กําหนด มีสวนรวมในการวิเคราะหนโยบาย การวางแผน นําแผนสูการปฏิบัติ ประเมินผล และสะทอนผล นําเสนอและรายงานผลการปฏิบัติการวิชาชีพเกี่ยวกับบทบาท กิจกรรม ผลงาน และอื่นๆ รวมทั้งประสบการณการเรียนรู และความรูใหมที่ไดรับ

Proposing concept paper for the implementation of professional practicum of educational administration under the guidance of an advisor or instructor courses and executive mentor with regard to professional standards, principles, concepts and theories involved. Professional practicum in schools and educational institutions in the set. Engaging in policy analyzing, planning, acting, evaluating, and reflecting. Presentation and report the results of practicum reflect on the roles, activities, outcomes, and other activities. Including learning experience, and new knowledge gained.

GS ๓๔๐๑ รายวิชาเลือก การบริหารทรัพยากรมนุษยทางการศึกษา ๓ (๓-๐-๖) Human Resources Administration in Education

แนวคิดและทฤษฎีการบริหารทรัพยากรมนุษยทั้งจากภาครัฐ ภาคธุรกิจ และภาคการศึกษาเพื่อประยุกตใชในบริบททางการศึกษา เนนประเด็นหลัก เชน การวางแผน การสรรหา การคัดเลือก การปฐมนิเทศ การนิเทศและการประเมิน การชวยเหลือครูที่ถูกละเลย การพัฒนาครู การตอรอง ประเด็นทางกฎหมาย และเทคโนโลยีกับภาวะผูนําทางทรัพยากรมนุษย

Concepts and theories of human resource management from the public, business, and educational sectors and applies them to the educational

Page 49: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

๔๔

realm. Focus on major critical elements such as planning, recruitment selection, orientation, supervision, evaluation, assistance of marginal teacher, teacher development, bargaining, legal issues, technology and human resources leadership

GS ๓๔๐๒ มนุษยสัมพันธกับพฤติกรรมองคการทางการศึกษา ๓ (๓-๐-๖) Human Relations and Organizational Behavior in Education

แนวคิด ยุทธศาสตร และทฤษฎีมนุษยสัมพันธกับพฤติกรรมองคการทั้งจากภาครัฐ ภาคธุรกิจ และภาคการศึกษาเพื่อประยุกตใชในบริบททางการศึกษา เนนกระบวนการแกปญหาความขัดแยง การเปลี่ยนแปลงองคการ และประเด็นที่มีอิทธิพลตอองคการทางการศึกษา เชน ภาวะผูนํา การสื่อสาร วัฒนธรรมและบรรยากาศองคการ การตัดสินใจ การแกปญหา ความหลากหลาย และการเปลี่ยนแปลงทางการศึกษา

Concepts, strategies, and theories of human relations and organizational behavior from the public, business, and educational sectors and applies them to the educational realm. Focus on the processes of conflict resolution, organizational change, and issues that influencing educational organizations in the areas of leadership, communication, organizational culture and climate, decision making, problem solving, diversity issues and educational change.

GS ๓๔๐๓ การพัฒนาวิชาชีพทางการศึกษา ๓ (๓-๐-๖) Professional Development in Education

มาตรฐานทางวิชาชีพทางการศึกษา ทฤษฎีและรูปแบบการพัฒนาวิชาชีพ กรณีศึกษาโปรแกรมการพัฒนาวิชาชีพของผูบริหารหรือผูนําทางการศึกษาที่ประสบผลสําเร็จ การออกแบบโปรแกรมพัฒนาวิชาชีพที่มีประสิทธิผลสําหรับผูบริหารหรือผูนําทางการศึกษา การประยุกตใชทฤษฎีที่เหมาะสมในการพัฒนาวิชาชีพ เชน ทฤษฎีการเรียนของผูใหญ และทฤษฎีการเปลี่ยนแปลง

Professional development standards in education. Theories and models of professional development. Case study of professional development of successful administrators and leaders in education . Designing effective professional development program for educational administrators and leaders. Application of appropriate theories in professional development e.g. adult learning theory, and change theory.

GS ๓๔๐๔ การพัฒนาคุณภาพของครูและผูบริหารสถานศึกษา ๓ (๓-๐-๖) Improving Teacher and School Principal Quality

ศึกษาเปรียบเทียบมาตรฐานคุณภาพของครูและผูบริหารสถานศึกษา โดยเนนมาตรฐานที่สงผลตอการปรับปรุงความสําเร็จเชิงวิชาการแกนักเรียน จุดเดน จุดดอย โอกาส

Page 50: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

๔๕

และปจจัยคุกคามตอการเปนครูและผูบริหารสถานศึกษาที่มีคุณภาพสูง แนวคิดและทฤษฎีเพื่อการพัฒนาคุณภาพของครูและผูบริหารสถานศึกษาที่มีประสิทธิผล

Comparative study of standards of teacher and school principal quality, focus on the standards that affecting student academic achievement. Strength, weakness, opportunity, and threatening affecting highly quality of teacher and school principal. Concepts, and theories of effective improving teacher and school principal quality.

GS ๓๔๐๕ ภาวะผูนําเพ่ือการเรียนรู ๓ (๓-๐-๖) Leadership for Learning

กรอบแนวคิดเกาและใหมเกี่ยวกับภาวะผูนํา และเกี่ยวกับการเรียนรู การสรางความเช่ือมโยงระหวางภาวะผูนํากับการเรียนรู การเรียนรูที่เช่ือมโยงซึ่งกันและกันระหวางผูเรียน วิชาชีพ โรงเรียน และระบบ หลักบางประการเพื่อการเรียนรู เชน เนนการเรียนรู สภาพแวดลอมเพื่อการเรียนรู วิภาษการเรียนรู ภาวะผูนํารวม และการตรวจสอบรวม

Old and new frame of leadership. Old and new frame of learning. Making the connections of leadership and learning. Interconnected levels of learning among student, profession, school, and system. Some principles of leadership for learning e.g. focus on learning, environment for learning, learning dialogue, shared leadership, and shared accountability.

GS ๓๔๐๖ การเปลี่ยนแปลงองคการทางการศึกษา ๓ (๓-๐-๖) Educational Organization Change

แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลง รูปแบบการเปลี่ยนแปลง ปจจัยที่สงผลตอการเปลี่ยนแปลง ปจจัยตอตานการเปลี่ยนแปลง แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับองคการและการเปลี่ยนแปลงองคการทางการศึกษา กรณีศึกษาจุดเดนและจุดดอยการเปลี่ยนแปลงองคทางการศึกษาที่เลือกสรร สัมมนาขอเสนอแนวการเปลี่ยนแปลงองคการทางการศึกษาที่เลือกสรร

Concept and theory of change. Change models. Factors affecting change. Resistances of change. Concept and theory of organization, and educational organization change. Case study of straight and weakness of selected educational organization. Seminar in guided change of a selected educational organization.

GS ๓๔๐๗ การบริหารและการนําสถานศึกษาสูความสําเร็จ ๓ (๓-๐-๖) Managing and Leading School to Success

นิยาม ลักษณะ และองคประกอบของสถานศึกษาที่ประสบความสําเร็จ ปจจัยทางการบริหารและภาวะผูนําที่สงผลตอความเปนสถานศึกษาที่ประสบความสําเร็จ กรณีศึกษาสถานศึกษาที่ประสบผลสําเร็จที่เลือกสรร สัมมนาขอเสนอตัวแบบเชิงเหตุผลของความเปนสถานศึกษาที่ประสบผลสําเร็จ

Page 51: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

๔๖

Definition, characteristics, and elements of successful school. Administrative and leadership factors affecting successful school. Case study of selected successful school. Seminar in causal –effect model of successful school.

GS ๓๔๐๘ การวิเคราะหและประเมินนโยบายทางการศึกษา ๓ (๓-๐-๖) Educational Policy Analysis and Evaluation

การเมืองกับนโยบายทางการศึกษา กระบวนการตัดสินใจนโยบาย ปจจัยที่สงผลตอสภาพแวดลอมทางนโยบาย วิเคราะหและประเมินประเด็นหลักที่ผูตัดสินนโยบายทางการศึกษาตองเผชิญในศตวรรษที่ 21 การกําหนดนโยบายและนํานโยบายสูการปฏิบัติ วิเคราะหและประเมินยุทธศาสตรการปฏิรูปการศึกษา ผลกระทบตอปญหาทางการศึกษาเฉพาะทาง

Politics and policy in education, policy making process, factors that influencing the policy environment. Analyze and evaluate major issues confronting education policy-makers in the 21st century, policy making, and policy implementation. Analyze and evaluate national reform strategies and the impact of national reform on a specific education problem.

GS ๓๔๐๙ การพัฒนาเคาโครงวิจัยทางการบริหารการศึกษา ๓ (๓-๐-๖) Research Proposal Development in Educational Administration

พัฒนาเคาโครงวิจัยที่คํานึงถึงการใชระเบียบวิธีวิจัยที่เหมาะสมกับหลักสูตรระดับปริญญาเอกสาขาวิชาการบริหารการศึกษา มีการสืบคนขอมูลอยางลึกซึ้ง กวางขวาง และทันสมัย นําเสนอขอมูลอยางเปนระบบและมีตรรกะ

Development of research proposal by using appropriate research methodology to the doctoral program in educational administration. Inquiry of data deeply, broadly, trendy, present data systematically and logically.

GS ๓๔๑๐ การศึกษาอิสระทางการบริหารการศึกษา ๓ (๓-๐-๖) Independent Study in Educational Administration

ศึกษาเชิงลึกในหัวขอทางการบริหารการศึกษาที่สนใจ ภายใตการนิเทศของอาจารยผูสอน นําเสนอผลงานในที่ประชุม

Study of an in-depth topic in educational administration under the supervision of an instructor. Presentation of performance in the conference.

GS ๓๔๑๑ สถิติขั้นสูงเพ่ือการวิจัยทางการบริหารการศึกษา ๓ (๓-๐-๖) Advanced Statistics for Research in Educational Administration

สถิติเชิงอางอิง เทคนิคและวิธีการวิเคราะหตัวพหุที่ใชในการวิจัยทางการศึกษาและการวิจัยทางการบริหารการศึกษา เชน การวิเคราะหความแปรปรวน การวิเคราะหการถดถอยและสหสัมพันธพหุ การวิเคราะหองคประกอบ การวิเคราะหตัวแปรหลายระดับ การ

Page 52: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

๔๗

วิเคราะหเสนทาง การวิเคราะหจําแนกประเภท การวิเคราะหจัดกลุม และการวิเคราะหความแปรปรวนของตัวแปรพหุ

Statistical Inference. Methods and techniques for multivariate analysis for educational research and educational administration research. Analysis of variance, multiple regression and correlation, factor analysis, multi-level analysis, path analysis, discriminant analysis, cluster analysis, and multivariate analysis of variance

GS ๓๔๑๒ สถิติวิเคราะหเพ่ือการวิจัย ๓ (๓-๐-๖) Statistical Analysis for Research

ฝกปฏิบัติการเก็บขอมูลเชิงปริมาณและขอมูลเชิงคุณภาพจากภาคสนาม ใชโปรแกรมวิเคราะหขอมูลที่เหมาะสมภายใตการฝกปฏิบัติของผูเช่ียวชาญทางสถิติ เชน โปรแกรม SPSS window, โปรแกรม LISREL, และโปรแกรม AMOS สําหรับการวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณ โปรแกรม Atlas สําหรับการวิเคราะหขอมูลเชิงคุณภาพ การแปลความหมายจากผลการวิเคราะหและนําเสนอไดอยางถูกตอง

Practicing of quantitative and qualitative data collection in the field. Using appropriate program for data analysis under the practicing of statistical expert e.g. SPSS window program, LISREL program, and AMOS program for quantitative data analysis, and Atlas program for qualitative data analysis. Interpreting results of analyzing and presenting correctly.

GS ๓๙๐๑ ดุษฎีนิพนธ ๖๓ (๐-๐-๙) Dissertation

การคนควาวิจัยที่แสดงถึงความคิดริเริ่มที่จะนําไปสูองคความรูใหม สามารถนําไปประยุกตใชในการแกปญหาเกี่ยวกับการบริหารการศึกษาทั้งในประเทศและที่เปนสากล เนนหัวขอในรายวิชาบังคับ คือ การบริหารการศึกษากับการพัฒนา แนวโนมและนวัตกรรมเพื่อการบริหารการศึกษา พุทธศาสตรเพื่อการบริหารการศึกษา ภาวะผูนําและธรรมาภิบาลที่ดีในการบริหารการศึกษา การวิจัยทางการบริหารการศึกษา และปฏิบัติการวิชาชีพบริหารการศึกษา โดยใหความสําคัญกับหัวขอตามรายวิชาเลือกที่กําหนดไวในหลักสูตรหรือหัวขออื่นที่สนใจดวย

Original educational research contributing to new knowledge for recommending solutions to issues in Thailand or universal context, areas of research focused on topics in core courses are Thai education in Global and regional society, trends and innovations for educational administration, Buddhism and educational administration, Leadership and good government in educational administration, research in educational administration, and practicum of educational administration, but also concentrated on topics in specified elective courses in the curricula or other interested topics.

Page 53: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

๔๘

GS ๓๙๐๒ ดุษฎีนิพนธ ๓๖ (๐-๐-๙) Dissertation

การคนควาวิจัยที่แสดงถึงความคิดริเริ่มที่จะนําไปสูองคความรูใหม สามารถนําไปประยุกตใชในการแกปญหาเกี่ยวกับการบริหารการศึกษาทั้งในประเทศและที่เปนสากล เนนหัวขอในรายวิชาบังคับ คือ การบริหารการศึกษากับการพัฒนา แนวโนมและนวัตกรรมเพื่อการบริหารการศึกษา พุทธศาสตรเพื่อการบริหารการศึกษา ภาวะผูนําและธรรมาภิบาลที่ดีในการบริหารการศึกษา การวิจัยทางการบริหารการศึกษา และปฏิบัติการวิชาชีพบริหารการศึกษา โดยใหความสําคัญกับหัวขอตามรายวิชาเลือกที่กําหนดไวในหลักสูตรหรือหัวขออื่นที่สนใจดวย

Original educational research contributing to new knowledge for recommending solutions to issues in Thailand or universal context, areas of research focused on topics in core courses are Thai education in Global and regional society, trends and innovations for educational administration, Buddhism and educational administration, Leadership and good government in educational administration, research in educational administration, and practicum of educational administration., but also concentrated on topics in specified elective courses in the curricula or other interested topics.

Page 54: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

๔๙

ภาคผนวก ข ประวัติและผลงานทางวิชาการอาจารยประจําหลักสูตร

Page 55: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

๕๐

พระปริยัติสารเวท ี

๑. ตําแหนงทางวิชาการ - ๒. คุณวุฒิและสาขาวิชา

ระดับปริญญา สาขาวิชา ปที่สําเร็จ สถาบันที่สําเร็จการศึกษา

ปริญญาตร ี ศน.บ. (ภาษาอังกฤษ) ๒๕๒๗ สภาการศึกษามหามกุฏราชวิทยาลัย

ปริญญาโท อ.ม. (ภาษาบาลีสันสกฤต) ๒๕๔๒ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปริญญาเอก ปร.ด. (บริหารการศึกษา) ๒๕๕๕ ม.ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

๓. ประสบการณการทํางาน

- ครูสอนสอนพระปริยัติธรรมแผนกธรรม-บาล ีสํานักเรียนวัดปทุมวนาราม - ผูอํานวยการวิทยาลัยศาสนศาสตรเฉลิมพระเกียรติกาฬสินธุ - เลขานุการรองเจาคณะภาค ๘ (ธรรมยุต) - คณบดีคณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย (ปจจุบัน)

๔. ผลงานทางวิชาการ

๔.๑ เอกสารประกอบการสอน - วิชาการวิจัยทางการศึกษาและการวิจัยในช้ันเรียน ระดับปริญญาตร ี- วิชาภาษาบาลีเพื่อการคนควาพระพุทธศาสนา ระดับปริญญาตร ี- วิชาภาษาสันสกฤตเพื่อการคนควาพระพุทธศาสนา ระดับปริญญาโท

๔.๒ งานวิจัย (ท่ีมิใชสวนหน่ึงของการศึกษาเพ่ือรับปริญญา) พระปริยัติสารเวท,ี และคณะ. (๒๕๕๕). รูปแบบการบริหารเชิงกลยุทธที่มีประสิทธิภาพสําหรับ

มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย” กรุงเทพฯ: สภาวิจัยแหงชาติ. Bangwiset, S., Phrapariyatsaravethee, Moonsarn, C., Jinadattiyo, K., Paritkosala, and

Khanto, S. (2015). The Motivation in applying to the public graduate school: A Case of Mahasarakham University, Thailand. Accepted for publishing in Journal of Educational Administration, Khon Kaen University. 11(2).

Oonla-Or, C., Phrapariyatsaravethee, Phrarajratanamongkol, Jinadattiyo, K., Paritkosala, and Khanto, S. (2015). Transformational leadership behavior of private university administrators in Thailand. Accepted for publishing in Journal of Educational Administration, Khon Kaen University. 11(2).

Sutheejariyawat, Phrapariyatsaravethee, Phrarajratanamongkol, Moonsarn, C., Paritkosala, and Khanto, S. (2015). Principles of social justice in basic education

Page 56: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

๕๑

schools, Khon Kaen Primary Educational Service Area 1. Accepted for publishing in Journal of Educational Administration, Khon Kaen University. 11(2).

๕. ประสบการสอนในระดับอุดมศึกษา ๕.๑ ระยะเวลา ๕ ป

๕.๒ รายวิชาท่ี (เคย) สอน ระดับปริญญาตรี - วิชาการวิจัยทางการศึกษาและการวิจัยในช้ันเรียน - วิชาภาษาบาลีเพื่อการคันควาพระพุทธศาสนา - วิชาภาษาสันสกฤตเพื่อการคนควาพระพุทธศาสนา ระดับปริญญาโท - วิชาระเบียบวิธีวิจัย - วิชาคุณธรรมและจริยธรรมสําหรับผูบริหาร - วิชาพื้นฐานทางการบริหารการศึกษา - หลักการบริหารและการจัดการศึกษา - วิทยานิพนธ

๕.๓ รายวิชาท่ีรับผิดชอบในหลักสูตรเดิม พ.ศ. ๒๕๕๕ - GS ๓๔๑๐ การศึกษาอิสระทางการบริหารการศึกษา - GS ๓๙๐๒ ดุษฎีนิพนธ

๕.๔ รายวิชาท่ีรับผิดชอบในหลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๘ - GS ๓๓๐๑ วิพากษการศึกษาไทยในสังคมโลกและภูมิภาค - GS ๓๓๐๒ แนวโนมและนวัตกรรมทางการบริหารการศึกษา - GS ๓๓๐๖ ปฏิบัติการวิชาชีพบริหารการศึกษา - GS ๓๔๐๑ การบริหารทรัพยากรมนุษยทางการศึกษา - GS ๓๔๐๒ มนุษยสัมพันธกับพฤติกรรมองคการทางการศึกษา - GS ๓๔๐๒ ดุษฎีนิพนธ

Page 57: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

๕๒

พระมหาไกรวรรณ ชินทตฺติโย

๑. ตําแหนงทางวิชาการ - ๒. คุณวุฒิและสาขาวิชา

ระดับปริญญา สาขาวิชา ปที่สําเร็จ สถาบันที่สําเร็จการศึกษา

ปริญญาตร ี ป.ธ. ๙ (ภาษาบาล)ี ๒๕๔๒ กองบาลีสนามหลวง ปริญญาโท พธ.ม. (พระพุทธศาสนา) ๒๕๔๖ ม. มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ปริญญาเอก ปร.ด. (บริหารการศึกษา) ๒๕๕๔ มหาวิทยาลัยศิลปากร

๓. ประสบการณการทํางาน

- ครูสอนพระปริยัติธรรมแผนกธรรม-บาลสีํานักเรียนคณะจังหวัดนครปฐม - อาจารยควบคุมวิทยานิพนธระดับบัณฑิตศึกษามหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย - พระนักเทศน-นักเผยแผธรรมะประจําวัดพระงาม จังหวัดนครปฐม - พระวิทยากรอบรมคุณธรรมจริยธรรมหนวยงาน องคกรทั้งภาครัฐและเอกชน

๔. ผลงานทางวิชาการ

๔.๑ เอกสารประกอบการสอน - วิชา วรรณกรรมพระไตรปฎก ระดับปริญญาตร ี- วิชา วรรณคดีพระพุทธศาสนา ระดับปริญญาตร ี- วิชา หลักการศึกษาและการเรียนรู ระดับปริญญาโท - วิชา ระเบียบวิธีวิจัย ระดับปริญญาโท

๔.๒ งานวิจัย (ท่ีมิใชสวนหน่ึงของการศึกษาเพ่ือรับปริญญา) พระมหาไกรวรรณ ชินทตฺติโย และคณะ. (๒๕๕๕). รูปแบบการบริหารเชิงกลยุทธที่มีประสิทธิภาพ

สําหรับมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย” กรุงเทพฯ: สภาวิจัยแหงชาติ. Bangwiset, S., Phrapariyatsaravethee, Moonsarn, C., Jinadattiyo, K., Paritkosala, and

Khanto, S. (2015). The Motivation in applying to the public graduate school: A Case of Mahasarakham University, Thailand. Accepted for publishing in Journal of Educational Administration, Khon Kaen University. 11(2).

Oonla-Or, C., Phrapariyatsaravethee, Phrarajratanamongkol, Jinadattiyo, K., Paritkosala, and Khanto, S. (2015). Transformational leadership behavior of private university administrators in Thailand. Accepted for publishing in Journal of Educational Administration, Khon Kaen University. 11(2).

Page 58: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

๕๓

๕. ประสบการสอนในระดับอุดมศึกษา ๕.๑ ระยะเวลา ๕ ป

๕.๒ รายวิชาท่ี (เคย) สอน ระดับปริญญาตรี - วรรณกรรมพระไตรปฎก - วรรณคดีพระพุทธศาสนา ระดับปริญญาโท - ระเบียบวิธีวิจัย - หลักการศึกษาและการเรียนรู - สถิติสําหรับการบริหารการศึกษา - หลักการบริหารและการจัดการศึกษา

๕.๓ รายวิชาท่ีรับผิดชอบในหลักสูตรเดิม พ.ศ. ๒๕๕๕ - GS ๓๓๐๓ พุทธศาสนากับการบริหารการศึกษา - GS ๓๓๐๘ การบริหารและการนําสถานศึกษาสูความสําเร็จ - GS ๓๓๐๙ การพัฒนาเคาโครงวิจัยทางการบริหารการศึกษา - GS ๓๓๑๐ การศึกษาอิสระทางการบริหารการศึกษา - GS ๓๙๐๒ ดุษฎีนิพนธ

๕.๔ รายวิชาท่ีรับผิดชอบในหลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๘ - GS ๓๓๐๓ พุทธศาสตรเพื่อการบริหารการศึกษา - GS ๓๓๐๖ ปฏิบัติการวิชาชีพการบริหารการศึกษา - GS ๓๔๐๘ การบริหารและการนําสถานศึกษาสูความสําเร็จ - GS ๓๔๐๙ การพัฒนาเคาโครงวิจัยทางการบริหารการศึกษา - GS ๓๔๑๐ การศึกษาอิสระทางการบริหารการศึกษา - GS ๓๙๐๒ ดุษฎีนิพนธ

Page 59: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

๕๔

พระราชรัตนมงคล

๑. ตําแหนงทางวิชาการ - ๒. คุณวุฒิและสาขา

ระดับปริญญา สาขาวิชา ปที่สําเร็จ สถาบันที่สําเร็จการศึกษา

ปริญญาตร ี รัฐศาสตร (การเมืองการปกครองฯ) ๒๕๔๓ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

ปริญญาโท ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (การศึกษาผูใหญ) รัฐศาสตรมหาบัณฑิต (การเมืองการปกครอง)

๒๕๔๗ ๒๕๕๔

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

ปริญญาเอก การศึกษาดุษฎีบัณฑิต (การศึกษาผูใหญ) ๒๕๕๔ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

๓. ประสบการณการทํางาน - อาจารยฝกอบรมกรรมฐานประจําวัดบวรนิเวศวิหาร - อาจารยแสดงพระธรรมเทศนาประจําวัดบวรนิเวศวิหาร - กรรมการสอบวิทยานิพนธระดับบัณฑิตศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย - กรรมการประจําคณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย - อาจารยประจํา สาขาวิชาบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย

๔. ผลงานทางวิชาการ ๔.๑. เอกการประกอบการสอน - วิชา ED 1024 สัมมนาทางการศึกษา - วิชา ED 1021 คุณธรรมและจริยธรรมสําหรับครู (Morality and Ethics for Teacher) - วิชา BU 5008 การปฏิบัติกรรมฐาน (Meditation Practice) - วิชา ED 1001 ความรูพื้นฐานสําหรับคร ู - วิชา BU 5010 ศาสนศึกษา - วิชา ED 1007 จิตวิทยาสําหรับคร ู - วิชา ED 1014 ปรัชญาและแนวคิดทางการศึกษา (Philosophy and Concepts in Education) - วิชา ED 1003 การวิจัยทางการศึกษาและการวิจัยในช้ันเรียน - วิชา GS 3306 ผูบริหารการศึกษาไทยในสังคมโลกภูมิภาค (ระดับดุษฎีบัณฑิต) ๔.๒ งานวิจัย (ท่ีมิใชสวนหน่ึงของการศึกษาเพ่ือรับปริญญา)

พระราชรัตนมงคล และคณะ (๒๕๕๗) การศึกษาการจัดโครงการอบรมสัมมนาบุคลากรทดลองงานของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย.

พระราชรัตนมงคล และคณะ (๒๕๕๗) การศึกษาการดําเนินงานของศูนยสอนภาษาเกาหลีประเทศสาธารณรัฐเกาหลี (เกาหลีใต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย.

พระราชรัตนมงคล และคณะ (๒๕๕๘) การศึกษาการจัดโครงการอบรมสัมมนาเชิงปฏิบัติการกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติและแนวทางปฏิบัติสําหรับบุคลากรทางการศึกษาของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย.

Page 60: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

๕๕

Bangwiset, S., Phrapariyatsaravethee, Moonsarn, C., Jinadattiyo, K., Paritkosala, and Khanto, S. (2015). The Motivation in applying to the public graduate school: A Case of Mahasarakham University, Thailand. Accepted for publishing in Journal of Educational Administration, Khon Kaen University. 11(2).

Oonla-Or, C., Phrapariyatsaravethee, Phrarajratanamongkol, Jinadattiyo, K., Paritkosala, and Khanto, S. (2015). Transformational leadership behavior of private university administrators in Thailand. Accepted for publishing in Journal of Educational Administration, Khon Kaen University. 11(2).

Sutheejariyawat, Phrapariyatsaravethee, Phrarajratanamongkol, Moonsarn, C., Paritkosala, and Khanto, S. (2015). Principles of social justice in basic education schools, Khon Kaen Primary Educational Service Area 1. Accepted for publishing in Journal of Educational Administration, Khon Kaen University. 11(2).

๕. ประสบการณสอนในระดับอุดมศึกษา ๕.๑ ระยะเวลา ๕ ป คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ๕.๒ รายวิชาท่ี (เคย) สอน

ระดับปริญญาตร ี- สัมมนาทางการศึกษา - คุณธรรมและจริยธรรมสําหรับครู (Morality and Ethics for Teacher) - การปฏิบัติกรรมฐาน (Meditation Practice) - ความรูพื้นฐานสําหรับคร ู- ศาสนศึกษา - จิตวิทยาสําหรับคร ู- ปรัชญาและแนวคิดทางการศึกษา (Philosophy and Concepts in Education) - การวิจัยทางการศึกษาและการวิจัยในช้ันเรียน

ระดับปริญญาเอก - ผูบริหารการศึกษาไทยในสังคมโลกและภูมิภาค - ทฤษฎีพื้นฐานทางการศึกษา

๕.๓ รายวิชาท่ีรับผิดชอบในหลักสูตรเดิม พ.ศ. ๒๕๕๕ - ไมม ี

๕.๔ รายวิชาท่ีรับผิดชอบในหลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๘ - GS ๓๓๐๔ ภาวะผูนําและธรรมาภิบาลที่ดีในการบริหารการศึกษา - GS ๓๔๐๕ ภาวะผูนําเพื่อการเรียนรู - GS ๓๓๐๖ ปฏิบัติการวิชาชีพการบริหารการศึกษา - GS ๓๔๐๗ การเปลี่ยนแปลงองคการทางการศึกษา - GS ๓๙๐๒ ดุษฎีนิพนธ

Page 61: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

๕๖

นางสาวสุธาสินี แสงมุกดา

๑. ตําแหนงทางวิชาการ - ๒. คุณวุฒิและสาขาวิชา

ระดับปริญญา สาขาวิชา ปที่สําเร็จ สถาบันที่สําเร็จการศึกษา ปริญญาตร ี วท.บ. (วิทยาการคอมพิวเตอร) ๒๕๔๕ มหาวิทยาลัยศิลปากร ปริญญาโท ค.ม. (การวัดและประเมินผลการศึกษา) ๒๕๕๒ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปริญญาเอก ค.ด. (การบริหารการศึกษา) ๒๕๕๕ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

๓. ประสบการณการทํางาน

- ผูประเมินคุณภาพภายในของมหาวิทยาลัยธนบุร ี- เลขานุการผูประเมินคุณภาพภายนอกของ สมศ. ในการประเมินวิทยาลัยพิษณุโลก - ดานการประกันคุณภาพการศึกษา สํานักงานประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยธนบุรี - ดานวิชาการสํานักวิชาการ มหาวิทยาลัยธนบุร ี- การนิเทศการสอน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพคร ู

๔. ผลงานทางวิชาการ งานวิจัย (ท่ีมิใชสวนหน่ึงของการศึกษาเพ่ือรับปริญญา)

สุธาสินี แสงมุกดา. (๒๕๕๕). ความตองการจําเปนในการบริการวิชาการจองชุมชนเขตหนองแขม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธนบุร.ี

สุธาสินี แสงมุกดา. (๒๕๕๖). ภาวะผูนําใฝบริการของผูบริหารมหาวิทยาลัยธนบุรี . กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธนบุร.ี

สุธาสินี แสงมุกดา. (๒๕๕๗). การพัฒนาการเรียนการสอนของอาจารยมหาวิทยาลัยธนบุรีที่บรรจุใหม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธนบุร.ี

๕. ประสบการณการสอนระดับอุดมศึกษา

๕.๑ ระยะเวลา ๕ ป ๕.๒ รายวิชาท่ี (เคย) สอน

ปริญญาตร ี- คณิตศาสตรทั่วไป - สถิติทั่วไป - ปรัชญาและแนวคิดทางการศึกษา

ปริญญาโท - พื้นฐานทางการศึกษา - นวัตกรรมและการประเมินผลการศึกษา

Page 62: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

๕๗

๕.๓ รายวิชาท่ีรับผิดชอบในหลักสูตรเดิม พ.ศ. ๒๕๕๕ - GS ๓๔๐๓ การพัฒนาวิชาชีพทางการศึกษา - GS ๓๒๐๑ พื้นฐานทางการบริหารการศึกษา - GS ๓๔๐๔ การพัฒนาคุณภาพของครูและผูบริหารสถานศึกษา - GS ๓๔๐๖ การวิเคราะหและประเมินนโยบายทางการศึกษา - GS ๓๙๐๒ ดุษฎีนิพนธ

๕.๔ รายวิชาท่ีรับผิดชอบในหลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๘ - GS ๓๒๐๑ พื้นฐานทางการบริหารการศึกษา - GS ๓๓๐๖ ปฏิบัติการวิชาชีพการบริหารการศึกษา - GS ๓๔๐๓ การพัฒนาวิชาชีพทางการศึกษา - GS ๓๔๐๔ การพัฒนาคุณภาพของครูและผูบริหารสถานศึกษา - GS ๓๔๐๖ การวิเคราะหและประเมินนโยบายทางการศึกษา - GS ๓๔๑๑ สถิติข้ันสูงเพื่อการวิจัยทางการบริหารการศึกษา - GS ๓๔๑๒ สถิติวิเคราะหเพื่อการวิจัย - GS ๓๙๐๒ ดุษฎีนิพนธ

Page 63: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

๕๘

นายสถาพร ขันโต

๑. ตําแหนงทางวิชาการ ผูชวยศาสตราจารย

๒. คุณวุฒิและสาขาวิชา

ระดับปริญญา สาขาวิชา ปที่สําเร็จ สถาบันที่สําเร็จการศึกษา ปริญญาตร ี กศ.บ. (การมัธยมศึกษา) ๒๕๑๖ วิทยาลัยวิชาการศึกษา (วศ.) ปริญญาโท กศ.ม. (การมัธยมศึกษา) ๒๕๒๑ มศว.ประสานมิตร ปริญญาเอก กศ.ด. (การอุดมศึกษา) ๒๕๓๙ มศว.ประสานมิตร

๓. ประสบการณการทํางาน พ.ศ.๒๕๑๗ – ๒๕๒๒ ปฏิบัติการสอนที่โรงเรียนพิบูลวิทยาลัย จังหวัดลพบุร ีพ.ศ.๒๕๒๓ – ๒๕๕๔ ปฏิบัติการสอนคณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกนในระดับปริญญา

ตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก ในสาขาหลักสูตรและการสอน

๔. ประสบการณการสอนการบริหาร พ.ศ. ๒๕๒๕ – ๒๕๓๖ ผูชวยอธิการบดี มหาวิทยาลัยขอนแกน พ.ศ. ๒๕๒๕ – ๒๕๓๖ ผูอํานวยการสถานีวิทยุ F.M.103 มหาวิทยาลัยขอนแกน

๕. ผลงานทางวิชาการ

๕.๑ เอกสารประกอบการสอน - การพัฒนาหลักสูตรและการสอน - การบริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา - การศึกษากับสังคมไทย

๕.๒ งานวิจัย (ท่ีมิใชสวนหน่ึงของการศึกษาเพ่ือรับปริญญา) Bangwiset, S., Phrapariyatsaravethee, Moonsarn, C., Jinadattiyo, K., Paritkosala, and

Khanto, S. (2015). The Motivation in applying to the public graduate school: A Case of Mahasarakham University, Thailand. Accepted for publishing in Journal of Educational Administration, Khon Kaen University. 11(2).

Oonla-Or, C., Phrapariyatsaravethee, Phrarajratanamongkol, Jinadattiyo, K., Paritkosala, and Khanto, S. (2015). Transformational leadership behavior of private university administrators in Thailand. Accepted for publishing in Journal of Educational Administration, Khon Kaen University. 11(2).

Sutheejariyawat, Phrapariyatsaravethee, Phrarajratanamongkol, Moonsarn, C., Paritkosala, and Khanto, S. (2015). Principles of social justice in basic education

Page 64: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

๕๙

schools, Khon Kaen Primary Educational Service Area 1. Accepted for publishing in Journal of Educational Administration, Khon Kaen University. 11(2).

๖. ประสบการณการสอนระดับอุดมศึกษา ๖.๑ ระยะเวลา ๓๕ ป ๖.๒ รายวิชาท่ี (เคย) สอน

ปริญญาตร ี- การพัฒนาหลักสูตรและการสอน - จรรยาวิชาชีพคร ู- การศึกษาและสังคมไทย

ปริญญาโท - ปรัชญาการศึกษา - การพัฒนาหลักสูตรและการสอน - การวิจัยทางการศึกษาดานหลักสูตรและการสอน

๖.๓ รายวิชาท่ีรับผิดชอบในหลักสูตรเดิม พ.ศ. ๒๕๕๕ - GS ๓๒๐๑ พื้นฐานทางการศึกษา - GS ๓๓๐๕ ผูบริหารการศึกษาไทยในสังคมโลกและภูมิภาค - GS ๓๔๐๘ การบริหารและการนําสถานศึกษาสูความสําเร็จ - GS ๓๔๐๖ การวิเคราะหและประเมินนโยบายทางการศึกษา - GS ๓๙๐๒ ดุษฎีนิพนธ

๖.๔ รายวิชาท่ีรับผิดชอบในหลักสูตรปรับปรุงใหม พ.ศ. ๒๕๕๘ - GS ๓๒๐๑ พื้นฐานทางการศึกษา - GS ๓๓๐๔ ภาวะผูนําและธรรมาภิบาลที่ดีในการบริหารการศึกษา - GS ๓๓๐๖ ปฏิบัติการวิชาชีพการบริหารการศึกษา - GS ๓๔๐๖ การวิเคราะหและประเมินนโยบายทางการศึกษา - GS ๓๔๐๘ การบริหารและการนําสถานศึกษาสูความสําเร็จ - GS ๓๙๐๒ ดุษฎีนิพนธ

Page 65: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

๖๐

พระครสูุธีจริยวัฒน

๑. ตําแหนงทางวิชาการ - ๒. ฉายา พระครูสุธีจริยวัฒน เดิม พระครูปลัดธรรมจริยวัฒน และพระมหาสาคร ภักดีนอก ๓. คุณวุฒิทางการศึกษา

ระดับปริญญา สาขาวิชา ปที่สําเร็จ สถาบันที่สําเร็จการศึกษา ปริญญาตร ี ศน.บ. (ภาษาอังกฤษ) 2537 มมร. วิทยาเขต มหาวชิราลงกรณฯ ปริญญาโท ศศ.ม. (ภาษาไทย) 2543 มหาวิทยาลัยนเรศวร ปริญญาเอก ศษ.ด. (การบริหารการศึกษา) 2555 มหาวิทยาลัยขอนแกน

๔. ประสบการณการทํางานระดับอุดมศึกษา ๔.๑ งานการบริหาร

- รองอธิการบดี มหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน

๔.๒ งานบริการสังคม - วิทยากรประจําโครงการตางๆ ของวิทยาเขตอีสาน - วิทยากรบรรยายรายการวิทยุ “นานาสาระธรรม” ของวิทยาเขตอีสาน - วิทยากรบรรยายพิเศษ - วิทยากรบรรยายตามหนวยงานราชการและองคเอกชน - องคแสดงพระธรรมเทศนาประจําวัดปาแสงอรุณ - อาจารยบรรยายพิเศษ มหาวิทยาลัยขอนแกน, มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

๔.๓ การศึกษาคณะสงฆ - อาจารยสอนบาลี ประจําสํานักศาสนศึกษาวัดปาแสงอรุณ จังหวัดขอนแกน - อาจารยสอนธรรมะ อาจารยสอนกรรมฐาน นําพระนิสิตนักศึกษาออกธุดงค ในระหวางเดือน

เมษายนของทุกป - หัวหนาฝายศาสนศึกษา สํานักเรียนวัดศรีจันทร พระอารามหลวง

๔.๔ การศึกษาดูงาน/ประชุมตางประเทศ - ประเทศไตหวัน - ประเทศญี่ปุน - สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม - สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว - สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนจีน - ประเทศเกาหลีใต - ประเทศพมา - ประเทศอินโดนีเซีย - ประเทศสหรัฐอเมริกา

Page 66: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

๖๑

๔.๕ ผลงานท่ีไดรับการยกยอง - พ.ศ. ๒๕๕๒ ผูบริหารสถานศึกษาดีเดน สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเขต ๑ ขอนแกน - พ.ศ. ๒๕๕๔ ผูบริหารสถานศึกษาดีเดน สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเขต ๑ ขอนแกน

๔.๖ ผลงานทางวิชาการ ๑) เอกสารประกอบการสอนระดับปริญญาตรี

- เอกสารประกอบการสอนรายวิชาการปฏิบัติกรรมฐาน - เอกสารประกอบการสอนรายวิชาพุทธศาสนศึกษา - เอกสารประกอบการสอนรายวิชารัฐศาสตรตามแนวพุทธศาสตร - เอกสารประกอบการสอนรายวิชาคุณธรรมสําหรับคร ู- เอกสารประกอบการสอนรายวิชาวรรณกรรมไทยปจจุบัน - เอกสารประกอบการสอนรายวิชาภาษาและการสื่อสาร - เอกสารประกอบการสอนรายวิชาภาษาไทย

๒) เอกสารประกอบการสอนระดับดุษฎีบัณฑิต พระมหาสาคร ภักดีนอก และ พระมหาสมัย ผาสุโก (๒๕๕๖). วิพากษการศึกษาไทยในสังคมโลก

และภูมิภาค. ขอนแกน: เอกสารอัดสําเนา. (เอกสารประกอบการสอนระดับดุษฎีบัณฑิต) พระมหาสาคร ภักดีนอก และ พระมหาสมัย ผาสุโก (๒๕๕๖). คุณธรรม จริยธรรม และ

จรรยาบรรณวิชาชีพของผูบริหารการศึกษา. ขอนแกน: เอกสารอัดสําเนา. (เอกสารประกอบการสอนระดับดุษฎีบัณฑิต)

พระมหาสมัย ผาสุโก และ พระมหาสาคร ภักดีนอก (๒๕๕๖). พุทธศาสนากับการบริหารการศึกษาขอนแกน: เอกสารอัดสําเนา. (เอกสารประกอบการสอนระดับดุษฎีบัณฑิต)

๓) หนังสือระดับดุษฎีบัณฑิต พระครูปลัดธรรมจริยวัฒน และ วิโรจน สารรัตนะ (๒๕๕๘). การวิจัยเชิงสํารวจ: กรอบแนวคิด

พื้นฐานและขอเสนอแนะ. ขอนแกน: คลังนานาวิทยา. พระครูปลัดธรรมจริยวัฒน (๒๕๕๘) ภาวะผูนํา: ธรรมะและกระบวนการเรียนรูเชิงสรางสรรค.

ขอนแกน: คลังนานาวิทยา.

๔) ผลงานวิจัย (ท่ีมิใชสวนหน่ึงของการศึกษาเพ่ือรับปริญญา) พระมหาสาคร ภักดีนอก. (๒๕๔๒). วิเคราะหกวีนิพนธของไพวรินทร ขาวงาม (กวีซีไรทป ๒๕๓๘).

เอกสารการวิจัยฉบับสมบูรณ. นครปฐม: มหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย. Podapol, C., and Pakdeenok, S. (2013). “Creative leadership of sub-district

municipality administrators in Roi-Ed.” Presented & proceeding published for the 1st Nong Khai Campus International Conference 2013: Building Up of the Research Based Knowledge for Sustainable Development of the Greater Mekong Sub-Region.

Page 67: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

๖๒

Chusorn, P. and Phrakru Paladdhamjariyawat (2013). “Relationship between transformational leadership and team management of Pechwittayakarn school administrator, Chaiyaphum province.” Presented & proceeding published for the the 1st Nong Khai Campus International Conference 2013: Building Up of the Research Based Knowledge for Sustainable Development of the Greater Mekong Sub-Region.

Chusorn, P., Phrakru Paladdhamjariyawat, Chusorn, P., and Podapol, C. (2014). “Creative leadership: Challenge for sub-district municipality administrators.” Presented & proceeding published for the Conference and Presentation of nation and International Researches, 36th Academic Conference of Thailand Educational Relation’s. January 26, 2014, Ubolrachathani province.

Phakdeenok, S. (2010). Spirituality of principals in ecclesiastical secondary schools. Journal of Educational Administration, KKU. 6(1): 90-94.

Chusorn, P., Suthreejariyawat, Phasugo, S., Plarin, K., and Somboon, R. (2015). Challenging issues in continuous improvement of quality for secondary school. Accepted for publishing in Journal of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University. 23(3).

Chusorn, P., Suthreejariyawat, Phasugo, S., Plarin, K., and Somboon, R. (2015). Strategic Challenge: The Role of Leaders for Implementing Total Quality Management the Universities to ward Excellence. Accepted for publishing in Journal of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University. 23(3).

Sanrattana, W., Sutheejariyawat, Phasugo, S., Chusorn, P., and Plarin, K. (2015). New school principals in Thailand: Influences on their leadership and professional development. Journal of Educational Administration, Khon Kaen University. 11(1).

Sanrattana, W., Sutheejariyawat, Phasugo, S., Chusorn, P., and Somboon, R. (2015). Conditions for change in small-sized primary schools, Northeast Thailand. Journal of Educational Administration, Khon Kaen University. 11(1).

Sutheejariyawat, Phrapariyatsaravethee, Phrarajratanamongkol, Moonsarn, C., Paritkosala, and Khanto, S. (2015). Principles of social justice in basic education schools, Khon Kaen Primary Educational Service Area 1. Accepted for publishing in Journal of Educational Administration, Khon Kaen University. 11(2).

Sanrattana, W., Sutheejariyawat, Phasugo, S., Chusorn, P., Plarin, K. and Somboon, R. (2015). School as Learning Community: A National Survey of Small, Medium, and Large Secondary Schools. Submitted for publishing in SAGE’s

Page 68: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

๖๓

Journal of Qualitative Inquiry, SAGE Publications Inc., 2455 Teller Road, Thousand Oaks, CA 91320.

๕) บทความวิชาการ

- พระมหาสาคร ภักดีนอก. (๒๕๔๗). โวหาร (figure of speech). - พระมหาสาคร ภักดีนอก. (๒๕๔๗). โคลงมงคลชีวิต . - พระมหาสาคร ภักดีนอก. (๒๕๔๗). ดวงตาเห็นงาน. - พระมหาสาคร ภักดีนอก. (๒๕๔๘). คนพาล. - พระมหาสาคร ภักดีนอก. (๒๕๔๘). ความออนนอมถอมตนคือกระบี่เลมหน่ึง. - พระมหาสาคร ภักดีนอก. (๒๕๔๙). วรรณกรรมดานพุทธศาสนาของ ร.๔. - พระมหาสาคร ภักดีนอก. (๒๕๔๙). สิมอีสาน : ยลย่ิงแสงแกวเกาแกนหลาหลากสวรรค. - พระมหาสาคร ภักดีนอก. ((๒๕๔๙). สัตวเฝาบันไดสิมอีสาน . - พระมหาสาคร ภักดีนอก. (๒๕๔๙). เศรษฐกิจพอเพียง : หัวใจเศรษฐ.ี - พระมหาสาคร ภักดีนอก. (๒๕๕๕). อนาคตภาพ มมร. วิทยาเขตอีสาน.

๕. ประสบการณสอนในระดับอุดมศึกษา ๕.๑ ระยะสอน ๑๖ ป (ป ๒๕๔๓ – ๒๕๕๙)

๑) รายวิชาท่ี (เคย) สอน ระดับปริญญาตรี

- วิธีสอนภาษาไทย และภาษาไทย - คุณธรรมและจริยธรรมสําหรับคร ู- รัฐศาสตรตามแนวพุทธศาสตร - การศึกษาวิถีพุทธ - การสอนภาษาไทยสําหรับเด็กปฐมวัย - หลักการและวิธีการสอน - การปฏิบัติกรรมฐาน

ระดับปริญญาโท - รัฐศาสตรตามแนวพุทธศาสตร - พุทธศาสนศึกษา - สมาธิในพระพุทธศาสนา - พุทธวิทยาการศึกษา - คุณธรรมและจริยธรรมสําหรับผูบริหาร - สัมมนาการจัดการศึกษา - ทฤษฎีและการปฏิบัติกรรมฐาน

Page 69: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

๖๔

๕.๒ รายวิชาท่ีรับผิดชอบในหลักสูตรเดิม พ.ศ. ๒๕๕๕ - GS ๓๓๐๑ วิพากษการศึกษาไทยในสังคมโลกและภูมิภาค - GS ๓๓๐๔ คุณธรรมจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพสําหรับผูบริหารการศึกษา - GS ๓๔๐๑ การบริหารทรัพยากรมนุษยทางการศึกษา - GS ๓๔๐๒ มนุษยสัมพันธกับพฤติกรรมองคการทางการศึกษา - GS ๓๙๐๒ ดุษฎีนิพนธ

๕.๓ รายวิชาท่ีรับผิดชอบในหลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๘

- GS ๓๒๐๑ พื้นฐานทางการศึกษา - GS ๓๒๐๒ พื้นฐานทางการบริหารการศึกษา - GS ๓๓๐๑ วิพากษการศึกษาไทยในสังคมโลกและภูมิภาค - GS ๓๓๐๔ ภาวะผูนําและธรรมาภิบาลที่ดีในการบริหารการศึกษา - GS ๓๓๐๖ ปฏิบัติการวิชาชีพบริหารการศึกษา - GS ๓๔๐๑ การบริหารทรัพยากรมนุษยทางการศึกษา - GS ๓๔๐๒ มนุษยสัมพันธกับพฤติกรรมองคการทางการศึกษา - GS ๓๙๐๒ ดุษฎีนิพนธ

Page 70: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

๖๕

พระครูปลัดสมัย ผาสุโก

๑. ตําแหนงทางวิชาการ - ๒. ฉายา พระครูปลัดสมัย ผาสุโก เดิมพระมหาสมัย ผาสุโก นามเดิม สมัย หาสุข ๓. คุณวุฒิและสาขาวิชา

ระดับปริญญา สาขาวิชา ปที่สําเร็จ สถาบันที่สําเร็จการศึกษา

ปริญญาตร ี ศนบ. (ภาษาอังกฤษ) ๒๕๓๙ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ปริญญาโท ศศ.ม. (ไทยคดีศึกษา) ๒๕๔๔ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปริญญาเอก ปร.ด. บริหารการศึกษา ๒๕๕๕ มหาวิทยาลัยภาค

ตะวันออกเฉียงเหนือ

๔. ประสบการณการทํางาน - ผูอํานวยการศูนยบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน บานโนนชัย

ตําบลในเมือง อําเภอเมือง จังหวัดขอนแกน

๕. ผลงานทางวิชาการ

๕.๑ เอกสารประกอบการสอนระดับปริญญาตร ีพระมหาสมัย ผาสุโก. ไทยคดีศึกษา. ขอนแกน, พ.ศ. ๒๕๕๕ สุเมโธ ภิกฺขุ (สมาน สุเมโธ). (2549). สิมอีสาน (โบสถ) : ชอฟาหรือโหง เอกลักษณและความงามที่

ขาดไมไดของสิมอีสาน. ขอนแกน : ขอนแกนการพิมพ. ๒๓๐ หนา พระมหาสมัย ผาสุโก. นานาสารธรรม . ขอนแกน: ขอนแกนการพิมพ, ๒๕๔๙

๕.๒ เอกสารประกอบการสอนระดับดุษฎีบัณฑิต พระมหาสาคร ภักดีนอก และ พระมหาสมัย ผาสุโก (๒๕๕๖). วิพากษการศึกษาไทยในสังคมโลกและ

ภูมิภาค. ขอนแกน: เอกสารอัดสําเนา. (เอกสารประกอบการสอนระดับดุษฎีบัณฑิต) พระมหาสาคร ภักดีนอก และ พระมหาสมัย ผาสุโก (๒๕๕๖). คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณ

วิชาชีพของผูบริหารการศึกษา. ขอนแกน: เอกสารอัดสําเนา. (เอกสารประกอบการสอนระดับดุษฎีบัณฑิต)

พระมหาสมัย ผาสุโก และ พระมหาสาคร ภักดีนอก (๒๕๕๖). พุทธศาสนากับการบริหารการศึกษาขอนแกน: เอกสารอัดสําเนา. (เอกสารประกอบการสอนระดับดุษฎีบัณฑิต)

๕.๓ หนังสือ พระครูปลัดสมัย ผาสุโก (๒๕๕๘). พุทธศาสนากับการบริหารการศึกษา. ขอนแกน: คลังนานาวิทยา. พระครูปลัดสมัย ผาสุโก (๒๕๕๘). นิทานธรรมะฉบับนักบริหาร. ขอนแกน: คลังนานาวิทยา.

Page 71: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

๖๖

๕.๔ ผลงานวิจัย (ท่ีมิใชสวนหน่ึงของการศึกษาเพ่ือรับปริญญา) Chusorn, P., Suthreejariyawat, Phasugo, S., Plarin, K., and Somboon, R. (2015).

Challenging issues in continuous improvement of quality for secondary school. Accepted for publishing in Journal of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University. 23(3).

Chusorn, P., Suthreejariyawat, Phasugo, S., Plarin, K., and Somboon, R. (2015). Strategic Challenge: The Role of Leaders for Implementing Total Quality Management the Universities to ward Excellence. Accepted for publishing in Journal of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University. 23(3).

Sanrattana, W., Sutheejariyawat, Phasugo, S., Chusorn, P., and Plarin, K. (2015). New school principals in Thailand: Influences on their leadership and professional development. Journal of Educational Administration, Khon Kaen University. 11(1).

Sanrattana, W., Sutheejariyawat, Phasugo, S., Chusorn, P., and Somboon, R. (2015). Conditions for change in small-sized primary schools, Northeast Thailand. Journal of Educational Administration, Khon Kaen University. 11(1).

Sanrattana, W., Sutheejariyawat, Phasugo, S., Chusorn, P., Plarin, K. and Somboon, R. (2015). School as Learning Community: A National Survey of Small, Medium, and Large Secondary Schools. Submitted for publishing in SAGE’s Journal of Qualitative Inquiry, SAGE Publications Inc., 2455 Teller Road, Thousand Oaks, CA 91320.

๖. ประสบการณสอนในระดับอุดมศึกษา ๖.๑ ระยะสอน ๑๖ ป (ป ๒๕๔๓ – ๒๕๕๙) ๖.๒ รายวิชาท่ี (เคย) สอน ระดับปริญญาตรี

- วิชาไทยศึกษา - วิชาพุทธวิถีไทย - วิชารัฐศาสตรตามแนวพุทธ - วิชาประวัติศาสตรพระพุทธศาสนา - วิชามนุษยกับสังคม

Page 72: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

๖๗

ระดับปริญญาโท - วิชาสมาธิในพระพุทธศาสนา

๖.๓ รายวิชาท่ีรับผิดชอบในหลักสูตรเดิม พ.ศ. ๒๕๕๕ - GS ๓๒๐๑ พื้นฐานทางการศึกษา - GS ๓๒๐๒ พื้นฐานทางการบริหารการศึกษา - GS ๓๓๐๓ พุทธศาสนากับการบริหารการศึกษา - GS ๓๔๐๓ การพัฒนาวิชาชีพทางการศึกษา - GS ๓๔๐๔ การพัฒนาคุณภาพของครูและผูบริหารสถานศึกษา - GS ๓๙๐๒ ดุษฎีนิพนธ

๖.๔ รายวิชาท่ีรับผิดชอบในหลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๘

- GS ๓๒๐๑ พื้นฐานทางการศึกษา - GS ๓๒๐๒ พื้นฐานทางการบริหารการศึกษา - GS ๓๓๐๓ พุทธศาสตรเพื่อการบริหารการศึกษา - GS ๓๓๐๖ ปฏิบัติการวิชาชีพบริหารการศึกษา - GS ๓๔๐๓ การพัฒนาวิชาชีพทางการศึกษา - GS ๓๔๐๔ การพัฒนาคุณภาพของครูและผูบริหารสถานศึกษา - GS ๓๙๐๒ ดุษฎีนิพนธ

Page 73: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

๖๘

นายวิโรจน สารรัตนะ

๑. ตําแหนงทางวิชาการ พ.ศ. ๒๕๓๘ – ๒๕๔๒ ผูชวยศาสตราจารย สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร

มหาวิทยาลัยขอนแกน พ.ศ. ๒๕๔๒ – ๒๕๕๕ รองศาสตราจารย สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร

มหาวิทยาลัยขอนแกน

๒. สถานท่ีติดตอ บานเลขที่ ๑๘/๔๓ หมูที่ ๑๔ หมูบานพิมานหรรษา ถนนมิตรภาพ ตําบลในเมือง อําเภอเมือง จังหวัดขอนแกน ๔๐๐๐๐ มือถือ ๐๘๓-๑๔๘-๗๔๗๘ อีเมล [email protected]

๓. ประวัติการศึกษา

ระดับปริญญา สาขาวิชา ปที่สําเร็จ สถาบันที่สําเร็จการศึกษา ปริญญาตร ี ศศ.บ. (การสอนภาษาอังกฤษ) ๒๕๑๘ มหาวิทยาลัยเชียงใหม ปริญญาโท ค.ม. (บริหารการศึกษา) ๒๕๒๕ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปริญญาเอก กศ.ด. (พัฒนศึกษาศาสตร) ๒๕๓๒ มศว. ประสานมิตร Post Doctoral Educational Administration ๒๕๔๘ Washington State Uni., U.S.A.

๔. ประสบการณการทํางานในระดับอุดมศึกษา พ.ศ. ๒๕๓๔ – ๒๕๕๕ อาจารยประจําภาควิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตรมหาวิทยาลัยขอนแกน พ.ศ. ๒๕๔๐ – ๒๕๔๕ หัวหนาภาควิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน พ.ศ. ๒๕๔๒ – ๒๕๕๕ ประธานคณะกรรมบริหารหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา

คณะศึกษาศาสตรมหาวิทยาลัยขอนแกน พ.ศ. ๒๕๔๒ – ๒๕๕๕ บรรณาธิการวารสารการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแกน (ในฐานขอมูล TCI)

๕. รางวัลดานวิชาการ/ดานวิจัยท่ีไดรับ

ป พ.ศ. ชื่อรางวัล หนวยงานท่ีให ๒๕๔๐ วุฒิบัตรและโลรางวัลรองชนะเลิศการเขียนตํารา เรื่อง

กระบวนการนโยบายทางการศึกษา ในโครงการประกวดตํารามหาวิทยาลัย ขอนแกน เน่ืองในวโรกาสมหามงคลสมัยกาญจนาภิเษก ฉลองสิริราชสมบัติ ๕๐ ป

มหาวิทยาลัยขอนแกน

๒๕๔๒ วุฒิบัตรและโลรางวัลชมเชยการเขียนตําราเรื่อง การวางแผนการ ศึกษาระดับจุลภาค ในโครงการประกวดตําราเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เน่ืองในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๔๒

มหาวิทยาลัยขอนแกน

Page 74: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

๖๙

๒๕๔๕ วุฒิบัตรและโลรางวัลชมเชยการเขียนตํารา เรื่อง การบริหาร: หลักการ ทฤษฎี และประเด็นทางการศึกษา (พิมพครั้งที่ ๑) ในโครงการประกวดตํารา ครบรอบ ๓๖ ป มหาวิทยาลัยขอนแกน

มหาวิทยาลัยขอนแกน

๒๕๔๕ วุฒิบัตรและโลรางวัลเกียรติยศชมเชยการเขียนตํารา เรื่อง การบริหาร: หลักการ ทฤษฎี และประเด็นทางการศึกษา (พิมพครั้งที่ ๑) ในโครงการประกวดตําราทางการบริหารการศึกษา ของสมาคมผูบริหารหลักสูตรการบรหิารการศึกษาแหงประเทศไทย สนับสนุนของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ

สมาคมผูบริหารหลักสูตรการบริหารการศึกษาแหงประเทศไทยโดยสนับสนุนของสํานักงานคณะกรรม การการศึกษาแหงชาติ

๒๕๔๘ วุฒิบัตรเกียรติคุณ กรณีเปนประธานที่ปรึกษาดุษฎีนิพนธ รศ. ดร. สมคิด สรอยนํ้า ผูไดรับรางวัลชมเชย (และเงินรางวัล ๒๐,๐๐๐ บาท) จากสภาวิจัยแหงชาติ ประจําป ๒๕๔๘

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกน

๒๕๔๘ โลเกียรติคุณ กรณีเปนประธานที่ปรึกษาดุษฎีนิพนธ ผศ. ดร. สวัสด์ิ โพธิวัฒน ผูไดรับรางวัลระดับดี (และเงินรางวัล ๑๐,๐๐๐ บาท) จากบัณฑิตวิทยาลัย มข ประจําป ๒๕๔๘

บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยขอนแกน

๒๕๔๙ วุฒิบัตร กรณีเปนประธานที่ปรึกษาดุษฎีนิพนธ ผศ. ดร. คนึง สายแกว ผูไดรับรางวัลระดับดีเดน (เงินรางวัล ๓๐,๐๐๐ บาท) สาขาการศึกษาสําหรับบุคคลทั่วไป จากการประชุมวิชาการ “Suan Sunandha Research Symposium” เมื่อ ๑๒ พฤศจิกายน ๒๕๔๙

มหาวิทยาลัยราชภัฎ สวนสุนันทา

๒๕๕๒ Certificate of Meritorious Professor for active and continuing support for KKU & WSU partnership, from College of Education, Washington State University, U.S.A. April ๗, ๒๐๐๙.

College of Education, Washington State University, USA.

๒๕๕๓ Certificate of Appreciation for outstanding leadership and service on behalf of the partnership between KKU & WSU, from College of Education, Washington State University, U.S.A. April ๒๘, ๒๐๑๐

College of Education, Washington State University, USA

๒๕๕๓ โลเกียรติยศและเงินรางวัลรองชนะเลิศอันดับ ๒ การประกวดตําราประจําป ๒๕๕๓ ช่ือ “การวิจัยทางการบริหารการศึกษา: แนวคิดและกรณีศึกษา”

มหาวิทยาลัยขอนแกน

๒๕๕๔ Certificate of Appreciation for outstanding leadership and service on behalf of the partnership between KKU & WSU, from College of Education, Washington State University, U.S.A. April ๗, ๒๐๑๑.

College of Education, Washington State University, USA

Page 75: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

๗๐

๖. ทุนวิจัยท่ีไดรับ

ช่ือโครงการ แหลงทุน งบประมาณรวม

ปที่ได-สิ้นสุด

เปนหัวหนา /

ผูรวมวิจัย

จํานวนนักวิจัย

๒๕๔๙ โครงการเครือขายเชิงกลยุทธเพื่อการผลิตและพัฒนาอาจารยในสถาบันอุดมศึกษาหลักสูตรปริญญาเอก (วิชิต กัมมันตะคุณ -นักวิจัยผูชวย)

สกอ. ๑.๗ ลานบาท

๒๕๔๙-๒๕๕๒

หัวหนา ๓

๒๕๔๙ โครงการเครือขายเชิงกลยุทธเพื่อการผลิตและพัฒนาอาจารยในสถาบันอุดมศึกษาหลักสูตรปริญญาเอก (สมภาร ศิโล – นักวิจัยผูชวย)

สกอ. ๑.๗ ลานบาท

๒๕๔๙-๒๕๕๒

หัวหนา ๓

๒๕๕๐ โครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก (กรุณา ศรีแสน - นักวิจัยผูชวย)

คปก. ๑.๕ ลานบาท

๒๕๔๘-๒๕๕๐

หัวหนา ๓

๒๕๕๐ การวิจัยและประเมินโครงการสมัชชาคุณธรรม: ศักยภาพและโอกาสเพื่อเพิ่มพูนคุณธรรม (ภาคตะวันออกเฉียง เหนือ)

ศูนยสงเสริมและพัฒนาพลังแผนดินเชิงคุณธรรม (ศูนยคุณธรรม)

๑.๙ แสน บาท

๒๕๕๐ หัวหนา ๕

๒๕๕๐ โครงการเครือขายเชิงกลยุทธเพื่อการผลิตและพัฒนาอาจารยในสถาบันอุดมศึกษาหลักสูตรปริญญาเอก (คมสันทิ ์ขจรไพศาล - นักวิจัยผูชวย)

สกอ. ๑.๗ ลานบาท

๒๕๕๐-๒๕๕๓

หัวหนา ๓

๒๕๕๑ โครงการเครือขายเชิงกลยุทธเพื่อการผลิตและพัฒนาอาจารยในสถาบันอุดมศึกษาหลักสูตรปริญญาเอกรวมในประเทศและตางประเทศ (ทัตพิชา นันทา – นักวิจัยผูชวย)

คปก. - สกอ. ๒.๕ ลานบาท

๒๕๕๑-๒๕๕๓

หัวหนา ๓

๒๕๕๒ โครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก (ประพรทิพย คุณากรพิทักษ – นักวิจัยผูชวย)

คปก. ๑.๕ ลานบาท

๒๕๕๒-๒๕๕๓

หัวหนา ๓

Page 76: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

๗๑

๗. ผลงานทางวิชาการ

๗.๑ ผลงานวิจัยท่ีตีพิมพในวารสารนานาชาติ Parkay, F.W., Thummarpon W,, Nilvician H., Intarak C., Sintuvongse K,, Sanrattana

W, and Oaks M.M. (2001). “Toward Collaborative School Leadership in Thailand: The Relationship between Thai Culture Identity and Teacher-Administrator Interactions.” International Journal of Educational Reform. 10 (1) : 34-45.

๗.๒ ผลงานวิจัยท่ีตีพิมพในวารสารนานาชาติ (กรณีเปนที่ปรึกษาวิทยานิพนธหลักของนักศึกษาที่ไดรับทุนวิจัยจาก คปก. หรือ สกอ. หรือ คปก. และ สกอ.) Khajornpanyapaisan, K. Sanrattana, W. and Oaks, M.M. (2011). Proposed

Strategic Map for Development of Kalasin Rajabhat University. Doctor of Philosophy Thesis in Educational Administration, Graduate School, Khon Kaen University. (financial support from the Thailand Research Fund through the Royal Golden Jubilee Ph.D. Program and Office of the Higher Education Commission). Thailand. European Journal of Social Sciences, 22(3), 352-362.

Silo, S., Sanrattana, W. and Oaks, M.M. (2011). Proposed policy for academic development in higher education, Thailand. Doctor of Philosophy Thesis in Educational Administration, Graduate School, Khon Kaen University. (financial support from the Thailand Research Fund through the Royal Golden Jubilee Ph.D. Program and Office of the Higher Education Commission). European Journal of Social Sciences, 23 (3), 432-443.

Kunakornpitak, P, Sanrattana, W., and Oaks, M.M. (2012). A Comparative analysis of the self-Leadership behaviors of Thai and U.S. elementary teachers. Doctor of Philosophy Thesis in Educational Administration, Graduate School, Khon Kaen University. (financial support from the Thailand Research Fund through the Royal Golden Jubilee Ph.D. Program and Office of the Higher Education Commission). International Journal of Educational Reform (IJER).

Nanta, T., Sanrattana, W. and Fry G.W. (2012). America’s new policy goal of sending one million students abroad: strategies for Thailand to become a competitive host destination. Doctor of Philosophy Thesis in Educational Administration, Graduate School, Khon Kaen University. (financial support from the Thailand Research Fund through the Royal Golden Jubilee Ph.D. Program and Office of the Higher Education Commission). Journal of Studies in International Education.

Page 77: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

๗๒

๗.๓ A Chapter (Children and Youth in Thailand) in an Encyclopedia Sanrattana, W., and Oaks, M.M. “Children and Youth in Thailand.” In Epstein I.

(General Editor), and Pattnaik J. (Volume Editor). 2008. The Greenwood Encyclopedia of Children's Issues Worldwide: Asia and Oceania. (GR3620).CT: Greenwood Publishing Group. pp. 487 – 509.

๗.๔ ตําราหรือหนังสือ วิโรจน สารรัตนะ. (๒๕๓๒).อนาคตนิยมทางการศึกษา: หลักการ ทฤษฎี และบทวิเคราะห.

กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพ อักษราพิพัฒน จํากัด. ๑๕๓ หนา. วิโรจน สารรัตนะ. (๒๕๓๒).การศึกษากับการพัฒนาชนบทไทย: แนวคิด ทฤษฎี และบทวิเคราะห

กรณีการยายถ่ิน. กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพ อักษราพิพัฒน จํากัด. ๙๘ หนา วิโรจน สารรัตนะ. (๒๕๓๒).การวางแผนในโรงเรียนมัธยมศึกษา. กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพ

อักษราพิพัฒน จํากัด. ๒๘๑ หนา. วิโรจน สารรัตนะ. (๒๕๓๙). กระบวนการนโยบายทางการศึกษา.กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพทิพย

วิสุทธ์ิ, ๑๓๘ หนา. วิโรจน สารรัตนะ. (๒๕๓๙). การวางแผนการศึกษาระดับจุลภาค (หลักการและแนวคิดเชิง

ประยุกต) กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพทิพยวิสุทธ์ิ, ๘๐ หนา. วิโรจน สารรัตนะ, (๒๕๔๓). การบริหารโรงเรียนแบบกระจายอํานาจ. ปรับปรุงพิมพครั้งที่ ๒

กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพทิพยวิสุทธ์ิ. ๘๔ หนา. วิโรจน สารรัตนะ. (๒๕๔๓). แผนยุทธศาสตรองคการ. ปรับปรุงพิมพครั้งที่ ๒ กรุงเทพมหานคร:

โรงพิมพทิพยวิสุทธ์ิ. ๖๖ หนา. วิโรจน สารรัตนะ. (๒๕๔๔). บทวิเคราะหองคการทางการศึกษาไทยกรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ

ทิพยวิสุทธ์ิ. ๖๖ หนา. วิโรจน สารรัตนะ. (๒๕๔๕). ครูกับการพัฒนา: จากกระแสการพึ่งพาสูการพึ่งตนเองเพื่อความ

สมดุล.ปรับปรุงพิมพครั้งที่ ๒ กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพทิพยวิสุทธ์ิ. ๑๑๘ หนา. วิโรจน สารรัตนะ. (๒๕๔๕). วิธีวิทยาการวิจัยแบบผสม: กระบวนทัศนใหมสําหรับการวิจัย

ทางการบริหารการศึกษา. ปรับปรุงและพิมพครั้งที่ ๒ กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพทิพยวิสุทธ์ิ. ๑๒๔ หนา.

วิโรจน สารรัตนะ. (๒๕๔๖). การบริหารการศึกษา: นโยบายและยุทธศาสตรเพื่อการบรรลุผล.กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพทิพยวิสุทธ์ิ. ๑๗๙ หนา

วิโรจน สารรัตนะ. (๒๕๔๘). โรงเรียน: การบริหารสูความเปนองคการแหงการเรียนรูปรับปรุงและพิมพครั้งที่ ๕. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพทิพยวิสุทธ์ิ. ๒๙๖ หนา.

วิโรจน สารรัตนะ. (๒๕๕๕). แนวคิด ทฤษฎี และประเด็นเพื่อการบริหารทางการศึกษา.พิมพครั้งที่ ๘. กรุงเทพฯ: หจก. ทิพยวิสุทธ์ิ. ๒๕๔ หนา.

วิโรจน สารรัตนะ (๒๕๕๖) กระบวนทัศนใหมทางการศึกษา: กรณีทัศนะตอการศึกษาศตวรรษที่ ๒๑. กรุงเทพฯ: หจก. ทิพยวิสุทธ์ิ. ๒๘๙ หนา.

Page 78: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

๗๓

วิโรจน สารรัตนะ (๒๕๕๗). ภาวะผูนํา: ทฤษฎีและนานาทัศนะรวมสมัยปจจุบัน. กรุงเทพฯ: หจก. ทิพยวิสุทธ์ิ. ๒๗๗ หนา.

วิโรจน สารรัตนะ (๒๕๕๘). การวิจัยทางการบริหารการศึกษา: แนวคิดและกรณีศึกษา. (พิมพครั้งที่ ๔). กรุงเทพฯ: หจก. ทิพยวิสุทธ์ิ. ๔๘๐ หนา.

๗.๕ E-Book วิโรจน สารรัตนะ. (๒๕๕๘). แนวคิด ทฤษฎี และประเด็นเพื่อการบริหารทางการศึกษา.พิมพครั้ง

ที่ ๘. กรุงเทพฯ: หจก. ทิพยวิสุทธ์ิ ๒๕๔ หนา. วิโรจน สารรัตนะ (๒๕๕๘) กระบวนทัศนใหมทางการศึกษา: กรณีทัศนะตอการศึกษาศตวรรษที่

๒๑. กรุงเทพฯ: หจก. ทิพยวิสุทธ์ิ ๒๘๙ หนา. วิโรจน สารรัตนะ (๒๕๕๘). ภาวะผูนํา: ทฤษฎีและนานาทัศนะรวมสมัยปจจุบัน. กรุงเทพฯ:

หจก. ทิพยวิสุทธ์ิ ๒๗๗ หนา. วิโรจน สารรัตนะ (๒๕๕๘). การวิจัยทางการบริหารการศึกษา: แนวคิดและกรณีศึกษา. (พิมพ

ครั้งที่ ๔). กรุงเทพฯ: หจก. ทิพยวิสุทธ์ิ ๔๘๐ หนา. ๗.๖ งานวิจัย (ท่ีมิใชสวนหน่ึงของการศึกษาเพ่ือรับปริญญา)

วิโรจน สารรัตนะ. (๒๕๔๑). การ Pre-test ดัชนีคุณภาพโรงเรียน.วารสารศึกษาศาสตรมหาวิทยาลัยขอนแกน. ๒๐(๑): ๘๔-๘๗. (ทุนสนับสนุนจากองคกร PLAN แหงประเทศไทย)

วิโรจน สารรัตนะ. (๒๕๔๑). การ Pre-test การทดสอบการอานออกเขียนไดและคิดเลขเปน. วารสารศึกษาศาสตรมหาวิทยาลัยขอนแกน. ๒๐(๑): ๘๑-๘๓. (ทุนสนับสนุนจากองคกร PLAN แหงประเทศไทย)

Parkay, F.W., Thummarpon W,, Nilvician H., Intarak C., Sintuvongse K,, Sanrattana W, and Oaks M.M. (2001). “Toward collaborative school leadership in Thailand: The relationship between Thai culture Identity and teacher-administrator interactions.” International Journal of Educational Reform. 10 (1) : 34-45.

Parkay, F.W., Sanrattana, W., and Phanphruk, S., (2001), “Facilitating Cross-National Research and Doctoral-Level Program Development Via the Internet: A Case Study of Online Collaboration Between the U.S. and Thailand.” Presented at the Annual Meeting of American Educational Research Association (AERA),Seattle, U.S.A. April 14, 2001 และพิมพในวารสารศึกษาศาสตรมหาวิทยาลัยขอนแกน. 26 (2): 106-116.

Sanrattana, W. (2002). “A Summative Evaluation Report: Intensive Workshop Format for Doctoral Students in Educational Administration according to A Collaborative Agreement between KKU & WSU.” Presented at the International Symposium on Research in Education 2003, College of Education, Washington State University, U.S.A., April 14, 2003. (ทุนสนับสนุนจากคณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน)

Page 79: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

๗๔

Parkay, F.W., Sanrattana, W., Saenghiran, B., Promboon, S., and Heggins III, W. (2002). “University Partners for Academic Leadership (UPAL): A Cross National Model for Facilitating Higher Education Reform in Developing Countries.” Presented at the Annual Meeting of the American Educational Research Association (AERA), Chicago, U.S.A. April, 21, 2003

วิโรจน สารรัตนะ. (๒๕๔๕). การวิจัยและพัฒนาสื่อการเรียนรูดวยตนเอง เรื่อง Fundamentals of Educational Administration: For Self-study.วารสารศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน. ๒๖ (๔) : ๕-๑๑. (ทุนสนับสนุนจาก มหาวิทยาลัย ขอนแกน)

วิโรจน สารรัตนะ และ อัญชลี สารรัตนะ. (๒๕๔๕). ปจจัยทางการบริหารกับการเปนองคการแหงการเรียนรูในโรงเรียนประถมศึกษาสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาติ เขตการศึกษา ๙ เอกสารการประชุมวิชาการงานบริหารสัมพันธ ครั้งที่ ๒๖ จัดโดยภาควิชาการบริหารการศึกษา คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ๑๒ ตุลาคม ๒๕๔๕ และ Presented at the International Symposium on Research in Education ๒๐๐๓, College of Education, Washington State University, U.S.A., April ๑๔, ๒๐๐๓. (ทุนสนับสนุนจากคณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน)

วิโรจน สารรัตนะ, สัมพันธ พันธุพฤกษ, และนักศึกษาปริญญาเอก สาขาวิชาการบริหารการศึกษา รุนที ่๑. (๒๕๔๖). ผูบริหารใหมในโรงเรียนประถมศึกษาและโรงเรียนมัธยมศึกษา. วารสารศึกษาศาสตรมหาวิทยาลัยขอนแกน. ๒๖ (๓): ๖-๓. (ทุนสนับสนุนจากคณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน)

Sanrattana, W., Parkay, F.W., Phanphruk, S. and 14 doctoral students. (2003). “Beginning Primary-School Principals in Thailand: A National Survey of their Priorities and Concerns.” Presented at the Annual Meeting of the American Educational Research Association (AERA), Chicago, U.S.A. April, 21, 2003

Sanrattana, W., Phanphruk, S., Parkay, F.W., and 14 doctoral students. (2003). “The Induction of Beginning Primary-School Principals in Thailand.” Presented at the Annual Meeting of the American Educational Research Association (AERA), Chicago, U.S.A. April, 25, 2003

Parkay, F.W., Oaks, M.M., Heggins, W., and Sanrattana, W., (2003). “The Center for Educational Research and Policy Assessment (CERPA): Facilitating Educational Reform in Developing Countries.” Presented at the Annual Meeting of the American Educational Research Association, San Diego, U.S.A. April, 13, 2004.

Sanrattana, W., Sanrattana, U, and Parkay, F.W. (2003). “The Processes of Decentralization among Primary Schools in Northeast Thailand: A Report on a National Effort to Decentralize School Administration.” Presented at the Annual Meeting of the American Educational Research Association (AERA), San Diego, U.S.A. April, 16, 2004. (ทุนสนับสนุนจากคณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน)

Page 80: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

๗๕

Sanrattana, W. and Parkay, F.W. (organizers). (2003). “The School as a Learning Community: A National Survey of Primary and Secondary Schools, and Vocational Colleges in Thailand.” Presented at the Annual Meeting of the American Educational Research Association (AERA), San Diego, U.S.A. April, 14, 2004. (ทุนสนับสนุนจากคณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน)

Sanrattana, W., Parkay, F.W., and Oaks, M.M. (2005). Khon Kaen University’s Doctoral Program in Educational Administration: A Partnership Between KKU and Washington State University—An Overview of Past and Future Collaborative Activities Educational Administration Journal, Khon Kaen University, 1 (2): 91-101.

Sanrattana, W. (2006). “Conceptual framework for knowledge management in education organization.” Journal of Educational Administration, Khon Kaen University. 2(1):111-135. (ทุนสนับสนุนจากคณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน)

วิโรจน สารรัตนะ (๒๕๕๑).การวิจัยและประเมินโครงการสมัชชาคุณธรรม: ศักยภาพและโอกาสเพื่อเพิ่มพูนคุณธรรม (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ).ทุนสนับสนุนจากศูนยสงเสริมและพัฒนาพลังแผนดินเชิงคุณธรรม (ศูนยคุณธรรม) เอกสารฉบับสมบูรณ.

Sanrattana, W. (2008) The climate of large secondary schools: A report on the perceptions of students, teachers, and parents in Northeast Thailand. Presented at the AERA annual meeting 2008, New York, U.S.A. March 2008.

Sanrattana, W. (2009) A proposed conceptual model for knowledge management in educational organization.. Journal of Educational Administration, KKU. 5(1), 109-115.

๗.๗ ผลงานวิจัยยอนหลัง 5 ป

Sanrattana, W., Oaks, M.M. and Kunagornpitak, P. (2011). Self-leadership performance of elementary school teachers in Thailand. Presented at the 2011 Annual Meeting of American Educational Research Association (AERA), New Orleans, U.S.A. 8-12 April, 2011.

Sanrattana, W., Parkay, F.W., and Mei, W. (2012) “Student, Teacher, and Parental Perceptions of Elementary School Climate: A Progress Report on Thailand’s Quest for Educational Quality” Journal of Educational Administration, Khon Kaen University. 8 (1): 120-136.

Sanrattana, W., Sutheejariyawat, Phasugo, S., Chusorn, P., and Plarin, K. (2015). New school principals in Thailand: Influences on their leadership and professional development. Journal of Educational Administration, Khon Kaen University. 11(1).

Page 81: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

๗๖

Sanrattana, W., Sutheejariyawat, Phasugo, S., Chusorn, P., and Somboon, R. (2015). Conditions for change in small-sized primary schools, Northeast Thailand. Journal of Educational Administration, Khon Kaen University. 11(1).

Sanrattana, W., Sutheejariyawat, Phasugo, S., Chusorn, P., Plarin, K. and Somboon, R. (2015). School as Learning Community: A National Survey of Small, Medium, and Large Secondary Schools. Submitted for publishing in SAGE’s Journal of Qualitative Inquiry, SAGE Publications Inc., 2455 Teller Road, Thousand Oaks, CA 91320.

ผลงานวิจัยตีพิมพในตําราตางประเทศ Sanrattana, W., Parkay, F.W., and Mei, W. “Student, Teacher, and Parental

Perceptions of Elementary School Climate: A Progress Report on Thailand’s Quest for Educational Quality” in Saleh, I.M., and Khine, M.S. (editors) (2014). Reframing Transformational Leadership: New School Culture and Effectiveness. Rotterdam: Sense Publishers.

๗.๘ บทความวิชาการ

วิโรจน สารรัตนะ. (๒๕๓๗). การกระจายอํานาจทางการศึกษา: ขอสงสัยและขอเสนอแนะ. วารสารคณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน ๑๖ (๑): ๔๓-๔๘.

วิโรจน สารรัตนะ. (๒๕๔๑). วิพากษการศึกษาไทย: อดีต และอนาคต. วารสารคณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน ๒๐ (๑): ๑๙-๓๙.

วิโรจน สารรัตนะ. (๒๕๔๑). ครูกับการพัฒนา: บทบาทเพื่อเสริมสรางวิชาชีพ. เอกสารประกอบการสัมมนาทางวิชาการเรื่อง การพัฒนาวิชาชีพและความกาวหนาของครู คระศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน. หนา ๔๗-๕๔.

วิโรจน สารรัตนะ. (๒๕๔๔) บริบททางวัฒนธรรมสังคม: ประเด็นทาทายการใชหลักการบริหารเพื่อปฏิรูปการศึกษาวารสารคณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน ๒๔ (๒): ๓๒-๔๒..

วิโรจน สารรัตนะ. (๒๕๔๔). การประเมินผลการปฏิบัติงาน: ประเด็นและขอคิดจากทฤษฎีการจูงใจในบริบทวัฒนธรรมสังคมไทย. วารสารคณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน ๒๔ (๓): ๘-๒๗..

วิโรจน สารรัตนะ. (๒๕๔๔). เปรียบเทียบหลักการวิจัย การบริหาร และการพัฒนา เพื่อการประยุกตใช. วารสารคณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน ๒๕ (๑): ๘-๑๕.

วิโรจน สารรัตนะ. (๒๕๔๕). วิเคราะหองคการทางการศึกษาไทย: กรอบแนวคิดเชิงทฤษฎีเพื่อความเขาใจในปรากฎการณ. วารสารคณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน26 (1): 9 - 31.

วิโรจน สารรัตนะ. (๒๕๔๗). การพัฒนาครูและผูบริหารในยุคเปลี่ยนผานและการปฏิรูป. วารสารคณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลยัขอนแกน ๒๗ (๓): ๑๐-๒๑..

วิโรจน สารรัตนะ. (๒๕๔๗). ภาวะผูนํา: จากทฤษฎีสูขอเสนอรูปแบบการพัฒนาหลักสูตร. วารสารคณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน. ๒๗ (๓): ๔๐-๕๒..

Page 82: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

๗๗

วิโรจน สารรัตนะ และประยุทธ ชูสอน (๒๕๔๘). นโยบายและการวิจัยเชิงนโยบาย. วารสารบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแกน ๑ (๒): ๓๒-๔๒.

วิโรจน สารรัตนะ. (๒๕๔๘). การวิจัยเชิงปฏิบัติแบบมีสวนรวม: กรณีศึกษาเปรียบเทียบหลักการบริหารและการพฒันา. วารสารบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแกน ๑ (๒): ๔๓-๕๑.

Sanrattana, W., Parkay, F.W., and Oaks, M.M., (2005). Khon Kaen University’s Doctoral Program in Educational Administration: A partnership between KKU

and Washington State University—An overview of past and future collaborative activities วารสารบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแกน ๑ (๒): ๙๑-๑๐๑.

วิโรจน สารรัตนะ. (๒๕๕๑). รูปแบบการประเมินเชิงระบบและรวมพลัง. วารสารบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแกน ๓ (๒): ๓-๒๕.

วิโรจน สารรัตนะ. (๒๕๕๑). การวิจัยเชิงนโยบายแบบมีสวนรวม. วารสารบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแกน ๓ (๒): ๒๖-๔๐.

วิโรจน สารรัตนะ. (๒๕๕๓). ทัศนะการทําวิจัยเพื่อเสนอเปนผลงานวิชาการของผูบริหารสถานศึกษา. วารสารบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแกน ๖ (๒): ๓-๑๕.

๘. ประสบการณการสอนระดับอุดมศึกษา

๘.๑ ระยะเวลา ๒๔ ป คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

- ระดับปริญญาโท สาขาวิชาการบริหารการศึกษา (๒๕๓๔ – ๒๕๔๕) - ระดับปริญญาเอก สาขาวิชาการบริหารการศึกษา (๒๕๔๒ – ๒๕๕๕) คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยมหามกฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน - ระดับปริญญาเอก สาขาวิชาการบริหารการศึกษา ๒๕๕๖ – ปจจุบัน

๘.๒ รายวิชาท่ี (เคย) สอน ระดับปริญญาโท (หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน) - หลักและทฤษฎีทางการบริหารการศึกษา - การพัฒนานโยบายทางการศึกษา ระดับปริญญาเอก (หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิตสาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน) - สัมมนาการวิจัยทางการบริหารการศึกษา - การพัฒนาเคาโครงวิทยานิพนธ - การศึกษาอิสระทางการบริหารการศึกษา - การบูรณาการทฤษฎีเพื่อการบริหารการศึกษา - นวัตกรรมทางการบริหารการศึกษา

Page 83: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

๗๘

๘.๓ รายวิชาท่ีรับผิดชอบในหลักสูตรเดิม พ.ศ. ๒๕๕๕ - GS ๓๓๐๒ ทฤษฎีและแนวโนมเพื่อการบริหารการศึกษา - GS ๓๓๐๕ การวิจัยทางการบริหารการศึกษา - GS ๓๔๐๙ การพัฒนาเคาโครงวิจัยทางการบริหารการศึกษา - GS ๓๔๑๐ การศึกษาอิสระทางการบริหารการศึกษา - GS ๓๔๐๖ การวิเคราะหและประเมินนโยบายทางการศึกษา - GS ๓๙๐๑ ดุษฎีนิพนธ - GS ๓๙๐๒ ดุษฎีนิพนธ

๘.๔ รายวิชาท่ีรับผิดชอบในหลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๘ - GS ๓๓๐๒ แนวโนมและนวัตกรรมเพื่อการบริหารการศึกษา - GS ๓๓๐๕ การวิจัยทางการบริหารการศึกษา - GS ๓๓๐๖ ปฏิบัติการวิชาชีพบริหารการศึกษา - GS ๓๔๐๙ การพัฒนาเคาโครงวิจัยทางการบริหารการศึกษา - GS ๓๔๑๐ การศึกษาอิสระทางการบริหารการศึกษา - GS ๓๙๐๑ ดุษฎีนิพนธ - GS ๓๙๐๒ ดุษฎีนิพนธ

Page 84: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

๗๙

นายไกศิษฏ เปลรินทร

๙. ตําแหนงทางวิชาการ - ๑๐. คุณวุฒิและสาขาวิชา

ระดับปริญญา สาขาวิชา ปที่สําเร็จ สถาบันที่สําเร็จการศึกษา ปริญญาตร ี ค.บ. (ภาษาอังกฤษ) ๒๕๑๘ วิทยาลัยครูมหาสารคาม ปริญญาโท ศศ.ม. (การสอนภาษาอังกฤษ) ๒๕๒๓ มหาวิทยาลัยเกษตรศาตร Certificate Diploma in Applied

Linguistics ๒๕๒๘ Regional Language Centre,

Singapore ปริญญาเอก ศษ.ด. (บริหารการศึกษา) ๒๕๕๒ มหาวิทยาลัยขอนแกน

๔. ประสบการณการทํางาน พ.ศ. ๒๕๑๙ – ๒๕๔๐ ครูสอนวิชาภาษาอังกฤษ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนขอนแกน

วิทยายน พ.ศ. ๒๕๔๐ – ๒๕๕๗ ผูบริหารโรงเรียน โรงเรียนขอนแกนวิทยายน 2 โรงเรียนจตุรมิตรวิทยาคาร โรงเรียนหนองเรือวิทยา โรงเรียนจระเขวิทยายน พ.ศ. ๒๕๔๐ – ๒๕๕๗ หัวหนาคณะทํางานตรวจโรงเรียนเพื่อเตรียมรับการประเมินของ สมศ. พ.ศ. ๒๕๔๐ – ๒๕๕๗ ประธานสหวิทยาเขต โรงเรียนจตุรมิตรวิทยาคาร และโรงเรียนหนองเรือวิทยา

๔. ประสบการณทางวิชาการ พ.ศ. ๒๕๕๓ ผูทรงคุณตรวจสอบผลงานวิจัย (peer review) ประจําวารสารศึกษาศาสตร

มหาวิทยาลัยขอนแกน (ในฐานขอมูลของ TCI) ปที่ ๖ ฉบับที่ ๑ และปที่ ๖ ฉบับที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๕๓ กรรมการสอบดุษฎีนิพนธของนักศึกษาปริญญาเอกสาขาวิชาการบริหารการศึกษา

มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย จํานวน ๒ ราย พ.ศ. ๒๕๕๔ ผูทรงคุณตรวจสอบผลงานวิจัย (peer review) ประจําวารสารศึกษาศาสตร

มหาวิทยาลัยขอนแกน (ในฐานขอมูลของ TCI) ปที่ ๗ ฉบับที่ ๑ และปที่ ๗ ฉบับที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๕๔ กรรมการสอบดุษฎีนิพนธของนักศึกษาปริญญาเอกสาขาวิชาการบริหารการศึกษา

มหาวิทยาลัยขอนแกน จํานวน ๑ ราย พ.ศ. ๒๕๕๕ ผูทรงคุณตรวจสอบผลงานวิจัย (peer review) ประจําวารสารศึกษาศาสตร

มหาวิทยาลัยขอนแกน (ในฐานขอมูลของ TCI) ปที่ ๘ ฉบับที่ ๑ และปที่ ๘ ฉบับที่ ๒

Page 85: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

๘๐

๒. ประสบการณการศึกษาดูงานตางประเทศ - ประเทศมาเลเซีย - ประเทศสิงคโปร (๒ ครั้ง) - ประเทศอินโดนีเซีย - ประเทศฟลิปปนส - ประเทศญี่ปุน (๔ ครั้ง) - ประเทศสหรัฐอเมริกา (๓ ครั้ง) - สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนจีน (๒ ครั้ง)

๓. ผลงานทางวิชาการ

เอกสารประกอบการสอน ไกศิษฏ เปลรินทร (๒๕๕๗). นโยบายและการวางแผนการศึกษา. ขอนแกน: มหาวิทยาลัยมหามกุฏราช

วิทยาลยั วิทยาเขตอีสาน (เอกสารประกอบการสอนระดับปริญญาโท) ๔. งานวิจัย (ท่ีมิใชสวนหน่ึงของการศึกษาเพ่ือรับปริญญา)

Chusorn, P., Suthreejariyawat, Phasugo, S., Plarin, K., and Somboon, R. (2015). Challenging issues in continuous improvement of quality for secondary school. Accepted for publishing in Journal of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University. 23(3).

Chusorn, P., Suthreejariyawat, Phasugo, S., Plarin, K., and Somboon, R. (2015). Strategic Challenge: The Role of Leaders for Implementing Total Quality Management the Universities to ward Excellence. Accepted for publishing in Journal of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University. 23(3).

Sanrattana, W., Sutheejariyawat, Hasook, S., and Plarin, K. (2015). New school principals in Thailand: Influences on their leadership and professional development. Journal of Educational Administration, Khon Kaen University. 11(1).

Sanrattana, W., Sutheejariyawat, Hasook, S., Plarin, K. and Somboon, R. (2015). School as Learning Community: A National Survey of Small, Medium, and Large Secondary Schools. Journal of Educational Administration, Khon Kaen University. 11(1).

๕. ประสบการณการสอนในระดับอุดมศึกษา ๗.๑ ระยะเวลา ๑ ป ๗.๒ รายวิชาท่ี (เคย) สอน รายวิชานโยบายและการวางแผนการศึกษา ในหลักสูตรมหาบัณฑิตสาขาวิชาการบริหารการศึกษา

มหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน พ.ศ. ๒๕๕๗ ๗.๓ รายวิชาท่ีรับผิดชอบในหลักสูตรเดิม พ.ศ. ๒๕๕๕

- ไมม ี

Page 86: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

๘๑

๗.๔ รายวิชาท่ีรับผิดชอบในหลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๘

- GS ๓๓๐๔ ภาวะผูนําและธรรมาภิบาลที่ดีในการบริหารการศึกษา - GS ๓๓๐๓ พุทธศาสตรกับการบริหารการศึกษา - GS ๓๓๐๖ ปฏิบัติการวิชาชีพบริหารการศึกษา - GS ๓๔๐๕ ภาวะผูนําเพื่อการเรียนรู - GS ๓๔๐๖ การวิเคราะหและประเมินนโยบายทางการศึกษา - GS ๓๔๑๑ สถิติข้ันสูงเพื่อการวิจัยทางการบริหารการศึกษา - GS ๓๔๑๒ สถิติวิเคราะหเพื่อการวิจัย - GS ๓๙๐๒ ดุษฎีนิพนธ

Page 87: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

๘๒

นางรัตนาภรณ สมบูรณ

๑. ตําแหนงทางวิชาการ - ๒. สถานท่ีติดตอ

โรงเรียนอมตวิทยา เลขที่ ๑๒๑ หมูที่ ๔ ตําบลหนองสองหอง อําเภอหนองสองหอง จังหวัดขอนแกน ๔๐๑๙๐ โทรศัพท ๐๘๑-๗๐๘-๓๘๘๓ Email: [email protected]

๓. คุณวุฒิและสาขาวิชา

ระดับปริญญา สาขาวิชา ปที่สําเร็จ สถาบันที่สําเร็จการศึกษา ปริญญาตร ี คบ. (ภูมิศาสตร) ๒๕๑๙ วิทยาลัยครูบานสมเด็จเจาพระยา ปริญญาโท ศษ.ม. (บริหารการศึกษา) ๒๕๔๓ มหาวิทยาลัยขอนแกน ปริญญาเอก ปร.ด. (บริหารการศึกษา) ๒๕๕๖ มหาวิทยาลัยขอนแกน

๕. ประสบการณการทํางานทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๒๐ ผูรับใบอนุญาตโรงเรียนอมตวิทยา (เปดสอนระดับอนุบาล-ม.๖) พ.ศ. ๒๕๒๘ - ๒๕๓๗ กรรมการคุรุสภาอําเภอหนองสองหอง จังหวัดขอนแกน พ.ศ. ๒๕๓๐ – ๒๕๓๔ ผูทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการการประถมศึกษาจังหวัดขอนแกน พ.ศ. ๒๕๔๕ – ๒๕๔๙ ประธานกรรมการบริหารโรงเรียนเอกชน เขตพื้นที่การศึกษาขอนแกน เขต ๓ พ.ศ. ๒๕๕๐ ผูรับใบอนุญาตวิทยาลัยเทคโนโลยีอมตะ (เปดสอน ปวช-ปวส) พ.ศ. ๒๕๕๖ – ปจจุบัน คณะกรรมการประสานและสงเสริมการศึกษาเอกชนจังหวัด (ปสกช.) ขอนแกน พ.ศ. ๒๕๕๘ – ปจจุบัน ประธาน อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษาขอนแกน เขต ๓

๕. ประสบการณทางวิชาการ พ.ศ. ๒๕๕๒ กรรมการบริหารหลักสูตรระดับมหาบัณฑิตสาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะ

ศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน พ.ศ. ๒๕๕๒ กรรมการที่ปรึกษาสมาคมศิษยเกา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน พ.ศ. ๒๕๕๘ ที่ปรึกษารวมวิทยานิพนธระดับดุษฎีบัณฑิตสาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัย

มหามกุฎราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน จํานวน ๑ ราย

๖. ประสบการณการศึกษาดูงานตางประเทศ ๑) กลุมประเทศทวีปเอเชีย (สิงคโปร, จีน, ญี่ปุน, เกาหลี, ลาว, กัมพูชา, เวียดนาม, มาเลเซีย) ๒) กลุมประเทศทวีปยุโรป (ฝรั่งเศส, อิตาล,ี เยอรมัน, เช็คโกสโลวาเกีย, ออสเตรีย, ฮังการี, เนเธอรแลนด

นอรเวย, สวีเดน, ฟนแลนด, เดนมารก, สวิตเซอรแลนด) ๓) ประเทศ สหรัฐอเมริกา และ แคนาดา ๔) ประเทศออสเตรเลีย และ นิวซีแลนด ๕) ประเทศตูนิเซีย

Page 88: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

๘๓

๗. ประสบการณดานอ่ืน พ.ศ. ๒๕๒๕ - ๒๕๓๙ สมาชิกสภาจังหวัดขอนแกน ๓ สมัย พ.ศ. ๒๕๒๙ - ๒๕๓๙ ที่ปรึกษากลุมพัฒนาสตรีอําเภอหนองสองหอง จังหวัดขอนแกน พ.ศ. ๒๕๒๙ - ๒๕๓๙ ที่ปรึกษากลุมพัฒนาสตรี จังหวัดขอนแกน พ.ศ. ๒๕๓๘ - ๒๕๔๐ กรรมการพัฒนาหมูบานอาสาพัฒนาชนบท โครงการพระราชดํารสิมเด็จพระเทพ

รัตนราชสุดาฯ พ.ศ. ๒๕๓๘ - ๒๕๔๐ กรรมการกาชาดจังหวัดขอนแกน พ.ศ. ๒๕๔๒ - ๒๕๔๗ สมาชิกสภาองคการบริหารสวนจังหวัดขอนแกน ๑ สมัย พ.ศ. ๒๕๔๙ สมาชิกวุฒิสมาชิกจังหวัดขอนแกน พ.ศ. ๒๕๔๙ ที่ปรึกษารัฐมนตรีวาการกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (นายวุฒิพงษ

ฉายแสง) ๒ สมัย พ.ศ.๒๕๕๒ กรรมการผูทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการจัดสรรที่ดินจังหวัดขอนแกน พ.ศ.๒๕๕๕ ผูชวยเลขานุการประธานรัฐสภา (นายสมศักด์ิ เกียรติสุรนนท) พ.ศ.๒๕๕๔ - ปจจุบัน กรรมการผูทรงคุณวุฒิสภาลูกเสือไทย

๘. ผลงานและรางวัลท่ีไดรับ พ.ศ.๒๕๔๓ รางวัลสถานศึกษาดีเดนรางวัลพระราชทาน ระดับประถมศึกษาขนาดกลาง พ.ศ.๒๕๔๖ รางวัลสถานศึกษาดีเดนรางวัลพระราชทาน ระดับมัธยมศึกษาขนาดกลาง พ.ศ.๒๕๔๘ รางวัลสถานศึกษาดีเดนรางวัลพระราชทาน ระดับกอนประถมศึกษาขนาดกลาง พ.ศ.๒๕๕๐ รางวัลสถานศึกษาดีเดนรางวัลพระราชทาน ระดับมัธยมศึกษาขนาดกลาง พ.ศ.๒๕๕๐ รางวัลนักเรียนดีเดนรางวัลพระราชทาน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย พ.ศ.๒๕๕๑ รางวัลผูทําคุณประโยชนใหแกการศึกษาข้ันพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.๒๕๕๑ รางวัลผูหญิงเกงระดับเขต จากกรมพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย พ.ศ.๒๕๕๒ รางวัลสถานศึกษาดีเดนรางวัลพระราชทาน ระดับกอนประถมศึกษาขนาดกลาง พ.ศ.๒๕๕๔ รางวัลสถานศึกษาดีเดนโลรางวัลพระราชทาน ระดับมัธยมศึกษาขนาดกลาง พ.ศ.๒๕๕๖ รางวัลสถานศึกษาดีเดนโลรางวัลพระราชทาน ระดับกอนประถมศึกษาขนาดกลาง พ.ศ.๒๕๕๖ รางวัลนักเรียนดีเดนรางวัลพระราชทาน ระดับมัธยมศึกษาตอนตน พ.ศ.๒๕๕๖ รางวัลเชิดชูเกียรติ ผูบริหารเอกชนดีเดน พ.ศ.๒๕๕๗ รางวัลครูดีศรีหนองสองหอง ประเภทผูอํานวยการสถานศึกษาดีเดน พ.ศ.๒๕๕๔-๒๕๕๘ สถานศึกษาไดรับการรับรองมาตรฐานการศึกษา รอบสาม สมศ.

Page 89: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

๘๔

๙. งานวิจัย (ท่ีมิใชสวนหน่ึงของการศึกษาเพ่ือรับปริญญา) Chusorn, P., Suthreejariyawat, Phasugo, S., Plarin, K., and Somboon, R. (2015). Challenging

issues in continuous improvement of quality for secondary school. Accepted for publishing in Journal of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University. 23(3).

Chusorn, P., Suthreejariyawat, Phasugo, S., Plarin, K., and Somboon, R. (2015). Strategic Challenge: The Role of Leaders for Implementing Total Quality Management the Universities to ward Excellence. Accepted for publishing in Journal of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University. 23(3).

Sanrattana, W., Sutheejariyawat, Phasugo, S., Chusorn, P., and Somboon, R. (2015). Conditions for change in small-sized primary schools, Northeast Thailand. Journal of Educational Administration, Khon Kaen University. 11(1)

Sanrattana, W., Sutheejariyawat, Phasugo, S., Chusorn, P., Plarin, K. and Somboon, R. (2015). School as Learning Community: A National Survey of Small, Medium, and Large Secondary Schools. Submitted for publishing in SAGE’s Journal of Qualitative Inquiry, SAGE Publications Inc., 2455 Teller Road, Thousand Oaks, CA 91320.

๑๐) ประสบการณการสอนในระดับอุดมศึกษา ๑๐.๑ ระยะเวลา - ป ๑๐.๒ รายวิชาท่ี (เคย) สอน

- ไมม ี ๑๐.๓ รายวิชาท่ีรับผิดชอบในหลักสูตรเดิม พ.ศ. ๒๕๕๕

- ไมม ี ๑๐.๔ รายวิชาท่ีรับผิดชอบในหลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๘

- GS ๓๓๐๑ วิพากษการศึกษาไทยในสังคมโลกและภูมิภาค - GS ๓๓๐๒ แนวโนมและนวัตกรรมทางการบริหารการศึกษา - GS ๓๓๐๖ ปฏิบัติการวิชาชีพบริหารการศึกษา - GS ๓๔๐๖ การวิเคราะหและประเมินนโยบายทางการศึกษา - GS ๓๔๐๗ การเปลี่ยนแปลงองคการทางการศึกษา - GS ๓๔๐๘ การบริหารและการนําสถานศึกษาสูความสําเร็จ - GS ๓๙๐๒ ดุษฎีนิพนธ

Page 90: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

๘๕

ภาคผนวก ค

เปรียบเทียบประเด็นเดิมกับประเด็นที่มีการปรับปรุงใหม

Page 91: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

๘๖

ภาคผนวก ง

คําสั่งมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ท่ี ๑๓๔๙/๒๕๕๘ เร่ือง แตงต้ังคณะกรรมการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต

สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๕๒

คําสั่งมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ท่ี ๑๓๕๐/๒๕๕๘

เร่ือง แตงต้ังคณะกรรมการวิพากษหลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร

ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๕๒

Page 92: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

๘๗

Page 93: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

๘๘

Page 94: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

๘๙

ภาคผนวก จ ระเบียบมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย

วาดวยการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๔

Page 95: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

๙๐

ระเบียบมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย

วาดวยการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๔

โดยที่เปนการสมควรใหมีการปรับปรุงแกไขระเบียบมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วาดวยการศึกษา

ในระดับบัณฑิตศึกษา เพื่อใหเหมาะสมกับมาตรฐานทางวิชาการและการบริหารงานการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา และเพื่อใหสอดคลองกับประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ.

๒๕๔๘ และประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๕๒ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา๑๙ (๒) แหงพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย พ.ศ.

๒๕๔๐ และมติสภามหาวิทยาลัยในการประชุมครั้งที่ ๑/๒๕๕๔ เมื่อวันที่ ๗ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๔ จึงไดออกระเบียบไวดังตอไปน้ี

ขอ ๑ ระเบียบน้ีเรียกวา “ระเบียบมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยวาดวยการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๔”

ขอ ๒ ระเบียบน้ีใหใชบังคับต้ังแตวันถัดจากวันประกาศใชเปนตนไป ขอ ๓ ใหยกเลิกระเบียบมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วาดวยการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา

บัณฑิตวิทยาลัยพ.ศ. ๒๕๔๑ และระเบียบมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วาดวยการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย พ.ศ. ๒๕๔๑ (แกไขเพิ่มเติม พ.ศ. ๒๕๔๕) และระเบียบมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วาดวยการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๘ (แกไขเพิ่มเติม พ.ศ. ๒๕๕๓) ใหใชระเบียบน้ีแทน

ขอ ๔ บรรดาระเบียบ ขอบังคับ ประกาศ คําสั่ง หรือมติอื่นใดซึ่งขัดหรือแยงกับขอกําหนดแหงระเบียบน้ีใหใชระเบียบน้ีแทน

ขอ ๕ ในระเบียบน้ี “มหาวิทยาลัย” หมายถึง มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย “สภามหาวิทยาลัย” หมายถึง สภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย “สภาวิชาการ” หมายถึง สภาวิชาการ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย

“อธิการบดี” หมายถึง อธิการบดี มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย “บัณฑิตวิทยาลัย” หมายถึง บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย “คณบดี” หมายถึง คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย “ประธานสาขา” หมายถึง บุคคลผูไดรับแตงต้ังใหดํารงตําแหนงประธานสาขา ตามโครงสรางการ

บริหารบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย “อาจารยประจําหลักสูตร” หมายถึง อาจารยประจําหลักสูตร สาขาวิชาตางๆ ที่มหาวิทยาลัย

เปดสอน

Page 96: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

๙๑

“อาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตร” หมายถึง อาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตร สาขาวิชาตางๆ ที่ มหาวิทยาลัยเปดสอน

“นักศึกษา” หมายถึง นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย “วิทยานิพนธ” หมายถึง รายงานการคนควาวิจัยที่นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาทําข้ึน เพื่อเปน

สวนหน่ึงของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาโทและปริญญาเอก สําหรับหลักสูตรปริญญา

โท แผน ข เรียกวา สารนิพนธ ขอ ๖ ระบบการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัยใชระบบการศึกษาแบบหนวยกิตแบบทวิภาค

๖.๑ ปการศึกษาหน่ึงๆ แบงออกเปน๒ภาคการศึกษาปกติ (semester) คือภาคการศึกษาตนและภาคการศึกษาปลายและอาจมีภาคฤดูรอนตอจากภาคการศึกษาปลายอีก ๑ ภาคก็ไดภาคการศึกษาหน่ึงๆตองมีระยะเวลาไมนอยกวา ๑๖ สัปดาห สวนภาคฤดูรอนมี

ระยะเวลาการศึกษาประมาณ ๖ – ๘ สัปดาห ทั้งน้ีตองมีช่ัวโมงเรียนของแตละรายวิชาเทากับช่ัวโมงเรียนในภาคการศึกษาปกติ

๖.๒ เวลาการศึกษา ๑ ปการศึกษา หมายถึง ๒ ภาคการศึกษา หรือ ๒ ภาคการศึกษากับ ๑ ภาคฤดูรอนแลวแตกรณี

๖.๓ “หนวยกิต” หมายถึง หนวยที่ใชแสดงปริมาณการศึกษาการกําหนดหนวยกิตสําหรับแตละรายวิชามีหลักเกณฑดังน้ี

๖.๓.๑ การบรรยายหรือการเรียนการสอนที่เทียบเทา ๑ ช่ัวโมงตอสัปดาห ตลอดภาคการศึกษาไมนอยกวา ๑๖ ช่ัวโมงตอหน่ึงภาคการศึกษา คิดเปนปริมาณการศึกษา ๑ หนวยกิต

๖.๓.๒ การปฏิบัติการการทดลองการฝกหรือการเรียนการสอนที่เทียบเทา ๒ ถึง ๓ ช่ัวโมงตอสัปดาหตลอดภาคการศึกษา หรือต้ังแต ๓๐ ถึง ๔๕ ช่ัวโมงตอหน่ึงภาคการศึกษา คิดเปนปริมาณการศึกษา ๑ หนวยกิต

๖.๓.๓ การฝกงานหรือการฝกภาคสนามที่ใชเวลา ๓ ถึง ๖ ช่ัวโมงตอสัปดาห หรือต้ังแต ๔๕ ถึง ๙๐ ช่ัวโมงตลอดภาคการศึกษา คิดเปนปริมาณการศึกษา ๑ หนวยกิต

๖.๓.๔ รายวิชาการศึกษาคนควาอิสระ (independent study) หรือสารนิพนธ (thematic paper) หรือวิทยานิพนธ (thesis) ที่ใชเวลา ๓ ถึง ๔ ช่ัวโมงตอสัปดาห หรือต้ังแต ๔๕ ถึง๖๐ ช่ัวโมงตอหน่ึงภาคการศึกษา คิดเปนปริมาณการศึกษา ๑ หนวยกิต

๖.๔ “วิชาไมนับหนวยกิต” หมายถึง รายวิชาที่กําหนดในหลักสูตรใหนักศึกษาจะตองศึกษาและสอบผานโดยไดรับสัญลักษณ S (satisfactory) ถาไมผานจะไดรับสัญลักษณ U (unsatisfactory) และไมนํามานับหนวยกิตรวมในหลักสูตร

๖.๕ “หนวยกิตเรียน” คือ จํานวนหนวยกิตที่นักศึกษาลงทะเบียน ๖.๖ “หนวยกิตคํานวณรายภาค” หมายถึง จํานวนหนวยกิตทั้งหมดรวมกันของทุกรายวิชาที่

นักศึกษาไดรับสัญลักษณ A B+ B C+ C D+ D และ F ในภาคน้ัน

Page 97: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

๙๒

๖.๗ “หนวยกิตคํานวณสะสม” หมายถึง จํานวนหนวยกิตทั้งหมดรวมกันของทุกรายวิชาทุกครั้งที่นักศึกษาไดรับสัญลักษณ A B+ B C+ C D+ D และ F ทั้งน้ีใหรวมถึงกรณีที่นักศึกษาลงทะเบียนศึกษาวิชาใดมากกวาหน่ึงครั้งดวย

๖.๘ “หนวยกิตสอบได” หมายถึง จํานวนหนวยกิตของรายวิชาที่นักศึกษาไดรับสัญลักษณ A B+ B C+ C และ S ในกรณีที่นักศึกษาสอบไดรายวิชาใดมากกวาหน่ึงครั้ง หรือสอบได

รายวิชาใดที่ระบุไววาเทียบเทารายวิชาไดมาแลว ใหนับจํานวนหนวยกิตที่สอบไดครั้งแรกเพียงครั้งเดียว

ในกรณีที่นักศึกษาสอบได i (incomplete) ตองแกคา I ดวยการสอบและ/หรือปฏิบัติงานที่ไดรับมอบหมายจากอาจารยประจําวิชาจึงจะเปลี่ยนเปนหนวยกิตสอบได

ขอ ๗ หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษามีดังน้ี

๗.๑ หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตเปนหลักสูตรการศึกษาที่สรางเสริมความเช่ียวชาญหรือประสิทธิภาพในทางวิชาชีพ เปนหลักสูตรที่มีลักษณะสิ้นสุดในตัวเอง สําหรับผูสําเร็จการศึกษาในระดับปริญญาบัณฑิตหรือเทียบเทามาแลว

๗.๒ หลักสูตรมหาบัณฑิตเปนหลักสูตรการศึกษาที่สงเสริมความกาวหนาทางวิชาการและวิจัยในระดับสูงกวาระดับปริญญาบัณฑิต

๗.๓ หลักสูตรดุษฎีบัณฑิตเปนหลักสูตรการศึกษาที่สงเสริมความกาวหนาทางวิชาการ การ

คนควา วิจัยในเชิงลึกและกวางในระดับที่สูงกวาระดับมหาบัณฑิต ขอ๘ โครงสรางของหลักสูตร

๘.๑ หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตหลักสูตรน้ี ประกอบดวยหนวยกิตในรายวิชารวมกันตลอดหลักสูตรไมนอยกวา ๒๔ หนวยกิต

๘.๒ หลักสูตรมหาบัณฑิตหลักสูตรน้ีประกอบดวยหนวยกิตในรายวิชารวมกันตลอดหลักสูตรไมนอยกวา ๓๖ หนวยกิต โดยแบงเปน ๓ แผนดังน้ี

๘.๒.๑ แผน ก แบบ ก ๑ ตองศึกษาคนควาเขียนวิทยานิพนธโดยมีคาเทียบไดไมนอยกวา ๓๖ หนวยกิต

๘.๒.๒ แผน ก แบบ ก ๒ ตองศึกษาคนควาเขียนวิทยานิพนธโดยมีคาเทียบไดไมนอยกวา๑๒ หนวยกิต และตองศึกษารายวิชาอีกไมนอยกวา ๒๔ หนวยกิต

๘.๒.๓ แผน ข เปนแผนการศึกษาที่เนนการศึกษารายวิชาตามที่หลักสูตรกําหนดไมนอยกวา ๓๐ หนวยกิต และตองทําสารนิพนธจํานวน ๖ หนวยกิต

๘.๓ หลักสูตรดุษฎีบัณฑิตหลักสูตรน้ีแบงออกเปน ๒ แบบ ดังน้ี ๘.๓.๑ แบบ ๑ เนนการวิจัยเพื่อพัฒนานักวิชาการและนักวิชาชีพช้ันสูงแบงออกเปน

๒ แผน โดยมีโครงสราง ดังน้ี แบบ ๑.๑ ผูเขาศึกษาที่สําเร็จปริญญาโทตองทําวิทยานิพนธตลอด

หลักสูตรจํานวนไมนอยกวา ๖๓ หนวยกิต

Page 98: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

๙๓

แบบ ๑.๒ ผูเขาศึกษาที่สําเร็จปริญญาตรี ตองทําวิทยานิพนธตลอดหลักสูตรจํานวนไมนอยกวา ๗๒ หนวยกิต

ทั้งน้ีวิทยานิพนธแบบ ๑.๑ และ ๑.๒ ตองมีคุณภาพเดียวกัน ๘.๓.๒ แบบ ๒ เปนแผนการศึกษาที่เนนการวิจัย โดยมีการทําวิทยานิพนธที่มี

คุณภาพสูงและกอใหเกิดความกาวหนาทางวิชาการและวิชาชีพ และศึกษา

รายวิชาเพิ่มเติม โดยมีโครงสรางดังน้ี แบบ ๒.๑ ผู เขาศึกษาสําเร็จปริญญาโท ตองทําวิทยานิพนธตลอด

หลักสูตรจํานวน ๓๖ หนวยกิต และตองศึกษารายวิชาไมนอยกวา ๒๗ หนวยกิต แบบ ๒.๒ ผูเขาศึกษาสําเร็จปริญญาตรี ตองทําวิทยานิพนธตลอด

หลักสูตรไมนอยกวา ๔๘ หนวยกิต และตองศึกษารายวิชาไมนอยกวา ๓๐ หนวยกิต

ทั้งน้ีวิทยานิพนธแบบ ๒.๑ และ ๒.๒ ตองมีคุณภาพเดียวกัน ขอ ๙ ระยะเวลาการศึกษา

๙.๑ ระยะเวลาการศึกษาในหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตไมเกินสามปการศึกษานับจากภาคการศึกษาแรกที่รับเขาศึกษาในหลักสูตร

๙.๒ ระยะเวลาสําหรับการศึกษาในหลักสูตรมหาบัณฑิตไมเกินหกปการศึกษานับจากภาคการศึกษาแรกที่รับเขาศึกษาในหลักสูตร

๙.๓ ระยะเวลาสําหรับการศึกษาในหลักสูตรดุษฎีบัณฑิตไมเกินหกปการศึกษานับจากภาคการศึกษาแรกที่รับเขาศึกษาในหลักสูตร

๙.๔ การขอตอระยะเวลาการศึกษาโดยพิจารณาจากความกาวหนาทางวิชาการจักตองไดรับความเห็นชอบจากอาจารยที่ปรึกษา และประธานสาขา สวนการอนุมัติใหอยูในดุจพินิจของคณะกรรมการประจําบัณฑิตวิทยาลัย

ขอ ๑๐ ภาษาท่ีใชในการศึกษา

๑๐.๑ ภาษาที่ใชในการศึกษารายวิชาอาจเปนภาษาไทยหรือภาษาตางประเทศก็ได ๑๐.๒ นักศึกษาอาจทําวิทยานิพนธหรือสารนิพนธเปนภาษาไทยหรือภาษาตางประเทศก็ได

ตามที่หลักสูตรกําหนด หรือตามที่ไดรับอนุญาตจากคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย โดยมีความเห็นชอบจากอาจารยที่ปรึกษาและประธานสาขา

ขอ ๑๑ คุณสมบัติของผูสมัคร ๑๑.๑ หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตผูสมัครจะตองสําเร็จปริญญาข้ันใดข้ันหน่ึงหรือ

เทียบเทาตามที่หลักสูตรกําหนดจากมหาวิทยาลัยหรือสถาบันอื่นๆซึ่งหลักสูตรปริญญาน้ันสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา สํานักงานคณะกรรมการขาราชการพลเรือน (ก.พ.) หรือสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยใหการรับรองและในกรณีจบการศึกษาจากสถาบัน การศึกษาตางประเทศตองมีคุณสมบัติอยางอื่นเพิ่มเติมตามที่บัณฑิตวิทยาลัยกําหนด

Page 99: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

๙๔

๑๑.๒ หลักสูตรมหาบัณฑิตผูสมัครจะตองสําเร็จปริญญาบัณฑิตหรือเทียบเทาตามที่หลักสูตรกําหนดจากมหาวิทยาลัยหรือสถาบันอื่นๆซึ่งหลกัสูตรปริญญาน้ันสํานักคณะกรรมการการอุดมศึกษา สํานักงานคณะกรรมการขาราชการพลเรือน (ก.พ.) หรือสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยใหการรับรอง และมีเกรดเฉลี่ยสะสมในระดับปริญญาตรีไมตํ่ากวา ๒.๕๐ จากระบบ ๔ แตม สําหรับผูที่ไดเกณฑเฉลี่ยไมถึง

เกณฑ คณะกรรมการประจําบัณฑิตวิทยาลัยอาจพิจารณารับเปนนักศึกษาไดโดยพิจารณาจากประสบการณการทํางานติดตอกันเปนเวลาไมนอยกวา ๒ ป

ในกรณีที่จบการศึกษาจากสถาบันการศึกษาตางประเทศตองมีคุณสมบัติอยางอื่น

เพิ่มเติมตามที่บัณฑิตวิทยาลัยกําหนด

๑๑.๓ หลักสูตรดุษฎีบัณฑิต ผูสมัครจะตองสําเร็จปริญญามหาบัณฑิตหรือเทียบเทาตามที่

หลักสูตรกําหนดจากมหาวิทยาลัยหรือสถาบันอื่นๆซึ่งหลักสูตรปริญญาน้ันสํานักงาน

คณะกรรมการการอุดมศึกษา สํานักงานคณะกรรมการขาราชการพลเรือน (ก.พ.) หรือ

สภามหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยใหการรับรองและมีเกรดเฉลี่ยสะสมในระดับ

มหาบัณฑิตไมตํ่ากวา ๓.๕๐ จากระบบ ๔ แตม สําหรับผูที่ไดเกณฑเฉลี่ยไมถึงเกณฑ

คณะกรรมการประจําบัณฑิตวิทยาลัยอาจพิจารณารับเปนนักศึกษาไดโดยพิจารณา

จากประสบการณการทํางานติดตอกันเปนเวลาไมนอยกวา ๒ ป หรือมีผลงานทาง

วิชาการที่คณะกรรมการประจําบัณฑิตวิทยาลัยเหน็ชอบ

ในกรณีที่จบการศึกษาจากสถาบันการศึกษาตางประเทศตองมีคุณสมบัติอยางอื่น

เพิ่มเติมตามที่บัณฑิตวิทยาลัยกําหนด

๑๑.๔ คุณสมบัติของผูสมัครในหลักสูตรใดควรจะจัดเปนการศึกษาสําหรับพระภิกษุสามเณร

หรือคฤหัสถใหเปนไปตามระเบียบหรือประกาศของมหาวิทยาลัยหรือบัณฑิตวิทยาลัย

ที่กําหนดไว

๑๑.๕ ผูสมัครตองไมเคยถูกลงโทษใหพนสถานภาพการศึกษาจากสถาบันการศึกษาใด ๆ

ขอ๑๒ การรับเขาศึกษา

๑๒.๑ การพิจารณารับเขาศึกษา อาจกระทําโดยการสอบคัดเลือก การคัดเลือก การทดสอบ

ความรู หรือโดยวิธีอื่นใด ที่คณบดีบัณฑิตวิทยาลัยเห็นสมควรและคณะกรรมการ

ประจําบัณฑิตวิทยาลัยใหความเห็นชอบ

ในกรณีที่ผลของวิธีการพิจารณารับเขาศึกษา แสดงผลผูสมัครเขาศึกษารายใดยัง

มีความรูไมเพียงพอแกการศึกษาในระดับที่สมัคร คณะกรรมการประจําบัณฑิต

วิทยาลัย เมื่อไดรับคํารองขอจากผูสมคัร อาจพิจารณารับผูสมัครรายน้ันเขาศึกษาใน

หลักสูตรปริญญาหรือประกาศนียบัตรระดับการศึกษารองลงมาในสาขาวิชาเดียวกัน

กับหลักสูตรที่สมัครได

Page 100: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

๙๕

ในกรณีที่ผูสมัครกําลังรอผลการศึกษาข้ันปริญญาบัณฑิต การรับเขาศึกษาจะมีผล

สมบูรณ เมื่อผูสมัครสงหลักฐานการสําเร็จการศึกษาปริญญาข้ันใดข้ันหน่ึงตามที่

หลักสูตรที่เขาศึกษาน้ันระบุภายในเวลาที่บัณฑิตวิทยาลัยประกาศกําหนด

๑๒.๒ ผูเขารับศึกษาในบัณฑิตวิทยาลัยจะศึกษาเกินกวา ๑ สาขาวิชาในเวลาเดียวกันไมได

ขอ ๑๓ สภาพนักศึกษา

ผูที่บัณฑิตวิทยาลัยรับเขาศึกษาเพื่อรับประกาศนียบัตรหรือปริญญาตองมีฐานะเปน

นักศึกษาในสภาพใดสภาพหน่ึงตอไปน้ี

๑๓.๑ นักศึกษาสามัญหมายถึงผูที่บัณฑิตวิทยาลัยรับเขาเปนนักศึกษาโดยสมบูรณในแตละ

สาขาวิชา

๑๓.๒ นักศึกษาทดลองศึกษาหมายถึงผูที่บัณฑิตวิทยาลัยรับเขาเปนนักศึกษาทดลองศึกษาในแตละสาขาวิชาซึ่งมีเฉพาะในหลักสูตรมหาบัณฑิต และหลักสูตรดุษฎีบัณฑิต

ขอ ๑๔ ผูรวมฟง บัณฑิตวิทยาลัยอาจพิจารณารับบุคคลอื่นนอกเหนือจากนักศึกษาบัณฑิตศึกษาใน

มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยเปนผูรวมฟงเปนบางรายวิชาเปนครั้งคราวไดโดยไดรับอนุมัติจากคณบดีบัณฑิตวิทยาลัยตามความเห็นชอบของอาจารยประจํารายวิชา

ขอ ๑๕ นักศึกษาวิจัย ๑๕.๑ บัณฑิตวิทยาลัยอาจพิจารณารับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาของมหาวิทยาลัยหรือ

สถาบันการศึกษาในประเทศหรือตางประเทศซึ่งไดรับการเสนอช่ือจากมหาวิทยาลัยหรือสถาบันการศึกษาน้ันเพื่อมาทําการศึกษาคนควาเฉพาะเรื่อง เปนนักศึกษาวิจัยเปนภาคการศึกษาหรือเปนชวงเวลาไดตามความเหมาะสม

๑๕.๒ บัณฑิตวิทยาลัยอาจพิจารณารับเปนนักศึกษาวิจัยเมื่อประธานสาขาใหความเห็นชอบและไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการประจําบัณฑิตวิทยาลัย

๑๕.๓ บัณฑิตวิทยาลัยอาจเพิกถอนสภาพนักศึกษาวิจัยไดหากพิจารณาแลวเห็นวามีผลงาน

ไมกาวหนาเทาที่ควรหรือประพฤติไมเหมาะสม ขอ ๑๖ นักศึกษาเรียนขามมหาวิทยาลัย

บัณฑิตวิทยาลัยอาจพิจารณารับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาซึ่งกําลังศึกษาอยูในสถาบันการศึกษาอื่นทั้งในประเทศและตางประเทศเปนนักศึกษาเรียนขามมหาวิทยาลัยได โดยใหลงทะเบียนรายวิชาเพื่อนําหนวยกิตและผลการศึกษาไปเปนสวนหน่ึงในการศึกษาตามหลักสูตรของมหาวิทยาลัยที่ตนศึกษาอยูได

ขอ ๑๗ การยกเวนรายวิชา การยกเวนรายวิชาในหลักสูตรที่นักศึกษากําลังศึกษาอยู ใหกระทําไดในกรณีตอไปน้ี ๑๗.๑ นักศึกษาอาจไดรับการยกเวนรายวิชาในหลักสูตรที่กําลังศึกษาอยู หากไดเคย

ศึกษา และสอบผานรายวิชาที่มีเนื้อหาและคุณภาพเหมือนหรือคลายคลึงกับ

Page 101: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

๙๖

รายวิชาในหลักสูตรที ่กําลังศึกษาอยูในระดับที่สามารถทดแทนกันได โดยผลการศึกษาเปน S หรือไมตํ่ากวา B หรือเทียบเทา

๑๗.๒ การยกเวนรายวิชาใหกระทําไดไมเกิน ๑ ใน ๔ ของจํานวนหนวยกิตของรายวิชาทั้งหมดในหลักสูตรที ่กําลังศึกษาอยู โดยไมนับหนวยกิตวิทยานิพนธหรือสารนิพนธ

๑๗.๓ รายวิชาที ่พึงขอยกเวนไดตามขอ ๑๗.๑ นั ้น จะตองเปนรายวิชาที ่ไดศึกษา มาแลวไมเกิน ๕ ป กอนภาคการศึกษาที่จะตองมีการยกเวนรายวิชา ทั้งน้ีบัณฑิตวิทยาลัยอาจจัดใหทดสอบความรูกอนไดรับการยกเวนรายวิชา

๑๗.๔ การยกเวนรายวิชาจะตองไดรับอนุมัติจากคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการประจําบัณฑิตวิทยาลัย

๑๗.๕ ในกรณีที่มีการยกเวนรายวิชา เมื่อนักศึกษาไดศึกษาและสอบผานรายวิชาอื่นๆ ที่

ไมไดรับยกเวนในหลักสูตรที่กําลังศึกษาอยู ใหถือวาไดศึกษาและสอบผานรายวิชาในหลักสูตรโดยครบถวนตามจํานวนหนวยกิตรายวิชารวมในหลักสูตรน้ันแลว เวนแตหลักสูตรจะกําหนดใหตองศึกษารายวิชาอื่นเพิ่มเติมใหครบจํานวนหนวยกิต

ขอ ๑๘ การยายสาขาวิชา ๑๘.๑ นักศึกษาอาจขอยายสาขาวิชาจากสาขาวิชาที่เขาศึกษาเดิมไปศึกษาในสาขาวิชาอื่น

โดยไดรับความเห็นชอบจากประธานสาขาและคณบดีบัณฑิตวิทยาลัยและไดรับอนุมัติ

จากคณะกรรมการประจําบัณฑิตวิทยาลัย ๑๘.๒ การขอยายสาขาวิชาจะกระทําไดตอเมื่อนักศึกษาเขาศึกษาในสาขาวิชาเดิมมาแลวไม

นอยกวา ๑ ภาคการศึกษา และไดแตมเฉลี่ยสะสมไมนอยกวา ๓.๐๐ ๑๘.๓ การยกเวนรายวิชาในหลักสูตรของสาขาวิชาที่ยายไปใหเปนไปตามระเบียบ ขอ ๑๗

ขอ ๑๙ การลงทะเบียนรายวิชาและวิทยานิพนธ ๑๙.๑ การลงทะเบียนรายวิชาจะกระทําไดภายใน ๑ สัปดาห กอนวันเปดเรียนของแตละภาค

การศึกษาหรือตามที่บัณฑิตวิทยาลัยกําหนด การลงทะเบียนสายจะกระทําไดภายใน ๒ สัปดาหแรกของภาคการศึกษาน้ัน

หรือภายในสัปดาหแรกของภาคฤดูรอน ยกเวนในกรณีที่มีเหตุจําเปนใหไมอาจลงทะเบยีนในกําหนดเวลาได โดยไดรับอนุมัติใหลงทะเบียนเปนกรณีพิเศษจากคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

๑๙.๒ นักศึกษาจะลงทะเบียนวิทยานิพนธหรือสารนิพนธไดตองไดรับความเห็นชอบจาก

อาจารยที่ปรึกษา ๑๙.๓ นักศึกษาสามัญจะตองลงทะเบียนรายวิชาและวิทยานิพนธ หรือสารนิพนธในแตละ

ภาคการศึกษาไมตํ่ากวา ๙ หนวยกิต และไมเกิน ๑๕ หนวยกิต ยกเวนในกรณีที่นักศึกษามีหนวยกิตที่เหลือสําหรับลงทะเบียนตามหลักสูตรนอยกวา ๙ หนวยกิต และในภาคฤดูรอน นักศึกษาจะลงทะเบียนรายวิชาและ/หรือวิทยานิพนธหรือสารนิพนธไดไมเกิน ๖ หนวยกิต

Page 102: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

๙๗

การลงทะเบียนในแตละภาคที่ไมเปนไปตามที่กําหนดไวขางตนจะกระทําไดตอเมื่อไดรับอนุมัติจากคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

๑๙.๔ นักศึกษาทดลองศึกษาจะตองลงทะเบียนรายวิชาในภาคการศึกษาแรกไมตํ่ากวา ๙ หนวยกิต ใหประธานสาขาเปนผูกําหนดวิชาที่จะตองลงทะเบียน โดยตองเปนวิชาบังคับที่มีหนวยกิตระดับบัณฑิตศึกษาในหลักสูตรที่เขาศึกษาไมนอยกวา ๓ หนวย

กิต ๑๙.๕ นักศึกษาจะลงทะเบียนเขารวมฟงในรายวิชาแตละรายวิชาได ตองไดรับความเห็นชอบ

จากอาจารยประจําวิชาและคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย แตถารายวิชาใดจํากัดจํานวนผูเขาเรียนใหพิจารณารับลงทะเบียนนักศึกษารวมฟงเปนลําดับหลัง

๑๙.๖ นักศึกษาอาจลงทะเบียนรายวิชาในสถานศึกษาอื่นแทนรายวิชาที่กําหนดไวในหลักสูตรหรือที่หลักสูตรใหลงทะเบียนเรียนแตไมไดเปดสอนไดไมเกิน ๑ ใน ๔ ของ

จํานวนหนวยกิตรายวิชาในหลักสูตรที่กําลังศึกษาอยู เพื่อนํามาคํานวณแตมเฉลี่ยได ทั้งน้ีตองไดรับความเห็นชอบจากประธานสาขาและการอนุมัติของคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

๑๙.๗ กําหนดวันลงทะเบียน ใหเปนไปตามประกาศของบัณฑิตวิทยาลัยในแตละปการศึกษา

ขอ ๒๐ คาใชจายในการศึกษาและการบริหารการศึกษา

คาหนวยกิต คาธรรมเนียม คาบํารุงการศึกษา และคาใชจายอื่นใดเกีย่วกับการบริหาร

การจัดการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาใหเปนไปตามที่มหาวิทยาลัยกําหนดโดยความเห็นชอบของ

สภาวิชาการ และทําเปนประกาศของมหาวิทยาลัย

ขอ ๒๑ การเพ่ิม ลด ถอน และเปลี่ยนรายวิชา

๒๑.๑ การขอเพิ่มหรือเปลี่ยนรายวิชาจะกระทําไดภายใน ๒ สัปดาหแรกของภาคการศึกษา

หรือภายในสัปดาหแรกของภาคฤดูรอน โดยไดรับความเห็นชอบจากอาจารยที่ปรึกษา

ประธานสาขาและคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

๒๑.๒ การขอถอนหรือลดรายวิชาจะกระทําไดภายใน ๖ สัปดาหแรกของภาคการศึกษา แต

ไมเกิน ๑๒ สัปดาหแรกของภาคการศึกษา หรือภายใน ๒ สัปดาหแรกของภาคฤดูรอน

แตไมเกิน ๔ สัปดาหแรกของภาคฤดูรอน โดยไดรับความเห็นชอบจากอาจารยที่

ปรึกษา ประธานสาขาและคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

ขอ ๒๒ การลาพักการศึกษา

๒๒.๑ นักศึกษาอาจลาพักการศึกษาเปนกรณีธรรมดาไดตอเมื่อไดศึกษาในบัณฑิตวิทยาลัย

แลวอยางนอย ๑ ภาคการศึกษาและไดแตมเฉลี่ยสะสมไมตํ่ากวา ๓.๐๐ และตองย่ืน

คํารองขอลาพักการศึกษาภายใน ๖ สัปดาหแรกนับจากวันเปดภาคการศึกษา

๒๒.๒ นักศึกษาอาจขอลาพักการศึกษาเปนกรณีพิเศษไดในกรณีใดกรณีหน่ึงดังตอไปน้ี

๒๒.๒.๑ นักศึกษาถูกเกณฑหรือระดมเขารับราชการทหารกองประจําการ

Page 103: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

๙๘

๒๒.๒.๒ นักศึกษาเจ็บปวยจนตองพักรักษาตัวเปนเวลาติดตอกันเกินกวาสาม

สัปดาหตามคําสั่งแพทย โดยมีใบรับรองแพทยจากสถานพยาบาลที่

ราชการรับรอง

๒๒.๒.๓ นักศึกษามีเหตุจําเปนสุดวิสัยที่สําคัญอื่น ทั้งน้ีตองแสดงเหตุผลหรือ

หลักฐานของเหตุจําเปนน้ันได

๒๒.๒.๔ การขอลาพักการศึกษาเปนกรณีพิเศษน้ีนักศึกษาตองย่ืนคํารองขอลาพัก

การศึกษาภายใน๓สัปดาหนับจากปรากฏเหตุของการลาพักการศึกษาแต

ตองไมชากวาวันสุดทายของการเรียนในภาคการศึกษาน้ันๆ

๒๒.๓ นักศึกษาย่ืนคํารองขอลาพักการศึกษาที่ไดรับความเห็นชอบจากอาจารยที่ปรึกษาและ

ประธานสาขาตอบัณฑิตวิทยาลัยเพื่อใหคณบดีบัณฑิตวิทยาลัยพิจารณาอนุมัติ

การอนุมัติใหลาพักการศึกษาตามขอ ๒๒.๑ และ ๒๒.๒ ใหกระทําไดไมเกินครั้ง

ละ ๒ ภาคการศึกษาติดตอกันถานักศึกษายังมีความจําเปนตองขอลาพักการศึกษาตอ

ใหย่ืนคํารองใหม

๒๒.๔ ในกรณีที่นักศึกษาไดรับอนุมัติใหลาพักการศึกษาใหนับระยะเวลาที่ลาพักการศึกษารวมเวลาการศึกษาดวยเวนแตนักศึกษาไดรับอนุมัติใหลาพักตามขอ ๒๒.๒.๑

นักศึกษาที่ไดรับอนุมัติใหลาพักการศึกษาเมื่อจะกลับเขาศึกษาใหมจะตองย่ืนคํา

รองขอกลับเขาศึกษาตอบัณฑิตวิทยาลัยกอนกําหนดวันลงทะเบียนเรียนของบัณฑิตวิทยาลัยไมนอยกวา๑สัปดาห

นักศึกษาที่ไดรับอนุมัติใหลาพักการศึกษา ตองชําระคาธรรมเนียมเพื่อรักษาสถานภาพการเปนนักศึกษาทุกภาคการศึกษา ยกเวนไดรับอนุมั ติหลังจากไดลงทะเบียนรายวิชาแลว

ขอ ๒๓ การลาออก

นักศึกษาที่ประสงคจะลาออกจากการเปนนักศึกษาบัณฑิตวิทยาลัยใหย่ืนคํารองที่ไดรับความเห็นชอบจากอาจารยที่ปรึกษาและประธานสาขา เสนอตอบัณฑิตวิทยาลัยเพื่อใหคณบดีบณัฑิตวิทยาลัยพิจารณาอนุมัตินักศึกษายังมีสภาพเปนนักศึกษาบัณฑิตวิทยาลัยจนกวาจะไดรับอนุมัติใหลาออก

ขอ ๒๔ การสอบ ๒๔.๑ นักศึกษาจะตองสอบรายวิชาทุกวิชาที่ลงทะเบียนตามที่อาจารยประจําวิชากําหนด

เวนแตรายวิชาที่ลงทะเบียนเปนผูรวมฟงหรือรายวิชาที่ไดถอนโดยถูกตองตามระเบียบหรือเมื่อนักศึกษาไดรับอนุมัติใหลาพักการศึกษา

๒๔.๒ นักศึกษาที่จะมีสิทธ์ิเขาสอบในแตละรายวิชาจะตองมีเวลาศึกษาไมนอยกวารอยละ๘๐ ของวิชาน้ันเวนแตอาจารยประจําวิชายินยอมใหเขาสอบได

๒๔.๓ การสอบจะตองกระทําภายในชวงเวลาของแตละภาคการศึกษานอกจากจะไดรับอนุมัติจากบัณฑิตวิทยาลัย

Page 104: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

๙๙

๒๔.๔ บัณฑิตวิทยาลัยเปนผูประกาศตารางสอบในแตละภาคการศึกษา ๒๔.๕ ประธานสาขาเปนผูรับผิดชอบในการดําเนินการสอบในแตละสาขาวิชาของตน และ

ใหรายงานผลการสอบตอบัณฑิตวิทยาลัยภายใน ๒ สัปดาห นับจากวันสอบของแตละวิชา

ขอ ๒๕ การลงทะเบียน การเสนอโครงรางอาจารยท่ีปรึกษา คณะกรรมการสอบและการสอบวิทยานิพนธ ๒๕.๑ นักศึกษามหาบัณฑิตมีสิทธ์ิลงทะเบียนและเสนอโครงรางสารนิพนธหรือวิทยานิพนธ

ได หลังจากศึกษาในรายวิชามาแลวไมนอยกวา ๑ ภาคการศึกษาปกติ และมีหนวยกิตสะสมไมนอยกวา ๑๒ หนวยกิตยกเวนหลักสูตรที่ไมตองเรียนในรายวิชา

๒๕.๒ นักศึกษาดุษฎีบัณฑิตมีสิทธ์ิลงทะเบียนและเสนอโครงรางวิทยานิพนธได หลังจาก

ศึกษาในรายวิชามาแลวไมนอยกวา ๒ ภาคการศึกษาปกติ และมีหนวยกิตสะสมไมนอยกวา ๑๒ หนวยกิต ยกเวนหลักสูตรที่ไมตองเรียนในรายวิชา

๒๕.๓ การเสนอโครงรางวิทยานิพนธหรือสารนิพนธ อาจารยที่ปรึกษาและคณะกรรมการ การสอบวิทยานิพนธ ใหเปนไปตามบัณฑิตวิทยาลัยกําหนด โดยทําเปนประกาศของบัณฑิตวิทยาลัย

ขอ ๒๖ รูปแบบ การสงรูปเลม ลิขสิทธ์ิ หลักเกณฑและวิธีการเกี่ยวกับการทําวิทยานิพนธใหเปนไปตาม

บัณฑิตวิทยาลัยกําหนด โดยทําเปนประกาศของบัณฑิตวิทยาลัย ขอ ๒๗ การประเมินผลการศึกษา

๒๗.๑ การประเมินผลวิทยานิพนธหรือสารนิพนธที่อยูระหวางการเรียบเรียงใหใชสัญลักษณ IP (In Progress)

๒๗.๒ การประเมินผลสารนิพนธหรือวิทยานิพนธที่ทําเสร็จสมบูรณแลว มีได ๔ ระดับคือ ดีมาก (Very Good)

ดี (Good) ผาน (Pass) ตก (Fail)

๒๗.๓ การประเมินผลการศึกษาแตละรายวิชาจะกระทําไดเปนสัญลักษณตางๆ ซึ่งมีความหมายและแตมประจําดังตอไปน้ี

สัญลักษณ ความหมาย แตมประจํา

A ผลการประเมินข้ันดีเลิศ (Excellent) ๔.๐ B+ ผลการประเมินข้ันดีมาก (Very Good) ๓.๕ B ผลการประเมินข้ันดี (Good) ๓.๐ C+ ผลการประเมินข้ันดีพอใช (Fairly Good) ๒.๕ C ผลการประเมินข้ันพอใช (Fair) ๒.๐ D+ ผลการประเมินข้ันคอนขางออน (Poor) ๑.๕

Page 105: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

๑๐๐

D ผลการประเมินข้ันออน (Very Poor) ๑.๐ F ผลการประเมินข้ันตก (Fail) ๐.๐ I การวัดผลไมสมบูรณ (Incomplete) - P การสอนยังไมสิ้นสุด (In Progress) - S ผลการประเมินเปนที่พอใจ (Satisfactory) -

U ผลการประเมินไมเปนที่พอใจ (Unsatisfactory) - V รวมฟงการบรรยาย (Visitor) - W การถอนรายวิชาโดยไดรับอนุมัติ (Withdrawn) - M นิสิตขาดสอบ (Missing) - N ยังไมไดรับผลการประเมิน (No Report) - ๒๗.๔ การใหสัญลักษณ A B+ B C+ C D+ D I และ F จะกระทําไดในกรณีตอไปน้ี

๒๗.๔.๑ เมื่อมีการประเมินผลการศึกษารายวิชาที่นักศึกษาเขาสอบหรือมีการประเมินผลงานของนักศึกษา

๒๗.๔.๒ การให I เมื่อนักศึกษามีเวลาเรียนไมนอยกวารอยละ ๘๐ แตมิไดสอบ เพราะปวยหรือเหตุสุดวิสัยและไดรับอนุมัติ จากคณบดี หรือรอผลการศึกษาเพราะยังปฏิบัติงานอันเปนสวนประกอบของรายวิชาน้ันยังไมสมบูรณ

๒๗.๔.๒ การให F ในกรณีนอกเหนือจากขอ ๒๗.๔.๑ แลวจะกระทําไดในกรณีตอไปน้ี ๒๗.๔.๒.๑ ในรายวิชาทีอ่าจารยผูสอนไมยินยอมใหนักศึกษาเขาสอบ

ตามขอ ๒๔.๒ ๒๗.๔.๒.๒ เมื่อนักศึกษากระทําการทุจริตในการสอบหรือทําผิด

ระเบียบหรือขอบังคับหรือคําสั่งเกี่ยวกับการสอบที่บัณฑิต

วิทยาลัยใชบังคับอยูและคณะกรรมการประจําบัณฑิตวิทยาลัยเห็นวาเปนการทําผิดในขอสําคัญจนสมควรไดสัญลกัษณ F

๒๗.๔.๒.๓ เมื่อเปลี่ยนจาก I ในกรณีที่ไมมีการประเมินผลการสอบหรือผลงานภายในสองสัปดาหแรกของภาคการศึกษาถัดไปที่นักศึกษาลงทะเบียนเรียน

๒๗.๔.๒.๔ เมื่อเปลี่ยนจาก M ในกรณีที่นักศึกษาไมสามารถแสดงหลักฐานที่สมบูรณในการขาดสอบไดภายในสองสัปดาหแรกของภาคการศึกษาถัดไป

๒๗.๕ การให P จะกระทําไดเมื่อสิ้นภาคการศึกษาตนที่นักศึกษาลงทะเบียนในรายวิชาที่มีการสอนและ/หรือการทํางานตอเน่ืองกันไมเกินสองภาคการศึกษา

๒๗.๖ การให S จะกระทําไดเมื่อผลการประเมินเปนที่พอใจในกรณีตอไปน้ี

Page 106: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

๑๐๑

๒๗.๖.๑ ในรายวิชาที่หลักสูตรกําหนดไววามีการประเมินผลอยางไมเปนลําดับข้ันหรือกําหนดไววาไมนับหนวยกิต

๒๗.๖.๒ ในการประเมินผลการทําวิทยานิพนธหรือสารนิพนธโดยอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธหรือสารนิพนธในแตละภาคการศึกษา

๒๗.๗ การให U จะกระทําไดเมื่อผลการประเมินรายวิชาที่ไมนับหนวยกิตหรือการทํา

วิทยานิพนธหรือสารนิพนธไมเปนที่พอใจ ๒๗.๘ การให V จะกระทําไดในรายวิชาที่นักศึกษาลงทะเบียนเรียนเปนผูรวมฟงการ

บรรยายตามขอ ๑๙.๕ และผูสอนเห็นวาไดใหความสนใจตอการเรยีนอยางเพียงพอ ๒๗.๙ การให W ในรายวิชาที่นักศึกษาลงทะเบียนเรียนจะกระทําไดในกรณีตอไปน้ี

๒๗.๙.๑ นักศึกษาไดรับความเห็นชอบใหถอนรายวิชาน้ันตามขอ ๒๑ ๒๗.๙.๒ นักศึกษาปวยกอนที่การเรียนในภาคน้ันจะสิ้นสุดลงและยังปวยอยู

จนกระทั่งถึงกําหนดการสอบเปนเหตุใหไมสามารถเขาสอบในบางรายวิชาหรือทั้งหมดไดโดยนักศึกษาปฏิบัติถูกตองตามขอ ๒๗.๔ โดยอนุโลมและอาจารยประจําวิชาเห็นวาการศึกษาของนักศึกษาผูน้ันขาดเน้ือหาสวนที่สําคัญ

๒๗.๙.๓ นักศึกษาลาพักการศึกษาโดยถูกตองตามขอ๒๒ ๒๗.๙.๔ นักศึกษาถูกสั่งพักการศึกษาในภาคการศึกษาน้ันดวยเหตุผลอื่นนอกจาก

การกระทําผิดระเบียบหรือขอบังคับหรือคําสั่งเกี่ยวกับการสอบที่บัณฑิตวิทยาลัยใชบังคับอยู

๒๗.๙.๕ คณบดีบัณฑิตวิทยาลัยอนุมัติใหเปลี่ยนจาก I ที่ไดตามขอ ๒๖.๔.๒ หาก

ปรากฏวาการปวยหรือเหตุสุดวิสัยน้ันยังไมสิ้นสุดภายในสองสัปดาหแรก

ของภาคถัดไปที่นักศึกษาลงทะเบียนเรียน

๒๗.๙.๖ ในรายวิชาที่นักศึกษาลงทะเบียนเรียนเปนผูรวมฟง และผูสอนเห็นวา

ไมไดใหความสนใจตอการเรียนเพียงพอ

๒๗.๙.๗ ในรายวิชาที่นักศึกษาลงทะเบียนเรียนโดยผิดระเบียบหรือผิดเงื่อนไข

๒๗.๑๐ การให M จะกระทําไดในรายวิชาที่นักศึกษาขาดสอบแตยังไมสามารถแสดงหลักฐาน

ที่สมบูรณในการขาดสอบได

๒๗.๑๑ การให N จะกระทําไดเฉพาะในรายวิชาที่บัณฑิตวิทยาลัยยังไมประเมินผล และยัง

ไมไดรับรายงานผลการประเมินการศึกษาของรายวิชาน้ัน ๆ ตามกําหนด

๒๗.๑๒ การประเมินผลการศึกษาใหกระทําเมื่อสิ้นสุดภาคการศึกษาแตละภาค

๒๗.๑๓ การขอแกไขเปลี่ยนแปลงการประเมินผลการศึกษาตองกระทําภายในภาคการศึกษา

ถัดจากภาคการศึกษาที่มีการประเมินผลโดยไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการประจํา

บัณฑิตวิทยาลัย

Page 107: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

๑๐๒

๒๗.๑๔ นักศึกษามหาบัณฑิตที่ศึกษาตามแผน ข และนักศึกษาดุษฎีบัณฑิตที่ศึกษาระบบ

การศึกษาแบบ ๒.๑ ตองสอบผานการสอบประมวลความรู (comprehensive

examination) ดวยขอเขียนและ/หรือปากเปลาในที่เกี่ยวของ ตามเกณฑในขอ

๒๗.๓

๒๗.๑๕ นักศึกษาดุษฎีบัณฑิตที่ศึกษาระบบการศึกษาแบบ ๑ จะตองสอบผานการสอบวัด

คุณสมบัติ (qualifying examination) ภายใน ๑ ปการศึกษา ตามเกณฑในขอ

๒๗.๓

ขอ ๒๘ การคํานวณแตมเฉลี่ย

๒๘.๑ การคํานวณแตมเฉลี่ยใหกระทําเมื่อสิ้นสุดภาคการศึกษาและจะตองประกาศผลให

แลวเสร็จกอนการลงทะเบียนภาคการศึกษาถัดไป

๒๘.๒ การคํานวณแตมเฉลี่ยม ี๒ ประเภทซึ่งคํานวณไดดังตอไปน้ี

๒๘.๒.๑ แตมเฉลี่ยรายภาคใหคํานวณจากผลการศึกษาของนักศึกษาในแตละภาค

การศึกษาโดยเอาผลรวมของผลคูณของหนวยกิตคํานวณกับแตมประจํา

สัญลักษณที่นักศึกษาไดในแตละรายวิชาทุกครั้งเปนตัวต้ังแลวหารดวย

ผลรวมของจํานวนหนวยกิตคํานวณแตมเฉลี่ยรายภาค

๒๘.๒.๒ แตมเฉลี่ยสะสมใหคํานวณจากผลการศึกษาของนักศึกษาต้ังแตเริ่มเขา

ศึกษาจนถึงภาคที่มีการคิดคํานวณโดยเอาผลรวมของผลคูณของหนวย

กิตคํานวณกับแตมประจําสัญลักษณที่นักศึกษาไดรับในแตละรายวิชาทุก

ครั้งเปนตัวต้ังแลวหารดวยผลรวมของจํานวนหนวยกิตคํานวณแตมเฉลี่ย

สะสม

ขอ ๒๙ การเรียนซ้ํา

๒๙.๑ นักศึกษาไดรับสัญลักษณ D+ D F U หรือ W ในรายวิชาบังคับจะตองลงทะเบียน

เรียนรายวิชาน้ันซ้ําอีกจนกวาจะไดรับสัญลักษณ A B+ B C+ C หรือ S

๒๙.๒ นักศึกษาไดรับสัญลักษณ D+ D F หรือ U ในรายวิชาเลือกจะลงทะเบียนเรียนใน

รายวิชาอื่นแทนก็ไดถาจําเปน

๒๙.๓ นอกจากกรณีตามขอ ๒๙.๑ และ ๒๙.๒ แลวนักศึกษาอาจลงทะเบียนเรียนซ้ําใน

รายวิชาที่ไดรับสัญลักษณ C+ หรือ C อีกก็ได

ขอ ๓๐ การพนสภาพการเปนนักศึกษา

นักศึกษาจะพนสภาพการเปนนักศึกษาบัณฑิตศึกษาในกรณีตอไปน้ี

๓๐.๑ ศึกษาจนครบตามหลักสูตรและไดรับประกาศนียบัตรหรือปริญญาบัตรแลว

๓๐.๒ ไดรับอนุมัติจากคณบดีบัณฑิตวิทยาลัยใหลาออก

Page 108: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

๑๐๓

๓๐.๓ นักศึกษาทดลองศึกษาจะตองไดแตมเฉลี่ยอยางนอย ๓.๐๐ และไดสัญลักษณ S ใน

วิชา“ไมนับหนวยกิต”เมื่อสิ้นภาคการศึกษาแรกที่เขาศึกษาตองเปลี่ยนสภาพเปน

นักศึกษาสามัญ

๓๐.๔ นักศึกษาสามัญที่ไดแตมเฉลี่ยรายภาคเมื่อสิ้นภาคการศึกษาแรกที่เขาศึกษาตํ่ากวา

๒.๕๐ หรือไดแตมเฉลี่ยสะสมตํ่ากวา ๒.๕๐

๓๐.๕ เมื่อสิ้นภาคการศึกษาใดนักศึกษาสามัญที่ไดแตมเฉลี่ยสะสมต้ังแต ๒.๕๐ ข้ึนไปแตตํ่า

กวา ๓.๐๐ จะตองทําแตมเฉลี่ยใหได ๓.๐๐ ภายในกําหนดดังตอไปน้ี

๓๐.๕.๑ สองภาคการศึกษาถัดไปสําหรับนักศึกษาประกาศนียบัตรบัณฑิต

๓๐.๕.๒ สามภาคการศึกษาถัดไปสําหรับนักศึกษาหลักสูตรมหาบัณฑิตและ

หลักสูตรดุษฎีบัณฑิต

ในกรณีที่นักศึกษาไดแตมเฉลี่ยสะสมต้ังแต ๒.๕๐ ข้ึนไปแตตํ่ากวา

๓.๐๐ ใหเรียกวา "สภาพวิทยาทัณฑ" สภาพวิทยาทัณฑน้ันใหนับทุกภาค

การศึกษาเวนแตนักศึกษาจะไดรับอนุญาตใหลาพักการศึกษาเปนกรณี

พิเศษตามขอ ๒๒.๒

ผลการศึกษาภาคฤดูรอนใหนําไปรวมกับผลการศึกษาในภาค

การศึกษาถัดไปที่นักศึกษาผูน้ันลงทะเบียนเรียนและมีหนวยกิตคํานวณ

รายภาค

๓๐.๖ นักศึกษาที่มีระยะเวลาศึกษาครบตามที่กําหนดไวในแตละหลักสูตรแลวแตยังไม

สามารถสําเร็จการศึกษาไดและไมไดรับอนุญาตใหตอระยะเวลาการศึกษา

๓๐.๗ นักศึกษาที่สอบวิทยานิพนธหรือสารนิพนธตกและไมไดรับอนุญาตใหสอบแกตัว

๓๐.๘ นักศึกษาซึ่งไมไดรับอนุมัติโครงรางวิทยานิพนธหรือสารนิพนธจากคณะกรรมการ

ประจําบัณฑิตวิทยาลัยภายในสองปการศึกษานับแตเขาศึกษาในกรณีที่เปนนักศึกษา

ในหลักสูตรมหาบัณฑิต หรือหลักสูตรดุษฎีบัณฑิต เวนแตคณะกรรมการประจํา

บัณฑิตวิทยาลัยพิจารณาแลวเห็นวาการไมไดรับอนุมัติโครงรางสารนิพนธหรือ

วิทยานิพนธน้ันเน่ืองมาจากเหตุอันจําเปนและสมควรจะผอนผันใหนักศึกษายังไม

ตองพนสภาพก็ไดแตนักศึกษาตองไดรับอนุมัติโครงรางวิทยานิพนธหรือสารนิพนธ

ภายในภาคการศึกษาถัดไปจากภาคการศึกษาที่ครบกําหนดดังกลาวขางตน

๓๐.๙ เมื่อคณบดีบัณฑิตวิทยาลัยสั่งใหพนสภาพการเปนนักศึกษาบัณฑิตศึกษาเน่ืองจาก

การขาดคุณสมบัติเปนผูสมัครเขาศึกษาหรือเปนนักศึกษาหรือการทุจริตในการ

สอบ

๓๐.๑๐ เมื่อนักศึกษาทําผิดระเบียบอื่นของมหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยมีคําสั่งใหพนสภาพ

นักศึกษา

Page 109: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

๑๐๔

๓๐.๑๑ เมื่อนักศึกษามิไดชําระคาเลาเรียนหรือคาธรรมเนียมการศึกษาหรือคาใชจายประเภท

อื่นๆตามกําหนดและบัณฑิตวิทยาลัยมีคําสั่ งใหพนสภาพการเปนนักศึกษา

บัณฑิตศึกษา

๓๐.๑๒ เมื่อบัณฑิตวิทยาลัยมีคําสั่งใหพนสภาพการเปนนักศึกษาบัณฑิตศึกษาเน่ืองจากไม

ปฏิบัติตามมติคณะกรรมการประจําบัณฑิตวิทยาลัยหรือคําสั่งของคณบดีบัณฑิต

วิทยาลัยที่สั่งโดยชอบธรรม

๓๐.๑๓ นักศึกษาที่พนสภาพการเปนนักศึกษาบัณฑิตศึกษาตามขอ ๓๐.๑๑ และ ๓๐.๑๒ ไป

แลวไมเกิน ๑ ภาคการศึกษาอาจขอคืนสภาพนักศึกษาไดโดยย่ืนคํารองขอตอบัณฑิต

วิทยาลัยและไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการประจําบัณฑิตวิทยาลัย

ขอ ๓๑ การสําเร็จการศึกษา

๓๑.๑ นักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนและสอบไดหนวยกิตครบถวนตามขอกําหนดของแตละ

หลักสูตรรวมทั้งไดปฏิบัติตามเงื่อนไขของหลักสูตรน้ันๆและวิทยานิพนธหรือดุษฎี

นิพนธที่ผานการสอบแลว ผลงานวิทยานิพนธหรือดุษฎีนิพนธหรือสวนหน่ึงของ

ผลงานวิทยานิพนธหรือดุษฎีนิพนธของนักศึกษาจะตองไดรับการตีพิมพลงในวารสาร

ทางวิชาการระดับชาติที่มีกรรมการภายนอกมารวมกลั่นกรอง (peer review) กอน

การตีพิมพและเปนที่ยอมรับในสาขาวิชาน้ัน หรือเสนอตอที่ประชุมวิชาการที่มี

รายงานการประชุม (proceeding) จึงจะถือวาผานโดยสมบูรณ และบัณฑิตวิทยาลัย

ไดประกาศให เปนผู สําเร็จการศึกษาแลวโดยอนุมั ติของสภามหาวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย

๓๑.๒ นักศึกษามหาบัณฑิตหรือนักศึกษาดุษฎีบัณฑิตที่ลงทะเบียนเรียนและสอบไดหนวย

กิต รายวิชาครบถวนตามขอกําหนดของแตละหลักสูตรแตไมสามารถทําสารนิพนธ

หรือวิทยานิพนธใหเสร็จสิ้นไดภายในเวลาที่กําหนดสามารถย่ืนคํารองขอจบ

การศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิตในสาขาที่ตนศึกษาไดโดยอนุมัติของสภา

มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย

ขอ ๓๒ การขอรับปริญญาหรือประกาศนียบัตรบัณฑิต

๓๒.๑ นักศึกษาตองย่ืนคํารองแสดงความจํานงขอรับปริญญาหรือประกาศนียบัตรตอ

มหาวิทยาลัยในภาคการศึกษาที่นักศึกษาสําเร็จการศึกษาและภายในระยะเวลาที่

มหาวิทยาลัยกําหนด

๓๒.๒ นักศึกษามีสิทธ์ิไดรับอนุมัติปริญญาหรือประกาศนียบัตรบัณฑิตเมื่อสอบใน

รายวิชาผานตามเกณฑและไดศึกษาครบรายวิชาตามที่กําหนดไวในหลักสูตรโดยมี

แตมเฉลี่ยสะสมไมตํ่ากวา ๓.๐๐ และเปนผูมีความประพฤติดี รวมทั้งกระทําตาม

เงื่อนไขของหลักสูตรครบถวน

Page 110: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

๑๐๕

๓๒.๓ บัณฑิตวิทยาลัยเปนผูพิจารณาเสนอช่ือผูสมควรไดรับปริญญาหรือประกาศนียบัตรบัณฑิตตอสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยเพื่ออนุมัติปริญญาหรือประกาศนียบัตรบัณฑิต

ขอ ๓๓ การประกันคุณภาพและพัฒนาหลักสูตร ๓๓.๑ การประกันคุณภาพของหลักสูตร ใหทุกหลักสูตรกําหนดระบบการประกันคุณภาพ

ของหลักสูตรใหชัดเจน ซึ่งประกอบดวยประเด็นหลัก ๕ ประเด็น คือ ๑) การบริหารหลักสูตร ๒) ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน ๓) การสนับสนุนและการใหคําแนะนํานักศึกษา ๔) ความตองการของตลาดแรงงาน สังคม และหรือความพึงพอใจของผูใชบัณฑิต ๕) ความสุขที่ไดรับจากการนําหลักคําสอนไปปรับใชกับชีวิตและสังคม

๓๓.๒ การพัฒนาหลักสูตร ใหทุกหลักสูตรมีการพัฒนาหลักสูตรใหทันสมัย แสดงการปรับปรุงดัชนีดานมาตรฐานและคุณภาพการศึกษาเปนระยะๆ อยางนอยทุกๆ ๕ ป และมีการประเมินเพื่อพัฒนาหลักสูตรอยางตอเน่ืองทุก ๕ ป

ขอ ๓๔ การใดเกี่ยวกับการจัดการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษาที่มิไดกําหนดไวในระเบียบน้ีใหอธิการบดีดําเนินการไดเทาที่ไมขัดหรือแยงกับระเบียบน้ี โดยความเห็นชอบของสภาวิชาการ และทําเปนประกาศของมหาวิทยาลัย

ขอ ๓๕ ใหอธิการบดีเปนผูรักษาการตามระเบียบน้ี ทั้งน้ีการวินิจฉัย ตีความในระเบียบน้ี ใหคณะกรรมการประจําบัณฑิตวิทยาลัยพิจารณาเสนอความเห็นตอสภาวิชาการเพื่อวินิจฉัย และเสนออธิการบดีเพื่อสั่งการ

ขอ ๓๖ บทเฉพาะกาล ใหใชระเบียบน้ีต้ังแตภาคการศึกษาที่ ๑ ปการศึกษา ๒๕๕๔ เปนตนไป กับนักศึกษา

ระดับบัณฑิตศึกษาที่เขาศึกษาในมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย กอนปการศึกษา ๒๕๕๔

ใหใชระเบียบมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยวาดวยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๘ ไปจนกวาจะสําเร็จการศึกษา หรือจนกวาจะสามารถดําเนินการใหเปนไปตามระเบียบน้ีไดเพื่อเอื้อประโยชนตอนักศึกษา

ประกาศ ณ วันที่ ๘ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๔

(สมเด็จพระวันรัต)

อุปนายก ปฏิบัติหนาที่แทน นายกสภามหาวิทยาลัย

Page 111: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎี ...phd.mbuisc.ac.th/curriculum2559/Cur2558.pdf · 2015-07-25 · หมวดที่ 1 ข อมูลทั่วไป

๑๐๖