การประเมินผลโครงการฝ กอบรมส ัญจร...

75
รายงาน การประเมินผลโครงการฝกอบรมสัญจร การเลี้ยงหมูสมุนไพร และการตลาด รศ.ดร.ยุทธนา ศิริวัธนนุกูล รศ.ดร.ยุพินพรรณ ศิริวัธนนุกูล โครงการบริการวิชาการเพื่อพัฒนาชุมชนเชิงบูรณาการ .ทาขาม .ทุงใหญ .พิจิตร และต.ทุงหวัง .สงขลา ภาควิชาสัตวศาสตร ภาควิชาพัฒนาการเกษตร คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 2548

Upload: others

Post on 28-Feb-2020

0 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: การประเมินผลโครงการฝ กอบรมส ัญจร การเลี้ยงหมูสมุนไพร และ ...dynamic.psu.ac.th/eduservice.psu.ac.th/standard/3.3-02_2.pdf ·

รายงาน

การประเมินผลโครงการฝกอบรมสัญจร การเลี้ยงหมสูมุนไพรและการตลาด

รศ.ดร.ยุทธนา ศิริวัธนนุกูล

รศ.ดร.ยุพินพรรณ ศิริวัธนนุกูล

โครงการบริการวิชาการเพื่อพัฒนาชุมชนเชิงบูรณาการ ต.ทาขาม ต.ทุงใหญ ต.พิจิตร และต.ทุงหวัง จ.สงขลา

ภาควิชาสัตวศาสตร ภาควิชาพัฒนาการเกษตร

คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 2548

Page 2: การประเมินผลโครงการฝ กอบรมส ัญจร การเลี้ยงหมูสมุนไพร และ ...dynamic.psu.ac.th/eduservice.psu.ac.th/standard/3.3-02_2.pdf ·

คํานํา

รายงานการประเมินผลโครงการฝกอบรมสัญจร การเลี้ยงหมูสมุนไพรและการตลาด เปนรายงานทีป่ระกอบดวยเอกสารตางๆ ของการดําเนินโครงการฯ การประเมนิผลและเนื้อหาสาระตางๆ ที่ใชระหวางการฝกอบรม ซ่ึงคงจะเปนประโยชนตอบคุคลทั่วๆ ไป ไมมากก็นอย การฝกอบรมในครั้งตอๆ ไปจะดยีิ่งขึ้น ถาไดรับขอเสนอแนะจากผูเขารับการฝกอบรมและผูสนใจทั่วๆ ไป ทั้งนี้เพื่อการปรับปรุงหลักสูตรและพัฒนาขั้นตอนการดําเนินงานฝกอบรมใหเกิดประโยชน และมีประสิทธภิาพมากยิ่งขึ้น คณะทํางานขอนอมรับดวยความขอบพระคุณยิ่ง โครงการฝกอบรมครั้งนี้สําเร็จลุลวงดวยดดีวยการสนับสนุนงบประมาณจากเงินงบประมาณแผนดินป 2548 ในแผนงานบริการวิชาการแกสังคม งานบริการวิชาการแกชุมชน

หมวดอดุหนุนทั่วไปของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ตลอดจนคณะที่ปรึกษา คณะทํางานและผูเขาฝกอบรมทุกทาน และทีสํ่าคัญที่สุดคณะวิทยากรจาก สํานักงานปศุสัตวจังหวดัสงขลา คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร และจากการประสานงานในพื้นที่ขององคการบรหิารสวนตําบลพิจิตร จึงขอขอบพระคุณมา ณ โอกาสนี ้

ยุทธนา ศิริวัธนนุกูล

หัวหนาโครงการและประธานคณะทํางาน

Page 3: การประเมินผลโครงการฝ กอบรมส ัญจร การเลี้ยงหมูสมุนไพร และ ...dynamic.psu.ac.th/eduservice.psu.ac.th/standard/3.3-02_2.pdf ·

สารบาญ

หนา คํานํา (1)

สารบาญ (2)

รายการตาราง (4)

บทที่ 1 บทนํา 1

หลักการและเหตุผล

วัตถุประสงค 1

หนวยงานที่รับผิดชอบ 2

คณะดําเนินการฝกอบรม 2

คณะวิทยากร 2

สถานที่ในการฝกอบรม 2

สถานที่สมัคร 2

การจัดสวัสดกิารแกผูเขาฝกอบรม 3

ผลที่คาดวาจะไดรับ 3

2 การตรวจเอกสาร 4

ความคิดเหน็ 4

แนวความคิดเรื่องความพึงพอใจ 4

ทฤษฎีแรงจูงใจที่ทําใหเกิดความพึงพอใจ 5

ความรูทางดานการเกษตร 6

การฝกอบรมทางการเกษตร 7

3 กรรมวิธีและอปุกรณที่ใชในการดําเนินการ 8

ยุทธวิธีในการดําเนินงาน 8

รูปแบบการดําเนินงาน 8

ลักษณะการดําเนินงาน 8

เวลาในการฝกอบรม 9

อุปกรณในการดําเนินงาน 9

วิธีการฝกอบรม 9

การประเมินผล 9

Page 4: การประเมินผลโครงการฝ กอบรมส ัญจร การเลี้ยงหมูสมุนไพร และ ...dynamic.psu.ac.th/eduservice.psu.ac.th/standard/3.3-02_2.pdf ·

4 การประเมินผลโครงการอบรมสัญจรฉลองครบรอบ 30 ป

เร่ืองการเลี้ยงหมูสมุนไพรและการตลาด 10

ขอมูลทั่วไป 10

ความคิดเหน็ของผูเขารับการฝกอบรมตอการฝกอบรมในดานตางๆ 12

ความพึงพอใจของผูเขารับการอบรมตอหัวขอเร่ืองอบรมในหลักสูตร 14

ขอเสนอแนะ 15

Page 5: การประเมินผลโครงการฝ กอบรมส ัญจร การเลี้ยงหมูสมุนไพร และ ...dynamic.psu.ac.th/eduservice.psu.ac.th/standard/3.3-02_2.pdf ·

รายการตารางและภาคผนวก

ตาราง หนา

1. ขอมูลทั่วไปของผูเขารับการอบรม 11

2. ความคิดเหน็ของผูเขารับการฝกอบรมตอการฝกอบรมในดานตางๆ 13

3. ระดับความพึงพอใจของผูเขารับการอบรมตอหัวขอบรรยายและปฏิบัต ิ

ในการอบรม 15

4. ภาคผนวก 1 ก – กําหนดการฝกอบรมสัญจร การเลี้ยงหมสูมุนไพรและการตลาด 16

1 ข- รายละเอียดของโครงการ

ภาคผนวก 2 เอกสารประกอบการบรรยาย

ภาคผนวก 3 สถานที่ฝกอบรมคือ อบต.พิจิตร

ภาคผนวก 4 ภาพถายการดาํเนินการฝกอบรมทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

ภาคผนวก 5 รายช่ือผูเขารับการอบรม

Page 6: การประเมินผลโครงการฝ กอบรมส ัญจร การเลี้ยงหมูสมุนไพร และ ...dynamic.psu.ac.th/eduservice.psu.ac.th/standard/3.3-02_2.pdf ·

บทท่ี 1

บทนํา

1.1 หลักการและเหตุผล

สืบเนื่องจากมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ไดสนับสนนุงบประมาณใหคณะทํางานจาก คณะทรัพยากรธรรมชาติ คณะวิทยาศาสตร และคณะอุตสาหกรรมเกษตร สํานักงานเกษตรจังหวดัสงขลา และสํานักงานปศุสัตวจังหวัดสงขลา จัดทําโครงการบริการวิชาการเพื่อพัฒนาชุมชนเชิงบูรณาการ : การพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี การผลิตเนื้อสุกร เนื้อไกสมุนไพร และ

ผักปลอดสารพิษ ตั้งแตป พ.ศ.2547 โดยในป พ.ศ.2547 ไดเร่ิมโครงการเกษตรนํารอง มีการ

เล้ียงสุกรสมุนไพร การปลูกฝร่ังพื้นบาน เร่ิมตนการเลี้ยงไกสมุนไพร และการปลูกผักปลอดสารพิษบางแลว แตยังไมแพรหลาย กอรปกับผลของการระดมความคิดเห็นของผูนําชุมชนและเกษตรกรผูนําของตําบลทาขาม ทุงหวัง ทุงใหญ และพิจิตร รวมถึงการศึกษาฐานขอมูลทางจิตวิทยาในดานทัศนคติและความตองการของเกษตรกรทั้ง 4 ตําบล พบวาเกษตรกรรอยละ 77.6

ยังมีความตองการความรูทางดานการเกษตรในดานตางๆ อยู และเนื่องจากป 2548 เปนป

ครบรอบ 30 ป คณะทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อใหการทํากิจกรรมทางการเกษตรเกดิประโยชนตอ

ชุมชน จึงเหน็ควรจัดโครงการอบรมสัญจรในพืน้ที่ทั้ง 4 ตําบลขางตน โดยเปนการนําความรูเขา

ไปสูชุมชนและไดเห็นปญหาตางๆ ของชุมชน และเปนการกระตุนใหนักวิชาการจากมหาวทิยาลัยและหนวยงานของรัฐเขาไปรวมกันพัฒนาชมุชนใหเกิดประโยชน อีกทั้งชวยใหชุมชนเห็นความสําคัญของการเขารวมอบรมเพื่อนาํความรูใหมไปใชในการประกอบอาชีพตอไป

1.2 วัตถุประสงค 1. เพื่อทํากิจกรรมทางดานการเกษตรใหกับชมุชน เนื่องในโอกาสฉลองครบรอบ 30 ป

คณะทรัพยากรธรรมชาติ 2. เพื่อถายทอดความรูดานการเลี้ยงหมูสมุนไพรและการตลาดใหกับเกษตรกรในพื้นที่

ต.พิจิตร ต.ทาขาม ต.ทุงใหญ และ ต.ทุงหวัง จ.สงขลา

3. เพื่อเปนการทาํงานรวมกนัของนักวิชาการจากมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร

สํานักงานเกษตรจังหวดั และสํานักงานปศุสัตวจังหวัด กับองคการบริหารสวนตําบลทั้ง 4 แหง

4. เพื่อคัดเลือกเกษตรกรเขารวมโครงการเลี้ยงหมูสมุนไพรตอไป

Page 7: การประเมินผลโครงการฝ กอบรมส ัญจร การเลี้ยงหมูสมุนไพร และ ...dynamic.psu.ac.th/eduservice.psu.ac.th/standard/3.3-02_2.pdf ·

1.3 หนวยงานที่รับผิดชอบ

คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร สํานักงานเกษตรจังหวดัสงขลา สํานักงานปศุสัตว และองคการบริหารสวนตําบลพิจิตร ทาขาม ทุงใหญ และทุงหวัง

1.4 คณะกรรมการดําเนินการฝกอบรม

คณบดีคณะทรัพยากรธรรมชาติ ที่ปรึกษา เกษตรจังหวดัสงขลา ที่ปรึกษา ปศุสัตวจังหวดัสงขลา ที่ปรึกษา นายก อบต. และปลัด อบต. ต.พิจิตร ที่ปรึกษา

นายก อบต. และปลัด อบต. ต.ทาขาม ที่ปรึกษา

นายก อบต. และปลัด อบต. ต.ทุงใหญ ที่ปรึกษา

นายก อบต. และปลัด อบต. ต.ทุงหวัง ที่ปรึกษา

รศ.ดร.ยุทธนา ศิริวัธนนุกูล หัวหนาโครงการ

รศ.ดร.ยุพินพรรณ ศิริวัธนนกุลู กรรมการ

สัตวแพทยปราโมทย เพชรศรี กรรมการ

สัตวแพทยสุทัศน นิยมไทย กรรมการ

นางสาวพรทพิย สุวรรณครีี กรรมการ

นายปฐมพงศ วงษเล้ียง กรรมการ

ผศ.สุธา วัฒนสิทธิ์ กรรมการและเลขานุการ

นางรสสุคนธ แกวมณ ี กรรมการและผูชวยเลขานุการ

1.5 คณะวิทยากร การเลี้ยงหมูสมุนไพรและการตลาด

1. รศ.ดร.ยุทธนา ศิริวัธนนกุูล ภาควชิาสตัวศาสตร คณะทรัพยากรธรรมชาติ

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 2. สัตวแพทยปราโมทย เพชรศรี สํานักงานปศุสัตวอําเภอนาทวี จังหวดัสงขลา

1.6 สถานที่ในการฝกอบรม

หองประชุม องคการบริหารสวนตําบลพิจิตร อ.นาหมอม จ.สงขลา

Page 8: การประเมินผลโครงการฝ กอบรมส ัญจร การเลี้ยงหมูสมุนไพร และ ...dynamic.psu.ac.th/eduservice.psu.ac.th/standard/3.3-02_2.pdf ·

1.7 สถานที่สมัคร สมัครที่สํานักงานโครงการวจิัยการใชสมุนไพรในสุกร ภาควิชาสัตวศาสตร คณะทรัพยากรธรรมชาติ และที่ องคการบริหารสวนตําบลพิจติร

1.8 การจัดสวัสดิการแกผูเขาฝกอบรม

ผูเขารวมอบรมไมตองเสียคาใชจายใดๆ ทัง้สิ้น โดยคณะผูจัดประชุมรับผิดชอบคาอาหารวาง เครื่องดื่ม เอกสารประกอบการอบรม ตัวอยางเนื้อหมูสมุนไพรสด และแปรรูปพืชใหเกษตรกรชมิ ฯลฯ

1.9 ผลท่ีคาดวาจะไดรับ

1. เกษตรกรที่เขาอบรมจะไดรับความรูเกี่ยวกับการเลี้ยงหมูดวยสมนุไพรและ

การตลาด

2. ไดสมาชิกเขารวมการเลี้ยงหมูสมุนไพร

3. เกิดการทํางานรวมกันของหนวยงานระดับองคการบริหารสวนตําบล กบั

มหาวิทยาลัย และสํานักงานเกษตรจังหวดั และสํานักงานปศุสัตวจังหวดัสงขลา 4. เปนการสรางประโยชนใหกับชุมชน เนื่องในโอกาสครบรอบ 30 ป คณะ

ทรัพยากรธรรมชาติ

Page 9: การประเมินผลโครงการฝ กอบรมส ัญจร การเลี้ยงหมูสมุนไพร และ ...dynamic.psu.ac.th/eduservice.psu.ac.th/standard/3.3-02_2.pdf ·

บทท่ี 2

การตรวจเอกสาร

2.1 ความคิดเห็น

จากการศึกษาในสวนของความคิดเห็นไดมีผูใหความหมายไดหลายประการ เชน

นิศา สุวรรณประเทศ (2521) กลาววา ความคิดเหน็ คือการแสดงออกดานความ

รูสึกของบุคคลตอส่ิงหนึ่งสิ่งใด ดวยการพูด การเขียน โดยมีพื้นฐานความรูเพิ่ม ประสบการณที่บุคคลไดรับ ตลอดจนสภาพแวดลอมของบุคคลเปนหลัก ในการแสดงความคิดเหน็

ประภาเพ็ญ สุวรรณ (2520) กลาววาความคิดเห็นเปนการแสดงออกทางดาน

ทัศนคติอยางหนึ่งแตการแสดงความคิดเห็นนั้นมกัจะมอีารมณเปนสวนประกอบ และเปนสวนที่จะมีปฏิกิริยาเฉพาะอยางตอสถานการณภายนอก

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (2535) ไดสรุปแนวคิดเกี่ยวกับความคิดเห็นไววา

เปนคําพูดซึ่งแสดงความเชื่อบางอยาง ทัศนคติบางอยาง หรือคานิยมบางอยางของผูพูด ดังนั้นความคิดเหน็จงึเปนเพยีงคําพดูที่แสดงออก บอยครั้งจึงมักจะพบวาเราไมสามารถจะยดึถือส่ิงที่ผูนั้นรูสึกนึกคดิจริงๆ ในใจ และความคิดเหน็จะไมลึกซึ้งเหมือนทัศนคติ นันแนลล ี (Nunnally, 1959) กลาววาทั้งความคิดเหน็ และทัศนคตินัน้เปนเรื่องการ

แสดงออกของแตละบุคคลตอประชาชนทัว่ๆ ไป ตอขนบธรรมเนียมประเพณี และการแสดงออกทางความคิดในโลกที่เกี่ยวกบัตัวเขา นอกจากนี้นันแนลลีไดพยายามที่จะแยกความหมายของทัศนคติและความคิดโดยกลาววา ความคิดเห็นจะใชเกีย่วกับการลงความคดิเห็นและความรู ในขณะที่ทัศนคติจะใชกันมากในเรื่องที่เกี่ยวกับความรูและความพอใจ บุคคลทั่วไปมักจะใชคําวาความคิดเหน็มากกวาคําวาทศันคติ กลาวโดยสรุป ความคิดเห็น หมายถึง ความรูสึกของบุคคลที่จะแสดงออกตอส่ิงใดสิ่งหนึ่งดวยการพดูหรือเขียนโดยอาศัยพืน้ฐานความจริง ประสบการณและสภาพแวดลอม ซ่ึงแสดงความคิดเหน็นีอ้าจจะไดรับการยอมรับหรือปฏิเสธจากคนอื่นๆ ก็ได

2.1 แนวความคดิเรื่องความพงึพอใจ

นักการศึกษาของไทย และตางประเทศไดใหความหมายของความพึงพอใจไวหลายทานดังนี ้ ศลใจ วบิูลกิจ (2534) กลาวถึงความพึงพอใจวาเปนสภาพอารมณที่มีตอ

องคประกอบของงานและสภาพแวดลอมในการทํางานทีส่ามารถตอบสนองความตองการของบุคคลนั้น

Page 10: การประเมินผลโครงการฝ กอบรมส ัญจร การเลี้ยงหมูสมุนไพร และ ...dynamic.psu.ac.th/eduservice.psu.ac.th/standard/3.3-02_2.pdf ·

สาโรช สีนวล (2533) และอุทิศ ภูมิชัย (2533) ไดสรุปความหมายของความพงึ

พอใจวา ความพึงพอใจ หมายถึง ความรูสึกที่ดีของบุคคลที่มีตอส่ิงตางๆ หรือแมแตการทํางานเปนความรูสึกที่เกิดขึ้นจากการไดรับการตอบสนองของทั้งดานรางกายและจิตใจ เชน ถาบุคคลมีความรูสึกทางลบก็จะเกิดความไมพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ความพงึพอใจในการปฏิบัติงานจึงเปนมาจากการสรางแรงจูงใจในการปฏิบตัิงาน เกดิความเตม็ใจเพื่อกระตุนใหผูปฏิบัติงานเกิดความเต็มใจ สามารถทํางานจนบรรลุวัตถุประสงคขององคการ ซ่ึงจะเปนผลใหองคการมีความเจริญกาวหนา ฐานะขององคกรมีความมัน่คง และประสบความสําเร็จตามเปาหมายขององคการนั้นๆ

วรูม (Vroom, 1964) และกูด (Good, 1973) ไดใหความหมายของความพึงพอใจที่

สอดคลองกันวา ความพึงพอใจ หมายถึงคุณภาพ สภาพหรือระดับความพึงพอใจ ซ่ึงเปนผลมาจากความสนใจตางๆ และทศันคติของบุคคลที่มีตอส่ิงตางๆ กลาวคือ ถามีทัศนคติที่ดีตองานก็จะมีความพึงพอใจในการทํางาน และในทางตรงกันขามทศันคติที่ไมดีตองานก็จะไมพงึพอใจในการทํางาน

โอษฐ วารีรักษ (2531) ไดกลาวถึงความสําคัญของความพึงพอใจวาชีวิตของทกุ

คนจะตองยอมรับประการหนึ่งวา ไมมใีครสามารถบังคับใหคนอื่นทําในสิ่งที่เราตองการไดทุกเร่ือง นอกจากคนนั้นมีความตั้งใจที่จะทําสิ่งนั้นเอง เชน งานจะมีคณุภาพก็ตอเมื่อคนทํางานนั้น มีความพึงพอใจในการทํางาน มีทั้งคุณภาพ ทั้งชีวิตสวนตัว ชีวติครอบครัว และชวีิตในสังคมที่สมบูรณอยุกอนนั่นเอง

2.3 ทฤษฎีแรงจูงใจที่ทําใหเกิดความพึงพอใจ

สมพงษ เกษมสิน (2529) กลาวไววา

1. มนุษยมีความตองการและความตองการจะมีอยูไมส้ินสดุ แตส่ิงที่มนุษยตองการ

นั้นขึ้นอยูกับวาเขามีส่ิงนั้นแลวหรือยัง ขณะที่ความตองการใดไดรับการตอบสนองแลวความตองการอยางอื่นจะนาํมาแทนที่ กระบวนการนี้ไมส้ินสุดตั้งแตเกดิจนกระทั่งตาย

2. ความตองการที่ไดรับการตอบสนองแลว จะไมเปนเครือ่งจูงใจของพฤติกรรมอีก

ตอไป ความตองการที่ไมไดรับการตอบสนองเทานั้นที่เปนสิ่งจูงใจของพฤติกรรม

3. ความตองการของมนุษยมีเปนลําดับกลาวคอื เมื่อความตองการขั้นตอที่ไดรับการ

ตอบสนองแลว ความตองการขั้นสูงก็จะเรยีกใหตอบสนองทันที และ สุธรรม เดชนครินทร (2531) ไดอางถึงทฤษฎีของมาสโลว ซ่ึงอธิบายถึงความ

ตองการของมนุษยมี 5 ขั้นตอน ดังนี ้

Page 11: การประเมินผลโครงการฝ กอบรมส ัญจร การเลี้ยงหมูสมุนไพร และ ...dynamic.psu.ac.th/eduservice.psu.ac.th/standard/3.3-02_2.pdf ·

1. ความตองการทางดานรางกาย 1(physiological needs) คือความตองการ

พื้นฐานในการดํารงชีวิต เชน อาหาร ที่อยูอาศัย เครื่องนุงหม ยารักษาโรค อากาศหายใจ และความตองการทางเพศ

2. ความตองการความปลอดภยั (safety needs) เปนความตองการความมั่นคง

ปลอดภัยทั้งทางดานรางกายและจิตใจ

3. ความตองการทางสังคม (belonging needs) เปนความตองการทีจ่ะเขาอยูใน

สังคมและไดรับการยอมรับจากสังคม

4. ความตองการที่จะไดรับการยกยองในสังคม (esteem needs) เปนความตองการ

เดนดังในสังคมตองการใหคนยกยองสรรเสริญ

5. ความตองการที่จะไดรับความสําเร็จตามความนึกคดิของตนเอง (self-

actualization needs) คือความตองการขัน้สูงสุดที่มนุษยตองการจะไดรับ

2.4 ความรูทางดานการเกษตร บุญธรรม จิตตอนันต (2527) ไดกลาวถึงความรูดานการเกษตรวาการเกษตรเปนการ

ผลิตแบบพิเศษอยางหนึ่ง ที่ตองกาศัยกระบวนการการเจริญเติบโตของพืชและสัตวเปนพื้นฐาน เกษตรกรทํางานโดยการจัดการ และเรงการเจริญเติบโตของพืชและสัตวในฟารม กิจกรรมการผลิตทั้งหลายในแตละฟารม กิจกรรมการผลิตทั้งหลายในแตละฟารมเปนธุรกิจ ซ่ึงการลงทุนและผลสนองตอบเปนเรื่องสําคัญ ดังนั้นในการเกษตรสมัยใหม จึงไดพดูกันแตเพียงปลกูพืช และการเลี้ยงสัตว แตจําเปนตองคิดถึงเรื่องตลาด การขนสง และถนนหนทาง ราคา ธุรกิจการคา และนโยบายของรฐับาล การอุตสาหกรรม การวิจยั การศึกษา การธนาคาร กฎหมาย และการบริหารงานอยางมีประสิทธิภาพในสวนราชการตางๆ

นอกจากนี้ไดแบงความรู เพือ่อาชีพเกษตรในปจจุบนัเปน 2 ลักษณะ คือ

1. ความรูทางเศรษฐกิจ หมายถึง ความรูตางๆ ที่ใชในการประกอบการผลิต เชน

ที่ดิน แรงงาน ทุน และวิธีการจัดการทมีีประสิทธิภาพ เพื่อใหไดผลผลิตสูงดวยการลงทุนนอยที่สุดรวมกับความรูในดานการปรับปรุงคุณภาพ การขนสง การแปรรูป การบรรจุหีบหอ เพื่อจดัจําหนาย และวิธีการกําหนดราคาที่จะใหเกดิประโยชนแกผูผลิตมากที่สุด

2. ความรูทางวิทยาการดานการเกษตรทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ เชน การคัดพันธุ

วิธีการปลูก การบํารุงรักษา การปองกันกําจัดศัตรูพืช ฯลฯ รวมทั้งความรูเกี่ยวกบัวัสดุ อุปกรณการเกษตร เชน เครื่องมือทุนแรง ปุย และยาปองกนักําจัดศัตรูพืช-สัตวที่ถูกตอง ฯลฯ ซ่ึงลวนเปน

เทคนิคโดยเฉพาะ เมื่อประกอบกับความรูทางเศรษฐกิจแลว จะทําใหมีโอกาสพัฒนาไดอยางรวดเร็ว

Page 12: การประเมินผลโครงการฝ กอบรมส ัญจร การเลี้ยงหมูสมุนไพร และ ...dynamic.psu.ac.th/eduservice.psu.ac.th/standard/3.3-02_2.pdf ·

2.5 การฝกอบรมทางการเกษตร สมพงษ เกษมสิน (2536) ไดอธิบายความหมายของการฝกอบรมวาเปนกรรมวธีิ

หนึ่งที่มุงจะเพิม่พูนความรู ความชํานาญ และประสบการณใหกับคนในหนวยงานใดหนวยงานหนึ่งสามารถปฏิบัติหนาที่ทีอ่ยูในความรับผิดชอบไดดยีิง่ขึ้น

ดังนั้นอาจสรปุไดวา การฝกอบรม หมายถึง กิจกรรมการเรียนรูที่จดัขึ้นเพื่อใหผูเขารับการฝกอบรมไดเพิ่มพนู หรือพัฒนาในเรือ่งที่ตองการ 3 ประการ คือ

1. ทําใหเกดิการเปลี่ยนแปลงความรู ความเขาใจ

2. ทําใหเกดิการเปลี่ยนแปลงทกัษะในการทํางาน

3. ทําใหเกดิการเปลี่ยนแปลงทศันคติ คานิยม และความสนใจ

ความหมายทีส่มพงษ ไดกลาวไวสอดคลองกับที่สแวนสัน (Swanson, 1984)

กลาวถึงการอบรมทางดานการเกษตรวา เปนการถายทอดความรูทางวชิาการ ซ่ึงมีเนื้อหามุงเนนในดานทีเ่กีย่วของกับการเกษตร เชน พืช สัตว สัตวแพทย ประมง ปาไม เปนตน

นอกจากนี้ สุรีพร ศรีทองกิติกูล (2523) ไดใหขอเสนอแนะกับครู-อาจารยหรือผู

ถายทอดวิชาชพีการเกษตรแกเกษตรกรวา หลักสูตรควรกําหนดจํานวนทักษะทีจ่ะใหแกผูรับการถายทอดอยางเหมาะสมกับเวลาที่กําหนดให ผูถายทอดควรจะตองรูจักเลือกสอนทักษะที่เหมาะสมกับสภาพทองถ่ิน วัสดุอุปกรณที่มีอยูและการนําไปใชประโยชน นอกจากนี้ผูถายทอดจะตองมีความสามารถ ขยัน และตั้งใจสอนวิชาชพีเกษตรและขณะเดียวกนัผูรับการถายทอดจะตองมีความสนใจ และมทีัศนคติที่ดีตอวิชาชีพเกษตร จึงจะทําใหการสอนทักษะเกษตรประสบผลสําเร็จ

Page 13: การประเมินผลโครงการฝ กอบรมส ัญจร การเลี้ยงหมูสมุนไพร และ ...dynamic.psu.ac.th/eduservice.psu.ac.th/standard/3.3-02_2.pdf ·

บทท่ี 3 กรรมวิธีและอุปกรณท่ีใชในการดําเนินงาน

3.1 ยุทธวิธีในการดําเนินงาน ใหความรูโดยการฝกอบรม ทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติจริง ในบางหัวขอจดัฉายวีดีโอเทปและสไลด เทปประกอบเสียง VCD Computer เพื่อการเพิ่มพูนความรูและประสบการณ

3.2 รูปแบบการดาํเนินงาน

จัดแบงหัวขอที่มีทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัต ิโดยการบรรยายและปฏิบัตจิริงจํานวน 11 หัวขอ ดังนี้คือ

1. เทคนิคการเลี้ยงหมูขุนและการใหอาหาร

2. โรงเรือนและอุปกรณเล้ียงหมูขุน

3. สมุนไพรกับการเลี้ยงสุกร

4. การจัดการสุขาภิบาลสุกร

5. การทําวัคซีนและโรคที่สําคัญ

6. ขั้นตอนการขออนุญาตจําหนายสุกร

7. ตนทุน กําไรการเลี้ยงสุกรขุน

8. สวนประกอบซากสุกรเพื่อจาํหนาย

9. การบรรจุหีบหอ

10. การผสมอาหารสุกร

11. การตรวจชิมเนื้อสุกรสมุนไพร

3.3 ลักษณะการดําเนินงาน

ติดตอประสานงานกับสํานกังานปศุสัตวสงขลา องคการบริหารสวนตําบลทั้ง 4 ตําบล เพื่อจัดเตรยีมกลุมเกษตรกรผูเขารับการอบรม และจัดเตรียมสถานที่เพื่อใชในการอบรมโดยเปนแบบสัญจรไปยัง อบต.ตางๆ สลับกันเปนเจาภาพ ในสวนของคณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ไดจัดเตรยีมรายละเอียดของการฝกอบรมในครั้งนี้ ดังนีค้ือ

1. จัดเตรียมหลักสูตรการฝกอบรมซึ่งประกอบดวยหวัขอบรรยายและปฏบิัติ และวิทยากรเพื่อใหเหมาะสมและสอดคลองกับหลักสูตร

2. จัดทําตารางฝกอบรมและกําหนดการฝกอบรม เพื่อจัดสงใหเกษตรกรผูเล้ียงสุกร และเกษตรกรผูสนใจทั่วไป และกลุมแมบานเกษตรกรผูเล้ียงสุกร (ดังแสดงในภาคผนวก 1) 3. จัดเตรียมเอกสารประกอบการบรรยาย (ดังแสดงในภาคผนวก 2) 4. จัดเตรียมสถานที่ฝกอบรมตามที่ไดประสานงานไวกับ อบต.ตางๆ (ดังแสดงในภาคผนวก 3)

Page 14: การประเมินผลโครงการฝ กอบรมส ัญจร การเลี้ยงหมูสมุนไพร และ ...dynamic.psu.ac.th/eduservice.psu.ac.th/standard/3.3-02_2.pdf ·

5. ดําเนินการฝกอบรมแกเกษตรกร จํานวน 31 คน ทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ (ดังแสดงในภาคผนวก 4) และรายชื่อผูเขารับการฝกอบรม (ดังแสดงในภาคผนวก 5) 6. ประเมินผลโครงการฝกอบรม (รายละเอยีดระบุในบทที่ 4)

3.4 เวลาในการฝกอบรม

วันที่ 22 มิถุนายน 2548 เวลา 13.00-17.30 น.

3.5 อุปกรณในการดําเนินงาน - อุปกรณการฝกอบรม จัดทําเอกสาร โปสเตอร รูปภาพที่จําเปน รวมทั้งการใชแผนใส วีดีโอเทป ประกอบการฝกอบรม - อุปกรณทีใ่ชในการประเมินผล ใชแบบสอบถามที่สรางขึ้น และจากการสังเกตในขณะฝกอบรม

3.6 วิธีการฝกอบรม การบรรยาย ใชการบรรยายแบบรวมกลุมทุกหัวขอวิชา การสาธิต คือ การปฏิบัติประกอบการบรรยายในเรื่องของการผสมอาหารสุกรดวยวัตถุดิบในทองถ่ินและสมุนไพร (สูตร PROVE 1)

3.7 การประเมินผล

ประเมินผลโดยใชแบบสอบถาม ซ่ึงแบงแบบประเมินออกเปน 3 สวน ดังนี ้1. ขอมูลทั่วไปของผูเขารับการฝกอบรม

2. ความคิดเหน็ของผูเขารับการฝกอบรมตอการฝกอบรมในดานตางๆ

3. ความพึงพอใจตอหัวขอเร่ืองฝกอบรมในหลักสูตร

4. ปญหาและขอเสนอแนะอืน่ๆ (ถามี)

3.8 ปญหาและขอเสนอแนะอื่นๆ (ถามี) ผลสรุปที่ไดจากการอบรมในครั้งนี้ จะใชเปนประโยชนในการจดัและดําเนินการฝกอบรมในครั้งตอไป

Page 15: การประเมินผลโครงการฝ กอบรมส ัญจร การเลี้ยงหมูสมุนไพร และ ...dynamic.psu.ac.th/eduservice.psu.ac.th/standard/3.3-02_2.pdf ·

บทท่ี 4

การประเมินผลโครงการอบรมสัญจรฉลองครบรอบ 30 ป คณะทรัพยากรธรรมชาต ิ

โครงการบริการวิชาการเพื่อพัฒนาชุมชนเชิงบูรณาการ ต.ทาขาม ต.ทุงใหญ ต.พิจิตร และ ต.ทุงหวัง เร่ือง การเลี้ยงหมูสมุนไพรและการตลาด

4.1 ขอมูลท่ัวไป

ในการจดัฝกอบรมสัญจรในครั้งนี้มีผูเขารับการอบรมทั้งสิ้น 31 คน และไดรบแบบสอบถามกลับคืนทั้งสิ้น 26 ชุด ซ่ึงคิดเปนรอยละ 83.87 ของแบบสอบถามทั้งหมด และจากจํานวนผูตอบแบบสอบถามจํานวนดังกลาว ดังแสดงไวในตาราง 1 พบวา ผูเขารับการอบรมรอยละ 65.38 เปนเพศชาย และรอยละ 34.62 เปนเพศหญิง ซ่ึงมอีายุอยูในชวงตางๆ กันคือ รอยละ 34.62 มีอายุ 50 ปขึ้นไป รอยละ 26.92 ป มีอายุ 46-50 ป รอยละ 15.38 มีอายุ 20-25 ป รอยละ 11.54 มีอายุ 26-30 ป นอกนั้นรอยละ 3.85 มีอายุ 41-45 ป โดยในกลุมนี้ผูเขาอบรมที่อายุสูงสุด 62 ป และต่ําสุด 21 ป โดยเฉลีย่แลวมีอายุ 43.62 ป สาเหตทุี่ผูเขารับการอบรมมาเขารับอบรมในครั้งนี้รอยละ 76.92 ระบุวาสนใจอยากรู รอยละ 26.92 ระบุวาหนวยงานใหมาเขาอบรม และรอยละ 23.08 ใหเหตุผลวามีธุรกิจเกี่ยวกับการเลี้ยงสุกรอยูแลวในพืน้ที ่ และกอนที่จะมาเขาอบรมในครั้งนี้ผูเขารับการฝกอบรมสวนใหญคือ รอยละ 92.31 ไมเคยมีโอกาสไปเขารับการฝกอบรมเรื่องการเลี้ยงสกุรที่ไหนมากอนเลย มีเพียงรอยละ 7.69 เทานั้นที่เคยผานการอบรมในเรื่องนี้มากอนโดยไปเขารับการอบรมกับสถาบันราชภัฎสงขลา และไปเขาอบรมกับปศุสัตวอําเภอ ฯลฯ ในสวนของชวงระยะเวลาทีใ่ชในการอบรมครั้งนี้ (เวลา 13.00-17.30 น. ผูเขารับการอบรมรอยละ 53.85 เห็นวามีความเหมาะสมในระดับมาก รอยละ 34.62 เหน็วา เหมาะสมในระดับปานกลาง รอยละ 7.69 เห็นวามีความเหมาะสมในระดับนอย และรอยละ 3.85 เห็นวายงัตองปรับปรุง เพราะในหลกัสูตรมีหัวขอการบรรยายและปฏิบัติมาก และติดตอกนัหลายชั่วโมงทําใหผูเขาอบรมบางรายเครียดเกนิไป

Page 16: การประเมินผลโครงการฝ กอบรมส ัญจร การเลี้ยงหมูสมุนไพร และ ...dynamic.psu.ac.th/eduservice.psu.ac.th/standard/3.3-02_2.pdf ·

ตาราง 1 ขอมูลทั่วไปของผูเขารับการอบรม

ขอมูลทั่วไป จํานวน (คน) (N=26)

รอยละ

เพศ

ชาย 17 65.38

หญิง 9 34.62 อายุ (ป) 20-25 4 15.38

26-30 3 11.54

31-35 1 3.85

36-40 1 3.85

41-45 1 3.85

46-50 7 26.92

50 ปขึ้นไป 9 34.62

สูงสุด 62 ต่ําสุด 21 เฉลี่ย 43.62 ป สาเหตุที่มาเขาอบรมในครั้งนี้เพราะ (ตอบไดมากกวา 1 คําตอบ)

สนใจอยากรู 20 76.92 หนวยงานใหมาเขารวม 7 26.92 มีธุรกิจเกี่ยวกบัการเลี้ยงสุกรอยูแลว 6 23.08 อ่ืน ๆ - - กอนที่จะมาเขาอบรมในครั้งนี้ ทานเคยมีโอกาสไปเขารับการฝกอบรมเรื่องการเลี้ยงสุกรบางหรือไม

เคย 2 7.69 ไมเคย 24 92.31

Page 17: การประเมินผลโครงการฝ กอบรมส ัญจร การเลี้ยงหมูสมุนไพร และ ...dynamic.psu.ac.th/eduservice.psu.ac.th/standard/3.3-02_2.pdf ·

ตาราง 1 (ตอ)

ขอมูลทั่วไป จํานวน (คน) (N=26)

รอยละ

ชวงระยะเวลาที่ใชในการอบรมครั้งนี้ (เวลา 13.00-17.30 น.) มีความเหมาะสมในระดับใด

มาก 14 53.85 ปานกลาง 9 34.62 นอย 2 7.69 ยังตองปรับปรุง 1 3.85

4.2 ความคิดเห็นของผูเขารับการฝกอบรมตอการฝกอบรมในดานตางๆ

ความคิดเหน็ของผูเขารับการฝกอบรมตอการฝกอบรมในดานตางๆ ดังแสดงในตาราง 2 พบวา ผูเขารับการอบรมรอยละ 84.62 เห็นวา เนื้อหาในหลักสูตรเหมาะสมแลวและเปนประโยชนแกผูเขารับการอบรม และรอยละ 15.38 เห็นวา เนือ้หาบางเรื่องยงัไมเหมาะสมกับทองถ่ิน เชน เร่ืองของการบรรจุหีบหอ การตรวจชิมเนื้อสุกรสมุนไพร ตนทุนและกําไรจากการเล้ียงสุกรขุน ฯลฯ สําหรับโสตทัศนูปกรณหรือส่ือที่ใชประกอบการบรรยายนั้น รอยละ 84.62 เห็นวามีการใชโสตทัศนูปกรณหรือส่ือมาก รอยละ 7.69 ระบุวาอื่นๆ เชน จอภาพเล็ก ขณะฉายภาพแสงรบกวนมากทําใหมองตวัอักษรไมชัดโดยเฉพาะตัวเลข นอกนั้นรอยละ 3.85 และรอยละ 3.85 เห็นวา มีการใชอยูในระดับปานกลางและนอย ในดานความรูและความสามารถของวิทยากรในการ ฝกอบรม รอยละ 100 เห็นวาวิทยากรมคีวามรูและความสามารถในการฝกอบรมมาก นอกจากนี้บรรยากาศของหองเรียนที่ใชในการฝกอบรมผูเขาอบรมรอยละ 76.92 เห็นวาดีพอควร รอยละ 11.54 เห็นวาไมคอยเอื้ออํานวยเพราะมีแสงรบกวนมากทําใหมองภาพและตวัอักษรบนจอไม ชัดเจน กอรปกับสถานที่อบรมเปนลาดวัดจึงไมมีที่กั้นทั้ง 4 ดาน แสงสวางจึงลอดผานไดตลอดเปนอุปสรรคตอการเรียนรูอยางมาก ในดานการบริการเกี่ยวกบัเอกสารประกอบการบรรยาย อาหารและเครือ่งดื่มที่ไดรับนั้นผูเขาอบรมรอยละ 100 เห็นวาดีมาก สําหรับการติดตอประสานระหวางผูเขารับการฝกอบรมกับผูดําเนินการฝกอบรมนั้น ผูเขาอบรมรอยละ 53.85 เห็นวาลาชา รอยละ 26.92 เห็นวารวดเร็วดีแลว และรอยละ 19.23 เห็นวาตองมีการปรับปรุงโดยใหติดตอโดยตรงกับเกษตรกร (นัน่คอื กลุมเกษตรกรผูเล้ียงสุกรในทั้ง 4 ตําบลและผูสนใจทีจ่ะเลี้ยงสมัครไวเมื่อคราวระดมความคิดเหน็ ผูนําชุมชนและเกษตรกรผูนําตอการดําเนินงานโครงการบริการวิชาการเพื่อพฒันาชุมชนเชงิบูรณาการฯ เมื่อวันที่ 13 กรกฎาคม 2547)

Page 18: การประเมินผลโครงการฝ กอบรมส ัญจร การเลี้ยงหมูสมุนไพร และ ...dynamic.psu.ac.th/eduservice.psu.ac.th/standard/3.3-02_2.pdf ·

ตาราง 2 ความคิดเห็นของผูเขารับการฝกอบรมตอการฝกอบรมในดานตางๆ

ความคิดเหน็ตอการฝกอบรมในดานตางๆ จํานวน (คน) (N=26)

รอยละ

เนื้อหาในหลักสูตรที่อบรม

เนื้อหาในหลักสูตรเหมาะสมแลวและเปนประโยชนแกผูอบรม

22 84.62

เนื้อหาในหลักสูตรไมเหมาะสมและไมเปนประโยชน - - เนื้อหาบางเรื่องยังไมเหมาะสมกับทองถ่ิน 4 15.38 อ่ืน ๆ - - โสตทัศนูปกรณหรือส่ือที่ใชประกอบการบรรยาย มาก 22 84.62 ปานกลาง 1 3.85 นอย 1 3.85 อ่ืนๆ 2 7.69 ความรูและความสามารถของวิทยากรในการฝกอบรม ยังขาดประสบการณ - - มาก 26 100.00 ปานกลาง - - นอย - - บรรยากาศหองเรียนที่ใชในการฝกอบรม ไมคอยเอื้ออํานวย 3 11.54 ดีพอควร 20 76.92 ดีมาก 1 3.85 อ่ืน ๆ 2 7.69 การบริการดานเอกสาร อาหารและเครื่องดืม่ได ควรไดรับการแกไข - - ดีพอควร - -

Page 19: การประเมินผลโครงการฝ กอบรมส ัญจร การเลี้ยงหมูสมุนไพร และ ...dynamic.psu.ac.th/eduservice.psu.ac.th/standard/3.3-02_2.pdf ·

ตาราง 2 (ตอ)

ความคิดเหน็ตอการฝกอบรมในดานตางๆ จํานวน (คน) (N=26)

รอยละ

ดีมาก 26 100.00 อ่ืน ๆ - - การติดตอประสานระหวางผูเขารับการฝกอบรมกับ

ผูดําเนินการอบรม

รวดเร็ว 7 26.92 ลาชา 14 53.85 ตองมีการปรับปรุง 5 19.23 อ่ืน ๆ - -

4.3 ความพึงพอใจของผูเขารับการอบรมตอหัวขอเร่ืองอบรมในหลักสูตร จากตาราง 3 แสดงความพึงพอใจของผูเขารับการอบรมตอหัวขอเร่ืองอบรมในหลักสูตรสรุปไดวาผูเขารับการอบรมมีความพึงพอใจตอหัวขอบรรยายและปฏิบัติสวนใหญอยูในระดับมากโดยเรียงตามลําดับความสําคัญจากคาเฉลี่ยไดดงันี้คือ เทคนิคการเลี้ยงสุกรขุนและการใหอาหาร ( X= 3.84) สมุนไพรกับการเลี้ยงสุกร ( X= 3.84) การทําวัคซีนและโรคที่สําคัญ ( X=

3.79) การสุขาภิบาลสุกร ( X= 3.69) ขั้นตอนการอนุญาตจําหนายสุกร ( X= 3.58) สวนประกอบ

ซากสุกรเพื่อจาํหนาย ( X= 3.42) โรงเรือนและอุปกรณการเลี้ยงสุกรขุน ( X= 3.37) และเรื่อง

ตนทุนกําไรกบัการเลี้ยงสุกรขุน ( X=3.36) แตมี 2 หวัขอบรรยายและปฏิบัติ ที่ผูเขารับการ อบรม

พึงพอใจในระดับปานกลาง นั่นคือเร่ืองของการบรรจุหบีหอ ( X=3.23) ทั้งนี้เพราะผูเขารับการ

อบรมยังเคยชนิอยูกับคานยิมดั้งเดิม คือเวลาที่ซ้ือหมูชําแหละจากตลาด ผูขายมักจะบรรจุเนื้อหมูลงในถุงพลาสติกบาง หอดวยใบตองมัดดวยเชือกกลวยบาง บางพื้นที่ก็จะใชหอดวยกระดาษหนังสือพิมพ เปนตน ซ่ึงวิธีการเหลานี้บางครั้งก็จะมีเชือ้โรค หรือแบคทีเรียปะปนไปกับเนื้อหมไูด ดังนั้นจดุเนนของการใหความรูในหวัขอนี้เพื่อตองการใหผูเล้ียงและผูชําแหละตระหนักถึงความสะอาด ความปลอดภัยของการบริโภคเปนสําคัญ และเปนการรองรับนโยบายของกระทรวงสาธารณสุขที่รณรงคใหประชาชนเลือกรับประทานอาหารที่ปลอดภยั (food safety) และเลือก

บริโภคอาหารที่สะอาด (clean food) ดังนั้นการบรรจหุีบหอไมเพียงแตจะบงบอกใหทราบถึงความ

สะอาดเทานั้น ยังบอกใหทราบถึงความนาซื้อ นาขายและยังเปนการเพิ่มมูลคาของเนื้อหมูดวย เชนเดยีวกับเรือ่งของการตรวจชิมเนื้อหมสูมุนไพร ( X=3.16) นั้น พบวา ผูเขารับการอบรมบางราย

ยังไมมีประสบการณดานการเลี้ยง ยังไมเคยมีโอกาสสัมผัสกับรสชาติ ตลอดจนการเปลี่ยนแปลง

Page 20: การประเมินผลโครงการฝ กอบรมส ัญจร การเลี้ยงหมูสมุนไพร และ ...dynamic.psu.ac.th/eduservice.psu.ac.th/standard/3.3-02_2.pdf ·

ของสีและกลิ่นของเนื้อ และซากสุกรมากอน ทําใหไมสามารถเปรียบเทียบความแตกตางของเนื้อหมูที่เล้ียงดวยสมุนไพรกับทีไ่มไดเล้ียงดวยสมุนไพรได

ตาราง 3 ระดบัความพึงพอใจของผูเขารับการอบรมตอหัวขอบรรยายและปฏิบัติในการอบรมนี้

ระดับความตองการ

ขอมูลดานการเลี้ยงสัตว มาก

ปานกลาง

นอย นอยที่สุด

คาเฉลี่ย

X

1. เทคนิคการเลี้ยงสุกรขุนและการใหอาหาร

84.62 15.38 - - 3.84

2. โรงเรือนและอุปกรณการเลี้ยงสุกรขุน 65.78 34.22 - - 3.37 3. สมุนไพรกบัการเลี้ยงสุกร 84.62 15.28 - - 3.84 4. ตนทุนกําไรกับการเลี้ยงสกุรขุน 34.22 65.78 - - 3.36 5. สวนประกอบซากสุกรเพื่อจําหนาย 57.69 30.77 7.69 3.85 3.42 6. การบรรจุหบีหอ 50.00 26.92 19.23 3.85 3.23 7. การสุขาภิบาลสุกร 73.08 23.08 -3.85 - 3.69 8. การตรวจชมิเนื้อสุกรสมุนไพร 65.38 9.23 21.54 3.85 3.16 9. การทําวัคซีนและโรคที่สําคัญ 84.62 11.54 3.85 - 3.79 10. ขั้นตอนการขออนุญาตจําหนายสุกร 57.69 42.31 - - 3.58

หมายเหตุ : การแปลความหมายของระดับความพึงพอใจจากคาเฉลี่ยดังนี้ พึงพอใจมาก คือ คาเฉลี่ยระหวาง 3.25-4.00 พึงพอใจปานกลาง คือ คาเฉลี่ยระหวาง 2.50-3.26

พึงพอใจนอย คือ คาเฉลี่ยระหวาง 1.75-2.51

ไมเหมาะสม คือ คาเฉลี่ยระหวาง 1.00-1.76

4.4 ขอเสนอแนะ 4.4.1 ขอเสนอแนะของผูเขารับการอบรม

1. ควรใหมีเวลาในการอบรมมากกวานี้เพราะเนื้อหามากและแตละเรื่องนาสนใจมาก โดยแบงเนื้อหาเปนเรื่องสั้นๆ และอบรมหลายๆ คร้ังดีมาก

2. สถานที่ไมคอยเอื้ออํานวยใหเกิดการเรียนรู สถานที่กวางและสวางเกินไปทําใหมองภาพและตารางที่ฉายจากวีซีดีโปรเจคเตอรไมชัด ควรจัดที่สํานักงาน อบต. 3. ขอใหทาง มอ.ชวยขยายตลาดชําแหละเนื้อสุกรสมุนไพรและไกแกสมาชิกดวย

Page 21: การประเมินผลโครงการฝ กอบรมส ัญจร การเลี้ยงหมูสมุนไพร และ ...dynamic.psu.ac.th/eduservice.psu.ac.th/standard/3.3-02_2.pdf ·

4. ควรจัดอบรมลักษณะสัญจรเชนนี้บอยๆ จะดีมากเปนประโยชนแกประชาชนในพื้นที ่ 5. มอ.นาจะเปนพี่เล้ียงใหกับชมรมหรือองคกรทางการเกษตรที่มีอยูแลวในพื้นที่ใหปฏิบัติภาระกจิไดยั่งยืนและตลอดไป

6. เวลาอบรมแตละครั้งไมควรเกิน 16.00 น. เพราะเกษตรกรบางคนอยูไกล หรือมีภาระกจิในตอนเย็น

4.4.2 ขอเสนอแนะของผูดาํเนินการจัดอบรม

1. ควรชี้แจงและใหขอมูลแกเกษตรกรอยางสม่ําเสมอในเรื่องของการจัดทาํบัญชีฟารมเกี่ยวกับตนทุนการผลิต และผลกําไรที่ไดจากการเลี้ยงสัตวแตละชนิดเพือ่ใชเปนขอมูลประกอบในการตัดสินใจของผูที่เล้ียงสัตวอยูแลวหรือผูที่จะประกอบอาชีพการเลี้ยงสตัวตอไปในอนาคตวาจะคุมกับการลงทุนหรือไม หรือจะพัฒนาการเลี้ยงสัตวที่มีอยูเดิมใหเปนอาชพีหลักทดแทนอาชีพการเกษตรอื่นๆ ได 2. ควรจัดหาตลาดไวรองรับเนือ้สุกรสมุนไพรที่เล้ียงโดยกลุมเกษตรกรของทั้ง 4 ตําบล ทั้งในตัวเมืองหาดใหญ และสงขลาเพื่อประชาชนจะไดมีโอกาสบริโภค เนื้อสุกรที่ปลอดภยั ผูเล้ียงก็มีกําลังใจเพราะมีโอกาสขยายวงกวางการผลิตออกไปและเลี้ยงแลวมีตลาดรับซื้อ

3. ควรเปดการอบรมเกี่ยวกับการเลี้ยงสุกรและเทคนิคใหมตลอดจนเรื่องโรคตางๆ ใหกับกลุมผูเล้ียงสุกร หรือผูที่กําลังจะเลี้ยงในทั้ง 4 ตําบล อยางนอยปละ 3-4 คร้ัง เพื่อจะไดทราบปญหาและแลกเปลี่ยนความรูในประเดน็ตางๆ ซ่ึงกันและกันเพื่อแกไขปญหาไดทันทวงทีและสรางความเข็มแข็งใหกับกลุมผูเล้ียงในพื้นที่ดวย

4. เอกสาร แผนพับ แผนปลิว หรือขอมูลขาวสารทางการเกษตรของ มอ. ควรแจกจายไปยังองคการบริหารสวนตําบลตางๆ หรือผูนําชุมชนในตําบลหรืออําเภอตางๆ บาง เพื่อเผยแพรใหเกษตรกรในทองถ่ินไดรับทราบขอมูลผานทางหอกระจายขาวในหมูบาน หรือผานทางคณะกรรมการหมูบาน เปนตน

Page 22: การประเมินผลโครงการฝ กอบรมส ัญจร การเลี้ยงหมูสมุนไพร และ ...dynamic.psu.ac.th/eduservice.psu.ac.th/standard/3.3-02_2.pdf ·

ภาคผนวก 1

1 ก – กําหนดการฝกอบรมสัญจร การเลี้ยงหมูสมุนไพรและการตลาด

1 ข – รายละเอียดของโครงการ

Page 23: การประเมินผลโครงการฝ กอบรมส ัญจร การเลี้ยงหมูสมุนไพร และ ...dynamic.psu.ac.th/eduservice.psu.ac.th/standard/3.3-02_2.pdf ·

ภาคผนวก 1

กําหนดการ

อบรมสัญจรฉลองครบรอบ 30 ป คณะทรัพยากรธรรมชาติ ภายใตโครงการบริการวิชาการเพื่อพัฒนาชุมชนเชิงบูรณาการ ต.ทาขาม ต.พิจิตร ต.ทุงใหญ และต.ทุงหวัง

จ.สงขลา “การเลี้ยงหมูสมุนไพรและการตลาด”

วันที่ 22 มิถุนายน 2548 ณ อบต.พิจิตร

วันท่ี 22 มิถุนายน 2548

12.30 น. : ผูเขาอบรมลงทะเบียนและรับเอกสาร

13.00 น. : นายก อบต.พิจิตร กลาวเปดการอบรม

13.20 น. : การบรรยาย โดย รศ.ดร.ยุทธนา ศิริวัธนนุกูล

- เทคนิคการเลี้ยงหมูขุน และการใหอาหาร

- โรงเรือน และอุปกรณเล้ียงหมูขุน

- สมุนไพร กับการเลี้ยงสุกร

15.20 น. : พักอาหารวาง

15.30 น. : การบรรยายโดย สัตวแพทยปราโมทย เพชรศรี

- การจัดการสุขาภิบาลสุกร

- การทําวัคซีนและโรคที่สําคัญ

- ขั้นตอนการขออนุญาตจําหนายสุกร

16.30 น. : การบรรยายโดย รศ.ดร.ยุทธนา ศิริวัธนนุกูล

- ตนทุน กําไรการเลี้ยงสุกรขุน

- สวนประกอบซากสุกรเพื่อจําหนาย

- การบรรจุหีบหอ

- การผสมอาหารสุกร

- การตรวจชิมเนื้อสุกรสมุนไพร

17.30 น. - ปดการอบรม

Page 24: การประเมินผลโครงการฝ กอบรมส ัญจร การเลี้ยงหมูสมุนไพร และ ...dynamic.psu.ac.th/eduservice.psu.ac.th/standard/3.3-02_2.pdf ·

ภาคผนวก 1 ข

อบรมสัญจรฉลองครบรอบ 30 ป คณะทรัพยากรธรรมชาติ โครงการบรกิารวิชาการเพื่อพัฒนาชุมชนเชิงบูรณาการ ต.ทาขาม ต.ทุงใหญ ต.พิจิตร และ ต.ทุงหวัง จ.สงขลา วันที่ 22 มิถุนายน 2548 ณ หองประชุม อบต.พิจิตร วันที่ 13 กรกฎาคม 2548 ณ หองประชุม อบต.ทาขาม

วันที่ 27 กรกฎาคม 2548 ณ หองประชุม อบต.ทุงใหญ

1. ชื่อโครงการ : อบรมสัญจรฉลองครบรอบ 30 ป คณะทรัพยากรธรรมชาติ

1. การเลี้ยงหมูสมุนไพร และการตลาด

2. การเลี้ยงไกสมุนไพรและการตลาด

3. การปลูกผักปลอดสารพิษ การวางระบบน้าํ และการตลาด

2. หนวยงานที่รับผิดชอบ:

1.1 คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร โทรศัพท 074 – 211059

1.2 สํานักงานเกษตรจังหวดัสงขลา 1.3 สํานักงานปศสัุตวจังหวัดสงขลา 1.4 องคการบริหารสวนตําบลพิจิตร ทาขาม ทุงใหญ และทุงหวัง

3. คณะกรรมการดําเนินงาน

คณบดี คณะทรัพยากรธรรมชาติ ที่ปรึกษา เกษตรจังหวดัสงขลา ที่ปรึกษา ปศุสัตวจังหวดัสงขลา ที่ปรึกษา นายก อบต. และปลัด อบต.พิจิตร ที่ปรึกษา

นายก อบต. และปลัด อบต.ทาขาม ที่ปรึกษา

นายก อบต. และปลัด อบต.ทุงใหญ ที่ปรึกษา

นายก อบต. และปลัด อบต.ทุงหวัง ที่ปรึกษา

รศ.ดร.ยุทธนา ศิริวัธนนุกูล หัวหนาโครงการ

รศ.ดร.ยุพินพรรณ ศิริวัธนนุกูล กรรมการ

สัตวแพทยปราโมทย เพชรศรี กรรมการ

Page 25: การประเมินผลโครงการฝ กอบรมส ัญจร การเลี้ยงหมูสมุนไพร และ ...dynamic.psu.ac.th/eduservice.psu.ac.th/standard/3.3-02_2.pdf ·

สัตวแพทยสุทัศน นิยมไทย กรรมการ

นางสาวพรทพิย สุวรรณครีี กรรมการ

นายปฐมพงศ วงษเล้ียง กรรมการ

ผศ.สุธา วัฒนสิทธิ์ กรรมการและเลขานุการ

นางรสสุคนธ แกวมณ ี กรรมการและผูชวยเลขานุการ

4. ผูประสานงานในพื้นท่ี

นายสมปอง สุขสวาง ผูประสานงาน อบต. ทุงใหญ

นายบริพันธุ เสือกลับ ผูประสานงาน อบต. ทุงหวัง

นางวัชรีย ธรรมปาโล ผูประสานงาน อบต. ทาขาม

นางสาวจันทราพร จริยานกุลู ผูประสานงาน อบต. พิจิตร

5. หลักการและเหตุผล

สืบเนื่องจากมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ไดสนับสนุนงบประมาณใหคณะทํางานจากคณะทรัพยากรธรรมชาติ คณะวิทยาศาสตร และคณะอุตสาหกรรมเกษตร สํานักงานเกษตรจังหวัดสงขลา และสํานักงานปศุสัตวจังหวัดสงขลาจัดทําโครงการบริการวิชาการเพื่อพัฒนาชุมชนเชิงบูรณาการ : การพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยีการผลิตเนื้อสุกร เนื้อไก

สมุนไพร และผักปลอดสารพิษ ตั้งแตป พ.ศ. 2547 โดยในป พ.ศ. 2547 ไดเร่ิมโครงการเกษตรนํา

รอง มีการเลี้ยงสุกรสมุนไพร การปลูกฝร่ังพื้นบาน เร่ิมตนการเลี้ยงไกสมุนไพร และการปลูกผักปลอดสารพิษบางแลว แตยังไมแพรหลาย และเนื่องจากป พ.ศ. 2548 เปนปครบรอบ 30 ป คณะ

ทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อใหการทํากิจกรรมทางการเกษตรเกิดประโยชนตอชุมชน จึงเห็นควรจัดโครงการอบรมสัญจรในพื้นที่ทั้ง 4 ตําบลขางตน โดยเปนการนําความรูเขาไปสูชุมชน และไดเห็น

ปญหาตาง ๆ ของชุมชน และเปนการกระตุนใหนักวิชาการจากมหาวิทยาลัยและหนวยงานของรัฐเขาไปรวมกันพัฒนาชุมชน ใหเกิดประโยชนอีกทั้งชวยใหชุมชนเห็นความสําคัญของการเขารวมอบรม เพื่อนําความรูใหม ไปใชในการประกอบอาชีพตอไป

6. วัตถุประสงค 1. เพื่อทํากิจกรรมทางดานการเกษตรใหกับชุมชน เนื่องในโอกาสฉลองครบรอบ 30 ป

คณะทรัพยากรธรรมชาติ 2. เพื่อถายทอดความรูดานการเลี้ยงหมูสมุนไพร การเลี้ยงไกสมุนไพร การปลูกผักปลอด

สารพิษ การวางระบบน้ํา และการตลาดใหกับเกษตรกร ในพื้นที่ ต.พิจิตร ต.ทาขาม ต.

ทุงใหญ และ ต.ทุงหวัง จ.สงขลา

Page 26: การประเมินผลโครงการฝ กอบรมส ัญจร การเลี้ยงหมูสมุนไพร และ ...dynamic.psu.ac.th/eduservice.psu.ac.th/standard/3.3-02_2.pdf ·

3. เพื่อเปนการทํางานรวมกันของนักวิชาการจากมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร สํานักงานเกษตรจังหวัด และสํานักงานปศุสัตวจังหวัด กับองคการบริหารสวนตําบลทั้ง 4 แหง

4. เพื่อคัดเลือกเกษตรกรเขารวมโครงการเลี้ยงหมูสมุนไพร เล้ียงไกสมุนไพร และปลูกผักปลอดสารพิษตอไป

7. คณะวิทยากร 1. การเลี้ยงหมูสมุนไพร และการตลาด : รศ.ดร.ยุทธนา ศิริวัธนนุกูล และสัตวแพทย

ปราโมทย เพชรศรี 2. การเลี้ยงไกสมุนไพร และการตลาด : ผศ.สุธา วัฒนสิทธิ์ และสัตวแพทยสุทัศน นิยม

ไทย

3. การปลูกผักปลอดสารพิษ การวางระบบน้ํา และการตลาด : รศ.ดร.ขวัญจิตร สันติ

ประชา คุณพรทิพย สุวรรณคีรี นายปฐมพงศ วงษเล้ียง และนายประเดิม อนันต

8. กลุมเปาหมาย ผูเขาอบรมจะเปนเกษตรกรและครู ใน ต.พิจิตร ต.ทาขาม ต. ทุงใหญ และ ต.ทุงหวงั ประมาณ

60 –75 คน โดยแตละหลักสตูรจะมีเกษตรกร และครูเขาอบรมประมาณ 20 – 25 คน

9. วัน เวลา และสถานที่ในการจัดอบรม

1. วันที่ 22 มิถุนายน 2548 เวลา 13.00 – 17.30 น. : อบรมการเลี้ยงหมูสมุนไพร และ

การตลาด ณ สํานักงาน อบต. ต.พิจิตร

2. วันที่ 13 กรกฎาคม 2548 เวลา 13.00 - 17.30 น. : อบรมการเลี้ยงไกสมุนไพร และ

การตลาด ณ สํานักงาน อบต.ทาขาม

3. วันที่ 27 กรกฎาคม 2548 เวลา 13.00 – 17.30 น. : อบรมการปลูกผักปลอดสารพิษ การ

วางระบบน้ํา และการตลาด ณ สํานักงาน อบต. ทุงใหญ

10. การแจงความจํานงเขาอบรม

ผูประสานงานแตละองคการบริหารสวนตําบล เปดรับสมคัรเกษตรกร และครูที่

สนใจเขารับการอบรมหลักสูตรละ 5 –7 คน ตอ 1 อบต. โดยจัดสงรายชื่อผูเขาอบรมไปยังผู

ประสานงาน อบต. ในกําหนดวันดงักลาว

Page 27: การประเมินผลโครงการฝ กอบรมส ัญจร การเลี้ยงหมูสมุนไพร และ ...dynamic.psu.ac.th/eduservice.psu.ac.th/standard/3.3-02_2.pdf ·

1. อบรมการเลี้ยงหมูสมนุไพรฯ : แจงความจํานงที่คุณจันทราพร จริยานุกูล

(อบต.พิจิตร โทร. 074 - 382477) ภายในวันที่ 13 – 17 มิถุนายน 2548 อบต.ละ 5-7 คน (ยกเวน

อบต.พิจิตร 7 – 10 คน)

2. อบรมการเลี้ยงไกสมนุไพรฯ : แจงความจํานงที่คุณวัชรีย ธรรมปาโล (อบต.

ทาขาม โทร. 074 - 375100, 074 -357382) ภายในวันที่ 27 มิถุนายน ถงึ 1 กรกฎาคม 2548 อบต.

ละ 5 – 7 คน (ยกเวนอบต.ทาขาม 7 – 10 คน)

3. อบรมการปลูกผักปลอดสารพิษฯ : แจงความจํานงทีคุ่ณสมปอง สุขสวาง

(อบต.ทุงใหญ โทร. 074 - 219198) ภายในวันที่ 11 – 15 กรกฎาคม 2548 อบต.ละ 5 – 7 คน

(ยกเวน อบต.ทุงใหญ 7-10 คน)

11. การจัดสวัสดิการผูเขาอบรม

ผูเขารวมอบรมไมตองเสียคาใชจายใด ๆ ทั้งสิน้ โดยคณะผูจัดประชุมจะ

รับผิดชอบคาอาหารวาง เครื่องดื่ม เอกสารการอบรม ตัวอยางเมล็ดพนัธุผัก และตัวอยางเนื้อ

หมูสมนุไพร โดยขอความกรณุาใหผูเขารับการอบรมรับผิดชอบเดินทางมายงัสถานทีจ่ัดอบรม

12. ผลที่คาดวาจะไดรับ

1. เกษตรกรที่เขาอบรมจะไดรับความรูเกี่ยวกับการเลี้ยงหมูดวยสมุนไพร เลี้ยงไกดวย

สมุนไพร การปลูกผักปลอดสารพิษ การจดัระบบน้ํา และการตลาด

2. ไดสมาชิกเขารวมโครงการเลี้ยงหมูสมุนไพร เลี้ยงไกสมุนไพร และปลูกผักปลอด

สารพิษ

3. เกิดการทาํงานรวมกันของหนวยงานระดับองคการบริหารสวนตําบล กับ

มหาวิทยาลยั และสํานักงานเกษตรจังหวัด และสํานักงานปศุสัตวจังหวัดสงขลา

4. เปนการสรางประโยชนใหกับชุมชน เนื่องในโอกาสครบรอบ 30 ป คณะ

ทรัพยากรธรรมชาต ิ

13. การประเมินผลการอบรม

ในการอบรมครั้งนี้ จะมีการประเมินผลการอบรม เพื่อเปนพืน้ฐานในการจัดอบรมครั้งตอ ๆ ไป

Page 28: การประเมินผลโครงการฝ กอบรมส ัญจร การเลี้ยงหมูสมุนไพร และ ...dynamic.psu.ac.th/eduservice.psu.ac.th/standard/3.3-02_2.pdf ·

14. งบประมาณ

1. การอบรมการเลี้ยงหมสูมุนไพร และการตลาด

- คาเอกสารฝกอบรม 30 ชุด ๆ ละ 80 บาท 2,400 บาท

- คาตัวอยางสมุนไพร และวัตถุดิบอาหารสัตว 1,000 บาท

- คาตัวอยางเนื้อสุกร การบรรจุหีบหอ 1,000 บาท

- คาวิทยากร 4 ช่ัวโมง ๆ ละ 600 บาท 2,400 บาท

- คาผูชวยวิทยากร 4 ช่ัวโมง ๆ ละ 100 บาท 2 คน 800 บาท

- คาลวงเวลาพนักงานขับรถ 1 คน เจาหนาที่ 2 คน

คนละ 200 บาท จํานวน 1 วัน 600 บาท

- คาจางเหมาพิมพดีด 2 วัน ๆ ละ 200 บาท 400 บาท

- คาอาหารวาง และเครื่องดื่ม 30 คน 1 มื้อ 750 บาท

- คาฟลม ส่ือการสอน วัสดุประชาสัมพันธ 1,500 บาท

- คาน้ํามันเชื้อเพลิง 200 บาท

- คาจางเหมาประเมินผลการอบรม 3,000 บาท

- สํารองจายอื่น ๆ 300 บาท

รวม 14,350 บาท

2. การเลี้ยงไกสมุนไพร และการตลาด

- คาเอกสารฝกอบรม 30 ชุด ๆ ละ 80 บาท 2,400 บาท

- คาตัวอยางสมุนไพร และวัตถุดิบอาหารสัตว

คาวัคซีน และอุปกรณ 1,400 บาท

- คาตัวอยางเนื้อไก และการบรรจุหีบหอ 1,000 บาท

- คาวิทยากร 4 ช่ัวโมง ๆ ละ 600 บาท 2,400 บาท

- คาผูชวยวทิยากร 4 ช่ัวโมง ๆ ละ 100 บาท 2 คน 800 บาท

- คาลวงเวลาพนักงานขับรถ 1 คน เจาหนาที่ 2 คน ๆ

ละ 200 บาท จํานวน 1 วัน 600 บาท

- คาจางเหมาพิมพดีด 2 วัน ๆ ละ 200 บาท 400 บาท

- คาอาหารวาง และเครื่องดื่ม 30 คน 1 มื้อ 750 บาท

- คาฟลม ส่ือการสอน วัสดุประชาสัมพันธ 1,500 บาท

- คาน้ํามันเชื้อเพลิง 200 บาท

- คาจางเหมาประเมินผลการอบรม 3,000 บาท

Page 29: การประเมินผลโครงการฝ กอบรมส ัญจร การเลี้ยงหมูสมุนไพร และ ...dynamic.psu.ac.th/eduservice.psu.ac.th/standard/3.3-02_2.pdf ·

- สํารองจายอื่น ๆ 300 บาท

รวม 14,750 บาท

3. การปลูกผักปลอดสารพิษ การวางระบบน้ําและการตลาด

- คาเอกสารฝกอบรม 30 ชุด ๆ ละ 80 บาท 2,400 บาท

- คาตัวอยางผัก เมล็ดพันธุ ปุย ฯลฯ 1,500 บาท

- คาอุปกรณสารปองกันแมลง อุปกรณระบบน้ํา

อุปกรณปลูก บรรจุหีบหอ ฯลฯ 3,000 บาท

- คาวิทยากร 4 ช่ัวโมง ๆ ละ 600 บาท 2,400 บาท

- คาผูชวยวิทยากร 4 ช่ัวโมง ๆ ละ 100 บาท 2 คน 800 บาท

- คาลวงเวลาพนักงานขับรถ 1 คน เจาหนาที่ 2 คน ๆ ละ

200 บาท จํานวน 1 วัน 600 บาท

- คาจางเหมาพิมพดีด 2 วันละ 200 บาท 400 บาท

- คาอาหารวาง และเครื่องดื่ม 30 คน 1 มื้อ 750 บาท

- คาฟลม ส่ือการสอน วัสดุประชาสัมพันธ 1,500 บาท

- คาน้ํามันเชื้อเพลิง 200 บาท

- คาจางเหมาประเมินผลการอบรม 3,000 บาท

- สํารองจายอื่น ๆ 300 บาท

รวม 16,850 บาท

รวมคาใชจายท้ังหมด 45,950 บาท

หมายเหตุ ขออนุมัติถัวจายทุกรายงานรวมกัน

Page 30: การประเมินผลโครงการฝ กอบรมส ัญจร การเลี้ยงหมูสมุนไพร และ ...dynamic.psu.ac.th/eduservice.psu.ac.th/standard/3.3-02_2.pdf ·

15. กําหนดการอบรม

1. วันท่ี 22 มิถุนายน 2548 : การเลี้ยงหมูสมุนไพร และการตลาด

12.30 น. : ผูเขาอบรมลงทะเบียนและรับเอกสาร

13.00 น. : นายก อบต.พิจิตร กลาวเปดการอบรม

13.20 น. : การบรรยาย โดย รศ.ดร.ยุทธนา ศิริวัธนนุกูล

- เทคนิคการเลี้ยงหมูขุน และการใหอาหาร

- โรงเรือน และอุปกรณเล้ียงหมูขุน

- สมุนไพร กับการเลี้ยงสุกร

15.20 น. : พักอาหารวาง

15.30 น. : การบรรยายโดย สัตวแพทยปราโมทย เพชรศรี

- การจัดการสุขาภิบาลสุกร

- การทําวัคซีนและโรคที่สําคัญ

- ขั้นตอนการขออนุญาตจําหนายสุกร

16.30 น. : การบรรยายโดย รศ.ดร.ยุทธนา ศิริวัธนนุกูล

- ตนทุน กําไรการเลี้ยงสุกรขุน

- สวนประกอบซากสุกรเพื่อจําหนาย

- การบรรจุหีบหอ

- การผสมอาหารสุกร

- การตรวจชิมเนื้อสุกรสมุนไพร

17.30 น. - ปดการอบรม

2. วันท่ี 13 กรกฎาคม 2548 : การเลี้ยงไกสมุนไพร และการตลาด

12.30 น. : ผูเขารับการอบรมลงทะเบียนและรับเอกสาร

13.00 น. : นายก อบต.ทาขามกลาวเปดการอบรม

13.20 น. : การบรรยาย โดย ผศ.สุธา วัฒนสิทธิ์

- เทคนิคการเลี้ยงไกพื้นเมืองเพื่อขายเนื้อ และการใหอาหาร

- โรงเรือนและอุปกรณการเลี้ยงไกพื้นเมือง

- การตอนไกเพศผูเพื่อขุนขาย

- แนวทางการใชสมุนไพร เพื่อเล้ียงไกพื้นเมือง

15.20 น. : พักอาหารวาง

15.30 น. : การบรรยายโดย สัตวแพทยสุทัศน นิยมไทย

Page 31: การประเมินผลโครงการฝ กอบรมส ัญจร การเลี้ยงหมูสมุนไพร และ ...dynamic.psu.ac.th/eduservice.psu.ac.th/standard/3.3-02_2.pdf ·

- การจัดการสุขาภิบาลไกพื้นเมือง

- การทําวัคซีน และโรคที่สําคัญ

- ขั้นตอนการขออนุญาตรับรองฟารมและขนยาย

16.30 น. : บรรยายโดย ผศ.สุธา วัฒนสิทธิ์

– ตนทุนกําไรการเลี้ยงไกพื้นเมืองขายเนื้อ

- ช้ินสวน ซากไก เพื่อการจําหนาย และการบรรจุหีบหอ

- การผสมอาหารไก

17.30 น. - ปดการอบรม

3. วันท่ี 27 กรกฎาคม 2548 : การปลูกผักปลอดสารพิษการวางระบบน้ํา และการตลาด

12.30 น. : ผูเขารับการอบรมลงทะเบียน

13.00 น. : นายก อบต.ทุงใหญ กลาวเปดการอบรม

13.20 น. : การบรรยาย โดย รศ.ดร.ขวัญจิตร สันติประชา

- ชนิดของพันธุผักที่ตลาดตองการ

- การปลูกและการดูแลใหปุย

- ศัตรูผักที่สําคัญและการปองกันกําจัดศัตรูพืชที่ปลอดภัย

14.50 น. : พักรับประทานอาหารวาง

15.00 น. : การบรรยายโดย คุณพรทิพย สุวรรณคีรี

- การเตรียมสารกําจัดศัตรูพืชที่ปลอดภัย

- การใชสารกําจัดศัตรูพืชที่ปลอดภัย

16.00 น. : การบรรยายโดย นายปฐมพงศ วงษเล้ียง

- การวางผังระบบน้ําในแปลงผัก

- การบํารุงรักษา และการจัดการระบบน้ํา

17.00 น. : บรรยายโดยนายประเดิม อนันต

- เทคนิคการเก็บเกี่ยวผลผลิต และการตลาด

17.30 น. : ปดการอบรม

Page 32: การประเมินผลโครงการฝ กอบรมส ัญจร การเลี้ยงหมูสมุนไพร และ ...dynamic.psu.ac.th/eduservice.psu.ac.th/standard/3.3-02_2.pdf ·

ภาคผนวก 2

เอกสารประกอบการบรรยาย

Page 33: การประเมินผลโครงการฝ กอบรมส ัญจร การเลี้ยงหมูสมุนไพร และ ...dynamic.psu.ac.th/eduservice.psu.ac.th/standard/3.3-02_2.pdf ·

การเลี้ยงสุกร

สําหรับผูเร่ิมตนอาชีพการเลี้ยงสกุร

โดย

รศ.ดร.ยุทธนา ศิริวัธนนุกูล ภาควิชาสัตวศาสตร คณะทรัพยากรธรรมชาติ

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร อ.หาดใหญ จ.สงขลา

เอกสารประกอบการบรรยาย

อบรมสัญจรฉลองครบรอบ 30 ป คณะทรัพยากรธรรมชาติ โครงการบริการวิชาการเพื่อพัฒนาชุมชนเชิงบูรณาการ

เร่ือง การเลี้ยงหมูสมุนไพร และการตลาด วันที่ 22 มิถุนายน 2548 ณ หองประชุม อบต.พิจิตร

อ.นาหมอม จ.สงขลา

Page 34: การประเมินผลโครงการฝ กอบรมส ัญจร การเลี้ยงหมูสมุนไพร และ ...dynamic.psu.ac.th/eduservice.psu.ac.th/standard/3.3-02_2.pdf ·

สารบาญ

หนา คํานาํ 1 การเลี้ยงสุกรกับการเพิ่มมลูคาสินคา 1 แนวโนมการเลี้ยงสุกรของประเทศไทย 1 ชีพจักรของสุกร 2 พันธุสุกรที่นิยมเลี้ยงในประเทศไทย 2 การคัดเลือกเพ่ือปรับปรุงพันธุสุกร 5 ระบบการสืบพันธุสุกร 7 การแสดงออกทางดานการสบืพันธุ 10 หลักปฏิบัติเก่ียวกับการเลี้ยงดูสุกรระยะตาง ๆ 12

ระยะอุมทอง 12 ระยะแมสุกรกอนคลอดและหลังคลอด 13 ระยะสุกรหลังคลอดถึงหยานม 14 ระยะลูกสุกรหลังหยานม-น้ําหนัก 95 กิโลกรัม 15 การเลี้ยงดูสุกรพอแมพันธุ 16 หลักปฏิบัตใินการผสมพันธุสุกร 16 เทคนิคการเลีย้งสุกรขุน และการใหอาหาร 17 โรงเรือน และอุปกรณการเลี้ยงสุกรขุน 21 สมุนไพรกับการเลี้ยงสุกร 22 การใชสมุนไพรสูตรพูฟฝ 1 ในการเลี้ยงสุกรขุน 23 การศึกษารสชาติของเนื้อสุกรสมุนไพร 23 ตนทุนกาํไรการเลี้ยงสุกรขุน 24 สวนประกอบของซากสุกรเพื่อจําหนาย 25 การผสมอาหารสุกร 26

บรรณานุกรม 26

Page 35: การประเมินผลโครงการฝ กอบรมส ัญจร การเลี้ยงหมูสมุนไพร และ ...dynamic.psu.ac.th/eduservice.psu.ac.th/standard/3.3-02_2.pdf ·

การเลี้ยงสุกร สําหรับผูเริ่มตนอาชีพการเลี้ยงสุกร

คํานํา อาชีพการเลี้ยงสุกรเปนอาชีพหนึ่งท่ีนิยมเลีย้งกันมาชานานแลว เกษตรกรบางรายกย็ดึอาชีพนี้เปนอาชีพหลัก และบางรายกย็ึดเปนอาชีพรองสําหรับเสริมรายไดใหครอบครวั การเลี้ยงสุกรในประเทศไทยมีท้ังท่ีเล้ียงเปนอตุสาหกรรม และเลี้ยงแบบรายยอย สําหรับผูท่ีจะเริ่มตนอาชีพการเลี้ยงสุกรนั้น ควรจะเริ่มจากขนาดเลก็และตองศึกษาหาความรูเก่ียวกับวิชาการทางดานการเล้ียงสุกรดวย นอกจากนี้ตองเขาใจกลไกดานการตลาด สภาวะหรือปจจัยท่ีมีผลตอการเลี้ยงสุกร การขึ้นลงของราคาวัตถดุิบและราคาสุกร การคํานวณตนทุนและรายไดในการเลี้ยงสกุร ซ่ึงถาผูท่ีจะเริ่มตนการเล้ียงมีความรูเหลานี้แลว ก็เปนท่ีม่ันใจไดวาจะยึดอาชีพการเลี้ยงสุกรเปนอาชีพของ

ครอบครัวตลอดไปไดอยางแนนอน

การเลี้ยงสุกรกับการเพิ่มมลูคาสินคา

สุกรเปนสัตวที่ชวยเปลี่ยนวัตถุดบิทางการเกษตร เชน ขาวโพด มันสําปะหลัง ขาวฟาง ใบกระถนิ หรือผลพลอยไดจากโรงงานอตุสาหกรรมทางเกษตร เชน รําขาว ปลายขาว กากถ่ัวเหลือง กากเนื้อในเมลด็ปาลม กากเมล็ดยางพารา กากมะพราว ปลาปน เนื้อปน เปนตน ซึ่งวัตถุดบิเหลานี้จะมีราคาถูก หรือมนุษยไมสามารถนาํมาใชบริโภคได แตสุกรสามารถเปลี่ยนใหเปนเนื้อที่มีราคาแพงขึ้น และมนุษยสามารถกินได นอกจากนี้การเลี้ยงสุกรยังมีสวนเกี่ยวของกับอาชีพอ่ืนๆมากมาย ชวยทําใหสินคาตางๆ มีมูลคาเพ่ิมขึ้น (value adding หรือ added value) มีการจางงานมากขึ้น กอใหเกิดอุตสาหกรรมตอเนื่องหลายอยาง นักเศรษฐศาสตรหลายทานกลาววาสินคาใดก็ตามที่ทาํใหเกิดอุตสาหกรรมตอเนื่องหรือทําใหสินคาตัวอื่นมีการเพิม่

มูลคาได หรือสินคาตัวนัน้เองมีการเพิ่มมูลคาไดหลายแบบ สินคาตัวนั้นจะมคีวามสําคญัทาง

เศรษฐกิจตอประเทศ เพราะจะทาํใหเกิดการจางงานมากขึ้น เกิดการซื้อขายแลกเปลี่ยนมากขึ้นในตลาด เกิดการเพิ่มรายไดมากขึ้นใหกับประชาชน และประเทศ

แนวโนมการเลี้ยงสุกรของประเทศไทย ประเทศไทยมกีารเลี้ยงสุกรมาชานานแลว โดยจะเลี้ยงสุกรพันธุพ้ืนเมอืง ไดแก พันธุราดจะเลี้ยงแถบจังหวัดนครราชสีมา (โคราช) พันธุไหหลําซึ่งนํามาจากประเทศจนี พันธุควายเล้ียงแถบจังหวัดนครปฐม และพันธุข้ีพราเล้ียงอยูแถวจังหวัดภาคใต และเมื่อประมาณ 40 ป ที่ผานมาไดมีการนําสุกรจากประเทศยุโรปและสหรัฐอเมริกาเขามาปรบัปรุงพันธุสุกรของประเทศ

ไทยใหดีข้ึน และแตเดิมเปนการเลี้ยงแบบใตถุนบานกไ็ดมีการพัฒนาข้ึนเรื่อย ๆ จนเลี้ยงเปน

ฟารมขนาดใหญแบบเกษตร อุตสาหกรรม ปริมาณการเลี้ยงสุกรของประเทศไทยจะเพิ่มขึน้หรือลดลงขึ้นอยูกับปจจัยดงันี้

Page 36: การประเมินผลโครงการฝ กอบรมส ัญจร การเลี้ยงหมูสมุนไพร และ ...dynamic.psu.ac.th/eduservice.psu.ac.th/standard/3.3-02_2.pdf ·

1. ราคาสุกรมีชีวิต ปใดที่สุกรมีชีวิตมีราคาสูงปนั้นปริมาณสุกรที่เล้ียงจะมีนอย และในปถัดไป 1-2 ป ปริมาณสุกรจะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จนกระทั่งราคาสุกรมีชีวิตเริ่มลดลงแสดงวาปนั้นปริมาณการเลี้ยงสุกรมีมาก 2. ราคาวัตถุดิบอาหารสัตว ถาปใดราคาวัตถดุบิมีราคาถูกแสดงวาปนัน้มีปริมาณ

การเลี้ยงสุกรนอยทําใหเกษตรกรหันมาเลีย้งสุกรมากขึ้น เพราะวาราคาวัตถดุิบถูก และถัดมา 1-2 ป ราคาวัตถุดิบจะแพงขึ้น แสดงวาปนัน้มีปริมาณการเลี้ยงสุกรมาก 3. โรคระบาดและอัตราดอกเบี้ย ปใดมโีรคระบาดในสุกรโดยเฉพาะโรคปากและเทาเปอย (foot and mouth disease, FMD) ซึ่งจะเกิดกับพอแมพันธุเปนสวนใหญจะทําใหปถัดไปมีปริมาณสุกรที่เล้ียงลดลง นอกจากนี้ภาวะเศรษฐกิจก็มีสวนสําคัญโดยเฉพาะ

อัตราดอกเบี้ยถาดอกเบี้ยเงินฝากและเงินกูต่ํา เกษตรกรจะนําเงินทีม่ีอยูหรือไปกูเงินมาเลี้ยงสุกร แตถาอัตราดอกเบี้ยเงินฝากและเงินกูสูงเกษตรกรก็จะชะลอการเพิ่มการเลี้ยงสุกร จากสาเหตุดังกลาวจึงทําใหปริมาณการเลีย้งสุกรของประเทศไทยขึ้นๆ ลงๆ โดยเฉพาะปรมิาณการเลี้ยงสุกรของประเทศไทยจะขึ้นๆ ลงๆ ทุก 3 ป ชีพจักรของสกุร โดยปกติสุกรจะมีชีพจักรประมาณ 1 ป โดยคดิตั้งแตเกิดและจนกระทั่งตัวมันเองใหลูกครั้งแรก สําหรับอายกุารใชงานของพอพันธุและแมพันธุจะเริ่มใชงานเมื่อมีอายุประมาณ 8 เดือน หรือน้ําหนักประมาณ 90-100 กิโลกรัม และจะใชงานไปจนกระทั่งมีอายุไมเกิน 4 ป ทั้งนี้ข้ึนอยูกับสุขภาพของสุกรแตละตัวดวย ในกรณีแมสุกรพันธุสวนใหญจะใชงานจนกระทั่งใหลูกไดประมาณ 6-7 ครอก แตแมสุกรบางตัวที่สุขภาพดีอาจใหลูกไดถึง 8 ครอก และแมสุกรสวนใหญจะใหลูกครอกละประมาณ 10-11 ตัว โดยเฉลี่ยแลวแมสุกร 1 ตัว จะใหลูกทั้งหมดประมาณ 60-70 ตัว ตลอดอายุที่ใชงาน ในกรณีสุกรขุนที่เล้ียงไวสําหรับสงโรงฆาจะใชเวลา

เล้ียงประมาณ 5 เดือน ถึง 5 เดือนครึ่ง สําหรับน้าํหนกัและอายุสุกรระยะตางๆ ตามชีพจักรของสุกรไดแสดงในตารางที ่1 พันธุสุกรที่นิยมเลี้ยงในประเทศไทย ปจจุบันมีสุกรพันธตางประเทศที่นิยมเลี้ยงในประเทศไทยประมาณ 3 พันธ คือ แลนดเรซ ลารจไวท และดร็ูอค สวนพันธอ่ืน ๆ มีเล้ียงบางแตไมคอยนิยมเทาที่ควร สําหรับรายละเอียดของสุกรพันธุตางๆ มีดังตอไปนี ้ 1. พันธุลารจไวท (Large white) เปนสุกรพันธุที่นยิมเลี้ยงในประเทศไทยมาชานาน มีถ่ินกําเนดิในประเทศอังกฤษ โดยเรียกชื่อวาพันธุย็อคเชียร (Yorkshire) ตอมาถูกนําไปปรับปรุงพันธุในประเทศสหรัฐอเมริกาและเรียกชื่อใหมวาลารจไวท เปนพนัธุที่มีขนสีขาวตลอดลาํตัวมใีบหูใหญและตั้ง

Page 37: การประเมินผลโครงการฝ กอบรมส ัญจร การเลี้ยงหมูสมุนไพร และ ...dynamic.psu.ac.th/eduservice.psu.ac.th/standard/3.3-02_2.pdf ·

เปนพันธุที่มีลําตัวยาว ไหลและหลังกวาง ขาแข็งแรงใหเนื้อเบคอน (bacon) หรือเนื้อสามชั้นดีพันธุหนึ่ง ปจจุบันไดมีการปรับปรุงพันธุใหสรางเนื้อแดงมากขึ้น มีความหนาไขมนัสันหลังเฉล่ีย 1-1.5 เซนตเิมตร

ตารางที่ 1 แสดงอายุและน้ําหนักสุกรระยะตางๆ อายุ (สัปดาห) ชนิดสุกร นํ้าหนักโดยประมาณ

(กิโลกรัม) 1 วัน ลูกสุกรแรกเกิด 1.5 3-5 ลูกสุกรหยานมกอนกําหนด 6-10 8 (2 เดือน) ลูกสุกรหยานมตามธรรมชาต ิ 20-22 4-10 สุกรเล็ก 10-25 10-17 สุกรรุน 25-65 17-22 สุกรขุน (ตั้งแตเกิด-ใหกินอาหารเต็มที)่ 65-95 17-32 (8 เดือน) สุกรสาว (จํากัดอาหาร 65-100 114 วัน อุมทอง-คลอดลูก 130-140 โดยเฉลี่ยแมสุกรจะใหลูกครั้งแรกอายุประมาณ 1 ป หมายเหตุ 1. บางครั้งเรียกสุกรหลังหยานม 3 สัปดาห ถึงน้ําหนักประมาณ 25 กิโลกรัมวาลูก สุกรหลังหยานม ที่น้ําหนัก 95 กิโลกรัม เปนพันธุสุกรที่ใหลูกดกเฉลี่ยตอครอกประมาณ 11-13 ตัว และเล้ียงลูกเกง จึงนิยมนํามาเปนแมพันธุและพอพันธุในการผลิตแมสุกรลูกผสมสองสาย สุกรพันธุลารจไวทมีอัตราการเจริญเติบโตเฉลี่ยวันละประมาณ 850-900 กรัม และมีประสิทธิภาพการใชอาหารประมาณ 2.4 สายพันธเดนมารกหรือแคนาดาจะใหเนื้อแดงสูงไขมันบาง 2. พันธุแลนดเรซ (Landrace) เปนสุกรที่ใหเนื้อเบคอนดีที่สุดในโลก นิยมเล้ียงในประเทศไทยเชนกัน มีถ่ินกําเนดิในประเทศเดนมารก (Denmark) ปจจุบันไดรับการปรับปรุงพันธุในหลายประเทศ โดยสายพันธุที่ปรับปรุงในแตละประเทศจะมีลักษณะเดนและดอยแตกตางกัน เชน อเมริกันแลนดเรซ (America Landrace) ลําตัวจะยาวและลึกเล้ียงลูกเกงใหเนื้อเบคอนดีแตจะมไีขมันมากกวาสายพันธุประเทศอื่น บริทริซแลนดเรซ (British Landrace) เปนสายพนัธุที่มีขาหลังแข็งแรง ลําตัวยาวใหเนื้อแดงมากพอสมควร เดนมารกแลนดเรซ (Denmark Landrace) เปนสายพันธุที่ใหเนื้อแดงสูงไขมันสันหลังบางเนื้อมสีีแดง ขาแข็งแรงแตตองใหอาหารที่มีโปรตีนสูงจึงจะไดผลด ี เบลเยี่ยมแลนดเรซ (Belgium Landrace) เปนสายพนัธุที่ใหเนื้อแดงสูงสะโพกใหญกวาสายพนัธุอ่ืน แตมขีอเสียที่ช็อคงายและขอขาหลังจะออนกวาสายพันธุอ่ืน เนือ้เปนสีชมพู

Page 38: การประเมินผลโครงการฝ กอบรมส ัญจร การเลี้ยงหมูสมุนไพร และ ...dynamic.psu.ac.th/eduservice.psu.ac.th/standard/3.3-02_2.pdf ·

สุกรพันธุนี้มีสีขาวตลอดลาํตวั ผิวหนังบางกวาพันธุลารจไวท ใบหูใหญและปรก สะโพกใหญลําตัวยาวใหลูกดกเฉลี่ยครอกละ 11-13 ตัว เล้ียงลูกเกง มีอัตราการเจริญเติบโตเฉล่ียวันละ 830-880 กรัม มีประสิทธิภาพการใชอาหารประมาณ 2.5 เหมาะสําหรับใชเปนพอพันธุและแมพันธุในการผลิตแมสุกรลกูผสมสองสาย

Page 39: การประเมินผลโครงการฝ กอบรมส ัญจร การเลี้ยงหมูสมุนไพร และ ...dynamic.psu.ac.th/eduservice.psu.ac.th/standard/3.3-02_2.pdf ·

ภาพที่ 1 แสดงภาพสุกรพันธุลารจไวท แลนดเรซ ดูร็อค และพิเทรน 3. พันธุดูร็อค (Duroc) เปนพันธุทีน่ิยมเลี้ยงมานานในประเทศสหรัฐอเมริกา เปนพันธุทีใ่หเนื้อแดงสูง และถาเปนสายพันธุจากประเทศเดนมารก และแคนาดาจะใหเนื้อแดง

พันธุลารจไวท

พันธุแลนดเรซ

พันธุดูร็อค พันธุพิเทรน

Page 40: การประเมินผลโครงการฝ กอบรมส ัญจร การเลี้ยงหมูสมุนไพร และ ...dynamic.psu.ac.th/eduservice.psu.ac.th/standard/3.3-02_2.pdf ·

สูงกวาสายพันธุจากสหรัฐอเมริกา และน้ําหนักโตเต็มวัยจะเล็กกวาสายพันธุจากสหรัฐอเมริกาดวย เมื่อใชเปนพอพันธุทําใหสามารถใชผสมพันธุแมสุกรสาวหรือแมสุกรนางที่มีขนาดเล็กได สุกรพันธุดูร็อคมีขนสีน้ําตาล ตั้งแตน้าํตาลออนจนถึงน้ําตาลแกใบหูเล็ก และปรกที่

ปลายหู ลําตวัโคงหลังและไหลกวาง สะโพกใหญ เนื้อแดงมีสีแดง เล้ียงงาย หนังหนาขนหยาบ ทําใหเวลาฆาจะขูดขนลําบากกวาพันธุอ่ืน ใหลูกดกสูพันธุลารจไวและพันธุแลนดเรซไมได จะใหลูกเฉล่ียครอกละประมาณ 9-10 ตัว เปนพันธุที่เล้ียงงายเจริญเติบโตเร็วเฉลีย่วันละ 850-950 กรัม มีประสิทธิภาพการใชอาหารประมาณ 2.40 นิยมใชเปนพอพันธุในการผลิตสุกรขุนสามสาย 4. พันธุเบอรกเชียร (Berkshire) เปนพันธุสุกรที่นิยมเลี้ยงมานานในประเทศอังกฤษและสหรัฐอเมริกา เคยนําเขามาเลี้ยงในประเทศไทยในระยะแรกๆ แตปจจบุันไมคอยนิยมเนื่องจากมีขนดําทาํใหพอคาขายเนื้อสุกรกดราคาไดและจะพูดในทํานองวาสุกรที่เกษตรกรเลี้ยงมี

สายเลือดสุกรพื้นบาน นอกจากนี้หนงัที่ไดจากการฆาสุกรพันธุนีจ้ะมีขนดาํๆ ติดอยูทาํใหขาย

หนังสุกรไดราคาไมดดีวย สุกรพันธุนี้มีขนสีดําตลอดลําตัวยกเวน ขาทั้ง 4 ขาง ปลายหางและหนาผากบริเวณจมูกมีเปนสีขาว มีรูปรางคลายพันธุลารจไวท แตการพัฒนาพนัธุจะชาไมกาวหนาเหมือนพันธุ

ลารจไวท 5. พันธุแฮมเชียร (Hampshire) เปนสุกรที่นิยมเลี้ยงในประเทศสหรัฐอเมริกา เคยนํามาเลี้ยงในเมืองไทย แตปจจบุันไมนิยมเชนกัน ดวยเหตุผลเหมือนพันธุเบอรกเชียร มีขนสีดําตลอดลําตัวและมีขนสขีาวพาดตั้งแตขาหนาดานซายผานไหลไปถงึขาหนาดานขวา มีรูปรางคลายพันธุดูร็อค แตมีขอดีสูพันธุดูร็อคไมได ปจจุบนัมีบริษัทเอกชนนํามาผลิตพอพันธุ 2 สาย ชวยใหสุกรขุนเติบโตไวใหเนือ้แดงสูง 6. พันธุพิเทรน (Pietrain) เปนสุกรลูกผสมที่ไดจากการผสมพันธุระหวางพันธุโปรแลนดจุดดํากับสุกรพันธุสีขาวของเบลเยี่ยม และคัดเลือกพันธุมาเรื่อยๆ จนไดเปนพนัธุพิเทรนที่มีขนสีขาวตลอดลาํตัว และมีจุดดําตามบรเิวณลําตัว เปนสุกรที่มีตะโพกใหญกวาพันธุอ่ืนๆ ใหเนื้อแดงสูงไขมันสันหลังบาง เติบโตเร็วในชวงหลังหยานมถึงน้ําหนัก 70-75 กิโลกรัม หลังจากนั้นจะโตชา ตกใจงาย ใหลูกไมดกกระดูกเชิงกรานแคบเนื่องจากมีกลามเนื้อพิเศษบริเวณตะโพก นิยมใชเปนพอพันธุในการผลติสุกรขุนลูกผสมสามสาย ปจจุบนัมีการเลี้ยงในประเทศไทยบาง มีการปรับปรุงพันธุใหมทําใหไมช็อคงายเหมือนแตกอน ใหเนื้อสันหลังและเนื้อสะโพกมาก แตเนื้อแดงจะสีออน การคัดเลือกเพื่อปรับปรุงพันธุสุกร ในการเลี้ยงสุกรเพื่อผลิตเปนการคา ผูเล้ียงตางก็ตั้งเปาหมายที่จะใหสุกรภายใน

ฟารมมีคุณภาพดีอยูเสมอ หรือมีคุณภาพดีข้ึนเรื่อยๆ การตั้งเปาหมายเชนนี้จึงจาํเปนอยางมากที่ผูเล้ียงจะตองมีการคัดเลือกสุกรภายในฟารมที่มีลักษณะดีไวทาํพันธุตอไป และคัดเลือกสุกรที่ไม

ดีจําหนายออกจากฟารมเพือ่ไมใหมีโอกาสผสมพันธุตอไป หรือบางครั้งผูเล้ียงอาจจะไปคัดเลือก

สุกรที่ดีจากฟารมอื่นๆ แลวนํามาผสมพนัธุเพ่ือปรับปรุงสุกรภายในฟารมของตนใหดีข้ึน ดังนัน้

Page 41: การประเมินผลโครงการฝ กอบรมส ัญจร การเลี้ยงหมูสมุนไพร และ ...dynamic.psu.ac.th/eduservice.psu.ac.th/standard/3.3-02_2.pdf ·

ในการคดัเลือกสุกรไวทําพันธุ แบบหยาบๆ โดยดูจากลักษณะภายนอก ซึ่งไมทาํใหสุกรไดรับ

อันตรายใดๆ การคัดเลือกแบบนีจ้ะตองคดัเลือกจากสุกรพันธุเดียวกนั หรือลูกผสมเลือดเดียวกนั มีอายุใกลกันเพศเดียวกัน จึงจะทําใหผลการคัดเลือกมีคุณภาพ และผูคดัเลือกควรจะรูจักสวน

ตางๆ ภายนอกของรางกายสุกร และลักษณะภายนอกที่มีผลทางเศรษฐกิจ ลักษณะภายนอกที่ใชคัดเลือกสุกรไวทําพันธุมดีังตอไปนี ้ 1. เมื่ออายุ 5 เดือน เพศผูควรมีน้ําหนัก 100 กิโลกรัม สุกรเพศเมียควรมีน้ําหนกั 90 กิโลกรัม 2. รูปราง สี และลักษณะทั่วไป ตรงตามพันธุ 3. เมื่อสุกรยืนดานหลังจะโคงพอประมาณ (มองจากดานขาง) หลังไมแอน 4. ลําตัวยาว (ความยาวลาํตัวจากจดุกลางศรีษะถึงโคนหาง) ซึ่งจะมีผลทําให

เปอรเซ็นตซากสูง 5. ลําตัวลึก (ความลึกลําตัววัดจากกึ่งกลางหลังถึงก่ึงกลางทอง) จะทําใหปริมาณเนื้อเบคอนและเนือ้สันมาก 6. สันหลังกวาง ทําใหปริมาณเนื้อสันมาก 7. ใตทองหรือพ้ืนทองควรขนานกับพื้นดินไมหยอนยานมากเกินไป เพราะถาพ้ืนทองไดระดับตรงขนานแลว จะทําใหขาหนาและขาหลังรับน้ําหนักตัวไดอยางมั่นคง ขาจะแข็งแรง 8. บริเวณขาพับหลัง (flank) เต็มไมบุมลกึมากเกินไป 9. ขาทั้ง 4 ตรง ไมกางออกหรือเฉไปขางหนาหรือขางหลัง สวนของขอเทา (pastern) ตรงไมงอพับ ซึ่งแสดงถึงความแข็งแรงของขา 10. กระดูกไมใหญเกินไป ควรจะสมสวนกับลําตัว 11. ผิวหนังเรียบ สัตวที่แข็งแรงสมบูรณ ผวิหนังทุกสวนจะเรียบไมยน ไมหยาบ ไมวาจะเปนสวนคอ ใตคาง ขาหนา ขาหลัง หรือบริเวณขาพับ เนื้อแนนไมฉุ 12. ขนาดศรีษะเลก็ แกมไมหยอนหยาน หนาผากไมกวางเกินไป 13. อวัยวะเพศสมบูรณ เตานมไมควรนอยกวา 12 เตา 14. เอวกวาง สะโพกลึกและกวางทําใหปริมาณเนื้อตะโพกมาก 15. กระดูกซี่โครงถางกวาง แสดงถึงความแข็งแรงสมบูรณ ดวงตาแจมใส

ตื่นตัวอยูตลอดเวลา 16. มีประสิทธิภาพการใชอาหารชวงน้ําหนัก 25-100 กิโลกรัม นอยกวา 2.5 และมีความหนาไขมนัสันหลังเฉล่ียเมื่อน้ําหนัก 90 กิโลกรัม ในเพศเมียและ 100 กิโลกรัมในเพศผู ต่ํากวา 1.50 เซ็นติเมตร 17. เวลาเดินเหินไดสัดสวนมัน่คง ไมกะโผลกกะเผลก เมื่อมองดูทุกสวน

แลวจะเห็นกลมกลื่น เชน ชวงหัวที่ตอกับไหล ตองกลมกลื่น หัวไมใหญเกินไป ไหลไมปดูโปนเกินไป สวนตอกันควรจะเรียบ ระบบการผสมพันธุสุกร

Page 42: การประเมินผลโครงการฝ กอบรมส ัญจร การเลี้ยงหมูสมุนไพร และ ...dynamic.psu.ac.th/eduservice.psu.ac.th/standard/3.3-02_2.pdf ·

ในการคดัเลือกเพ่ือปรับปรุงพันธุสุกรใหดีนั้น เมื่อเราคัดเลือกสุกรตัวที่ดีที่จะไวทําพันธุไดแลว ทําอยางไรทีจ่ะทําใหเกิดการขยายพันธุหรือถายทอดสายพันธุที่ดใีหอยูในฝูงสุกรไดหรือทําอยางไรที่จะรักษาสายพันธุที่ดใีหมอียูในฝูงสุกรตอไป ระบบการผสมพันธุจึงจําเปนอยางย่ิงที่จะถูกนํามาใชในการปรบัปรุงพันธุสุกรในฟารมเชนกัน ระบบการผสมพันธุแบงออกเปน 2 ระบบใหญๆ ดังนี ้ 1. การผสมพันธุแบบเลือดชิด (Inbreeding) เปนระบบการผสมพันธุที่พอพันธุและแมพันธุมีความสัมพันธกันทางสายเลือด อาจเปนพี่กับนอง พอหรือแมกับลูก ปูหรือยาหรือตาหรือยายกับหลาน เปนตน ในทางปฏิบัติของการผสมพันธุสุกรถือวาถาเพศผูและเพศเมยีที่จะใชผสมพนัธุกันมีสายเลือดหางจากบรรพบุรุษประมาณ 8 ช่ัวโครตถือวาไมมีความสัมพันธกันทางสายเลือด การผสมพันธุระบบนีน้ักพันธุศาสตรไดนาํมาใชโดยมีวัตถุประสงคที่จะสรางสุกรพันธุ

ใหมข้ึนมา โดยการผสมพันธุระบบนี้จะชวยรักษาบางลักษณะที่ตองการใหคงที่ไมเปลี่ยนแปลง ขณะเดียวกันลักษณะดอยทีแ่ฝงอยูในฝูงพอแมพันธุจะแสดงออกมาทําใหสามารถคัดลักษณะดอย

ออกจากฝูงสุกรได และเมื่อไดลักษณะที่ดีทีต่องการแลวก็จะทาํการผสมแยกสายพันธุเพ่ือ

ขยายพันธุตอไป โดยจะหลกีเล่ียงการผสมเลือดชิดในสายพันธุที่คงที่แลว ทั้งนี้เพราะการผสมเลือดชิดจะทาํใหลูกสุกรที่ไดออนแอ น้ําหนักแรกเกิดและน้ําหนักหยานมตลอดจนขนาดครอก

แรกเกิดและหยานมลดลง ความสมบูรณพันธุจะลดลง และบางลักษณะเชนไสเล่ือน (hernia) อัณฑะทองแดง (cryptorchids) หัวนมผิดปกต ิ(abnormal teats) กระเทยและไมมีรูทวารจะปรากฏเกิดขึ้นในลูกสุกรที่เกิดจากการผสมเลือดชิดนานๆ 2. การผสมพันธุแบบนอกสายเลือด (Outbreeding) เปนระบบการผสมพันธุสุกรที่พอพันธุและแมพันธุไมมีความสัมพันธกันทางสายเลอืด ซึ่งการผสมพันธุแบบนอก

สายเลือดยังแบงออกเปน 3 ชนิดคือ 2.1 การผสมพันธุภายในพันธุเดียวกัน (Purebreeding หรือ Outcrossing) เปนการผสมพันธุที่สุกรเพศผูและเพศเมียไมมีความสัมพันธกันทางสายเลือด แตสุกรทั้งคูเปนพันธุเดียวกัน เชน พอพันธุแลนดเรซผสมพันธุกับแมพันธุแลนดเรซ ซึ่งทั้งสองตวัไมมีความสัมพันธกันทางสายเลือด หรือพอพันธุลารจไวทผสมพันธุกับแมพันธุลารจไวทเปนตน การผสมพันธุชนิดนีน้ักพันธศุาสตรตองการที่จะผลิตสุกรพันธุแทจําหนาย 2.2 การผสมขามพันธุ (Crossbreeding) เปนการผสมพันธุนอก

สายเลือดชนิดหนึ่งที่พอพันธุและแมพันธุไมมีความสัมพันธกันทางสายเลือด และเปนคนละพนัธุ

กัน การผสมพันธุชนดินี้อาจใชสุกรตั้งแตสองพันธุข้ึนไปมาผสมพันธุกัน โดยมีวัตถุประสงคทีจ่ะดึงลักษณะทีด่ขีองสุกรแตละพันธุมาอยูในสุกรตัวเดียวกัน ทําใหไดลูกสุกรมีคุณสมบตัิทาง

เศรษฐกิจที่ดกีวาพอและแมสุกร ซึ่งเรียกลูกสุกรลักษณะนี้วาอภิชาตบิุตร (hybrid vigor หรือ heterosis) ซึ่งบางครั้งใชสรางพันธุใหม ตัวอยางเชนพันธุ พิเทรนก็ใชพ้ืนฐานการผสมพันธุชนดินี้เชนกัน แตที่ใชการผสมพันธุชนิดนี้อยางแพรหลายในเชิงพาณิชยคอื การผสมพันธุ

Page 43: การประเมินผลโครงการฝ กอบรมส ัญจร การเลี้ยงหมูสมุนไพร และ ...dynamic.psu.ac.th/eduservice.psu.ac.th/standard/3.3-02_2.pdf ·

เพ่ือผลิตสุกรแมพันธุสองสายเลือด และการผลิตสุกรขุนสามและสี่สายเลือด การผสมขามพันธุยังแบงออกเปนหลายวิธีที่นิยมไดแก 2.2.1 การผสมขามสองพันธุ (Two-breed cross หรือ Two way crossing) เปนการผสมขามพันธุทีใ่ชสุกรสองพันธุมาผสมพันธุกัน สวนใหญจะใชในการผลิตสุกรแมพันธุสองสายเลือดหรือพอพันธุสองสายเลือดเพื่อใชเปนแมพันธุและพอ

พันธุในการผลิตสุกรขุนตอไป ตัวอยางการผสมขามสองพันธุเพ่ือผลิตแมพันธุสองสายเลือดคอืการใชพอพันธุลารจไวทผสมพันธุกับแมพันธุแลนดเรซ หรือใชพอและแมสลับพนัธุกันกไ็ด ลูก

สุกรที่ไดจะเปนลูกสุกรสองสายเลือดโดยมีสายเลือดลารจไวทและสายเลือดแลนดเรซอยางละ 50 เปอรเซ็นต ลูกสุกรที่ไดถาเปนเพศผูจะตอนและขุนขายเปนสุกรเนื้อแตถาเปนเพศเมียจะคัดตัวที่

มีลักษณะดไีวเปนแมพันธุ สวนตัวที่ไมดก็ีขุนขายเปนสุกรเนื้อไดเชนกัน แมพันธุสองสายเลือดที่ไดนี้จะเปนแมพันธุที่ใหลูกดกและเลี้ยงลูกเกงเนื่องจากทั้งพันธุแลนดเรซและพันธุลารจไวทเปน

พันธุที่ใหลูกดกอยูแลว นอกจากนี้อาจนําแมพันธุสองสายเลือดนี้มาผสมกับพอพันธุแลนดเรซ

หรือพอพันธุลารจไวทก็ไดเพ่ือใหสายเลือดของพันธุใดพันธุหนึ่งสูงข้ึน แตพอพันธุที่นาํมาผสม

พันธุตองไมมคีวามสัมพันธกันทางสายเลอืดกับแมพันธุสองสายเลือด การผสมกลับลักษณะนี้

เรียกการผสมขามกลับพันธุ (back crossing) ดงัแสดงในภาพที่ 1 2.2.2 การผสมขามสามพันธุ (Three-breed cross หรือ Three way crossing) เปนการผสมขามที่ใชสุกรสามพันธุมาผสมพันธุกัน โดยเพศผูและเพศเมียที่นํามาผสมพันธุกันจะตองไมมคีวามพันธกันทางสายเลือด การผสมพันธุวิธนีี้เปนการ

ผสมพันธุเพ่ือผลิตสุกรขุนสามสายเลือด โดยจะทําตอจากการผสมขามสองพันธุ ซึ่งสวนใหญจะคัดแมสุกรสองสายเลือดมาเปนแมพันธุและจะใชพอพันธุที่ใหเนื้อแดงสูงมาผสมพันธุ สวนใหญใชพันธุดูร็อคมาเปนพอพันธุ ทําใหลูกสุกรขุนที่ไดสามสายเลือดเจริญเติบโตเร็วและใหเนื้อแดงสูงขณะเดียวกันแมพันธุทีใ่ชเปนแมพันธุสองสายระหวางแลนดเรซกับลารจไวทซึ่งจะทําใหไดลูกดก ดังแสดงในภาพที่ 2 ภาพที่ 2 แสดงแผนการผสมขามสองพนัธุ

Page 44: การประเมินผลโครงการฝ กอบรมส ัญจร การเลี้ยงหมูสมุนไพร และ ...dynamic.psu.ac.th/eduservice.psu.ac.th/standard/3.3-02_2.pdf ·

ภาพที่ 3 แสดงแผนการผสมขามสามพนัธุ

2.2.3 การผสมขามสี่พันธุ (Four-breed cross หรือ Four way crossing) เปนการผสมพันธุที่ใชสุกรสี่พันธุมาผสมพนัธุกัน โดยเพศผูและเพศเมียที่นํามาผสมพันธุกันไมมคีวามสัมพันธกันทางสายเลือด การผสมพันธุวิธนีี้เปนการผสมพันธุเพ่ือ

ผลิตสุกรขุนสี่สายเลือด สุกรขุนที่ไดจะเจริญเติบโตไวเลี้ยงงายและใหเนื้อแดงสูง ในแผนการผสมพันธุจะแบงออกเปนสองชวงคือชวงการผลิตสายแมพันธุและสายพอพันธุ การผสมพันธุชวงนีจ้ะ

ใชการผสมขามสองพันธุกอน โดยสวนใหญทางสายแมพันธุจะใชพันธุแลนดเรซผสมกับพันธุลารจไวท ลูกสุกรที่ไดจะคดัเพศเมียตัวที่ดไีวทําแมพันธุ สวนเพศเมยีตัวที่ไมดแีละเพศผูจะตอนขุนขายเปนสุกรเนื้อ ทางสายพอพันธุสวนใหญจะใชพันธุดูร็อคผสมกับพันธุแฮมเชียร หรือใชพันธุ

ดูร็อคผสมกับพันธุพิเทรน ลูกสุกรที่ไดจะคดัเพศผูตัวที่ดไีวทําพอพันธุ สวนเพศผูตัวทีไ่มดีจะ

ตอนและเพศเมียที่ไดจะขุนขายเปนสุกรเนื้อ การผสมขามพันธุชวงที่สองจะนําแมพันธุสองสาย (ลารจไวทแลนดเรซ) มาผสมกับพอพันธุสองสาย (ดูร็อคแฮมเชียร) ลูกสุกรที่ไดจะเปนลูกสุกรสี่สายเลือด ลูกสุกรที่ไดทั้งเพศเมียและเพศผูที่ตอนแลวจะขุนขายเปนสุกรเนื้อทั้งหมด ดังแสดงในภาพที่ 3

Page 45: การประเมินผลโครงการฝ กอบรมส ัญจร การเลี้ยงหมูสมุนไพร และ ...dynamic.psu.ac.th/eduservice.psu.ac.th/standard/3.3-02_2.pdf ·

ภาพที่ 4 แสดงแผนการผสมขามสีพ่ันธุ

การแสดงออกทางดานการสืบพันธุ เพ่ือใหการเลี้ยงดูสุกรพอแมพันธุ และการผสมพันธุมีประสิทธิภาพสูง ผูเล้ียงสุกร

ควรรูจักพฤติกรรมและการแสดงออกทางดานการสืบพนัธุของสุกรไวเปนเบื้องตนดงันี้ 1. อายุเปนหนุมเปนสาว (Age of puberty) โดยปกตแิลวเมื่อสุกรอายุประมาณ 3-7 เดือน สุกรเพศผูจะเริ่มสรางเชื้ออสุจิ (sperm) ที่สมบูรณ แตยังมีปริมาณนอย สําหรับเพศเมยีจะเริ่มแสดงอาการเปนสดั (heat) และเร่ิมมีการตกไข (ovalation) แตสุกรจะเปนหนุมเปนสาวเต็มที่เมื่ออายุประมาณ 7-8 เดือน หรือมีน้ําหนักประมาณ 90 กิโลกรัม ซึ่งเมื่อถึงชวงนี้ก็สามารถใชเปนพอพันธุแมพันธุไดเลย 2. การแสดงอาการเปนสัด (Heat) สุกรนางและสกุรสาวเมื่อใกลเวลาไขจะตกจะแสดงอาการเปนสัด เพ่ือเปนการบอกใหรูวาพรอมที่จะรับการผสมพันธุ และถาแมสุกรไม

แสดงอาการเปนสัดแมสุกรจะไมยอมใหผสมพนัธุ แมสุกรที่แสดงอาการเปนสัดสามารถสังเกตุไดจากอาการที่แสดงออกดังนี ้ 1. แสดงอาการกระวนกระวายไมคอยกินอาหาร ชอบปนคอกหรือข้ึนปนสุกรตัว

อ่ืน หรือยืนใหสุกรตัวอื่นขึ้นปนทบัเชนกนั เมื่อเล้ียงรวมกันหลายๆ ตัว 2. อวัยวะเพศจะบวมแดงขยายใหญกวาปกต ิ สังเกตดจูะเห็นเมือกชุมบริเวณ

อวัยวะเพศ และจะปสสาวะบอยครั้งพ้ืนคอกจะเปยกแฉะ 3. เมื่อเอามือกดหลังหรือดันบัน้ทาย หรือผูเล้ียงขึ้นคอมหลัง แมสุกรจะยืนนิ่งไมหนี ใบหูจะตัง้ชัน แสดงวาแมสุกรกําลังเปนสัดเต็มที ่ เพราะโดยปกติถาแมสุกรไมเปนสัดแมสุกรจะวิ่งหนีไมยอมใหกดหลังหรือดันบัน้ทาย 3. ระยะเวลาของการเปนสัด (Estrous period) หมายถึงชวงระยะเวลาที่แมสุกรยอมรับใหสุกรพอพันธุผสมพันธุ โดยปกติแลวแมสุกรจะมีระยะเวลาการเปนสัดประมาณ

Page 46: การประเมินผลโครงการฝ กอบรมส ัญจร การเลี้ยงหมูสมุนไพร และ ...dynamic.psu.ac.th/eduservice.psu.ac.th/standard/3.3-02_2.pdf ·

1-5 วัน แตโดยเฉลี่ยแลวประมาณ 44 ช่ัวโมงหรือไมเกิน 2 วัน แมสุกรนางจะแสดงอาการเปนสัดชัดเจนกวาแมสุกรสาว ผูเล้ียงจะตองคอยสังเกตใหดีเพราะมีระยะเวลาสั้นมาก นอกจากนี้มีแมสุกรบางตัวทีไ่มแสดงอาการภายนอกใหเห็นวาเปนสดัแลวแตยอมรับการผสมพันธุ

จากเพศผู ซึ่งเรียกลักษณะดังกลาววาเปนสัดเงียบ (silent heat) 4. วงรอบการเปนสัด (Estrous cycle) หมายถึงชวงระยะเวลาหางระหวาง

การเปนสัดแตละครั้ง หรือชวงรอบของการเปนสัด โดยปกติวงรอบการเปนสดัจะมีระยะเวลา

ประมาณ 17-24 วัน หรือเฉล่ียประมาณ 21 วัน แตในกรณีแมสุกรเล้ียงลูกนั้น ชวงระยะเวลาที่แมสุกรเลี้ยงลูกจะไมแสดงอาการเปนสัดหรอืไมมีวงรอบการเปนสัด แตแมสุกรจะ

แสดงอาการเปนสัดหลังจากหยานมลูกแลว 3-7 วัน ทั้งนี้ข้ึนอยูกับระยะเวลาเลี้ยงลูก ถาหยานมลูกที่อายุ 56 วัน หรือ 21 วัน หรือ 10 วัน แมสุกรจะแสดงอาการเปนสัดภายในเวลา 4 วัน หรือ 6 วันหรือ 9 วันตามลาํดบั และถาชวงนี้ผสมพันธุไมตดิแมสุกรก็จะเขาสูในวงรอบการเปนสัดปกติคอื 21 วัน 5. การสรางนํ้าเชื้ออสุจิ (Sperm systhesis) สุกรเพศผูจะสรางน้ําเช้ืออสุจิที่สามารถใชผสมพันธุไดเมื่ออายุประมาณ 8 เดือน และจะสรางไดสมบูรณเต็มที่เมื่อมีอายุ

ประมาณ 15 เดือน โดยลูกอัณฑะ (testicles) ทั้ง 2 ลูก จะทําหนาที่ผลติเชื้ออสุจิและฮอรโมนเพศผู (testosterone) ในการผสมพนัธุแตละครั้งสุกรเพศผูจะหลั่งน้ําเช้ือครั้งละ

ประมาณ 120-200 มิลลิลิตร และใน 1 มิลลิลิตร จะมีเช้ืออสุจิประมาณ 200-300 ลานตัว เช้ืออสุจิที่หล่ังออกมาจะมีชีวิตอยูในทอนาํไขในอวัยวะเพศเมียไดนาน 25-30 ช่ัวโมง หลังจากนั้นคณุภาพจะลดลง และถาพอสุกรเล้ียงอยูในโรงเรือนทีม่ีอุณหภูมิสูงกวา 30 องศาเซลเซียสความสมบูรณพันธุของเชื้ออสุจิก็ลดลงเชนกัน และถาพอสุกรเปนไขคือมอุีณหภูมิสูงกวา 103 องศาฟารเร็นไฮท (อุณหภูมิปกติประมาณ 101-103 องศาฟารเร็นไฮท) ความสมบูรณพันธุของเชื้ออสุจิจะลดลงเชนกัน 6. การสรางไข (Ova synthesis) โดยปกติรังไข (ovary) 1 คู จะทําหนาที่ในการสรางไข (ova) และฮอรโมนเพศเมียคือเอสโตรเจน (estrogen) และโปรเจสเตอโรน (progesterone) แมสุกรสาวที่มีอายุ 7-8 เดือน จะตกไขครั้งละประมาณ 12-14 ฟอง และสําหรับแมสุกรนางจะตกไขครั้งละ 15-20 ฟอง และในวงรอบการเปนสัดปกติถากอนเปนสัด 10-14 วัน ถาใหกินอาหารเต็มที่วันละ 3.5-4 กิโลกรัม แมสุกรจะแสดงอาการเปนสัดเดนชัด และจํานวนไขที่ตกจะเพิ่มมากขึ้นดวย ไขที่ตกแตละครั้งจะมีชีวิตอยูในทอนาํไขไดนาน 24 ช่ัวโมง และควรปฏิสนธิกับเชือ้อสุจิภายใน 6-10 ช่ัวโมง จะทําใหจํานวนลูกที่คลอดออกมามีจํานวนมากขึ้น 7. ระยะเวลาในการตั้งทองและอัตราการผสมติด (Gestation period และ conception rate) หลังจากผสมพันธุผานไป 21 วัน ถาแมสุกรไมแสดงอาการเปนสัดกลับมาใหม แสดงวาผสมพันธุติดใหนับวันแรกทีผ่สมพันธุเปนวันเริ่มตั้งทองและนับตอไปจน

ครบ 114 วัน หรือ 3 เดือน 3 อาทิตย 3 วัน ก็จะครบระยะเวลาตั้งทอง แมสุกรก็จะคลอดลูก

Page 47: การประเมินผลโครงการฝ กอบรมส ัญจร การเลี้ยงหมูสมุนไพร และ ...dynamic.psu.ac.th/eduservice.psu.ac.th/standard/3.3-02_2.pdf ·

อาจจะมีแมสุกรบางตัวทีต่ั้งทอง 109 วัน หรือ 119 วัน จึงคลอด แตโดยทั่วไปจะอยูที่ 114 วัน สําหรับอตัราการผสมตดิหมายถึงอัตราสวนของแมสุกรที่ตั้งทองตอจํานวนแมสุกรที่ไดรับการผสมพันธุ ถาผสมพันธุแมสุกร 100 ตวั และมีแมสุกรตั้งทอง 70 แม แสดงวา การผสมพันธุสุกรของฟารมนั้นมีอัตราการผสมติด 70 เปอรเซ็นต โดยปกตแิลวประสิทธิภาพการผสมพันธุที่ดีควรมีอัตราการผสมตดิไมต่ํากวา 80 เปอรเซ็นต 8. การคลอดลูก (Farrowing) เมื่อแมสุกรอุมทองไดประมาณ 107-110 วัน ราวนมจะขยายใหญและตึงอวัยวะเพศจะเริ่มบวมขยายใหญกวาปกต ิ เมื่อครบกําหนดคลอดอวัยวะเพศจะขยายใหญและเปนสีชมพู แมสุกรเริ่มกระวนกระวายกินอาหารนอยลงเมื่อบีบ

หัวนมถาพบวาน้ํานมไหลแสดงวาแมสุกรจะคลอดลูกภายใน 12 ช่ัวโมง และถาพบวามีน้าํเมือกไหลที่อวัยวะเพศแสดงวาแมสุกรจะคลอดลูกภายใน 3 ช่ัวโมง ในการคลอดลกูนั้นแมสุกรจะใชเวลาในการคลอดลูกประมาณ 30 นาท ี ถึง 2 ช่ัวโมง หรือ 3 ช่ัวโมงครึ่งเปนอยางชา และลูกสุกรที่คลอดแตละตัวจะหางกันชาที่สุดไมเกิน 15 นาท ี ถาพบวา เมื่อคลอดลูกตัวที่หนึ่งหรือสองแลว แมสุกรเบงลูกไมออกภายใน 15-20 นาท ีแสดงวาลูกสุกรอาจจะขวางตัวอยู โดยไมเอาหัวหรือทายออก กรณีนี้ตองชวยขยับตัวแมสุกรและถายังคลอดไมออกอีก ตองลวงดูเพ่ือชวยจัดทาใหลูกสุกร การสังเกตวาแมสุกรคลอดลูกออกหมดหรือยังใหสังเกตที่รก ถามีรกใหญออกมา

แสดงวาแมสุกรคลอดลูกหมดแลว หลักปฏิบัติเกีย่วกับการเลี้ยงดูสุกรระยะตางๆ 1. ระยะอุมทอง สุกรระยะอุมทองมีหลักปฏิบัตดิังนี ้ 1. หลังผสมพันธุใหลดอาหารลงเหลือ 1-1.2 กิโลกรัมตอวัน เปนเวลา 3 วัน แลวเพิ่มอาหารเปน 1.6 กิโลกรัมตอวัน สําหรับแมสุกรนางและ 1.8 กิโลกรัมตอวันสําหรับแมสุกรสาวไปจนกระทั่งแมสุกรอุมทองได 12 สัปดาหหรือ 84 วัน และหลังจากผสมพันธุผานไป 20-21 วันตองเช็คดวยวาแมสุกรกลับสัดหรือไม ถาไมกลับสัดแสดงวาแมสุกรอุมทอง 2. หลังแมสุกรอุมทองได 84 วัน ไปจนกระทั่งกอนคลอด 3 วัน ใหเพ่ิมอาหารเปน 2.2 กิโลกรัมตอวันและ 2.5 กิโลกรัมตอวันสาํหรับแมสุกรนางและแมสุกรสาวตามลาํดบั ทั้งนี้ใหดูสุขภาพของแมสุกรดวยถาอวนเกินไปกใ็หลดอาหารลง แตถาผอมเกินไปก็ใหเพ่ิมอาหารได หรืออาจจะใชวิธีใหอาหารแมสุกรวันละ 2 กิโลกรัม ตลอดระยะเวลาหลังอุมทอง 3 วันไปจนกระทั่งกอนคลอด 3 วัน ก็ไดแตทั้งนี้ตองเขมงวดการดูสุขภาพของแมสุกรเปนหลัก 3. สูตรอาหารที่ใชเล้ียงแมสุกรอุมทองควรมีโปรตีนประมาณ 16-17 เปอรเซ็นต มีกรดอะมิโนไลซีน 0.80 เปอรเซ็นต มีพลังงานใชประโยชน (ME) ประมาณ 3,200 กิโลแคลอรี่ตออาหาร 1 กิโลกรัม และควรมีแคลเซียม (calcium, Ca) 0.95 เปอรเซ็นต มีฟอสฟอรัสใชประโยชน (phosphorus, P) 0.48 เปอรเซ็นต 4. ชวงสัปดาหสุดทายของการตั้งทองควรใหรําเพ่ิม 20-25 เปอรเซ็นตของสูตรอาหาร หรือจะใหหญาสดในตอนบายแกแมสุกรเพื่อชวยใหแมสุกรทองไมผูก

Page 48: การประเมินผลโครงการฝ กอบรมส ัญจร การเลี้ยงหมูสมุนไพร และ ...dynamic.psu.ac.th/eduservice.psu.ac.th/standard/3.3-02_2.pdf ·

5. ชวง 3 สัปดาหสุดทายของการตั้งทองควรถายพยาธิแมสุกร และหลังจากนั้น 1 สัปดาหใหฉีดวัคซนิปองกันโรคอหิวาตแกแมสุกร จะชวยใหลูกสุกรที่เกิดมามีภมูิคุมกันโรคอหิวาต

6. ถาชวงที่แมสุกรอุมทองอากาศรอนเกิน 25-30 องศาเซลเซียส ควรพนน้ําใหแมสุกรในตอนบายเพื่อชวยใหแมสุกรไมเครียด ลูกในทองจะเจรญิเติบโต

เปนปกต ิ

2. ระยะแมสุกรกอนคลอดและหลังคลอด ชวงกอนคลอดและหลังคลอดลูกมีหลักปฏิบัตดิังนี ้ 1. ทําความสะอาดคอกคลอดโดยพนน้าํยาฆาเช้ือหรือโซดาไฟ (15%) แลวทิ้งไว 3-5 วัน ลางน้ําใหสะอาดท้ิงไวใหแหงกอนนําแมสุกรเขาคอกคลอด 2-3 วัน 2. กําจัดพยาธภิายนอก 2-3 วัน กอนยายแมสุกรไปคอกคลอด และทําความสะอาดแมสุกรโดยถูสบูใหทั่วโดยเฉพาะบริเวณเตานมกอนนําแมสุกรยายไปคอกคลอด 3. ยายแมสุกรเขาคอกคลอด 3-4 วัน กอนถึงกําหนดวนัคลอด 4. ชวงหลังคลอด 5 วัน ควรเพิ่มรําขาว 20-25 เปอรเซ็นตในสูตรอาหารเพื่อชวยใหแมสุกรทองไมผูก 5. ถาโรงเรือนคอกคลอดมีอุณหภูมิเกิน 25 องศาเซลเซียสควรฉีดน้ําหรือทําน้าํหยดที่ไหลใหแมสุกรในตอนบาย แตถาแมสุกรคลอดลูกหนาหนาวควรมีหลอดไฟฟา 60-100 แรงเทียน แขวนหางจากพืน้ 1-1.5 ฟุต เพ่ือชวยกกใหลูกสุกรไมหนาวและควรทําที่ปองกันลมโกรกลูกสุกรในตอนกลางคนืดวย ทําเปนลังโดขใชกระสอบปานใสขาวสาร 6. แมสุกรที่ใกลคลอดจะปสสาวะบอยและหายใจแรง เปลี่ยนทานอนและลุกยืน

บอย และเมื่อมีน้ําเมือกไหลที่ชองคลอดแสดงวาแมสุกรจะคลอดลูกภายใน 3 ช่ัวโมง ตองชวยดูแลแมสุกรเวลาคลอดลูกดวย 7. ถาแมสุกรคลอดลูกลําบากหรือคลอดลูกแลวมีระยะหางกวาจะคลอดตัวตอไปเกิน 20 นาที และแมสุกรแสดงอาการเบงลมแตลูกไมออก ใหชวยขยับตัวแมสุกรและถายัง

พบวาคลอดไมออก ใหใชมือที่สวมถุงมือยางและทาสบูใหล่ืน ลวงเขาไปในอวัยวะเพศเพื่อดูวาลูกขวางลําตัวหรือไม ถาขวางก็จัดตาํแหนงใหเอาหัวหรือทายออก และถาแมไมมีลมเบงใหฉีดฮอรโมนออกซี่โทซิน (oxytocin) 1-2 ซีซ ีเขาที่กลามเนื้อ จะชวยใหแมสุกรมีลมเบง 8. หลังจากแมสุกรคลอดลูกออกหมดแลวจะมีรกใหญออกมา ใหฉีดยาปฏิชีวนะ

ใหแมสุกร 1 เขม เพ่ือชวยปองกันการติดเชื้อในชองคลอด และหลังคลอดลูก 1-2 วัน ถายังพบวามีน้าํขาวขุนไหลทางชองคลอดใหใชยาเหน็บที่ชองคลอดและฉดียาเพ็นสะเตร็บครั้งละ 5-10 ซีซี ตอวนัติด่ตอกัน 1-3 วัน จะชวยแกไขปญหามดลูกอักเสบได

Page 49: การประเมินผลโครงการฝ กอบรมส ัญจร การเลี้ยงหมูสมุนไพร และ ...dynamic.psu.ac.th/eduservice.psu.ac.th/standard/3.3-02_2.pdf ·

9. ถาพบวา หลังคลอดลูกน้ํานมแมสุกรไมไหลใหใชน้าํอุนประคบเตานมวันละ 2-3 ครั้งและฉีดฮอรโมนออกซี่โทซิน 1 ซีซ ี ใหแมสุกรจะชวยใหน้ํานมไหล และไมควรฉดี

ติดตอกันเกนิ 3 ซีซ ี 10. แมสุกรหลังคลอดลูกภายใน 12-24 ช่ัวโมง จะยังไมกินอาหาร หรือถากิน

อาหารควรใหไมเกิน 1 กิโลกรัม ในวันแรก เพราะถาใหกินอาหารมากแมสุกรจะสรางน้ํานมมาก

ลูกสุกรจะกินน้ํานมไมทันทาํใหแมสุกรคดัเตานมและจะทําใหเตานมอักเสบได ในวันตอๆมาหลงั

คลอดลูก 1 วัน ใหเพ่ิมอาหารเปน 2, 3 และ 4 กิโลกรัมตอวัน โดยเพิม่ครั้งละ 2-3 วัน จนสามารถ

กินไดเต็มทีภ่ายใน 10 วันหลังคลอดลูก การใหแมสุกรกินอาหารเต็มที่ในแตละวันนั้นใหใชหลัก

วาแมสุกรกินอหาร 1 กิโลกรัมเพื่อการบํารุงรางกายและกินอาหารเพิ่มอีก 500 กรัมตอทุกๆ ลูก

สุกร 1 ตัว เพ่ือเปนการสรางน้ํานมใหลูก ถามีลูก 10 ตัวแมสุกรจะกินอาหารวันละประมาณ 6

กิโลกรัม สูตรอาหารสําหรับแมสุกรเลี้ยงลูกควรมีโปรตนีประมาณ 17.5-18.0 เปอรเซ็นต มีกรดอะ

มิโนไลซีน 0.90 เปอรเซ็นต มีพลังงานใชประโยชน 3,200 กิโลแคลอรีต่ออาหาร 1 กิโลกรัม มี

แคลเซียม 0.80 เปอรเซ็นต และมีฟอสฟอรัสใชประโยชนประมาณ 0.42 เปอรเซ็นต

3. ระยะลูกสุกรหลังคลอดถึงหยานมเมื่ออายุ 3-4 สัปดาห ใหปฏิบตัิดังนี ้ 1. เตรียมเครื่องมือที่จะใชในการปฐมพยาบาลลูกสุกรเมื่อคลอดดังตอไปนี้ 1.1 ผาแหง 2-3 ผืน หรือฟางแหงสําหรับเช็ดรางกายลูกสุกรเมื่อคลอด

ใหมๆ 1.2 ลูกยางดูดอากาศสาํหรับดดูเสมหะในจมูกหรือปากของลูกสุกรที่คลอด ใหมๆ 1.3 คีมตัดเขี้ยวหมูหรือคีมปากนกแกวก็ใชได 1.4 ดายเบอรแปดหรือเบอรสิบสําหรับผูกสายสะดือ (กรณีพ้ืนคอกเปนปูน และพบวาเปยกสกปรก แตถาพ้ืนคอกแหงสะอาดไมจาํเปนตองตดัสาย

สะดือ) 1.5 คีมตัดเบอรหู (ถาทําทะเบียนประวัต) 1.6 กรรไกรหรอืมีดโกนสาํหรับตัดสายสะดือ 1.7 ทิงเจอรไอโอดีน และน้ํายาฆาเช้ือ เชน เดทอล (detol) เซฟลอน (savlon) หรือดางทับทบิสําหรับลางเครื่องมือ 2. ลูกสุกรที่คลอดออกมาใหใชผาแหงเช็ดตามตัว ปาก จมูกใหสะอาด ใชลูกยางดดูอากาศ ดูดของเหลวในรูจมูก และหลังคลอดใหลูกสุกรกินน้ํานมเหลือง (colostrum) ภายใน 36 ช่ัวโมง มิฉะนั้นหลังจาก 36 ช่ัวโมงหลังจากคลอดน้าํนมเหลืองจะเปลี่ยนเปนน้ํานมธรรมดา ซึ่งไมมีภูมิคุมกันเหมือนน้าํนมเหลือง

Page 50: การประเมินผลโครงการฝ กอบรมส ัญจร การเลี้ยงหมูสมุนไพร และ ...dynamic.psu.ac.th/eduservice.psu.ac.th/standard/3.3-02_2.pdf ·

3. ใชดายเบอรแปดผูกสายสะดือหางจากขั้วสะดือประมาณ 1 นิ้วครึ่ง และใช

กรรไกรหรือมีดโกนตดัสายสะดือหางจากที่ผูกดาย 1-2 นิ้ว แลวทาดวยทิงเจอรไอโอดีนตามแผลที่ถูกตัด (ถาตองตัดสายสะดอื) 4. ตัดเขี้ยวลูกสุกรดานบน 4 ซี่ ดานลาง 4 ซี่ ดวยคีมตดัเขี้ยวหรือคีมปากนกแกว ใชนิ้วสัมผัสดวูาไมมีคมที่ฟนที่ตดั ซึ่งจะชวยใหเตานมแมสุกรไมเปนแผล ถาตัดเขี้ยวลูกสุกรดี 5. บันทึกการคลอดและตัดเบอรหูลูกสุกรทุกตัว หลังตัดเบอรหูใหใชทิงเจอรไอโอดนีทาบริเวณแผลที่ถูกตัด 6. ช่ังน้ําหนักลูกสุกรแรกเกิดทุกตัว โดยเฉลี่ยแลวจะมีน้ําหนักประมาณ 1.2-1.8 กิโลกรัม หรือ 1.5 กิโลกรัม 7. เมื่อลูกสุกรมีอายุได 3 วัน ใหฉีดธาตุเหล็กหรือไอรอนเด็กซทราน (irondextran) ที่กลามเนื้อโคนขาหลังดานในตวัละ 1 ซีซี. และหลังจากนั้นอีก 1 สัปดาหใหฉีดอีกตัวละ 1 ซีซี. เพ่ือปองกันโรคโลหิตจาง หรือจะฉีดครั้งแรกครั้งเดียว 2 ซีซี ก็ได 8. ตอนสุกรเพศผูที่ไมเก็บไวทําพันธุเมื่ออายุ 7-14 วัน 9. เมื่อลูกสุกรมีอายุได 7-10 วัน ใหเร่ิมใหอาหารสุกรออน (creep feed) ซึง่มีโปรตีนประมาณ 22-24 เปอรเซ็นต มีกรดอะมิโนไลซีน 1.50 เปอรเซ็นต มีพลังงานใชประโยชน 3,200 กิโลแคลอรี่ตออาหาร 1 กิโลกรัม มีแคลเซียม 0.90 เปอรเซ็นต และฟอสฟอรัสใชประโยชน 0.55 เปอรเซ็นต ไปจนกระทัง่สุกรมีน้ําหนกั 10 กิโลกรัม 10. หยานมลูกสุกรเมื่อมีอายุได 3-4 สัปดาห ซึ่งมีน้ําหนักประมาณ 6-8 กิโลกรัม โดยแยกแมออกจากลูก 4. ระยะลูกสุกรหลังหยานม-นํ้าหนัก 95 กิโลกรัม มีการปฏิบัตดิงันี ้ 1. หลังจากหยานม 3 วัน ใหถายพยาธิลูกสุกรดวยยาจําพวกพิพเพอราซีน (peperazine) โดยผสมในอาหารในอัตรา 0.2-0.4 กรัม ตอน้าํหนักตัวของลูกสุกร 1 กิโลกรัม 2. หลังจากถายพยาธ ิ 1 สัปดาห ใหฉีดวคัซินปองกันโรคอหิวาต (swine fever หรือ hog cholera) ที่กลามเนื้อโคนขาหลังหรือตนคอตัวละ 1 ซีซี. และงดอาบน้าํอยางนอย 10 วัน 3. ลูกสุกรที่จะเก็บไวทําพันธุหรือขายเปนลูกสุกรพันธุใหฉีดวัคซีนปองกันโรคปาก และเทาเปอย (foot and mouth disease) ตัวละ 5 ซีซี. โดยฉีดเขาใตผิวหนังขาพับ 4. เมื่อลูกสุกรมีน้ําหนัก 10-15 กิโลกรัม ใหเปลี่ยนอาหารเปนอาหารสุกรเล็ก ซึ่งมีโปรตีนประมาณ 20-22 เปอรเซ็นต มีกรดอะมโินไลซีน 1.20 เปอรเซ็นต มีพลังงานใชประโยชน 3,200 กิโลแคลอรี่ตออาหาร 1 กิโลกรัม มีแคลเซียม 0.80 เปอรเซ็นต และ

Page 51: การประเมินผลโครงการฝ กอบรมส ัญจร การเลี้ยงหมูสมุนไพร และ ...dynamic.psu.ac.th/eduservice.psu.ac.th/standard/3.3-02_2.pdf ·

ฟอสฟอรัสใชประโยชน 0.4 เปอรเซ็นต เล้ียงดวยอาหารสุกรเล็กไปจนกระทั่งสุกรมีน้ําหนักประมาณ 25 กิโลกรัม 5. เมื่อสุกรมีน้ําหนัก 25 กิโลกรัม ใหเปลี่ยนอาหารเปนอาหารสุกรรุน ซึ่งมี

โปรตีนประมาณ 18 เปอรเซ็นต มีกรดอะมิโนไลซีน 1.00 เปอรเซ็นต มีพลังงานใชประโยชน 3,200 กิโลแคลอรี่ตออาหาร 1 กิโลกรัม มีแคลเซียม 0.70 เปอรเซ็นต และมีฟอสฟอรัสใชประโยชน 0.32 เปอรเซ็นตไปจนกระทั่งสุกรมีน้ําหนัก 60 กิโลกรัม 6. เมื่อสุกรมีอายุ 3.5-4 เดือน หรือมีน้ําหนักประมาณ 60-65 กิโลกรัม สุกรจะเริ่มเปนหนุมเปนสาว (puberty) สุกรเพศผูและเพศเมียที่จะเก็บไวทาํพันธุตองแยกเลี้ยง

คนละคอก 7. สุกรตัวใดที่เก็บไวทําพอแมพันธุเมื่อมีน้าํหนัก 60 กิโลกรัม ใหเปลี่ยนเปน

อาหารสุกรพอแมพันธุ ซึ่งมีโปรตีนประมาณ 16-17 เปอรเซ็นต มีกรดอะมิโนไลซนี 0.80 เปอรเซ็นต มีพลังงานใชประโยชน 3,200 กิโลแคลอรี่ตอกิโลกรัม มีแคลเซียม 0.95 เปอรเซ็นต และมีฟอสฟอรัสใชประโยชน 0.48 เปอรเซ็นต โดยจํากัดใหสุกรกินวันละ 2.5 กิโลกรัม ไปจนกระทั่งน้ําหนัก 90 กิโลกรัม 8. สุกรที่เล้ียงขุนสงตลาดใหเปลี่ยนอาหารจากสุกรรุนเปนอาหารสุกรขุน เมื่อสุกรมีน้ําหนัก 60 กิโลกรัม และเล้ียงไปจนกระทั่ง 95 กิโลกรัมก็สงตลาดเพื่อฆาจําหนายได อาหารสุกรขุนจะมีโปรตีนประมาณ 16.5 เปอรเซ็นต มีกรดอะมิโนไลซีน 0.85 เปอรเซ็นต มีพลังงานใชประโยชน 3,000-3,100 กิโลแคลอรีตออาหาร 1 กิโลกรัม มีแคลเซียม 0.55 เปอรเซ็นต และมีฟอสฟอรัสใชประโยชน 0.30 เปอรเซ็นต สุกรขุนที่มีน้ําหนัก 95-100 กิโลกรัมจะมีอายุประมาณ 5-5 เดือนครึ่ง 5. การเลี้ยงดูสุกรพอแมพันธุ มีการปฏิบตัดิังนี ้ 1. สุกรหนุมและสุกรสาวเมื่อมีอายุครบ 6 เดือนใหฉีดวัคซินปองกันโรคอหิวาตและโรคปากและเทาเปอยและเมื่อเติบโตมีน้ําหนัก 90 กิโลกรัม ควรลดอาหารใหกินวันละ 2 กิโลกรัม เพ่ือไมใหอวนเกนิไป และเมื่ออายุ 7-8 เดือน จะมนี้ําหนักประมาณ 100-110 กิโลกรัม และใชผสมพันธุเมื่อแมสุกรสาวมีอายุ 8 เดือนหรือเปนสดัครั้งที่ 2 หรือ 3 2. แมสุกรนาง ชวงเวลา 2 วันหลงัจากหยานมควรใหอาหารวันละ 1-1.5 กิโลกรัม เพ่ือใหนมแหง แลวใหเพ่ิมอาหารเปนวันละ 3.5-4 กิโลกรัม ไปจนกระทั่งผสมพันธุ ซึ่งโดยทั่วไปแมสุกรนางจะเปนสัดหลังจากหยานมประมาณ 3-10 วัน หลังจากผสมพันธุแลวใหลดอาหารโดยยึดหลักการเลี้ยงดูแมสุกรอุมทอง 3. ถายพยาธิสุกรพอแมพันธุทกุๆ 6 เดือน โดยเฉพาะสุกรแมพันธุควรถาย

พยาธิกอนผสมพันธุ 2-3 สัปดาห หรือหลังจากอุมทองแลว 3 เดอืน

Page 52: การประเมินผลโครงการฝ กอบรมส ัญจร การเลี้ยงหมูสมุนไพร และ ...dynamic.psu.ac.th/eduservice.psu.ac.th/standard/3.3-02_2.pdf ·

4. สุกรแมพันธุควรไดรับการฉีดวัคซินปองกันโรคอหิวาตเมื่ออุมทองได 3 เดือน และฉีดวัคซีนปองกันโรคปากและเทาเปอยหลังคลอดลูกได 2-3 สัปดาห สําหรับสุกรพอพันธุใหฉีดวัคซนีปองกันโรคอหิวาตและโรคปากและเทาเปอยทุกๆ 6 เดือน โดยฉดีหางกัน 1 สัปดาห 5. ตรวจโรคแทงติดตอ (brucellosis) และโรคเลบโตสไปโรซีส (leptospirosis) แกแมสุกรกอนผสมพันธุ 3 สัปดาห สวนสกุรพอพันธุควรไดรับการตรวจทุกๆ 6 เดือน 6. สุกรพอพันธุ ที่อยูในชวงเวลาใชผสมพันธุ ควรใหอาหารวันละ 2-2.5 กิโลกรัม แตถานอกฤดผูสมพันธุควรใหกินวันละ 1.5-1.7 กิโลกรัม และใหหญาสดในตอนบาย 7. อาหารสุกรพอแมพันธุควรมโีปรตีนประมาณ 16-17 เปอรเซ็นต มีกรดอะมิโนไลซีน 0.80 เปอรเซ็นต มีพลังงานใชประโยชน 3,200 กิโลแคลอรีตออาหาร 1 กิโลกรัม มีแคลเซียม 0.95 เปอรเซ็นต และฟอสฟอรัสใชประโยชน 0.48 เปอรเซ็นต 8. แมสุกรสาวเมื่อมีอายุ 6 เดือน ควรผสมมูลของแมสุกรนางในอาหารใหกิน 2-3 วัน เพ่ือชวยสรางภูมิคุมกันโรคพารโวไวรัส (porcine parvovirus) 6. หลักปฏิบัติในการผสมพันธุสุกร มีหลักปฏิบัตดิังนี ้ 1. ควรตรวจสัดแมสุกรวันละ 2 ครั้ง ในตอนเชาและเย็น 2. ในการผสมพนัธุแมสุกรที่เปนสัดควรจะทําการผสม 2 ครั้งหางกันประมาณ 12 ช่ัวโมง โดยผสมตอนเชาเวลา 5.00-7.00 นาฬิกา 1 ครั้ง และตอนเย็นเวลา 17.00-19.00 นาฬกิา อีก 1 ครั้ง ในกรณีที่ผสมพันธุครั้งที ่2 ผานไปแลว 12 ช่ัวโมง แตแมสุกรยังยอมใหผสมพันธุอีกก็ใหผสมครั้งที่ 3 เพราะการผสมครั้งแรกแมสุกรอาจยังเปนสัดไมเต็มที่ก็ได 3. ในการผสมพนัธุแมสุกรนัน้ใหยึดหลักวา ถาพบวาแมสุกรสาวเปนสัดตอนเชา

ใหผสมพนัธุครั้งแรกในตอนเย็นและเชาวนัถัดไปอีก 1 ครั้ง หรือถาพบวาแมสุกรสาวเปนสัดตอนเย็นใหผสมพันธุครั้งแรกในตอนเชาวันถัดไปและครั้งที่ 2 ในตอนเยน็ สําหรับแมสุกรนาง ถาพบวาเปนสดัตอนเชาใหผสมพันธุครั้งแรกในเชาวันถดัไป และผสมครั้งที่ 2 ในตอนเยน็ หรือถาพบวาเปนสดัในตอนเย็นใหผสมพันธุครัง้แรกในตอนเย็นวันถัดไป และตอนเชาของอีกวันหนึ่งใหผสมครั้งที่ 2 4. การใชพอพันธุในการผสมพันธุนัน้ ไมควรใชบอยเกินกําหนดควรยึดหลักดัง

แสดงในตารางที่ 1 5. หลังผสมพันธุผานไป 21 วัน ถาแมสุกรไมกลับมาเปนสัดอีกแสดงวาผสม

พันธุตดิใหเร่ิมนับวันแรกทีผ่สมพันธุเปนวันที่ 1 ของการตั้งทองและนับตอไปจนครบ 114 วัน ก็จะเปนวันคลอดของแมสุกร

Page 53: การประเมินผลโครงการฝ กอบรมส ัญจร การเลี้ยงหมูสมุนไพร และ ...dynamic.psu.ac.th/eduservice.psu.ac.th/standard/3.3-02_2.pdf ·

ตารางที ่1 แสดงตาราการใชพอสุกรพันธุในการผสมพนัธุ

อายุ จํานวนครั้งในการผสมพันธุตอ

วัน สัปดาห เดือน 15 เดือนหรือมากกวา 3 12 36 8-15 เดือน 2 8 24

7. เทคนคิการเลีย้งสุกรขุนและการใหอาหาร

7.1 ขอควรพิจารณาในการซื้อลูกสุกรขุน ในการซื้อลูกสุกรขุนมาเลี้ยง ควรพิจารณาเรื่องสําคัญดังนี้

1. พันธุสุกรขุน ลูกสุกรที่นํามาขุนเพื่อฆาขายเนื้อ สวนใหญจะเปนสุกรลูกผสม 3 และ 4 สาย คอื ลูกผสมระหวางพันธุลารจไวท พันธแลนดเรซ และพันธุดูร็อค หรือพันธุพิเทรท หรือทั้ง 4 พันธุรวมกัน ถามีสายเลือดของพันธุพีเทรนจะใหเนื้อสันและเนื้อสะโพกมาก แตสีของเนื้อแดงไมเขมเหมือนมีสายเลือดพันธุดร็ูอค สําหรับสุกรขุน 2 สายเลืดระหวางพันธุลารจไวทกับพันธุแลนดเรซจะมีไขมันมากกวา จึงไมนิยมทําเปนสกุรขุน 2. แหลงซื้อลูกสุกรขุน ในการซื้อลูกสุกรมาขุนขายนั้น ควรซื้อจากฟารมที่เล้ียงลูกสุกรขุนขายหรือซื้อจากเกษตรกรที่เล้ียงลูกสุกรขายที่รูจัก อยาซื้อตามตลาดนดัเพราะจะไมรูแหลงที่มาของลูกสุกร และไมควรซื้อจากฟารมที่ในทองที่นั้นกําลังมีโรคระบาด 3. ลูกสุกรที่ซื้อตองแข็งแรง ใหสังเกตไมมีอุจจาระเหลวตดิที่กน ขนเรียบไมฟู ไมมีข้ีตา หรือน้ํามูกไหล ตาไมบวม 4. ลูกสุกรขุนที่ซื้อสวนใหญน้าํหนักประมาณ 12-15 กิโลกรัม ถาซื้อน้ําหนักนอยกวานี้จะดูแลลําบาก เจ็บปวยงาย 5. ลูกสุกรที่เปนเพศผูตองตอนเรียบรอยแลว และลูกสุกรขุนที่ซื้อควรฉีดวัคซีนปองกันโรคอหิวาตมาเรียบรอยแลว ใหสอบถามจากผูขายดวย

6. ลูกสุกรขุนที่จะเลี้ยงและโตไว ใหสังเกตลําตัวจะหนาเต็มไมผอม ทองไมยาน กนไมแหลม ไหลหนา ตะโพกหนา ขาแข็งแรง

7.2 การเตรียมคอกและการจัดซื้อลูกสุกรขนุ 1. ควรทําความสะอาดคอกอยางนอย 2 วัน กอนที่จะนาํลูกสุกรเขาคอก โดยราดนายาฆาเช้ือทิ้งไว 1-2 วัน แลวลางดวยน้าํ แลวทิ้งไวใหแหง 1-2 วนั

2. ตรวจสอบที่ใหอาหารและน้าํวาเรียบรอยด ีและควรเตรียมที่กันลมและฝนถาอยูในชวงฤดูฝนและลมแรง 3. เตรียมอาหารสําหรับลูกสุกรไวใหพรอม

Page 54: การประเมินผลโครงการฝ กอบรมส ัญจร การเลี้ยงหมูสมุนไพร และ ...dynamic.psu.ac.th/eduservice.psu.ac.th/standard/3.3-02_2.pdf ·

4. ลูกสุกรที่จัดซื้อควรขนยายในตอนเชาที่อากาศไมรอน หรือในชวงตอนบาย อยาเปนตอนค่าํเพราะจะไมสังเกตสขุภาพของลูกสุกรไดชัดเจน 5. เมื่อลูกสุกรมาถึงควรมีน้ําใหกิน หลังจากผานไป 2-3 ช่ัวโมง หรือลูกสุกรหายเหนื่อย จึงใหกินอาหาร อยาใหมากในวนัแรกเพราะสุกรยังออนเพลียอยู 7.3 การเลี้ยงสุกรขุนนํ้าหนัก 10-25 กิโลกรัม 1. ลูกสุกรที่ซื้อมาที่มีน้ําหนัก 12-15 กิโลกรัม ควรใหกินอาหารเต็มที่ถาใชถังใหอาหารอัตโนมตั ิ แตถาเปนรางใหอาหาร ควรใหกินอยางนอยวันละ 2 ครั้ง อยาใหมากเกินไป ลูกสุกรจะเลนอาหาร เมื่อลูกสุกรกินหมดจึงเพ่ิมให ลูกสุกรระยะนี้จะกินอาหารวันละ 0.8-1.3 กิโลกรัม ไปจนกระทั่งลูกสุกรมีน้ําหนักประมาณ 20-25 กิโลกรัม 2. สูตรอาหารที่ใชเล้ียงควรมีโปรตีน 20-22 เปอรเซ็นต มีกรดอะมิโนไลซีน 1.20 เปอรเซ็นต มีพลังงานใชประโยชน 3,200 กิโลแคลอรี่ตออาหาร 1 กิโลกรัม สําหรับสูตรอาหารระยะนี้เรียกวาสูตรอาหารสุกรเล็ก โดยมีสูตรอาหารที่แนะนําดังนี้ ปลายขาวนึ่ง 30 กิโลกรัม ขาวโพดบด 29.25 กิโลกรัม ปลาปน (55% โปรตนี) 9.4 กิโลกรัม กากถั่วเหลือง (44% โปรตีน) 13.5 กิโลกรัม ถ่ัวเหลืองไขมันสูง 10 กิโลกรัม หางนมผง 6 กิโลกรัม ไลซีน 0.3 กิโลกรัม เปลือกหอยบด 0.7 กิโลกรัม วี.เอ็ม.พี 3 0.6 กิโลกรัม สมุนไพรพูฟฝ 1 0.25 กิโลกรัม รวม 100 กิโลกรัม

3. ทําความสะอาดคอกสุกรวันละครั้งโดยโกยมูลสุกรออก ในวันแรกที่เล้ียงใหโกยมูลไปอยูมุมทายคอก สุกรจะไดถายบริเวณนั้นเปนประจํา และควรลางคอก 1-2 วันตอครั้ง 4. ใหสังเกตมูลสุกรถาถายเหลวแสดงวาทองเสียใหฉีดยาปฏิชีวนะแกทองเสียเชน ไทแลน

การนามัยซิน อ็อกซี่โทซีน หรือ แอมม็อกซี่ เปนตน (ถาถายเหลวมาก) และสังเกตวาลูกสุกรไอหรือมีน้ํามูก

หรือไม และแสดงวาเปนหวัดใหฉีดยาปฏิชีวนะแกโรคระบบทางเดินหายใจ เชน เจนตามัยซิน เพนสะเตร็บ หรือ แอมม็อกซี่ เปนตน

5. ลูกสุกรที่ไมสบายจะนอนหลบตามมุมคอกไมลุกมากินอาหารเมื่อใหอาหาร ตองรีบรักษาทนัท ี สุกรระยะนี้มักมีปญหาทองเสียและเปนไข

Page 55: การประเมินผลโครงการฝ กอบรมส ัญจร การเลี้ยงหมูสมุนไพร และ ...dynamic.psu.ac.th/eduservice.psu.ac.th/standard/3.3-02_2.pdf ·

6. คอกที่มีมูลหมักหมมนานๆ จะมีแก็สแอมโมเนียมาก ทําใหลูกสุกรตาแดง หนาบวม ทําใหเปนโรคปอดบวมไดงาย ดังนัน้ควรรักษาคอกใหสะอาดเสมอ

7.4 การเลี้ยงดูสุกรขุนนํ้าหนัก 25-60 กิโลกรัม 1. เมื่อสุกรมีน้ําหนักประมาณ 25 กิโลกรัม หรือเล้ียงมาไดประมาณ 1 เดือน ใหเปลีย่นอาหารเปนสูตรอาหารสุกรรุน ซึ่งจะใชเล้ียงตั้งแตน้าํหนัก 25-60 กิโลกรัม โดยชวงนี้สุกรจะกินอาหารเฉลี่ยวันละ 1.5-2 กิโลกรัม ถาใชถังอาหารอัตโนมัติก็ใหกินเต็มที ่ แตถาเปนรางอาหารก็ใหกินวันละ 2ครั้ง

2. สูตรอาหารที่ใชเล้ียงควรมีโปรตีนประมาณ 18 เปอรเซ็นต มีกรดอะมิโนไลซีน 1

เปอรเซ็นต มีพลังงานใชประโยชน 3,200 กิโลแคลอรี่ตออาหาร 1 กิโลกรัม มีแคลเซียม 0.70

เปอรเซ็นต มีฟอสฟอรัสใชประโยชน 0.32 เปอรเซ็นต ซ่ึงระยะนี้จะเรยีกวาสูตรอาหารสุกรรุน

สําหรับสูตรอาหารสุกรรุนที่แนะนํามีดังนี ้ ปลายขาวนึ่ง 30 กิโลกรัม ขาวโพดบด 24.55กิโลกรัม รําละเอียด 10 กิโลกรัม กากเนื้อในเมล็ดปาลม 10 กิโลกรัม ปลาปน (55% โปรตนี) 9 กิโลกรัม กากถั่วเหลือง (44% โปรตีน) 14.35กิโลกรัม ไลซีน 0.20 กิโลกรัม เปลือกหอยบด 0.55 กิโลกรัม ไดแคลเซียมฟอสเฟต 0.30 กิโลกรัม วี.เอ็ม.พี 4 0.50 กิโลกรัม สมุนไพรพูฟฝ 1 0.25 กิโลกรัม รวม 100 กิโลกรัม 3. ในการเปลี่ยนสูตรอาหารจากสูตรอาหารสกุรเล็กเปนอาหารสุกรรุน ควรคอยๆ เปลี่ยน ถาเปลี่ยนทันทีสุกรจะไมคอยกินอาหารดังนั้นการเปลี่ยนสูตรอาหารใหยึดหลกั

ดังนี ้ วันที่ 1 ผสมสูตรเดิม 4 สวน สูตรใหม 1 สวน วันที่ 2 ผสมสูตรเดิม 3 สวน สูตรใหม 2 สวน วันที่ 3 ผสมสูตรเดิม 2 สวน สูตรใหม 2 สวน วันที่ 4 ผสมสูตรเดิม 2 สวน สูตรใหม 3 สวน วันที่ 5 ผสมสูตรเดิม 1 สวน สูตรใหม 4 สวน

Page 56: การประเมินผลโครงการฝ กอบรมส ัญจร การเลี้ยงหมูสมุนไพร และ ...dynamic.psu.ac.th/eduservice.psu.ac.th/standard/3.3-02_2.pdf ·

วันที่ 6 ใหกินสูตรใหมไดเลย ถาทําอยางนี้แลวสุกรจะไมชะงักการเจริญเติบโต และจะไมถายเหลว 4. สุกรระยะนี้มักปวยดวยโรคหวัด ไอ เปนไข ปอดบวม ตองดูอยาใหฝนสาด และทําความสะอาดคอกทุกวัน เพราะสุกรจะถายมาก 5. เมื่อสุกรมีน้ําหนักใกล 60 กิโลกรัม ควรถายพยาธิโดยใชยาถายพยาธ ิเชน เพ็พเพอราซีน ผสมในอาหารในอัตรา 0-2-0.4 กรัมตอน้ําหนกัสุกร 1 กิโลกรัม โดยผสมอาหารในปริมาณ 60-70 % ของอาหารที่ใหกินตามปกต ิ

6. สุกรระยะนี้จะใชเวลาเลี้ยงตั้งแตน้าํหนัก 25-60 กิโลกรัมเปนเวลา 45 วันหรือเดือนคร่ึง 7.5 การเลี้ยงดูสุกรขุนนํ้าหนัก 60-95 กิโลกรัม 1. สุกรขุนระยะนี้จะกินอาหารเกงตองใหกินเต็มที่เพ่ือใหเจริญเติบโตอยางรวดเร็ว สุกรจะกินอาหารวันละ 2.2-2.7 กิโลกรัม 2. เนื่องจากสุกรระยะนี้จะถายมูลออกมามาก ดังนัน้ตองโกยมูลทิ้งทุกวัน และถามีน้าํพอเพียงก็ควรลางคอกทุกวัน ฉีดน้าํลางตวัสุกรในตอนบายที่มีอากาศรอน จะทําให

สุกรกินอาหารไดมากขึ้น 3. สูตรอาหารที่ใชเล้ียงจะเปนสูตรอาหารสุกรขุนมีโปรตีน 16.5 เปอรเซ็นต มีกรดอะมิโนไลซีน 0.85 เปอรเซ็นต มีพลังงานใชประโยชน 3,000-3,100 กิโลแคลอรี่ตออาหาร 1 กิโลกรัม มีแคลเซียม 0.55 เปอรเซ็นต และมีฟอสฟอรัสใชประโยชน 0.30 เปอรเซ็นต สําหรับสตูรอาหารสุกรขุนที่แนะนาํมดีังนี ้ ปลายขาวบดละเอียด 30 กิโลกรัม ขาวโพดบด 26.15 กิโลกรัม รําละเอียด 12 กิโลกรัม กากเนื้อในเมล็ดปาลม 13 กิโลกรัม ปลาปน (55% โปรตนี) 9 กิโลกรัม กากถั่วเหลือง (44% โปรตีน) 8.05 กิโลกรัม ไลซีน 0.1 กิโลกรัม เปลือกหอยบด 0.45 กิโลกรัม ไดแคลเซียมฟอสเฟต 0.1 กิโลกรัม เกลือ 0.4 กิโลกรัม วี.เอ็ม.พี.4 0.5 กิโลกรัม สมุนไพรพูฟฝ 1 0.25 กิโลกรัม รวม 100 กิโลกรัม

Page 57: การประเมินผลโครงการฝ กอบรมส ัญจร การเลี้ยงหมูสมุนไพร และ ...dynamic.psu.ac.th/eduservice.psu.ac.th/standard/3.3-02_2.pdf ·

4. สุกรระยะนี้จะแข็งแรงดีจะมีปญหาบางก็เก่ียวกับเปนไข เปนหวัด ตอง

คอยสังเกต 5. เมื่อสุกรมีน้ําหนักใกลเคียง 95 กิโลกรัม ควรลดอาหารลง 20 เปอรเซ็นต ของที่ใหกินปกต ิโดยใหกินปริมาณดังกลาว 2-3 วัน จะชวยใหไขมันบางลด และกอนวันที่จับไปฆาควรงดอาหาร 1 มื้อ จะทําใหเนื้อไมแฉะ

6. หลังจําหนายสกุรหมดคอกแลวควรทําความสะอาดคอกเพื่อจะไดไมเปนแหลงของเชื้อโรคตอไป

8.โรงเรือนและอุปกรณการเลี้ยงสกุรขุน

สําหรับเกษตรกรที่เร่ิมเลี้ยงสุกรเปนรายไดเสริม ควรสรางโรงเรือนที่มีขนาดเล็ก และลงทุนไมสูง โดยสราง 1-3 คอก และเริ่มเลี้ยงสุกรตั้งแต 5-20 ตัว จะชวยสรางประสบการณและไมตอง

ลงทุนมาก สําหรับโรงเรือนที่สรางควรมีลักษณะดังนี ้1. ลักษณะโรงเรือน ควรเปนโรงเรือนแบบเพิงหมาแหงนหรือหมาแหงน

กลาย มีความกวาง 2.5-3 เมตร มีความยาว 3-9 เมตร (ถาเล้ียง 3 คอก จะยาว 9 เมตร) มีความสูงหนาโรงเรือน 2.5 เมตร หลังโรงเรือน 2.10 เมตร หลังคามุงดวยใบจาก ใบเหลง สังกะสีหรือกระเบื้องมีชายคาประมาณ 90 เซนติเมตร และควรสรางใกลรมไมจะชวยใหไมรอนในตอนเที่ยงและตอนบาย ดงัภาพที ่4 2.5 ม. 2.1 ม. 2.5 ม.

2.5-3 ม. 2.5-3 ม. เพิงหมาแหงน เพิงหมาแหงนกลาย

2. พ้ืนคอก เปนพื้นคอนกรีตขัดหยาบมคีวามลาดเอียง 3% หลังคอกมีคูระบายของเสียจากคอกสุกร

Page 58: การประเมินผลโครงการฝ กอบรมส ัญจร การเลี้ยงหมูสมุนไพร และ ...dynamic.psu.ac.th/eduservice.psu.ac.th/standard/3.3-02_2.pdf ·

3. การกั้นคอก ควรกั้นคอกดวยอิฐบล็อกและฉาบเรียบ โดยกั้นใหคอกสูงประมาณ 90 เซนติเมตร มีประตูทมีุมคอกกวาง 60 เซนติเมตร ดานหลังคอกควรมีชองสําหรับใหของเสียและน้ําไหลลงในคูหลังคอกได 4. ที่ใหน้ําและรางอาหาร ควรมีจุบใหน้าํอัตโนมัต ิ1 ที่ อยูมุมคอกดานหลัง ใกลกับชองสําหรับลางของเสียจากคอกลงคูดานหลังคอก จุบน้าํควรติดตั้งสูงประมาณ 40 เซนติเมตร จากพื้นคอก สําหรับรางอาหารควรกวาง 35 เซนติเมตร สูง 15 เซนติเมตร ยาวตลอดดานหนาของคอก หรือจะใชถังอาหารอัตโนมัตก็ิได 1 ถังตอ 1 คอก

9. สมุนไพรกับการเลี้ยงสกุร 9.1 ทําไมตองใชสมุนไพรในการเลี้ยงสุกร

ความจาํเปนที่ตองใชสมนุไพรในการเลี้ยงสุกรนั้น นอกจากปญหายา

ปฏิชีวนะตกคางในเนื้อสุกรและการดื้อยาของเชื้อโรคแลว ในป พ.ศ. 2546 กลุมประเทศยุโรปจะ

หามมีการจําหนายยาปฏิชีวนะที่ใชเสริมในอาหารสตัว เพ่ือเรงการเจริญเติบโต (Ziggers, 2002)

ประเทศยุโรปและประเทศญี่ปุนหามนําเขาเนื้อสัตวที่มยีาปฏิชีวนะตกคาง (ยุทธนา, 2545) และท่ี

สําคัญที่สุดกระทรวงสาธารณสุข (2545) และสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา (2545) มี

มาตรการหามใชเภสัชเคมีภณัฑ 8 ชนิดผสมในอาหารสัตว ไดแก chlorampenicol,

dimetridazole, ronidazole, furaltadone, furazolidone, nitrofuratoin, nitrofurazone และ

nitrovin ดวยเหตุนี้จึงจาํเปนตองนําสมนุไพรมาใชทดแทนยาปฏิชีวนะในการเลี้ยงสุกร

9.2 คุณสมบตัิของสมุนไพรที่นํามาใชเล้ียงสุกร

1. ฟาทะลายโจร (Andrographis paiculata (Burn.f.) Nees.) บางแหงเรียกน้ําลายพังพอน สามสิบด ีเมฆทะลาย ฟาสะทาน หญากันงู ฟาสาง เขยตายยายคลุม ชีกระเฉา เปนตน ใชทั้งใบและตนบดแหง มีสารออกฤทธิก์ลุมแลคโตน (lactone) เชน แอนโดกราฟฟอไรด และนิโอแอนโดกราฟฟอไรด (andrographolide และ neoandrographolide) มีรสขม มีฤทธิ์ในการยับยั้งเช้ือแบคทีเรียที่เปนสาเหตุของโรคทองรวงและโรคทางเดนิหายใจ จึงแกทองรวง บดิ ไขหวัด และเจ็บคอ 2. ฝร่ัง (Psidium guajava Linn.) บางภูมิภาคเรียก มะมั่น มะถวยกา บักสีดา ยาหมู ยามู มะปุน ชมพู เปนตน ใชใบที่ไมแกไมออน (เพสลาด) บดแหง มีสารออกฤทธิ์กลุมแทนนินและน้าํมนัหอมระเหย มีรสฝาด มีฤทธิ์สมานแผล ชวยดูดซึมน้ําเขาสูรางกาย ยับยั้งเช้ือ Staphylococcus aureus, E. coli, Salmonella typhi และ Shigella desenteriae จึงใชแกทองรวง บดิ และชวยทําใหทองผูก 3. ไพล (Zingiber cassumunar Roxb.) บางภูมภิาคเรียกปูเลย วานไฟ เปนตน ใชเหงาอายุ 8-10 เดือนมาบดแหง มีสารออกฤทธิ์เชนน้ํามันหอมระเหย benzenoid, สาร curcumin สาร terpene และ veratole มีรสฝาดเย็นและ

Page 59: การประเมินผลโครงการฝ กอบรมส ัญจร การเลี้ยงหมูสมุนไพร และ ...dynamic.psu.ac.th/eduservice.psu.ac.th/standard/3.3-02_2.pdf ·

เผ็ด เปนยาชาออน ๆ ชวยขยายหลอดลม สมานแผลในลําไส ยับยั้งเช้ือ E.coli, Staphylococcus sp และเปนสารกันหืน จึงชวยแกปวดทอง บิด ขับลม ขยายหลอดลม และรักษาโรคหืดออน ๆ 4. ขมิ้นชัน (Curcuma longa Linn.) บางแหงเรียกขมิ้นทอง ขมิ้นด ีอังกองหัว ขมิ้นไข และข้ีมิ้น เปนตน ใชเหงาอายุ 8-10 เดือนบดแหง มีสารออกฤทธิ์ช่ือ curcumin และน้ํามนัหอมระเหย มีรสฝาดเผ็ด ยับยั้งเช้ือ Staphylococcus sp. และเช้ือ E. coli มีธาตุเหล็กและฟอสฟอรัสสูง กระตุนใหหล่ังสาร mucin มารักษาแผลในกระเพาะ แกทองรวง ไอ เจ็บคอ บํารุงตับและเลือด 5. มังคุด (Garcinia mangostana Linn.) มีสารแทนนินและสารสีเหลืองช่ือ xantone ใชเปลือกของผลแกมาบดแหง มีรสฝาด ยับยั้งเช้ือ Staphylococcus aureus, E.coli, Samonella typhi, Shigella sonnei จึงชวยแกบิด ทองรวง สมานแผลในลําไสและแกเจ็บคอ 6. หญาหวาน (Stevia rebaudiana Bertoni.) ใชใบและก่ิงออนบดแหง มีสาร stevioside ที่ใหความหวานกวาน้ําตาล 300 เทา ใบแหงจะหวานกวาน้ําตาล 30 เทา ชวยกระตุนการกินอาหารและแกรสขมไดด ีไมมีกล่ิน มดและแมลงวันไมตอม

10. การใชสมุนไพรสูตรพูฟฝ 1 ในการเลี้ยงสุกรขุน ทางโครงการวจิัยการใชสมุนไพรในสุกร ไดทดลองใชสมุนไพรสูตรผสมระหวางไพล ฟาทะลายโจรและใบฝรั่ง โดยใชช่ือวาพูฟฝ1 ทดลองในฟารมเอกชน โดยใชพูฟฝ1 ผสมในอาหารสุกรขุน 0.25% เปรียบเทียบกับการใช CSP 0.25% ในอาหาร พบวาสามารถใชสมุนไพรพูฟฝ1 ทดแทนยาปฏิชีวนะ CSP ได โดยมแีนวโนมดานอัตราการเจรญิเติบโตและประสิทธิภาพการใชอาหารดีกวาการใช CSP และมีตนทุนคาอาหารตอน้าํหนักเพ่ิม 1 กิโลกรัมถูกกวาประมาณ 1.50 บาท/น้ําหนกัสุกรเพิ่ม 1 กิโลกรัม (ตารางที ่2) ตารางที่ 2 ผลการใชสมุนไพรพูฟฝ1 เปรียบเทียบกับการใชยาปฎิชีวนะ CSP ในอาหารสุกรขุน

ลักษณะศึกษา พูฟฝ1 0.25% CSP 0.25% จํานวนสุกร,ตวั 44 44 น.น.เร่ิมตน,กก. 30.32 32.39 น.น.ส้ินสุด,กก. 92.68 91.36 จํานวนวนัทดลอง 79 79 ADG, กก./วัน 0.789 0.746 อาหารที่กิน/วัน,กก. 2.060 2.075 FCR 2.61 2.78 คาอาหาร/น.น.เพ่ิม1กก., บาท 20.54 22.07 หมายเหต ุ: CSP ราคา 150 บาท/กก. สมุนไพรพูฟฝ1 ราคา 120 บาท/กก.

Page 60: การประเมินผลโครงการฝ กอบรมส ัญจร การเลี้ยงหมูสมุนไพร และ ...dynamic.psu.ac.th/eduservice.psu.ac.th/standard/3.3-02_2.pdf ·

ที่มา: ยุทธนา และคณะ (2545) 1.1 การศึกษารสชาติของเนื้อสุกรสมุนไพร

จากการทดสอบรสชาต ิ เนื้อสุกรที่เล้ียงดวยสมุนไพรฟาทะลายโจร

รวมกับใบฝรั่ง เปรียบเทียบกับเนื้อสุกรที่ซื้อจากตลาด ดวยผูทดสอบ 23 คน พบวาเนื้อสุกรที่ยังไมปรุงรส ผูทดสอบ 73% ชอบเนื้อสุกรสมุนไพรมากกวา และเมื่อปรุงรสแลวผูทดสอบ 55% ชอบเนื้อสุกรสมุนไพรมากกวาเชนกัน และจากการตรวจชิมเนื้อสุกรที่เล้ียงดวยสมุนไพรพูฟฝ1 กับเนื้อสุกรที่เล้ียงดวยยาปฏิชีวนะพบวาผูทดสอบ 55% ชอบเนื้อสุกรสมุนไพร พูฟฝ 1 มากกวา และจากการสมัภาษณผูบรโิภคเนื้อสุกรสมุนไพร พบวาผูบริโภคสวนใหญบอกวาเนื้อสุกรสมุนไพรมีรสชาติอรอย นุม และไมมีกล่ินคาวเหมือนเนื้อสุกรในตลาดทั่วไป และจากการ

วิเคราะหเลือดสุกรที่เล้ียงดวยสมุนไพร พบวาม ี cholesterol ลดลง 20% และ triglyceride ลดลง 30% เมื่อเปรียบเทียบกับสกุรที่เล้ียงดวยยาปฏิชีวนะ

12. ตนทุนกําไรการเลี้ยงสุกรขุน

การคํานวณตนทุนและรายไดในการผลิตสกุรขุนในการเลี้ยงสุกรขุนตัง้แตน้ําหนัก 10-100 กิโลกรัม ใหคิดตนทุนคาอาหารที่ใชเล้ียงในระยะตางๆดังแสดงในตารางที่ 3

หลังจากนั้นนาํมาบวกกับคายาคาวัคซีน และคาลูกสุกรท่ีซ้ือมาก็จะไดตนทุนในการเลีย้งสุกรขุน 1

ตัว

ตารางที่ 3 แสดงการคาํนวณตนทุนคาอาหารในการผลิตสุกรขุน 1 ตัว จากน้ําหนัก 10-100 กิโลกรัม เลี้ยงสุกรชวง อัตราการ น้ําหนัก ประสิทธิภาพ ปริมาณอาหาร ราคาอาหาร คาอาหาร

น้ําหนักตางๆ เจริญเติบโต กก./วัน

เพ่ิม การใชอาหาร ท่ีกิน,กก. บาท/กก. ท่ีกิน,บาท

1. 10-30 กก.

0.50 20 x 1.75 = 35 x 13. = 473

2. 30-60 กก.

0.75 30 x 2.25 = 67.5 x 10 = 675

3. 60-100 กก.

0.90 40 x 3 = 120 x 9.70 = 1,164

รวมตนทุนคาอาหารในการเลี้ยงสุกรขุน 1 ตัว จากน้ําหนัก 10-100 กิโลกรัม = 473+675+1,164 = 2,312 บาท

Page 61: การประเมินผลโครงการฝ กอบรมส ัญจร การเลี้ยงหมูสมุนไพร และ ...dynamic.psu.ac.th/eduservice.psu.ac.th/standard/3.3-02_2.pdf ·

ในการเลี้ยงสุกรขุน 1 ตัว จากน้าํหนัก 10-100 กิโลกรัมมีตนทุนดังนี ้ 1. คาอาหาร = 2,312 บาท 2. คาซื้อลูกสุกรน้ําหนัก 10 กิโลกรัม = 1,300 บาท 3. คายา และอ่ืนๆ = 90 บาท รวมตนทุนผลติสุกรขุนน้ําหนัก 100 กิโลกรัม = 3,702 บาท ปจจุบันสุกรขนุขายกิโลกรัมละ 50 บาท จะไดเงิน = 5,600 บาท ดังนั้นจะไดกําไรจากการเลี้ยงสุกรขุน 1 ตัว = 5,600-3,702 = 1,898 บาท กําไรคดิจากตนทุน = 1,898x100 3,702 = 51.27% การเลี้ยงสุกรขุนตั้งแตน้ําหนัก 10-100 กิโลกรัม ใชเวลาเลี้ยงประมาณ 4 เดอืน ในการคดิคาํนวณตนทุนนี้ยังไมรวมคาเส่ือมและคาแรงงาน แตถาคดิกําไรจากราคาสุกรที่ขายได

แลว ควรจะมีกําไรไมนอยกวา 20 เปอรเซ็นตของตนทุนที่คาํนวณไดนี้หรือตองไมนอยกวา

เปอรเซ็นตดอกเบี้ยเงินกู

13. สวนประกอบของซากสุกรเพื่อจําหนาย

สุกรขนุที่นํามาฆาเพ่ือขายเนื้อกอนนาํมาฆาควรงดอาหาร 1 มื้อ จะทําใหเนื้อแหงไมแฉะ สุกรน้ําหนัก 100 กิโลกรัม เมื่อนํามาฆาจะไดสวนตางๆ ดังแสดงในตารางที ่4

ตารางที่ 4 แสดงสวนตางๆ ของซากสุกร 100 กิโลกรัม เมื่อนํามาฆาชําแหละขาย (ราคาขายของเดือนมิถุนายน 2548)

ช้ินสวนตางๆ น้ําหนัก/กก. ราคา (บาท/กก.) รายได (บาท) 1. หัว 6-6.5 - 180 2. เนื้อแดง - สันคอ 3.28 110 360 - ไหล (ขาหนา) 5.09 110 559 - ตะโพก 12.88 110 1,416 3. สันนอก 3.65 115 419 4. สันใน 0.86 120 103 5. สามชั้น 11.06 95 10.50 6. ซี่โครง 6.74 115 775 7. กระดูกหลัง 2.30 90 207 8. กระดูกคอ 0.99 90 89

Page 62: การประเมินผลโครงการฝ กอบรมส ัญจร การเลี้ยงหมูสมุนไพร และ ...dynamic.psu.ac.th/eduservice.psu.ac.th/standard/3.3-02_2.pdf ·

9. กระดูกซบุ 2.08 50 104 10. ขาหนา 3.07 85 260 11. ขาหลัง 3.35 75 251 12. ตับ 1.7 120 204 13. หัวใจ 0.38 90 34 14. มาม 0.26 90 23 15. ปอด 1.33 - 15 16. ไต 0.37 90 33 17. กระเพาะ 0.61 80 48 18. ไสออน 0.90 95 85 19. ไสขม 1.47 50 73 20. ไสใหญ 2.19 50 109 21. ไสตนั 0.45 95 42 22. มันหมู 6.04 30 181 23. หนังหมู 2.88 30 86 24. เลือดหมู 3 20 60

รวม 6,766 14. การผสมอาหารสุกร ในการเลี้ยงสุกร 60-70 เปอรเซ็นต จะเปนตนทุนคาอาหาร เกษตรกรจึงนิยมผสมอาหารเอง เพราะนอกจากจะลดตนทุนแลว เกษตรกรสามารถใชวัตถุดบิในทองถ่ินมาผสมอาหารได ในการผสมอาหารสุกรนั้นไมวาจะเปนการผสมดวยเครื่องหรือผสมดวยมือโดยใชพร่ัวผสมใหปฏิบัติข้ันตอนดังนี ้ 1. เทวัตถุดบิที่มีปริมาณมากไดแกปลายขาว ขาวโพด รํา เปนตน ลงกองที่พ้ืนคอนกรีตที่เรียบและสะอาดโดยเททับกันลงไปเปนชั้น ๆ 2. เทวัตถุดิบที่มปีริมาณนอยอยูขางบน ไดแก ปลาปน กากถ่ัวเหลือง เปนตน 3. นําปลายขาวหรือขาวโพดประมาณ 3-4 กิโลกรัมมาผสมกับวัตถดุิบปลีกยอยที่มีปริมาณนอยไดแก กรดอะมิโนตางๆ เกลือ ไดแคลเซียม เปลือกหอย ไวตามิน แรธาต ุสมุนไพร โดยผสมคลกุเคลาใหเขากันในถังหรือในกะละมัง เม่ือเขากันดีแลวใหเทไวขางบน 4. กรณีที่ตองมีการเติมน้าํมันพชืหรือน้ํามันหมูในสูตรอาหาร ใหใชขาวโพด 3 กิโลกรัมตอน้ํามันหม/ูพืช 1 กิโลกรัม คลุกเคลาใหเขากันในกะละมังแลวจึงเทบนกองวัตถุดบิ 5. เมื่อเทวัตถุดิบครบแลวใหใชพร่ัวตักวัตถุดบิผสมกันโดยกลับวัตถดุิบมากองดานซาย แลวกลับวัตถดุิบไปกองทางดานขวาทําสลับกันไปเชนนี ้4-5 ครั้ง จะเห็นวาวัตถุดบิคลุกเคลากันทั่วก็สามารถบรรจุใสถุงกระสอบเพื่อเก็บไวใชตอไป

Page 63: การประเมินผลโครงการฝ กอบรมส ัญจร การเลี้ยงหมูสมุนไพร และ ...dynamic.psu.ac.th/eduservice.psu.ac.th/standard/3.3-02_2.pdf ·

6. อาหารที่ผสมดวยมือหรือดวยเครื่องมือและไมมีการอดัเม็ดจะเก็บไวไดนาน 7-10 วัน ไมควรเก็บไวนานกวานีอ้าหารจะเกาและเหม็นหืนสกุรจะกินนอยลง

Page 64: การประเมินผลโครงการฝ กอบรมส ัญจร การเลี้ยงหมูสมุนไพร และ ...dynamic.psu.ac.th/eduservice.psu.ac.th/standard/3.3-02_2.pdf ·

บรรณานุกรม

กระทรวงสาธารณสุข. 2545. ขอความรวมมือรับคืนยาเพื่อทําลาย. หนังสือราชการที่ สธ.0804/ว 171 ลงวันที่ 12 กรกฎาคม 2545 กระทรวงสาธารณสุข จ.นนทบุรี

ยุทธนา ศิริวัธนนุกูล. 2532. เทคโนโลยีการผลิตสุกร. คณะทรัพยากรธรรมชาต ิ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตหาดใหญ จ.สงขลา

ยุทธนา ศิริวัธนนุกูล. 2543. สมุนไพรกับการเลี้ยงสัตวในสหัสวรรษ 2000. เอกสารวิชาการในงานเกษตรแหงชาต ิ ณ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร อ.หาดใหญ จ.สงขลา วันที ่9-20 สิงหาคม 2543.

ยุทธนา ศิริวัธนนุกูล. 2545. สมุนไพรและการเตรียมสมุนไพรเพื่อใชเล้ียงสุกร. โครงการวิจัยการใชสมุนไพรและพืชทองถ่ินในการเลี้ยงสุกร. ภาควชิาสัตวศาสตร คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร อ.หาดใหญ จ.สงขลา.

ยุทธนา ศิริวัธนนุกูล สุรพล ชลดํารงกุล ทวีศักดิ ์นิยมบัณฑิต ยุพินพรรณ ศิริวัธนนุกูล สมเกียรติ ทองรักษ อภิญญา รัตนไชย เสาวลักษณ พงษไพจติร วิชาญ เกตุจินดา ธีรนนท พลยุทธ ปกรณ เอกปณิธานพงศ และ รสสุคนธ ไชยมุณี. 2546. การผลิตเน้ือสุกรสมุนไพร : ปลอดภัยตอผูบริโภค. เอกสารเผยแพรงาน ความรูเพ่ือชีวิต 10 ปสัญจรใต ฉบับการงานอาชีพ. สํานักงานกองทนุสนับสนนุการวิจัย พญาไท. กรุงเทพฯ : หนา 26-29.

สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา. 2545. ปญหายาตกคางในเน้ือสัตว และแนวทางแกไข. โรงพิมพองคการทหารผานศึก. กรุงเทพมหานคร.

NRC. 1998. Nutrient Requirement of Swine. National Academy Press. Washington, D.C.

Ziggers, O. 2002. Growth promoting antibiotics finished in the EU. Feed Tech. 6 : 8.

Page 65: การประเมินผลโครงการฝ กอบรมส ัญจร การเลี้ยงหมูสมุนไพร และ ...dynamic.psu.ac.th/eduservice.psu.ac.th/standard/3.3-02_2.pdf ·

ภาคผนวก 3

สถานที่ฝกอบรมคือ อบต. พิจิตร

Page 66: การประเมินผลโครงการฝ กอบรมส ัญจร การเลี้ยงหมูสมุนไพร และ ...dynamic.psu.ac.th/eduservice.psu.ac.th/standard/3.3-02_2.pdf ·
Page 67: การประเมินผลโครงการฝ กอบรมส ัญจร การเลี้ยงหมูสมุนไพร และ ...dynamic.psu.ac.th/eduservice.psu.ac.th/standard/3.3-02_2.pdf ·

ภาคผนวก 4

ภาพถายการดําเนินการฝกอบรมทั้งภาคทฤษฏีและปฏบิัติ

Page 68: การประเมินผลโครงการฝ กอบรมส ัญจร การเลี้ยงหมูสมุนไพร และ ...dynamic.psu.ac.th/eduservice.psu.ac.th/standard/3.3-02_2.pdf ·
Page 69: การประเมินผลโครงการฝ กอบรมส ัญจร การเลี้ยงหมูสมุนไพร และ ...dynamic.psu.ac.th/eduservice.psu.ac.th/standard/3.3-02_2.pdf ·
Page 70: การประเมินผลโครงการฝ กอบรมส ัญจร การเลี้ยงหมูสมุนไพร และ ...dynamic.psu.ac.th/eduservice.psu.ac.th/standard/3.3-02_2.pdf ·
Page 71: การประเมินผลโครงการฝ กอบรมส ัญจร การเลี้ยงหมูสมุนไพร และ ...dynamic.psu.ac.th/eduservice.psu.ac.th/standard/3.3-02_2.pdf ·
Page 72: การประเมินผลโครงการฝ กอบรมส ัญจร การเลี้ยงหมูสมุนไพร และ ...dynamic.psu.ac.th/eduservice.psu.ac.th/standard/3.3-02_2.pdf ·
Page 73: การประเมินผลโครงการฝ กอบรมส ัญจร การเลี้ยงหมูสมุนไพร และ ...dynamic.psu.ac.th/eduservice.psu.ac.th/standard/3.3-02_2.pdf ·
Page 74: การประเมินผลโครงการฝ กอบรมส ัญจร การเลี้ยงหมูสมุนไพร และ ...dynamic.psu.ac.th/eduservice.psu.ac.th/standard/3.3-02_2.pdf ·
Page 75: การประเมินผลโครงการฝ กอบรมส ัญจร การเลี้ยงหมูสมุนไพร และ ...dynamic.psu.ac.th/eduservice.psu.ac.th/standard/3.3-02_2.pdf ·