กระบวนการผลิตสื่อสิ่งพิมพacademic.udru.ac.th/~samawan/content/printmedia.pdf ·...

28
เอกสารประกอบการเรียนวิชาการผลิตสื่อสิ่งพิมพในงานธุรกิจ 1 กระบวนการผลิตสื่อสิ่งพิมพ การผลิตสื่อสิ่งพิมพสามารถจัดลําดับไดเปนขั้นตอนหรือ "กระบวนการ" ใหเห็นภาพตั้งแต เริ่มตนทํางานจนสําเร็จใหชัดเจนยิ่งขึ้นได กระบวนการหมายถึง "กรรมวิธี" หรือ ลําดับการกระทําซึ่งดําเนินตอเนื่องกันไปจนถึง สําเร็จลง ระดับหนึ่งมาจากภาษาอังกฤษคําวา "Process" กระบวนการในขั้นตอนของการผลิตสื่อสิ่งพิมพแบงไดเปน 3 ขั้นตอนใหญๆดวยกัน (จันทนา ทองประยรู , 2537 : 21) ไดเแก งานกอนพิมพ (Prepress Work) งานพิมพ (Press Work) งานทําสําเร็จ (Finishing After Press Work) แตละขั้นตอนมีรายละเอียดที่แตกตางกันไปดังตอไปนีงานกอนพิมพ (Prepress Work) ในงานพิมพสื่อสิ่งพิมพทุกชนิด แมจะมีลักษณะ ประเภท รูปแบบ วัตถุประสงค วัสดุใช พิมพ และกรรมวิธีในการพิมพที่แตกตางกัน แตสิ่งพิมพทุกชนิดจะตองผานกระบวนการพิมพ เหมือนๆกัน กลาวคือ มีลําดับขั้นตอนของกระบวนการผลิตสื่อสิ่งพิมพ เปนพื้นฐานดังนี1. การเรียงพิมพ 2. เลยเอาต 3. อารกเวิรก 4. ภาพในการพิมพ 5. ตัวอักษรและตัวพิมพ 6. การพิสูจนอักษร 7. การทําแมพิมพ 8. กระดาษ 9. หมึกพิมพ 1. การเรียงพิมพ เพื่อนําไปทําอารตเวิรก องคประกอบที่สําคัญสําหรับการทําอารกเวิรก (ศิริพงศ พยอมแยม) ไดแก ตัวเรียงพิมพ ภาพประกอบ และการทําเครื่องหมายสําหรับชางพิมพมีรายละเอียด ดังตอไปนี

Upload: others

Post on 17-Oct-2019

3 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: กระบวนการผลิตสื่อสิ่งพิมพacademic.udru.ac.th/~samawan/content/PrintMedia.pdf · เอกสารประกอบการเรียนวิชาการผล

เอกสารประกอบการเรียนวชิาการผลิตสื่อส่ิงพิมพในงานธุรกิจ 1

กระบวนการผลิตสื่อสิ่งพิมพ

การผลิตสื่อส่ิงพิมพสามารถจัดลําดับไดเปนขั้นตอนหรือ "กระบวนการ" ใหเห็นภาพตั้งแตเร่ิมตนทํางานจนสําเร็จใหชัดเจนยิ่งขึ้นได กระบวนการหมายถึง "กรรมวิธี" หรือ ลําดับการกระทําซึ่งดําเนินตอเนื่องกันไปจนถึงสําเร็จลง ระดับหนึ่งมาจากภาษาอังกฤษคําวา "Process" กระบวนการในขั้นตอนของการผลิตสื่อส่ิงพิมพแบงไดเปน 3 ขั้นตอนใหญๆดวยกนั (จันทนา ทองประยร,ู 2537 : 21) ไดเแก

งานกอนพิมพ (Prepress Work) งานพิมพ (Press Work) งานทําสําเร็จ (Finishing After Press Work)

แตละขั้นตอนมีรายละเอียดที่แตกตางกันไปดังตอไปนี ้

งานกอนพิมพ (Prepress Work)

ในงานพิมพส่ือส่ิงพิมพทุกชนิด แมจะมีลักษณะ ประเภท รูปแบบ วัตถุประสงค วัสดใุชพิมพ และกรรมวิธีในการพิมพที่แตกตางกนั แตส่ิงพิมพทุกชนิดจะตองผานกระบวนการพิมพเหมือนๆกัน กลาวคือ มีลําดับขั้นตอนของกระบวนการผลิตสื่อส่ิงพิมพ เปนพื้นฐานดงันี้

1. การเรียงพิมพ 2. เลยเอาต 3. อารกเวิรก 4. ภาพในการพิมพ 5. ตัวอักษรและตัวพิมพ 6. การพิสูจนอักษร 7. การทําแมพิมพ 8. กระดาษ 9. หมึกพิมพ

1. การเรียงพมิพ เพื่อนําไปทําอารตเวิรก องคประกอบที่สําคัญสําหรับการทําอารกเวิรก (ศิริพงศ พยอมแยม) ไดแก ตวัเรียงพมิพ ภาพประกอบ และการทาํเครื่องหมายสําหรับชางพิมพมีรายละเอยีดดังตอไปนี ้

Page 2: กระบวนการผลิตสื่อสิ่งพิมพacademic.udru.ac.th/~samawan/content/PrintMedia.pdf · เอกสารประกอบการเรียนวิชาการผล

เอกสารประกอบการเรียนวชิาการผลิตสื่อส่ิงพิมพในงานธุรกิจ 2

ตัวเรียงพิมพ ตัวเรียงพิมพ เปนตัวอักษรซึ่งใชภาพประกอบเปนขอความในสื่อส่ิงพิมพ ผูออกแบบ

จะตองศึกษาขัน้ตอนในการสรางตัวพิมพ ดังตอไปนี ้ชนิดการเรียงตัวอักษร - ชนิดของการเรียงพิมพตัวอักษร แบงออกไดเปนหลายลักษณะ

ไดแก - การเรียงพิมพโดยใชมือ เปนการเรียงตวัอักษรจากตวัพิมพในระบบเลตเตอรเพรสสมาจัด

ใหเปนคํา เปนประโยค เปนบรรทัด และเปนหนาแลวนาํไปพิมพบนกระดาษตนฉบบั การเรียงพิมพลักษณะจะมีขอเสียคือเปนการเสียเวลานาน โดยตนฉบบัขนาด 8 หนายก หนึ่งหนาจะใชเวลาเรียงพิมพประมาณ 1 ช่ัวโมงและตัวอักษรที่ไดอาจมีรอยหักบิ่นไมชัดเจนได

- การเรียงพิมพดวยแสงจากเครื่องคอมพิวเตอรกราฟก วิธีนี้เปนวิธีที่นยิมใชกนัมากที่สุด

สําหรับการสรางตนฉบับการพิมพในระบบออฟเซ็ต เนื่องจากสามารถเรียงพิมพไดรวดเร็ว เชน ตนฉบับขนาด 8 หนายกหนึง่หนาจะใชเวลานาน 15-20 นาที และตวัอักษรที่ไดจะมคีวามประณีตชัดเจนมาก ทั้งยังมีแบบของตัวอักษรใหเลือกไดหลายรูปแบบและหลายขนาดตามตองการ - การเรียงพิมพดวยเครื่องพมิพไฟฟา ในปจจุบันเครื่องพมิพดีดไฟฟาไดพัฒนาแถบริบบอนเพื่อใหไดตวัอักษรที่มีความคมชัดจนสามารถนํามาใชเปนตนฉบับได แตเครื่องพิมพดดีไฟฟาจะมีขอจํากัดในการเปลี่ยนแบบและขนาดของตวัอักษร ตลอดจนความไมสะดวกในการกั้นคอลัมน แตการเรียงพิมพดวยวิธีนี้เปนการประหยดัมากกวาวิธีการอืน่ๆ - การเรียงพิมพจากตวัอักษรลอก เปนตัวพมิพบนกระดาษไข เมื่อตองการตัวอักษรใดสามารถเลือกวางทาบตนฉบับแลวฝนใหตัวอักษรหลุดลงมาติดบนตนฉบับ วิธีนี้จะเสียเวลาในการทํางานมาก จึงเหมาะสมสําหรับกรณีที่ตองการใชตัวอักษรเปนพิเศษ เชน หัวเร่ือง ในปริมาณที่ไมมากนัก

Page 3: กระบวนการผลิตสื่อสิ่งพิมพacademic.udru.ac.th/~samawan/content/PrintMedia.pdf · เอกสารประกอบการเรียนวิชาการผล

เอกสารประกอบการเรียนวชิาการผลิตสื่อส่ิงพิมพในงานธุรกิจ 3

- การเรียงพิมพจากเครื่องคอมพิวเตอร เปนการสรางตัวอักษรจากเครื่องพิมพตัวอักษร (Printer) ซ่ึงมีลักษณะเปนจดุเรียงตอกนั การเรียงพิมพตวัอักษรดวยวิธีการนี้สามารถเก็บตนฉบับไวในแผนบนัทึกความจําคอมพวิเตอรทําใหสะดวกตอการแกไขตนฉบับและการนํามาสัง่ใหม ทําใหสามารถใชพิสูจนอักษรไปในตัวดวย 2. เลยเอาต (Lay Out) โดยทั่วไปจะใชคําวาเลยเอาต เพือ่ส่ือความหมายในการออกแบบทางการพิมพได 2 นัย โดยนยัแรกหมายถึง แบบรางที่นักออกแบบจะสรางขึ้นตามแนวคดิทางการออกแบบที่เกิดในจินตนาการใหออกมาเปนรูปธรรม เพื่อนําเสนอลูกคาพิจารณาและตกลงยอมรับกอนที่จะใชเปนตนแบบในการจดัทําอารตเวิรกตอไป ขั้นตอนของการจัดทําเลยเอาตนีก้็อาจเรียกวา การเลยเอาตได จึงเปนความหมายอีกนัยหนึ่งของเลยเอาต ลักษณะของเลยเอาต

เลยเอาตของสิ่งพิมพใดๆก็ตาม มักจะมีลักษณะเปนลายเสนหยาบๆแสดงตําแหนงและขนาดของสวนประกอบตางๆในการออกแบบ เชนตัวอักษร ภาพ และลวดลายตางๆที่ตองการใหปรากฎบนหนาสิ่งพิมพ ลักษณะลายเสนที่ขดีเขียนบนเลยเอาตจะหยาบหรือละเอียดขึ้นอยูกับประเภทของเลยเอาตที่สรางขึ้นในขั้นตอนตางๆของการออกแบบ

1. ขั้นจัดทําเลยเอาตขนาดจิว๋ ขั้นจดัทําเลยเอาตขนาดจิว๋หรือที่เรียกวา ธัมเนลสเก็ตซ (Thumbnail Sketch) เปนขั้นของการรางแนวความคดิเบือ้งตน จากขอมูลตางๆที่ไดจากการศึกษาขอมูล โดยรางสวนประกอบตางๆที่จะปรากฏบนปกเอกสารการรางนี้เปนดนิสอคราวๆที่ยังไมลง รายละเอียดมากนัก เพื่อแสดงตําแหนงของชื่อเอกสารการสอน ภาพประกอบ และขอความอื่นๆ การรางเลยเอาตขนาดจิว๋นี้อาจจะรางบ นกระดาษขนาดใดก็ได โดยมากจะรางในขนาดที่เล็กกวางานพิมพจริงมาก เพียงแตยงัคงสัดสวนทีถู่กตองไว ประโยชนของการจัดทําเลยเอาตขนาดจิว๋ ก็คือการถายทอดความคิดแรกออกมาไดทนัที รวดเร็ว และประหยดั สามารถทดลอง รางมาหลายๆแบบ เปนการรางคราวๆที่ทําไดเร็ว นักออกแบบจึงมอิีสระในการออกแบบ เมื่อเกดิความคิดใหมๆขณะรางแบบก็สามารถ รางแบบเลยเอาตใหมไดทันท ี

2. ขั้นจัดทําเลยเอาตหยาบ เมื่อไดเลยเอาตขนาดจิว๋มาหลายๆแบบ นักออกแบบก็พจิารณาเลือกบางแบบที่เห็นวาเหมาะสมมาปรับปรุงใหมีรายละเอียดเพิ่มขึน้เปน เลยเอาตหยาบโดยจะมีขนาดที่ใหญขึ้น หรืออาจมีขนาดเทากับงานพิมพจริง ช่ือเอกสารการสอนก็จะรางเปนแบบตวัอักษรชัดเจนขึ้น รายละเอียดของภาพประกอบมมีากขึ้น ตําแหนงของการจัดวางสวนประกอบตางๆๆจะชัดเจนแนนอนมากขึ้น การรางบนเลยเอาตหยาบอาจใชดินสอที่มีใสเกรดตางๆเพือ่แสดงน้ําหนกัสีของสวนประกอบตางๆจะชัดเจน แนนอนมากขึ้น การรางบนเลยเอาตหยาบอาจใชดินสอ

Page 4: กระบวนการผลิตสื่อสิ่งพิมพacademic.udru.ac.th/~samawan/content/PrintMedia.pdf · เอกสารประกอบการเรียนวิชาการผล

เอก

ที่มีใน้ําหปากลักษ

ซ่ึงพิลักษตัวอัที่จะเหมอืเลยเจริงบ

เอาตขั้นตสําหของจัดทํ

เปน จัด วสวนหนัง

กสารประกอบ

ใสเกรดตางๆเหนกัสีออน ไสกาสีเพิ่มเติม ษณะที่จะนาํไป

3. ขั้นจดัพิจารณาแลววษณะใกลเคียงอักษรของขอคะปรากฏ บนส่ิอนจริง ถามภีอาต การจัดวบน ส่ิงพิมพ ข

เลยเอาต การจัดทํ

ตแตละคนอาจตอน แตบางคหรับสิ่งพิมพจึการออกแบบทําสมัยนยิม แ

ดัมมี่ (Du 2 นัย คือ นยัวางหนาสิง่พิมนคําวา "เลยเองสือพิมพกบั

บการเรียนวชิา

เพื่อแสดงน้าํหสเกรด 2B สํารายละเอียดสปใชงานตอไปดทําเลยเอาตสวาเหมาะสมที่กับผลงานพมิความตางๆกจ็ส่ิงพิมพสําเร็จภาพจริงอยูแลางสวนประกขนาดเลยเอาต

ตจิว๋

าเลยเอาตเปนจจะมีเทคนคิเนอาจจะสรางงไมจําเปนตอบ เทคนิคการทละเทคโนโลยีummy) ความยหนึ่ง " ดัมมี่"มพ แตคําวา "าต" มักนิยมในิตยสาร-วาร

าการผลิตสื่อส

หนักสีของสวหรับเสนเขมสวนที่เปนสีไดปมากกวาจะเสมบูรณ ขั้นจัสุดมาปรับปรมพสําเร็จมากะมีการวาดห ื สําหรับภาพปวก็อาจจะสําเอบตางๆก็จะต ก็จะเปนขน

นกระบวนการเฉพาะของตนงตําแหนงขอองจัดทําตามขัทํางานของนกัยีสมัยใหม มหมายของคํา มีความหมาย

" ดัมมี่" มักนยิใชกับสิ่งพิมพรสาร

ส่ิงพิมพในงา

วนประกอบ เชหนาซึ่งตองกด การจัดทําเลเปน การทดลจัดทําเลยเอาตรุงใหมีความชัที่สุดเพื่อใชนํรือเรียงพิมพใประกอบตางเนาภาพนั้นตดิะจัดลงในตําแนาดเทากับสิ่งพ

เลยเอาตหยาบ

รทางศิลปะทีม่ีนเอง เชนบางคงภาพและตัวขั้นตอนดังกลกออกแบบวัต

าวา " ดมัมี่" ใยเชนเดียวกับยมใชกับสิ่งพิพจําพวกหนังสื

นธุรกิจ

ชนไสเกรด Hการน้ําหนักสีเลยเอาตหยาบจองออกแบบ สมบูรณ เปนชัดเจน มีรายลนาํเสนอผูวาจาในแบบและขๆก็จะมกีารวดบน หนงจริง มีกาพิมพจริง

มีความซบัซอคนอาจจะทํางอักษรในควาาวตามลําดับกตถุประสงคขอ

นการจัดทําส่ิคํา " เลยเอาตมพจําพวกหนสือเลม และส่ิ

HB สําหรับเสเขมมากขึ้น แจะเปนการรา

นขั้นของการทํละเอียดที่สมบูางหรือลูกคา ขนาดตัวอักษราดและระบาย

ารลงสีตางๆที

เลยเ

อน นักออกแบงานตามขั้นตมคดิ แลวลงมืกไ็ด ทั้งนี้ ขึน้องผูวาจาง คา

ส่ิงพิมพ" ดมัมี่ต" คือเปนตนแนงัสือพิมพ นิสิงพิมพอ่ืนๆ ที

สนบาง ซ่ึงตองละอาจมีการใงเพื่อใหเห็น

ทําเลยเอาตหยบูรณมากขึ้น จสวนที่เปน รเหมือนกับอัยสีใหมีลักษณ

ที่ตองการใหพิ

เอาตสมบูรณ

บบผูจัดทําเลยอนครบทุกมือจดัทําเลยเอนกบัสถานการใชจายในการ

มี" มีความหมาแบบการ นติยสาร วารสที่มิใช

4

งการใช

ยาบจนมี

ักษรณะ

พิมพ

อาตรณร

าย

สาร

Page 5: กระบวนการผลิตสื่อสิ่งพิมพacademic.udru.ac.th/~samawan/content/PrintMedia.pdf · เอกสารประกอบการเรียนวิชาการผล

เอกสารประกอบการเรียนวชิาการผลิตสื่อส่ิงพิมพในงานธุรกิจ 5

นัยที่สอง "ดัมมี่" หมายถึง " แบบจําลองสิ่งพิมพ" ที่แสดงรายละเอียด ขององคประกอบตางๆองคประกอบสําคัญของหนาการลําดบัเนื้อหา ลักษณะการพับ การเก็บเลมและแสดงรายละเอียดอืน่ๆเพื่อใหเปนตนแบบในการจัดทําสิ่งพิมพนั้นๆ

เพื่อใหผูที่เกี่ยวของกับการผลิตสิ่งพิมพในทุกขั้นตอน สามารถเขาใจถูกตองตรงกันและ

เปนไปตามแบบที่ผูออกแบบสิ่งพิมพตองการ ผูออกแบบควรจะไดจดัทาํดัมมี่ เพื่อแสดงลักษณะจําลองของสิ่งพิมพที่ออกแบบไวแลวนั้นทัง้เลม โดยอาจจะทําแบบยอสวน หรือขนาดเทาของจริงก็ได แตตองใหมีรายละเอียดสมบูรณเพื่อทีจ่ะใหผูที่เกีย่วของสามารถเขาใจไดถูกตองและสามารถปฏิบัติงานไปไดอยางราบรืน่

3. ความหมายของอารตเวิรก(ArtWork)

อารตเวิรก หมายถึง ช้ินงานตนแบบซึ่งจะนําไปใชเปนตนแบบทางการพิมพ สงใหโรงพิมพดําเนนิการถายภาพงานพิมพ เพื่อทําเปนฟลมหรือแมพิมพตอไป การจัดทําอารตเวิรกจะจดัทาํบนกระดาษทีม่ีขนาดเทากับขนาดของสิ่งพิมพสําเร็จที่ตองการ โดยจะจัดวางตวัอักษรและภาพตามขนาดจริง ลงในตําแหนงที่ถูกตองตามเลยเอาตสมบูรณเนื่องจากอารคเวิรกที่จดัทําสําเร็จ จะใชเปนตนฉบับในการถายภาพงานพิมพ ดังนั้นผูรับผิดชอบจัดทําอารตเวิรกจงึตองคํานึงถึง ความประณีต ความสะอาด และความสะดวกที่จะนําไปใชถายเปนฟลมดวย รวมทั้งระบบการพิมพที่ใชดวย ความสําคัญของอารตเวิรก

การจัดทําอารตเวิรกจะตองคํานึงถึงความปราณีต ความสะอาด และสะดวกในการนาํไปถายฟลม ฉะนัน้ การทําอารตเวิรก ที่ดีจึงเปนขั้นตอนสําคญัที่สุดในอันที่จะใหผลงานพิมพออกมาสมบูรณตามความตองการของลูกคาและนกัออกแบบ หากจัดทําอารตเวริกผิดพลาด กจ็ะนําความเสียหายใหกับงานพิมพได อารตเวิรกจึงมีความสําคัญตอกระบวนการผลิตสิ่งพิมพ หลายประการ คือ

Page 6: กระบวนการผลิตสื่อสิ่งพิมพacademic.udru.ac.th/~samawan/content/PrintMedia.pdf · เอกสารประกอบการเรียนวิชาการผล

เอกสารประกอบการเรียนวชิาการผลิตสื่อส่ิงพิมพในงานธุรกิจ 6

1. ใชเปนตนแบบเพื่อทําฟลมและแมพิมพ ในกระบวนการพิมพออฟเซ็ตจําเปนตองมฟีลมและแมพมิพเพื่อใชในเครื่องพิมพ ให

สามารถพิมพออกมาบนวัสดุใชพิมพได ซ่ึงการที่จะทําออกมาใหเปนฟลมและแมพิมพนั้น จําเปนตองมีตนแบบที่มีการจัดวางสวนประกอบตางๆอยางถูกตองตามเลยเอาตที่นักออกแบบจดัทําไว โดยเฉพาะเมื่อมีการเรียงพิมพดวยแสง ซ่ึงจะเรียงพิมพตัวอักษรออกมาบนกระดาษไวแสง ภาพประกอบก็ตองมีการจัดทําแยกออกตางหาก จากนั้นจึงนําสวนประกอบตางๆมาปะติดเขาดวยกัน เปนอารตเวิรกดังกลาวมาแลว อารตเวิรกที่ดีควรเปนอารตเวิรกที่สามารถนําไปใชถายภาพทางการ พิมพไดทันทีโดยไมเกิดปญหายุงยากภายหลัง

2. ใชส่ือสารขอมูลเกี่ยวกับวธีิการผลิตสําหรับสิ่งพิมพนั้น บนอารตเวิรกควรมีการเขียนคําสั่งตางๆของการถายภาพทางการพิมพ การแยกส ีการ

ประกอบฟลม และการพิมพเพื่อใหชางปฏบิัติงานสามารถผลิตสิ่งพิมพไดอยางถูกตองตามที่นักออกแบบตองการ เชนหากตองการยอขยายขนาดภาพ ใสทินทในกรอบสี่เหล่ียม พิมพสีพิเศษ ก็ตองเขียนคําสั่งตางๆนั้นกํากับบนอารตเวิรกอยางชัดเจนและครบถวน

Page 7: กระบวนการผลิตสื่อสิ่งพิมพacademic.udru.ac.th/~samawan/content/PrintMedia.pdf · เอกสารประกอบการเรียนวิชาการผล

เอกสารประกอบการเรียนวชิาการผลิตสื่อส่ิงพิมพในงานธุรกิจ 7

การจัดทําอารตเวิรกโดยใชคอมพิวเตอร ปจจุบันมีการจัดทําอารตเวิรกโดยใชคอมพิวเตอร โปรแกรมสําเร็จรูปเชนโปรแกรมเพจเมกเกอร (Page Maker) โปรแกรมAdobe InDesign ซ่ึงชวยลดขั้นตอนตางๆที่ยุงยากแตกอนลงทําไดสะดวก รวดเร็วและมีความแมนยําในการวางตําแหนงองคประกอบทุกอยางถูกตองไดฉากมากขึ้นและยังสามารถมองเห็นลักษณะหนาอารตเวิรกที่จัดเรียบรอยแลวบนหนาจอคอมพิวเตอรไดกอนที่จะพิมพออกมาเปนแผนอารตเวิรก ซ่ึงทําใหแกไขไดงายและสะดวกรวดเร็วกวาแตกอน ขั้นตอนวิธีการทําอารตเวิรกโดยใชคอมพิวเตอรจะกําหนดระยะหางกรอบกระดาษทางซายและขวาแนวตั้งแนวนอน จํานวนคอลัมน ขอความที่ตองการ และผูทําก็สามารถจัดวางสวนประกอบตางๆ ลงบนอารตเวิรกไดโดยนําไฟลขอมูลตัวอักษรที่พิมพไวแลวจาก โปรแกรมอื่นมาจัดวาง ผูจัดทําสามารถแกไขไดทุกขั้นตอนจนเปน ที่พอใจ หากรูปแบบ การจัดวางแตละหนาซํ้าๆกัน ก็ไมจําเปนตองทําใหมทุกหนา เพราะโปรแกรม คอมพิวเตอรจะ ชวยสรางหนาแมแบบ (Master Page) ให และยังสามารถ ใสเลขหนาบนหนาอารตเวิรกไดโดยอัตโนมัติ เมื่อจัดทําเรียบรอยแลวจะบันทึกขอมูล อารตเวิรกนั้นไวในเครื่องหรือจะเก็บไวในแผนดิสกหรือจะพิมพออกมาใช งานไดเลย ซ่ึงเปนการประหยัดวัสดุที่ใช และคุณภาพของงานก็สูงขึ้นดวย

4. ภาพที่ใชในการพิมพ ภาพเปนสื่อซ่ึงใหความหมายไดรวดเร็ว และมีลักษณะแตกตางกับสื่อประเภทคําพดูหรือตัวหนังสือ เพราะนอกจากภาพจะเปนสื่อความหมายแทนสิ่งอื่นแลว ยงัเปนสื่อความหมายในตวัเองอีกดวย บางครั้งเราไมอาจใชตัวหนังสอืบรรยายไดดกีวาการใชภาพ เหตุการณบางอยางอาจใชภาพประกอบกับคําบรรยายเพียงเล็กนอย หรือไมมีคําบรรยายก็สามารถจะถายทอดความหมายของเหตุการณนั้นไดดี ทั้งนี ้ยอมขึ้นอยูกับชนดิของขาวสาร เนื้อหาความนาสนใจ คณุภาพ และลักษณะของภาพดวย จุดสําคัญของการพัฒนาภาพนั้นกเ็พื่อ "การสื่อความหมาย" นั่นเอง ถานําภาพและคํา (Word) มาประกอบกนัเพื่อส่ือความหมายก็จะทําใหเขาใจความหมายไดมากขึ้น หรือเรียกวาใชส่ืออยางมีประสิทธิผล (Effective Communication) ในการทาํหนังสือพิมพ นิตยสาร วารสาร จําเปนมากที่จะตองใชภาพ และผูใชจําตองรูวิธีการใช เลือกหรือการตกแตงภาพ

Page 8: กระบวนการผลิตสื่อสิ่งพิมพacademic.udru.ac.th/~samawan/content/PrintMedia.pdf · เอกสารประกอบการเรียนวิชาการผล

เอกสารประกอบการเรียนวชิาการผลิตสื่อส่ิงพิมพในงานธุรกิจ 8

แหลงท่ีมาของภาพ ภาพที่ปรากฏในหนังสือพิมพ นิตยสาร วารสาร มีมากมาย ภาพเหลานี้จะไดมาจากแหลงตางๆ กันคือ 1. จากชางภาพประจํากองบรรณาธิการ 2. จากชางภาพอิสระ 3. จากชางภาพมืออาชีพ 4. จากหนวยงานประชาสัมพันธ สรุปแลว หนังสือพิมพ นิตยสารใหมๆ มักจะมีชางภาพประจํากองบรรณาธิการ ซ่ึงมอบหมายใหไปถายภาพตามที่ตองการไดตลอดเวลา โดยระบุใหไดภาพที่เหมาะสมกับเนื้อหาและในมุมตางๆสวนในนติยสารฉบับเล็กๆอาจจะไมจางชางภาพประจํา แตอาจจางเปนครั้งคราว คือมอบหมายใหชางภาพมืออาชีพ เชน ชางถายภาพ หรือชางภาพรับจางไปถายภาพตามที่ตองการ แลวจายคาตอบแทนเปนครั้งๆไปตามที่ตกลงกนั นอกจากนั้น ชางภาพอิสระหรือชางภาพสมัครเลนที่มีฝมือในการถายภาพดีๆก็อาจเปนแหลงภาพดีๆได นิตยสารหรือวารสารยังไดรับภาพจากหนวยงานองคการประชาสัมพันธตางๆอีกมากที่สงมาให เพื่อผลทางการประชาสัมพันธ เชนจากการทองเทีย่วแหงประเทศไทยเปนตน

วัสดุภาพทั้งหลายที่ประกอบขึ้นเปนภาพนั้น เรียกรวมวา "Art" และ "Art" นี้แยกออกเปนภาพ ที่ไดมาจากการสรางภาพ 2 ประการสําคัญ คือ

1. ภาพที่ไดจากการถายภาพ (Photograph) คือ ภาพที่ไดมาจากการใชกลองถายภาพ (Camera) โดยมีสวนประกอบตางๆ เชน ฟลม น้ํายาเคมี กระดาษและผานกระบวนการสรางภาพในหองปฏิบัติการสรางภาพขึ้นมา เรียกวา "ภาพถาย" 2. ภาพที่ไดจากการเขียนภาพ (Hand Art) จะเปนการสรางภาพหรือตกแตงภาพโดยจติกร (Artist) หรือผูเขียนภาพสมัครเลนก็ได จะเปนภาพลายเสน ภาพสี แผนที่ กราฟ แผนผัง หรือภาพประกอบคํา ภาพดงักลาวรวมเรยีกวา "ภาพเขยีน"

ประเภทของภาพ ภาพประกอบตามลักษณะของการใชเทคนิคการพิมพ คือ 1. ภาพลายเสน (Line Illustration หรือ Line Art) ภาพลายเสนเปนภาพประกอบที่มนีํ้า

หนักสีเพยีงสีเดียวเทานั้น ไมมีความลดหลั่นของน้ําหนกัสีเทาบริเวณของภาพนั้น ภาพที่เกิดขึ้นก็เกิดจากสวนของเสน และบริเวณที่มีสีโทนสีเดียวกันหมดแบบเดยีวกบัตัวอักษร ตวัอยางของภาพ

Page 9: กระบวนการผลิตสื่อสิ่งพิมพacademic.udru.ac.th/~samawan/content/PrintMedia.pdf · เอกสารประกอบการเรียนวิชาการผล

เอก

ลายเเงา

ตนฉสกรีสกรี การพเปอร การถ

ละเอีการส กเลนสคํานึควบ กตนฉการถเปนไปด

กสารประกอบ

เสน เชน แผน

2. ภาพฮฉบับ กลองถารีนนี ้จะมีขนารีน" นี้อัดบนแ

3. ภาพสพิมพ ภาพสกรเซ็นต

ถายภาพทางกการถายภ

อียดของภาพตสรางภาพใหปการถายภาพทสถึงระนาบฟึงถึงอุณหภูมิ

บคุมใหไดฟลมการถายภาพลฉบับมีลักษณะถายภาพฮาลฟตน โดยใชแผดวยจุดดําเล็กๆ

บการเรียนวชิา

นภูมิ กราฟ แผ

ฮาลฟโทน (Hายทําบล็อก (Pาดเล็กบางโตบแผนโลหะ (Plสกรีนจะมีควากรีนมักจะเพิม่

การพิมพ ภาพทางการพิตนฉบับลงบนปรากฏบนฟลทางการพิมพตฟลม ตลอดจน การเคลื่อนไหมที่มีคุณภาพตลายเสน เปนกะไมเปนโทนฟโทน เปนกาผนสกรีนกัน้แๆ ที่เรียกวาเม็

าการผลิตสื่อส

ผนผัง หรือภา

Halftone) บาProcess Cameบางลดหลั่นกัlate) ที่มีความามเขม (Densมความเขมครัง้

พิมพ (สมชาย นฟลม อุปกรลม ตองคํานึงถึงรนปริมาณแสงพหวของน้ํายา ตามที่ตองการการถายภาพจาตอเนื่อง ารถายภาพจากแสงจากตนฉบดสกรีน

ส่ิงพิมพในงา

าพที่เขียนดวย

งทีก็เรียก "ภาera) จะไดภาพกนัตามความเขมไวแสง เพื่อทity) ตางกัน โงละ 10 เปอร

ศฤงดารินกุลณลางฟลม แ

ระยะทางระหพอเหมาะทีจ่ะ และเวลาที่ใชร ากตนฉบับที่เ

กตนฉบับที่มีบับที่จะไปตก

นธุรกิจ

ยเสนปากกา ดิ

าพสกรนี" ทาํพที่มีเม็ดสกรีขมสีของภาพทําเปน "แมพิโดยคิดความเขเซ็นต และกาํ

ล 2533 : 56) หละน้ํายาลางฟ

วางตนฉบับถึะตกลงบนฟลชในการเคลื่อน

เปนลายเสน เ

โทนตอเนื่องกบนฟลม ทําใ

ดนิสอ พูกัน โ

าไดโดยการถานเต็มทั้งแผน

พตนฉบับนั้น พมิพ" ใชตีพิมขมเปนจํานวนาหนดความเข

หมายถึง การบฟลมเปนองคป

ถึงเลนส และรลมดวย สวนกนไหวของน้ํา

เชน ตัวหนังสื

เชน ภาพถายใหเกิดภาพเน

โดยไมมีแสงแ

ายภาพจากนภาพนั้นและเแลวนํา "ภาพพตอไปได นเปอรเซ็นตใขมสงูสุดเปน

บันทึกลายประกอบที่ใช

ระยะทางระหการสรางภาพตายาสรางภาพเ

สือ ภาพวาดเส

ย ภาพวาดสีน้ํนกาทีฟที่ประก

9

และ

เม็ดพ

ใน10

ชใน

หวางตองเพื่อ

สน

น้าํ กอบ

Page 10: กระบวนการผลิตสื่อสิ่งพิมพacademic.udru.ac.th/~samawan/content/PrintMedia.pdf · เอกสารประกอบการเรียนวิชาการผล

เอกสารประกอบการเรียนวชิาการผลิตสื่อส่ิงพิมพในงานธุรกิจ 10

การถายภาพทางการพิมพ เปนขั้นตอนหนึ่งในกระบวนการเตรียมการพมิพ กลาวคืออารตเวิรก (Art Work) ที่เปนตัวหนังสือลายเสน และภาพประกอบที่เปนโทนตอเนื่อง (Continuous Tone) จะถูกนํามาถายฟลมดวยขั้นตอนที่แตกตางกัน เพื่อถายทอดรายละเอยีดของตนฉบับลงบนฟลม ฟลมที่ถายจากตนฉบับที่เปนลายเสนจะนํามาประกอบเขากับฟลมฮาลฟโทน (Halftone) ที่ถายจากตนฉบับที่เปนภาพโทนตอเนือ่ง ในขั้นตอนประกอบฟลมตามอารตเวริกที่ออกแบบไวกอนที่จะนําไปทําแมพมิพเพื่อใชพิมพตอไป 5. ตัวอักษรไทย ตัวหนังสือไทยมีลักษณะเปนตัวอักษร พอขุนรามคําแหงมหาราชไดทรงประดิษฐตัวอักษรไทยขึ้นในป พ.ศ.1826 โดยทรง เอาแนว ความคิดของทั้งตัวอักษรมอญและขอมมาใชประกอบในการประดิษฐ ซ่ึงมีหลักฐานปรากฏอยูในปจจบุัน คือ ศิลาจารึกพอขุนรามคําแหง มหาราช ซ่ึงนับวาเปนตัวหนังสือไทยแบบแรกที่สรางขึ้นเพื่อใชเขียนภาษาไทย ไดมีการนาํตัวหนังสือไทยมาจัดเปนตวัพิมพ และพมิพขึ้นเปนครัง้แรกในประเทศพมา โดยภรรยาของบาทหลวงชาวอเมริกัน ในปพ.ศ.2360 ตัวพิมพนี้ไดมกีารนาํไปใชพิมพในอินเดยี ตอมาไดมีการนําตวัพิมพตัวอักษรไทยและแทนพิมพเขามาในประเทศไทย และไดจดัพิมพหนังสือไทยขึ้นในเมืองไทยไดเปนครั้งแรก ในวันที่ 3 มิถุนายน พ.ศ.2379 การปรับปรุงตัวอักษรไทยเปนตัวพิมพอักษรไทย ไดถือการถอดแบบออกจากตวัเขยีนเปนหลัก ดังนัน้ลักษณะตวัพมิพและตัวเขียน ของอักษรไทยมีรูปแบบอยางเดียวกัน โครงสรางพื้นฐานแบบตัวอักษรไทย

แมเราจะมตีัวอักษรไทยใชกนัจนถึงปจจุบนัมากวา 700 ปแลวก็ตาม แตการกําหนดรปูแบบตัวหนังสือวาที่ถูกตองจริงๆเปนอยางใด กย็ังไมมีการกําหนดกัน ในทีน่ี้ไดแบงตัวอักษรไทยออกเปน 2 แบบ คือแบบตัวอักษรไทยสําหรับผูเขียน และแบบตวัอักษรไทยสําหรับ ตัวพิมพ ในทีน่ี้จะกลาวถึงเฉพาะตวัพิมพเทานั้นแบบตวัอักษรไทยแบงตามลักษณะการใชงานไดเปน ประเภทใหญๆ ได 2 ประเภท คือ

1. แบบตัวพิมพที่แบงตามลกัษณะของตวัพิมพ มีดังนี ้แบบตัวพิมพเนื้อเร่ือง (Book Face) ก. ตัวธรรมดา คือ แบบตัวพิมพที่มีเสนสมํ่า

เสมอเทากันตลอดทั้งตัวอักษรและเปนตัวอักษรที่มีเสนบนเปนเสนโคง ดังภาพ

Page 11: กระบวนการผลิตสื่อสิ่งพิมพacademic.udru.ac.th/~samawan/content/PrintMedia.pdf · เอกสารประกอบการเรียนวิชาการผล

เอกสารประกอบการเรียนวชิาการผลิตสื่อส่ิงพิมพในงานธุรกิจ 11

ข. ตัวเหล่ียม คือ แบบตัวพมิพที่มีเสนสมํ่า

เสมอเทากันตลอดทั้งตัวอักษร และเปนตวัอักษรที่มีเสนบนหักเปนเหล่ียม ดังภาพ

ค. ตัวฝร่ังเศส เปนตัวพิมพทีม่ีรูปแบบที่มีเสน

หนาเสนบางในตัวพิมพ ซ่ึงมีลักษณะเสนเลียนแบบจากการเขียนดวยปากกาเขยีนโลหะ ปาการคอแรงที่เขียนลงบนกระดาษ มสีวนนํ้าหนักเสนเบาในตวัหนังสือ ตัวหนังสอืจะดูมีเสนเปนสีดาํมากกวาตัวพมิพที่เปนตวัธรรมดาหรือตัวเหล่ียม ดังภาพ

2. แบบตัวพิมพที่แบงตามขนาดของตัวพมิพ มีดังนี ้ ก. ตัวธรรมดา เปนขนาดตวัพิมพที่สรางขึ้นเพื่อใช

ในสมัยที่เปนตัวพิมพพวกรอน คือการสรางตัวพิมพดวยการหลอดวยโลหะเปนตวัๆ มาเรียงกันเปนคํา เปนบรรทัด จัดเขาเปนหนา ตวัธรรมดาตั้งแต 19.5 พอยตจนถึง 21.5 พอยต แตเมื่อไดมกีารเรียงพิมพระบบพวกตวัเยน็ซึ่งไดแกการเรียงพิมพดวยแสง หรือการเรียงพิมพดวยคอมพิวเตอร ตัวธรรมหาสามารถผลิตใหตัวเล็กลง ข. ตัวจิว๋ เปนตัวพิมพที่มีขนาดเล็กใชเรียงเปนตัวเชิงอรรถ (Footnote) หรือเรียงใจความบทความในเนือ้ที่จํากัด สําหรับตัวพิมพตวัพิมพพวกรอน ตัวพิมพที่มีขนาดต่ํากวา 16 พอยต ถือวาเปนตัวจิ๋ว แตในปจจุบันเมื่อใชเพื่อตัว พวกเย็น ตวัจิว๋สามารถทําเล็กลงไปไดมาก ตัวพิมพ 16 พอยต สามารถใชเปนตัวธรรมดาได ค. ตัวกลาง เปนตัวพิมพที่มีขนาด 24 พอยตขนาดเดยีว ลักษณะรูปแบบคงเปนตัวพิมพแบบตัวธรรมดามีเสนสมํ่าเสมอเทากันตลอดตวัอักษร

ง. ตัวโปง เปนตัวพิมพที่มีขนาดใหญกวาตวักลาง จะเรยีก

เปนตัวโปงทั้งหมด แตตอนที่มีการใชตัวพมิพพวกตัวรอน ตัวที่ขนาดใหญากวาตัวกลางมีขนาด 32, 40, 48, 60 และ 72 พอยต เมื่อมีการใชตัวพิมพพวกเยน็ขนาดตัวพิมพจะทาํใหใหญเล็กขนาดใดก็

Page 12: กระบวนการผลิตสื่อสิ่งพิมพacademic.udru.ac.th/~samawan/content/PrintMedia.pdf · เอกสารประกอบการเรียนวิชาการผล

เอก

ไดตสําหหัวขตัวพิอาจมีหนา

ในภผูอาตัวพิตัวพิ

แรกPrinเมื่อพใชไดความตัวพิหนัก นอย สภาลายเ

ตัวพิ

เผยแ

กสารประกอบ

ามความตองหรับหัวเร่ือง ชืขาวโปรยของพิมพกํากับดวยมีช่ือกํากับ เชาเสนบางในตั

3. แบบ

ภาพเปนตวัพมินเปนพิเศษ ใพิมพใหแตกตพิมพหัวเร่ือง แ

วิธีพิมพที

เมื่อประมาณ nting) คือการพิพิมพเสร็จแลวดอีก ตวัพมิพมรูนี้ไป พัฒนพิมพหลอขึ้นมกทีใ่ชในการห

1. ดีบุก เยในการหลอ แ

2. พลวง พดินฟาอากาเสนคมๆได พ

3. ตะกัว่

พมิพในประเทตัวพิมพแ

แพรวิทยาศาส

บการเรียนวชิา

การ เพราะสาช่ือเรื่องของหหนังสือพิมพย เลขกํากับนั้ชน โปงแช เปัวหนังสือ แล

บตัวพมิพตกแมพที่ออกแบบใหมองดูกอน างออกไปจากและตัวพิมพโ

ที่ใชตวัพิมพ (ป พ.ศ. 1584-พิมพที่มีการนวก็เอาตวัพมิพพที่ทําขึ้นโดย นาและไดหลอมาจากโลหะผหลอตัวพิมพปเปนโลหะที่ใหและทําใหตัว เปนโลหะที่ใาศเก็บไดนานพลวงมีราคาค เปนโลหะพืน้

ทศไทย และการพิมพสตรและคําสอ

าการผลิตสื่อส

ามารถยอขยานังสือเปนขอ เปนหวัขาวขั้น คือจํานวนนตัวโปงที่นยิะโปงไมเปน

ตง (Display) บเพื่อเรียกควา อาจสรางโครกรูปแบบตัวพิโฆษณา

(Type) เปนตั-1593วิธีพิมพนําเอาตัวพิมพพเหลานั้นแจกไปเช็งเปนตวัอเปนตัวพิมพผสม โดยอาศยัประกอบดวยโหความเหนยีวพิมพคงทน สึใหความแข็งแนโดยไมเปนสคอนขางสูง นฐาน หลอมห

ถูกนําเขาสยาอนทางศาสนา

ส่ิงพิมพในงา

ยโดยใชเลนสอความในโปสของคอลัมนขพอยตเชน โปยมกันมากระยหัวขาวนําใน

ามสนใจขั้นตรงสรางของพิมพปกต ิใชเ

ัวๆนัน้ ชาวจนีพแบบนี้เรยีกวพเปนตวัๆ มาเกกลับไปเก็บวปนดวยดินเหพ โลหะขึ้นใชยหลอจากแมโลหะ 3 ชนดิวแกตวัพิมพ ใสึกหรอไดยากแกตวัพมิพ ทสนิมเก็บไดนา

หลอใหเปนรู

ามในสมยัรัชกาของมิชชันน

นธุรกิจ

สหรือใชระบบสเตอรในใบปองหนาหนังสืปง 32 โปง 40ยะหนึ่ง เปนตัหนังสือพิมพ

นจาก

ปน

นช่ือไปเชง็ (Pวาการพิมพแบเปนคําเปนปรในชองเก็บดังหนียวแลวเผาชเมื่อประมาณ แบบตัวอักษรดคือ ใหความเหลวก นทานตอแรงานโดยไมเปน

ปรางๆไดงาย

กาลที่ 3 ในฐานารีชาวคริสต

บคอมพิวเตอปลิว ในโฆษณสือพิมพ การเ ี0 แบบตัวโปงตวัพิมพขนาดพ เปนตัวพิมพ

Pi-Cheng) คดิบบตัวเรียง (Mระโยคเปนบรงเดิม และสามาไฟใหแข็งคลป พ.ศ.1993-รหรือแมแบบ

วในการหลอม

งกดของแทนพนสนิม สามาร

ย ราคาถูก

านะที่เปนเคร่ื หนังสือรุนแ

ร ตัวโปงใชณา ใชโปรยเปรียกมักเรียกขที่นยิมกันมาก 48 พอยต มเีขนาด 72 พอ

ดขึ้นไดเปนคนMovable Typeรรทัดและเปนมารถนํากลับมลายอิฐ เกาหลี1946ในปจจุบบทองแดง โลห

ม ใชความรอ

พิมพทนทานรถหลอลวด

รืองมือในการแรกๆ จึงถูก

12

ปนขนาดกๆเสนอยต

นe นหนา มาลีรับบนัหะ

ตอ

Page 13: กระบวนการผลิตสื่อสิ่งพิมพacademic.udru.ac.th/~samawan/content/PrintMedia.pdf · เอกสารประกอบการเรียนวิชาการผล

เอกสารประกอบการเรียนวชิาการผลิตสื่อส่ิงพิมพในงานธุรกิจ 13

เรียกวา "สมุดฝร่ัง" เพื่อใหตางกับ "สมุดไทย" ซ่ึงเขียนดวยมือและทําดวยใบลานหรือขอยตัวพิมพและเทคโนโลยีการพิมพไดรับความสนใจในฐานะที่เปนประดิษฐกรรมอันแปลกใหม

สวนประกอบของตัวพิมพหลอ

ตัวพิมพตวัหลอดวยโลหะทีม่ีมาตั้งแตสมัยของกูเทนเบิรกมีลักษณะ โครงสรางและสวนประกอบไมแตกตางจากตัวพิมพตัวหลอที่ใชในปจจุบัน คือ มีลักษณะเปน 3 มิติ ประกอบดวยลําตัว (Body) มีความสูง ความกวาง และความลึกมีหนาสมัผัสอยูบนสวนบนสุด เปนพัยญชนะ สระ หรือวรรณยุกตใน ลักษณะลําตัวกลับเหมอืนภาพใน กระจกเงาหนาสมัผัส นี้ยกสูงจากฐานหรือบา ตัวพิมพ เปนบริเวณ รับหมึกที่กอใหเกิดภาพเมื่อนําไปกดพิมพ จึงเรียกหนา สัมผัสนี้วา "บริเวณภาพ"(Image Area)และผิวของชานหรือบาที่รับตัว หนังสือ ที่อยูต่ําลงไปไมสามารถรับหมึกและสัมผัสกระดาษได เรียกวา "บริเวณไรภาพ"(Non-Image Area) ตัวพิมพแตละตวัประกอบดวย สวน ละเอียดปลีกยอยมีช่ือเรียกและหนาทีแ่ตกตางกัน

Page 14: กระบวนการผลิตสื่อสิ่งพิมพacademic.udru.ac.th/~samawan/content/PrintMedia.pdf · เอกสารประกอบการเรียนวิชาการผล

เอก

มาต หพอย(โดย

6. ก กเรียง(วันช

สิ่งคส่ิงคระวงั

เพื่อจ

กสารประกอบ

ตราวัดตัวพมิพนวยวัดขนาดยต (Point)โดยยประมาณ) ดั

การใชมาตรา- พอยต เปน- ไพกา เปนห

การพิสูจนอักษการตรวจพิสูจงพิมพทั้งในแชัย ศิริชนะ, 2

1. ตรวจ2. ตรวจ3. ตรวจ

ควรระวังในกาควรระวังในกางไวดังนี้ คือ

1. ตองต2. ตองอ3. ตองร

จับผิดการเรยี

บการเรียนวชิา

พ ดตัวพิมพในปยกําหนดให 1ังมาตราตอไป

าวดัระบบพอนหนวยวัดขนาหนวยวัดควา

ษร (Proof Reจนอักษรมวีตังความสมบูร

2530 : 291) กจขนาดคอลัมนจขนาดตัวพิมพจตวัสะกด การ

ารพิสูจนอักษารพิสูจนอักษ

ตรวจโดยเทยีบอานขอความทระลึกไวเสมอยงพิมพ

าการผลิตสื่อส

ประเทศไทยแล12 พอยต เทากปนี ้

ยต แบงหนาทีาดตัวพิมพ วัดมกวางของคอ

eading) ตถุประสงคที่สณของ การเรีการตรวจพสูินวาตรงกับที่กพและแบบตัวรันต เครื่องห

ษร ษรที่ผูตรวจพสิ

บกับตนฉบับทุกคํา ทุกบรรวาการตรวจพิ

ส่ิงพิมพในงา

ละประเทศอืน่กับ 1 ไพกา(P

ทีก่ารใชดังนี ้ดจากความยาอลัมน (Colum

สําคัญ เพื่อตรยงพิมพ สะกจนอักษรมีส่ิงกําหนดไหหรืวพิมพ ตลอดจมาย คําตกหล

สูจนอักษรตอ

เสมอ รทัด พิสูจนอักษรมิ

นธุรกิจ

นๆ สวนมากใPica) และ 6 ไ

วจากดานหนmn) หรือควา

รวจสอบความด การันต รูปงที่ตองตรวจดัรือไม จนระยะระหวลน วรรคตอน

องตระหนกัไว

มิใชเปนการอา

ใชหนวยวัดตัไพกา เทากับ

นาหรือดานหวัมยาวของบรร

มถูกตองเรียบปแบบ และการดงันี้

วางบรรทัด น โดยยดึถือต

วเสมอ ซ่ึงอาจ

านจับใจความ

ตวัพิมพเปนระ1 นิ้ว

วของตัวพิมพรทัดเรียงพิมพ

บรอยของการรจดัทําอารตเ

นฉบับเปนหล

จสรุปขอควร

ม แตเปนการอ

14

ะบบ

พ พ

วริก

ลัก

อาน

Page 15: กระบวนการผลิตสื่อสิ่งพิมพacademic.udru.ac.th/~samawan/content/PrintMedia.pdf · เอกสารประกอบการเรียนวิชาการผล

เอกสารประกอบการเรียนวชิาการผลิตสื่อส่ิงพิมพในงานธุรกิจ 15

เคร่ืองหมายที่ใชในการตรวจพิสูจนอักษร การใชเครื่องหมายในการตรวจพิสูจนอักษรระหวางผูตรวจพิสูจนอักษรกับผูเรียงพิมพตอง

กําหนดและทาํความเขาใจใหตรงกันระหวางผูตรวจอกัษรกับผูเรียงพมิพไดถูกตอง แตเครื่องหมายที่ใชในการตรวจพิสูจนอักษรยังไมเปนทีย่ตุิ เปน มาตรฐานสําหรับภาษาไทย ฉะนั้นจะใชเครื่องหมายใดก็ตองทําความเขาใจใหตรงกนัระหวางผูตรวจพิสูจนอักษรกับผูเรียงพิมพ

การพสูิจนอักษรเนนในดานความถูกตองการใชภาษา เชน การสะกด การันต การเวน

วรรคผิดที่ การพิมพตัวอักษรผิดขนาด เปนตน รวมทั้งพิจารณาความเรียบรอยทั่วๆไปของชิ้นงาน เชน การขึ้นยอหนาใหม การจัดวางรูปภาพประกอบเรื่อง และคําบรรยายภาพ ทีต่รง กบัตําแหนงที่กําหนดไวในขั้นการวางเลยเอาต รวมทั้งการตัดคําระหวางบรรทัด เพื่อจะไดแกไขกอนสงไปทํา แมพิมพ เนื่องจากถามีความ ผิดพลาดเกิดขึน้แลว การไปแกไขในชั้นแกไขแมพิมพจะเสียคาใชจายสูงกวามาก เพราะในบางกรณีจะตองถายฟลมใหมหมด การพิสูจนตวัอักษรจึงนับเปนขั้นตอนสําคัญตอการจัดทําอารตเวิรกที่มีความถูกตองสมบูรณแบบ

Page 16: กระบวนการผลิตสื่อสิ่งพิมพacademic.udru.ac.th/~samawan/content/PrintMedia.pdf · เอกสารประกอบการเรียนวิชาการผล

เอกสารประกอบการเรียนวชิาการผลิตสื่อส่ิงพิมพในงานธุรกิจ 16

7. การทําแมพิมพ เนื่องจากการพิมพในปจจุบนันิยมระบบการพิมพแบบออฟเซต ซ่ึงการทําแมพิมพเร่ิมตน

ตั้งแตการนําชิน้งานอารตเวิรกมาแยกสีเพื่อใหไดฟลมแลวนําไปถายลงบนแผนสังกะสีเคลือบน้ํายาเคมี เพื่อใหเกดิรูปรอยตามตนฉบับตางกับการพิมพในระบบเลตเตอรเพรสส ซ่ึงการทําแมพิมพเปนเพียงการนําบล็อกโลหะ เชนตัวอักษรที่มกีารจัดทําไวเรียบรอยแลวมาเรียงตอกันตามตนฉบับ

การพิมพสอดสี หมายถึง การพิมพงานสื่อส่ิงพิมพที่มีมากกวา 1 สี ซ่ึงเรียกกันติดปากวา "พิมพส่ีสี"ภาษาอังกฤษเรียกวา "Full-Color" ชางพิมพจะตองทําแมพมิพจํานวน 4 แผน เลทแผนหนึ่งสําหรับพมิพหมึกสีดํา(Black) อีก 3 เพลทสําหรับพิมพสีมวงแดง (Magenta) หมึกพิมพสีเหลือง (Yellow) และหมึกสีฟา (Cyan) เมื่อพิมพหมึกสีทั้งสี่สีนี้ทับกันตามแมพมิพแลว หมึกสีก็จะผสมกันทําใหเกิดภาพสีสวยงาม การพิมพสีทีละสีผสมกันจนไดสีที่ตองการนั้น มีการผสมสีอยู 2 ระบบ คอื ระบบการผสมสีแบบบวก เปนการผสมสี ีที่เราพบเห็นทัว่ไปในธรรมชาติ คือ สีมวง คราม น้ําเงิน เขียว เหลือง แสด แดง เมื่อมาผสมรวมกันก็จะไดแสงสีขาว คือ แสงแดด การผลิตภาพสอีีกระบบหนึ่งเรียกวา ระบบการผสมสีแบบลบ ซ่ึงเปนระบบที่ใชในการพิมพ ระบบนีใ้ชแมสีเปนหลัก และหกัลบกับแสงสีที่สองมาบนกระดาษหรือสองลงมายังฟลมการพิมพสอดสี

การแยกสี การแยกสี (Color Scanning) หมายถึง การนํา

ขอมูลจากตนฉบับภาพสีไปสรางเปนภาพสกรีนบนฟลม 4 ช้ิน เพื่อนําไปทําแมพิมพ 4 แผน สําหรับนําไปพิมพดวยหมึกสีฟา (Cyan) มวงแดง (Magenta) เหลือง (Yellow) และดํา (Black) ลงบนพื้นสีขาว ใหภาพแตละสีซอนทับตรงกันไดเปนภาพสีเหมือนตามตนฉบับการเกดิสีสันในการพมิพภาพสีเกดิจากหมึกสีฟา มวงแดง และเหลือง ภาพพิมพจากหมกึพิมพ 3 สี มีความดําไมเพยีงพอ ภาพจะไมสวยงาม ดังนั้น การพิมพสีดําลงไปในภาพทําใหเกิดความเปรียบตางเพิ่มขึ้นในกรณีที่ภาพประกอบเปนภาพถาย หรือฟลมสไลด เพื่อใหไดภาพสีที่ใกลเคยีงธรรมชาติ ผูออกแบบตองสั่งการใหชางควบคุม การถายเพลท แยกสีจากฟลมไดhถูกตอง ตลอดจนควบคุมปริมาณหรือน้าํหนักของสีทีจ่ะพิมพในแตละเพลท (Printing Plate) (ประชิด ทิณบุตร : 2530) การแยกสีตองอาศัยเครื่องและอุปกรณหลายชิ้น ไดแก เครื่องสแกนเนอร (แบบทรงกระบอกและแบบแทนราบ) เครื่องคอมพิวเตอร ซอฟตแวรโปรแกรมแยกสีเครื่องพิมพบรูฟสี และเครื่องอิมเมจเซตเตอร Imagesetter)

Page 17: กระบวนการผลิตสื่อสิ่งพิมพacademic.udru.ac.th/~samawan/content/PrintMedia.pdf · เอกสารประกอบการเรียนวิชาการผล

เอกสารประกอบการเรียนวชิาการผลิตสื่อส่ิงพิมพในงานธุรกิจ 17

ระบบแยกสี ระบบการแยกสีเพื่อการพิมพสามารถแบงออกเปน 3 ระบบ คือ (สมชาย ศฤงคารินกุล,

2533 : 157) 1. ระบบการแยกสีทางตรง จะมีการถายฟลมมาสกจากตนฉบับกอน แลวนําฟลมมาสกไปกั้นแสงในขณะที่แยกสีและแผนสกรีนเนกาทีฟ เพื่อถายฟลมอีกครั้งฟลมที่ได จะเปนฟลมฮาลฟโทนเนกาทีฟสําหรับใชทําแมพิมพตอไป 2. ระบบการแยกสีทางออม มีขั้นตอนการทําฟลมมาสกจากตนฉบับแลวนําฟลมมาสกไปกั้นแสง เพื่อถายฟลมอีกครั้งผานฟลเตอรแยกสี ฟลมที่ไดเปนฟลมแยกสีเนกาทีฟ ซ่ึงจะมาประกบกับแผนสกรีนเพื่อฉายแสงใหไดฟลมฮาลฟโทนพอสิทีฟเพื่อใชทําแมพิมพตอไป 3. ระบบการแยกสีอิเล็กทรอนิกส เปนระบบการแยกสีที่ใชกันอยูในปจจุบัน เครื่องสแกนเนอรจะอานคาความดําบนตนฉบับจุดตอจุดผานฟลเตอรแยกสี ขอมูลของภาพจะถูก เปลี่ยนเปนสัญญาณไฟฟาปอนเขาคอมพิวเตอร เพื่อวิเคราะหและเปลี่ยนแปลงคาตางๆที่จําเปนสําหรับการผลิตโทนและแกสี แลวสง สัญญาณไปบังคับการฉายแสงลงบนฟลมเปนโทนตอเนื่องหรือฮาลฟโทนของฟลมแยกสีตางๆ การพิมพบูรฟ ในการทําแมพมิพจะตองมกีารบรูฟกอนทําการพิมพจริง เพื่อความสมบูรณเรียบรอย ของแมพิมพในปจจุบันวิธีการบรูฟแมพิมพมหีลายวิธี เชนบรูฟจากแทนบรูฟ และบรูฟดวยดิจิทัล บรูฟ (Digital Proof) นอกจากนีเ้พื่อใหการบรูฟไดงานพิมพที่มีคุณภาพสูง จึงควรสรางมาตรฐาน การบรูฟโดยการทํา "ซีเอมเอส" (Color Management System : CMS) การบรูฟจะตองคํานึงถึงวาภาพที่ไดจากการบรูฟสามารถนําไปพิมพไดจริงบนแทนพมิพ ทั้งนี้ ระบบการพิมพบรูฟจะตองจําลองสถานการณจริงใหมากที่สุด ทั้งเฉดสีหมกึ กระดาษพิมพ เม็ดสกรีน และแรงกดในการพิมพ ในขณะเดียวกนัตองมีการควบคมุคุณภาพของกระบวนการเตรียมตนฉบับอยางแมนยํา เพื่อรักษาความตอเนื่องของผลการบรูฟ

Page 18: กระบวนการผลิตสื่อสิ่งพิมพacademic.udru.ac.th/~samawan/content/PrintMedia.pdf · เอกสารประกอบการเรียนวิชาการผล

เอก

8. ก

ส่ิงพิมีควการพสนอ1. ก คุณภ(นัน

2. ก

ช้ินๆออกเอาไขายตาม

กสารประกอบ

กระดาษ กระดาษ

พิมพ ในปจจุบัวามเหมาะสมพิมพไปมากเองตอบความตการผลิตกระด วิธีนี้มีโอภาพไมดี คณุภทา วิทวุฒศัก

การผลิตกระดในปจจบุั

ๆเอาไปตมเปกจากเครื่องนี้ ไปตัดใหไดขกันเปนน้ําหนแตชนิดของก

บการเรียนวชิา

ษเปนปจจัยหบันนี้การทํากรกับระบบการเทาใด ก็ยิ่งมีตองการของผูดาษดวยมือ อกาสทีจะนําเภาพไมสมํ่าเสกดิ,์ 2529 : 114

ดาษดวยเครือ่งบันนี้พิสดารมนเยื่อ ฟอกใหกระดาษจะผนาดตามมาตนัก โดยเฉลี่ยกระดาษ (วิริย

าการผลิตสื่อส

หลักที่ทําใหเกิระดาษขึ้นใชใรพิมพ การนํามีการคิดคนกผูใชได

อาวัสดดิบชนิสมอ วิธีการผ4)

งจักร มาก สําหรับกหขาว แลวสงานลูกกลิ้งควรฐานไดกระที่ใชกันกระดยะ สิริสิงห, 25

ส่ิงพิมพในงา

กิดการพิมพสิในทองตลาดาไปใชงานแลการทํากระดา

นดิตางๆมาทําลิตชาและเสยี

ระดาษในกางไปเขาเครื่องวามรอนหลายดาษซ้ือขายกัดาษ 1 รีม จ537 : 40 : 41)

นธุรกิจ

ส่ิงตางๆเปน มีหลายชนิด ละความสวยงษใหมีคุณสม

ากระดาษไดอยแรงงานมาก

รพิมพนั้น ใชงทําแผนอัตโยลูกจนแหง เมืกันเปนแผน รจะมี 500 แผ)

คาใชจายหลั และมีคุณภางาม และยิ่งมีมบัติตางๆมาก

อยางกวางขวา

ชเครื่องจักรตั้งนมัติจะใหยามื่อออกจากเควมเรียกวารีมผนขนาดกวาง

ลักในการจัดพพตางๆกัน เพืมีการพัฒนารกขึ้นเทานั้น

างแตได กระด

งแตหั่นชิ้นไมาวเทาใดก็ได คร่ืองก็จะเปนม หรือบางที ีง ยาว มีมาตร

18

พิมพพื่อใหระบบ เพื่อ

ดาษ

มเปน กอนนมวน ีก็ซ้ือรฐาน

Page 19: กระบวนการผลิตสื่อสิ่งพิมพacademic.udru.ac.th/~samawan/content/PrintMedia.pdf · เอกสารประกอบการเรียนวิชาการผล

เอกสารประกอบการเรียนวชิาการผลิตสื่อส่ิงพิมพในงานธุรกิจ 19

การผลิตกระดาษ กระดาษที่ใชมทีั้งชนิดมวนและชนิดแผนดงันี้ 1. กระดาษมวน เปนกระดาษที่ใชสําหรับปอนเขาเครื่องพิมพชนิดปอนมวน ซ่ึงเปนการ ปอนเขาพิมพอยางตอเนื่อง มีเนื้อกระดาษตางๆ กนั ตั้งแตกระดาษบาง กระดาษหนังสือพิมพจนถึงกระดาษอารต ขนาดความกวางของมวนม ี ีใหเลือกใชตามขนาดของเครื่องพิมพ 2. กระดาษแผน เปนกระดาษที่ใชสําหรับปอนเขาเครื่องพิมพชนิดปอนเปนแผน มีชนิดและขนาดตางๆหลายชนดิ ที่นิยมใชในประเทศไทยม ี2 ขนาด คือ 2.1 ขนาด 24 คูณ 35 นิ้ว เมือ่นําไปพิมพแลวจะไดส่ิงพมิพที่มีขนาด มาตรฐานอุตสาหกรรม (International Standard Organization) พอด ีซ่ึงเรียกวาขนาดชุด A3 , A4, A5 2.2 ขนาด 31 คูณ 43 นิ้ว เปนขนาดมาตรฐานเดิมที่ใชกันมานานแลว เครื่องพิมพจะตดัเปน 4 สวน หรือ 2 สวนกไ็ด ซ่ึงถานําไปพับเปนหนังสือแลว จะไดเปนขนาด 8 หนายกพอดี (7 1/2 คูณ 10 1/4 นิ้ว)ในการกําหนดขนาด ของสิ่งพมิพทุกชนิด ตองคํานึง เสมอวาจะใชกระดาษขนาดใด จึงลงตัว และเหลือเศษนอยที่สุด ซ่ึงจะทําใหประหยดัคากระดาษไดมาก 9. หมึกพิมพ

หมึกพิมพเปนวิวัฒนาการของหมึกใชสําหรับเขียน (Writing Ink) เร่ิมแรกที่ประเทศจีนและประเทศอียิปตในป ค.ศ. 400 ชาวจีนชื่อไวตัง (Witang) เปนผูคิดทําหมึกหมึกพิมพขึ้นจากผงเขมาสีดํา (Lamp Black) ในราวศตวรรษที่ 6 ชาวจีนชื่อซูหมิน (Suminne) ไดตั้งโรงงานทําหมึกพิมพขึ้นเปนโรงแรก จนกระทั่งตอนปลายของคริสตวรรษที่ 13 จึงมีการผลิตหมึกเปนอตสาหกรรม และไดมีการศึกษาคนควากันมากขึ้นเพื่อใหไดหมึกที่เหมาะสมสําหรับการพิมพแตละระบบ

ความหมายหมึกพิมพ มานิต มานิตเจริญ ไดใหความหมายไววา น้ําสีที่เอาปากกาจุมมาขีดเขียน มีสีตางๆเรียกชื่อ

ตามสี เชน หมึกเขียว หมึกนํ้าเงิน หมึกดํา หมึกแดง ฯลฯ ปจจุบันมักดูดเขาไปไวในหลอดยางตัวปากกาหมึกซึมดูดครั้งหนึ่งก็เขียนไปไดนานๆไมตองเสียเวลาจุม ของเหลวๆที่ใสในแทนพิมพใชในการพิมพหนังสือและรูปภาพ มีสีตางๆเชน ดํา แดง น้ําเงิน เหลือง ฯลฯ เรียกเต็มวา หมึกพิมพ

องคประกอบของหมึกพิมพ เพื่อใหหมึกพมิพมีคุรมสมบัติที่เหมาะแกการพิมพในสภาพการณตางๆตามตองการ หมึก

พิมพจึงตองมโีครงสรางของสารประกอบตางๆ ที่จะชวยใหหมึกพิมพมีคุณภาพทีด่ ีซ่ึงจะมีองคประกอบดังนี ้1. ตัวเนื้อสี (Pigment) เปนตัวทําใหหมกึมีสีสันแตกตางกัน ซ่ึงจะไดสาร 2 ประเภท ไดแก (โวาท นิติทัณฑประกาศ, 2525 : 70-73)

Page 20: กระบวนการผลิตสื่อสิ่งพิมพacademic.udru.ac.th/~samawan/content/PrintMedia.pdf · เอกสารประกอบการเรียนวิชาการผล

เอกสารประกอบการเรียนวชิาการผลิตสื่อส่ิงพิมพในงานธุรกิจ 20

1.1 สารอนินทรีย (Inorganic Pigment) เปนแรธาตุที่มีอยูในธรรมชาติ เชน ดินสีตางๆสนิมเหล็ก เปนตน คุณสมบัติที่ดขีองเนื้อสีชนิดนี้ คือ มีความทนทาน สีไมซีดจางงาย แตการบดใหเนื้อสีละเอียดทําไดยาก 1.2 สารอินทรีย (Organic Pigment) ไดแก สารที่ประกอบดวยธาตุคารบอน ไฮโดรเจนและออกซิเจน หรือสารอินทรียที่เกิดขึ้นในธรรมชาติจากพืชและสัตว คุณสมบตัิที่ดีของสารประเภทนี้คือ ใหสีหมึกพิมพที่สดใส สามารถบดใหละเอียดไดงาย สามารถบดใหละเอียดไดงาย ไมกดัแทนพิมพ แตมีขอเสียที่คุณภาพสีไมทนทานตอแสงแดดทําซดีจางเร็ว 2. ตัวนํา (Vehicles) ไดแก สารที่ประกอบดวยธาตุคารบอน ไฮโดรเจนและออกซิเจน หรือสารอินทรียที่เกิดขึ้นในธรรมชาติจากพืชและสัตว คุณสมบัติที่ดีของสารประเภทนี้คอื ใหสีหมึกพมิพที่สดใส สามารถบดใหละเอียดไดงาย สามารถบดใหละเอียดไดงาย ไมกดัแทนพิมพ แตมีขอเสียที่คุณภาพสีไมทนทานตอแสงแดดทาํซีดจางเร็ว 3. ตัวทําละลาย (Solvent) เปนสวนที่ชวยใหหมกึเหลวไมแข็งตัวเร็วเกนิไปจนเปนอปุสรรคตอการพิมพ เชนหมึกพิมพติดบนลกูกลิ้ง (Cylinder) ตัวทําละลายนี้สวนใหญจะเปนน้าํยาเคม ีหรือน้ํามันจําพวกน้ํามันสน น้ํามันกาด เปนตน 4. ในการพิมพดวยเครื่องจกัรที่มีความเรว็ในการพิมพสูง หมึกพิมพจําเปนตองแหงเร็ว เพื่อจะไมทําใหเกิดหมกึไปติดบนบนดานหลัง ของกระดาษพิมพแผนถัดไป ซ่ึงเรียกวา "การซับหลัง" ดังนั้นหมึกพิมพจําเปน ตองเติมสารตางๆอาทิ Cobalt ลงไปเพื่อทําใหเปนตัวเรงที่จะทําใหหมึกทาํปฏิกริยากับออกซิเจนในอากาศ (Oxidation) 5. ตัวทําใหแหง (Drier) การที่หมึกแหงเรว็ ในบางครั้งอาจเปนอุปสรรคตอการดําเนนิการพิมพ เชน หมึกจะตดิแหงบนลูกกลิ้ง หรือไปอุดตันในสกรีน (สําหรับการพิมพ Silk Screen) เพื่อใหหมกึแหงชาลง นอกจากนี้ยังมวีิธีการพิมพอ่ืนๆ ที่ทําให หมกึพิมพแหงโดยไมตองใชตัวทาํใหแหง ไดแก ก. ใชความรอนชวยอบหมึกใหแหง ข. ใชรังสีอัลตราไวโอเลต (UV) โดยอาศยัหลักการที่รังสีจะเขาไปกระตุนสารไวแสง ทําใหเรซิน ของหมึกพิมพเกิดปฏิกริยา (Polymerization) และทําใหหมึกแข็งตัว

Page 21: กระบวนการผลิตสื่อสิ่งพิมพacademic.udru.ac.th/~samawan/content/PrintMedia.pdf · เอกสารประกอบการเรียนวิชาการผล

เอกสารประกอบการเรียนวชิาการผลิตสื่อส่ิงพิมพในงานธุรกิจ 21

งานพิมพ (Press Work) หรือ กระบวนการพิมพ การใชระบบการพิมพกับสิ่งพิมพ เมื่อผานการออกแบบสื่อส่ิงพิมพจนสําเร็จสมบูรณแลว ผูจัดพิมพจําเปนตองมีความเขาใจตอลักษณะการพิมพแตละระบบเพื่อจะไดเลือก ระบบการพิมพใหตรงกับงานพมิพอันจะมีผลใหไดงานมีคณุภาพและราคาที่เหมาะสม (วันชยั ศิริชนะ, 2539 : 533-542) ตอไปนี้เปนคําแนะนําในการเลือกระบบการพิมพแตละประเภทใหเหมาะสมกับงานพิมพผูจัดพิมพจําเปนจะตองม ีความเขาใจตอลักษณะการพิมพแตละระบบเพือ่จะไดเลือกงานพิมพใหตรงกับระบบการพิมพ อันจะมผีลใหไดงานทีม่ีคุณภาพ และราคาที่เหมาะสม

□ ระบบการพิมพเลตเตอรเพรสส □ ระบบการพิมพออฟเซ็ต □ ระบบการพิมพกราววัร □ ระบบการพิมพซิลคสกรีน

ระบบการพิมพเลตเตอรเพรสส ลักษณะเดนของการพมิพระบบเลตเตอรเพรส จะปรากฎลักษณะพิเศษจากผลของการพิมพ ซ่ึงจะตางจากการพิมพระบบอืน่ๆอยู 3 ลักษณะ ดงันี้ (ศิริพงศ พยอมแยม, 2537 : 229)

1. ในการพิมพพื้นทึบ (Solid) หรือที่เรียกวา "พื้นตาย" กลาวคือ ส่ิงพิมพที่มีสีเรียบ เมื่อพิมพดวยระบบเลตเตอรเพรส บนกระดาษไมเคลือบผิว มักแสดงใหเห็นงานพิมพที่พิมพไมทัว่ (Non-Bottoming) อยูเสมอ เนื่องจาก หมึกพิมพไม สามารถ ลงไปสัมผัสไดสุดรอยขรุขระ 2. หมึกจะหนาตามบริเวณรมิขอบตัวอักษร และเม็ดสกรนี มักจะมีรอยแตกจากตัวอักษรหรือเม็ดสกรีน เนื่องจากระบบการพมิพพื้นนนู จากพื้นเมื่อมา กระทบกับกระดาษ และ จะพบมากในจะทําใหเกิดการอัดรีดหมึก (Ink-Squeeze) ไปตามขอบภาพกระดาษ ที่เคลือบผิวมัน

Page 22: กระบวนการผลิตสื่อสิ่งพิมพacademic.udru.ac.th/~samawan/content/PrintMedia.pdf · เอกสารประกอบการเรียนวิชาการผล

เอกสารประกอบการเรียนวชิาการผลิตสื่อส่ิงพิมพในงานธุรกิจ 22

3. จะมีรอยนนูที่ดานหลังของกระดาษงานพิมพ เนื่องจากแรงกดของแมพิมพนูนตอกระดาษ ตัวอยางการพมิพเลตเตอรเพรสส ส่ิงพิมพที่เหมาะสมกับการพิมพระบบเลตเตอรเพรสส (วันชัย ศิริชนะ, 2536) มีดังนี ้ 1. มีจํานวนพมิพไมเกนิ 2,000-3,000 ชุด 2. ไมตองการคุณภาพสูงมาก 3. มีภาพประกอบนอย 4. ไมควรเปนงานพิมพหลายสี 5. ตองมีเวลาทํางานพิมพนานพอสมควร 6. มีงบประมาณในการพิมพจํากัด ระบบการพิมพออฟเซ็ต ลักษณะเดนเปนพิเศษของระบบออฟเซ็ต คือ ทั้งตัวอักษรและภาพหมึกจะติดทัว่ทั้งภาพสมํ่าเสมอ ขอบภาพหรือตวัอักษรจะมีความคมชัด โดยไมมีรอยอัดบีต้ามขอบภาพเหมือนระบบเลตเตอรเพรส แมวาจะเปนการพิมพบนกระดาษหยาบก็ตามเนื่องจากหมึก จะพิมพตดิบนลูกกลิ้งยางกอนที่จะสัมผัสกระดาษ (ศิริพงศ พยอมแยม, 2537 : 232) ระบบออฟเซ็ตสามารถพิมพภาพสกรนีที่มีขนาดละเอียดไมเกิน 133 เสนตอนิ้ว แตระบบออฟเซต็ใชสกรีนละเอียดไดถึง 150 หรือ 175 เสนตอนิ้ว หรือมากกวา สกรีนยิ่งละเอยีดมากเทาใด ก็ยิง่เก็บรายละเอยีดของภาพไดมากขึ้นเทานัน้ และความหนาของ ช้ันหมึกที่ติดบนแมพมิพและกระดาษจะบางกวาระบบเลตเตอรเพรส 3-4 เทา(วนัชัย ศิริชนะ, 2539 : 70-71) สวนลักษณะพเิศษที่พบจากขอบกพรองของการพิมพระบบออฟเซ็ต ไดแก 1. การเกิดสะกัม (Scum) เนื่องจากการแบงเขตระหวางภาพกับพื้นของระบบออฟเซ็ตนั้นอาศัยการแบงดวยน้ํา โดยบริเวณที่เปนพื้นจะมีนํ้าจบัอยูและหมึกจะไมจับที่พื้น แตถาการพิมพนั้น เกดิความ ไมสมดุลในการใหน้ําเชนน้าํนอยเกนิไป หมึกพิมพอาจเขาไปจับบริเวณพื้นก็ได 2. การเกิดทนิติ้ง (Tinting) มีลักษณะเปนสีจางๆปรากฎทั่วแผนแมพิมพ โดยมีลักษณะเปน ไขมันหมึกจับเปนคราบ อยูทั่วไป ทั้งนี้เกิดไดจากหมึกพมิพ และน้ํายาเฟาเทน มีคุณภาพไมเหมาะสมทําใหไขมัน หมกึไปรวมกับน้าํไดลักษณะพิเศษทั้งสองประการนี ้ถาปรากฎขึ้น ยอมแสดงใหเห็นไดวา เปนการพิมพในระบบออฟเซ็ตอยางแนนอน ส่ิงพิมพที่เหมาะสมกับการพมิพระบบออฟเซ็ต (วันชยั ศริิชนะ, 2536) มีดังนี ้ 1. ควรมีจํานวนพิมพเกนิ 3,000 ชุด ขึ้นไป 2. มีภาพประกอบมาก

Page 23: กระบวนการผลิตสื่อสิ่งพิมพacademic.udru.ac.th/~samawan/content/PrintMedia.pdf · เอกสารประกอบการเรียนวิชาการผล

เอกสารประกอบการเรียนวชิาการผลิตสื่อส่ิงพิมพในงานธุรกิจ 23

3. ตองการความรวดเร็วในการพิมพ 4. ตองการความประณีต งดงาม 5. ตองการพิมพหลายส ี 6. ตนฉบับมีงานศิลปะ (Art Work) มาก ระบบกราวัวร ลักษณะเดนของระบบกราววัร ที่มีลักษณะของงานพิมพพิเศษแตกตางจากการพิมพระบบอื่น ไดแก (ศิริพงศ พยอมแยม, 2537 : 231) 1. ถาขยายตัวอักษรใหใหญขึ้น จะเห็นรอยหยักคลายฟนเลื่อย 2. ในการพิมพหมึกทึบ (พืน้ตาย) อาจเกดิรอยขอบของโพรงหมึกได 3. ถาใบปาดหมึกแตก (Ductor Streak) เชน เปนรอยบิน่หรือแหวง ใบปาดนี้จะไมสามารถปาดหมึกบนผิวแมพิมพไดสะอาด เมื่อพิมพออกมาจะเหน็เปนเสนหมึกบนงานพมิพได

ส่ิงพิมพที่เหมาะสมกับการพมิพระบบกราวัวรไดแก (วันชัย ศิริชนะ, 2536) มีดังนี ้ 1. ควรมีจํานวนพิมพมากกวา 50,000 ชุด 2. ตองการพิมพลงบนกระดาษ พลาสติก หรือ ฟอยด 3. ตองการความละเอียดของภาพมาก

Page 24: กระบวนการผลิตสื่อสิ่งพิมพacademic.udru.ac.th/~samawan/content/PrintMedia.pdf · เอกสารประกอบการเรียนวิชาการผล

เอกสารประกอบการเรียนวชิาการผลิตสื่อส่ิงพิมพในงานธุรกิจ 24

งานทําสําเร็จ (Finishing After Press Work) หรือ กระบวนการหลังพิมพ งานหลังพิมพแบงไดเปน 2 ประเภทคือ งานแปรรูป(Converting) และ งานทําสําเร็จ

(Finishing) ขั้นตอนพื้นฐานของงานแปรรูป ไดแก การตัด การพับ การเขาเลม (Assemble) การเย็บเลม (Binding) การเจียน และการเขาปก สวนการทําสําเร็จนั้นมักเปนความตองการที่หลากหลายของลูกคา โดยอาจทําหรือไมก็ได งานทําสําเร็จมีหลายประเภท เชน การปมนูน การปรุรอย การทํารอยพับ (Scoring) และการปมตัด งานทําสําเร็จไมจําเปนตองทําตามลําดับกอนหลัง ในที่นี้จะกลาวถึงงานหลังพิมพที่เกี่ยวของกับวัสดุใชพิมพประเภทกระดาษ เนื่องจากกระดาษเปนวัสดุใชพิมพที่ไดรับความนิยมมากที่สุด งานแปรรูป

งานแปรรูป(Converting) มีขั้นตอนดังนี ้1. การพับ อุปกรณพื้นฐานในการพับคือ ไมเนียน (Bone Foler) มีการใชอุปกรณนีห้ลาย

รอยป เมื่อพับแผนพิมพตามรอยพับแลว ใชไมเนียนรีดรอยพับทับอีกครั้งเพื่อใหรอยพับเรียบ การพับ แผนพิมพ ดวยวิธีนีใ้นปจจุบันใชเฉพาะงานที่ ตองการความพิถีพิถัน และงาน จํานวนไมมากสวนใหญ งานพิมพในทางอุตสาหกรรมจะใชเครื่องพับ กระดาษอตัโนมัติ ที่มีอุปกรณพับสองแบบคือ แบบใชใบมีด และแบบใช ลูกกลิ้งในการพับ รูปแบบการพับมหีลายรูปแบบ เชน การพับมุมฉาก การพบัแบบขนาน เปนตน

2. การเขาเลม กระบวนการเขาเลมประกอบดวยการรวบรวมยกพิมพหรือ การซอนยก

พิมพ (Gathering) การเรียงลําดับยกพิมพ (Collating) การสอดยกพิมพ (Inserting) การรวบรวมยกพมิพ

หรือการซอนยกพิมพเปนการ รวบรวมยกพิมพ ทั้งหมดเขาดวยกัน โดยการซอนยกพิมพหนึ่งบนอีก ยกพิมพ หนึ่งตาม ลําดับที่ถูกตอง เพื่อเตรยีมเขาสูขั้นตอนการเย็บสัน นิยมใชกับหนงัสือที่มีความหนามาก การเรียงลําดับยกพิมพ เปนการเรียงลําดับ เปนการเรยีงลําดับยก พมิพ แตละยก เพื่อใหสามารถเปดหนังสือไดตามลําดับเลขหนาที่เรียง ถูกตอง หรือในกรณีที่มิใชยกพมิพ จะเปนการเรียงลําดับเลขหนา ของแผนพิมพ กอนเขาปกหนังสือหรือส่ิงพิมพนัน้

Page 25: กระบวนการผลิตสื่อสิ่งพิมพacademic.udru.ac.th/~samawan/content/PrintMedia.pdf · เอกสารประกอบการเรียนวิชาการผล

เอกสารประกอบการเรียนวชิาการผลิตสื่อส่ิงพิมพในงานธุรกิจ 25

การสอดยกพิมพ เปนการสอดยกพิมพหนึ่งซอนเขาไประหวาง ยกพิมพอ่ืน เพื่อเตรียมเขาสูขั้นตอนการเย็บมุมหลังคาหรือเย็บอก ใชกับหนังสือพิมพที่มีความหนาไมมาก

3. การเย็บเลม เปนขั้นตอนทีท่ําภายหลังการเขาเลม มีหลายวิธีคือ การทากาว (Adhesive

Binding) การเย็บสัน (Side Binding) การเย็บอก หรือ เย็บมุงหลังคา (Saddle Binding)

3.1 การทากาว ถาเปนงานทีไ่มซับซอน เชน การทําสมุดฉีก การทากาว จะทํา ที่ขอบของปกกระดาษ เพื่อยึดปกกระดาษเขาดวยกนั กาวทีใ่ชทําจาก วัสดุเหลว ที่ละลายนํ้าได แตเมื่อแข็งตวัจะกลายเปนวสัดุที่ ี่ไมละลาย น้ําถาเปนงานหนังสือ ที่มคีวามหนาปานกลาง เชน นติยสาร หรือพอ็กเก็ตบุก จะเขาเลมดวยวิธีที่เรียกวา ไสสันกาว (Perfect or Patent Binding) ทําไดโดยเจยีนสัน ยกพิมพที่ ี่ผานการเขา เลมแลวใหเปน รอยหยกั แลว ทากาวเหลวซึ่งมักเปนกาวรอนลงไปที่สันนั้น กาวรอนเปน กาวที่ทําให เปนของเหลวไดโดยใหความรอน แลวนําไปทาที่ ขอบสัน ที่ผานการ เจียน ดวยการเลื่อยแลว จากนั้นปดสันดวยผากอชเพื่อเพิม่ความ แข็งแรง ใหสันนับเปนวิธีที่ทําไดเร็วและเสียคาใชจายนอย 3.2 การเย็บสนั เปนวิธีการเย็บสันหนังสือหรือส่ิงพิมพดวยลวดเย็บ กระดาษ เหมาะกับ หนังสือที่มีความหนาไมมาก มิฉะนั้น จะเปดกาง หนังสือไดไมเต็มที่ นอกเหนือจากการใชลวดเย็บกระดาษ อาจยดึเลม หนังสือดวยเกลียว ลวด หรือ เกลียวพลาสติก ดวยการเจาะรูที่ สันหนังสือแลวรอยเกลียวนั้นเขาไป การเย็บสัน ยังอาจใชดายเย็บ โดยเจาะรูสันหนังสอืกอนแลวจึงเย็บดวย มือหรือเครื่องก็ได ถาเปนงานหนังสือมีคา ราคาแพง หนงัสือปกแข็ง จะใชการเย็บกี ่ซ่ึงเปน วิธีการเยบ็สันดวยดายและใชวิธีการเย็บพิเศษ เพื่อเพิ่มความคงทน และยึดอาย ุ ุการใชงานของหนังสือ หนังสือที่เย็บเลม ดวยลวดเย็บ กระดาษ ที่เย็บ ไปดานบน ของปกหนังสือ และสามารถมองเห็น ลวดเย็บถามอง จากดานบนของหนังสือ 3.3 การเย็บอกหรือการเย็บมงุหลังคา เปนการเย็บเลมบนรอยพับของ หนังสือหรือส่ิงพิมพที่สอดเขาดวยกันโดยใช ลวดเย็บ เหมาะกบัหนังสือ หรือส่ิงพิมพที่มีความหนา ไมมาก

Page 26: กระบวนการผลิตสื่อสิ่งพิมพacademic.udru.ac.th/~samawan/content/PrintMedia.pdf · เอกสารประกอบการเรียนวิชาการผล

เอก

การเ

แข็งลวดกระมักเย็ทําป

กสารประกอบ

4. การเจี

เจียนอาจเจียน5. การเข

ปกในตัววัสดเย็บกระดาษดาษเนื้อใน สย็บเลมเนื้อในปกเปนกระดา

บการเรียนวชิา

จียน เปนการนขอบทีละดาขาปก ปกหสดุประเภทเดีษ อาจเย็บสันสวนปกหนังสืนหนังสือดวยกษแข็งที่หุมห

าการผลิตสื่อส

เจยีนขอบหนัน ยกเวนดานนังสือหรือส่ิดียวกับเนื้อในหรือเย็บอก สือประเภทปการเย็บกี่ ปกแนังผา หรือกร

ส่ิงพิมพในงา

นงัสือหรือส่ิงพนสัน หรือเจยีนงพิมพมีหลานหนังสือ มักใปกหนังสือปกแข็งใชกับหแข็งมักทําแยระดาษชนิดพิ

นธุรกิจ

พิมพที่ผานกานพรอมกันทเียประเภท ไดใชกับสิ่งพิมพประเภทออน หนังสือหรือ ก จากการพิมิเศษ

ารเย็บเลมแลวเดียวสามดานดแก ปกในตัวพที่ราคาไมแพ ทําจากกรส่ิงพิมพ ที่ต

มพและเย็บเลม

วเพื่อใหขอบเน ยกเวนดานสว ปกออน แลพง การเย็บเลระดาษที่หนาองการคุณภามเนื้อใน วัสดุ

26

เรียบ สัน ละปกลมใชากวา าพสูง ดุที่ใช

Page 27: กระบวนการผลิตสื่อสิ่งพิมพacademic.udru.ac.th/~samawan/content/PrintMedia.pdf · เอกสารประกอบการเรียนวิชาการผล

เอกสารประกอบการเรียนวชิาการผลิตสื่อส่ิงพิมพในงานธุรกิจ 27

งานทําสําเร็จ (Finishing) เปนงานในลักษณะตกแตงงานพิมพเพื่อเพิ่มความสวยงาม ความประณีต พิถีพิถัน นาดึงดูด หรือเพิ่มอายุการใชงาน ชวยใหงานพิมพทนตอการขีดขวน หรือการขัดถู ปองกันน้ําหรือความชื้น และเพื่อวัตถุประสงคการใชงานอื่นๆ ตามความตองการที่แตกตางไป งานทําสําเร็จจึงเปนทางเลือกของลูกคาที่วาจางใหพิมพงาน จําทําหรือไมทําก็ได ถาทําก็ไมจําเปนตองมีลําดับกอนหลังสําหรับงานทําสําเร็จแตละประเภท ตัวอยางของงานทําสําเร็จมีดังนี้

1. การประทับรอยรอน หรือการเดินรอยรอน หรือการปมทอง เปนงานที่นิยมเนื่องจากทําใหงานพิมพดูนาสนใจและสดใส แวววาวมากขึ้นจากการทําสีของโลหะ ทอง เงิน หรือสีอ่ืนๆ โดยการใช แผนฟอยดหรือแผนโลหะเปลวทาบบนสิ่งพิมพแลวอัดดวยแมพิมพพื้นนูนที่มีภาพและขอความตามตองการ ใชความรอนและแรงกดสวนที่เปนสีของแผนฟอยลจะปรากฏบนส่ิงพิมพนั้น การประทับรอยรอนนิยมทําบนหนังสือปกแข็ง

2. การดุนนูน เปนการทําใหเกิดรอยนูนบนสิ่งพิมพดวยการใชแมแบบทําจากทองเหลืองหรือพลาสติกแข็งโดยใชเครื่องพิมพเลตเตอรเพรสสแทนนอน หรือเครื่องจักรแบบพิเศษ

3. การอาบมันและการเคลือบ เปนการเพิ่มความมันใหกับสิ่งพิมพ เพื่อเพิ่มความสวยงามและความทนทานในการใชงาน การอาบมันอาจใชวารนิชเคลือบบนสิ่งพิมพหรือพิมพเคลือบดวยฟลมพลาสติก การเคลือบใชสารยึดติด (Adhesive) ฐานตัวทําละลายหรือฐานน้ํา ในกรณีที่ตองการอาบมันหรือเคลือบฟลม ตองเลือกใชหมึกพิมพดวยความระมัดระวัง มิฉะนั้นจะเกิดปญหาหมึกเปลี่ยนสีหรือหมึกเลอะภายหลังการอาบมันหรือการเคลือบ ไดแก ปกนิตยสาร ปกหนังสือ บัตรประเภทตางๆ

4. การพิมพนนูดวยความรอน (Thermography) มีลักษณะคลายการพิมพดวยแมพิมพพืน้นูน แตผลที่ไดไมมีรอยท่ีดานหลังสิ่งพมิพจาก

การใชแรงกดดังเชนในกรณกีารพิมพพื้นนนู บางครั้งจึงเรียกการพิมพวธีินี้วาการพิมพนูนเทยีม การพิมพทําไดโดยใชแมพิมพพืน้นูนและหมกึที่มีความขนสงู ภายหลังการพิมพ โรยดวยผงเรซินที่มีจุดหลอมตัวต่ํา ผงเรซินจะเกาะ ณ บริเวณภาพหรือบริเวณพมิพ เมื่อใหความรอน เรซินจะหลอมและทําใหบริเวณภาพนูนขึ้นมา ภาพที่ไดจะนนูและเปนเงา แตไมมีรายละเอียดของภาพมากนัก และไมคงทน แตถูกขดูออกไดงาย

Page 28: กระบวนการผลิตสื่อสิ่งพิมพacademic.udru.ac.th/~samawan/content/PrintMedia.pdf · เอกสารประกอบการเรียนวิชาการผล

เอกสารประกอบการเรียนวชิาการผลิตสื่อส่ิงพิมพในงานธุรกิจ 28

5. การอัดตัดตามแบบ หรือการตัดรูป เปนการทํารูปแบบลวดลายพิเศษที่ไมใชส่ีเหล่ียมโดยรอบสิ่งพิมพ และไมสามารถ ใชมีดธรรมดาตัดเจยีนได แตตองใชแมแบบพิเศษที่ส่ังทําเพราะรูปแบบ ที่ลูกคาแตละรายตองการ มักแตกตางกันไป เครื่องที่ใชมักประยุกตจากเครื่องพิมพเลตเตอรเพรสสแทนยนื

******************************

แหลงขอมูล ธเนศ หาญใจ , บทเรียนผานเครือขายอินเตอรเน็ต เรื่อง “เทคโนโลยกีารพิมพ” ,

Online : http://thante.com/wbiprinting/ , เขาถึงเมื่อ : มิถุนายน 2551