สื่อประจำmae.eng.kmutnb.ac.th/th/files/bulletin/bulletin_08.pdfสื่อประจำ...

4
ส่อประจำ� ของภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกลและการบิน-อวกาศ ที่ทำาให้ ประชาคมของเราชาว MAE ได้รับรู้ข้อมูล ข่าวสาร ซึ ่งเป็นทั้งข ้อมูลวิชาการ สันทนาการ และเกร็ดความรู้ต่างๆ ที่นำาเสนอโดยคณาจารย์ ผู้ทรงคุณวุฒิ ทุกท่าน รวมถึงเรื่องราวความ เป็นไปของทุกชีวิตในรั้ว MAE ของเรานั่นเอง.........ผ่านพ้นไปกับงาน “ถอดไทคใส่ช๊อป” ของ นักศึกษาชั้นปีท่ 1 ทีจัดขึ้นเมื่อวันอังคารที่ 18 พ.ย. 2557 ที่อาคาร 88 ห้อง 901 โดยมี อาจารยมานพ คงคานิธิ เปนผู้กล่าวเปิดงาน และนอกจากนี้กยังมี ผศ.ดร. ปูมยศ วัลลิกุล ผศ.ดร. เพชร เจียรนัยศิลาวงศ และดร. สว่างทิตย ศรีกิจสุวรรณ เข้าร่วมงานอีกด้วย ก็ นับเป็นการแสดงออกถึงความเปลี่ยนแปลงของน้องๆ นักศึกษาชั้นปีท่ 1 ที่จะเข้ามาเป็น “ว่าทีวิศวกร MAE” มากยิ่งขึ้น.......ภาควิชาฯ ได้มีความร่วมมือทางวิชาการ กับ Brandenburg University of Technology Cottbus-Senftenberg (BTU C-S) ซึ่ง ได้ลงนามความร่วมมือทางวิชาการฯ ตั้งแต่ปี 2006 โดยได้ดำาเนินกิจกรรมร่วมกันอย่างต่อ เนื่อง จนถึงปัจจุบัน โดยมี ผศ.ดร. บุญชัย วัจจะตรากุล เป็นผู้ประสานงาน และเมื่อวัน ที่ 19 พฤศจิกายน 2557 ที่ผ่านมา มหาวิทยาลัยดังกล่าวจัดงานบรรยายพิเศษเรื่อง “The Next Collaboration on the Cutting Edge Technology of the Micro Gas Turbine – SOFCณ ห้องสัมมนาใหญ่ชั้น 9 ของสำานักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยี “Micro Gas Turbine – SOFC” ให้กับ คณาจารย์ นักศึกษาสาขาวิศวกรรมการบินและอวกาศ ของภาควิชาฯ รวมทั้งหน่วยงานทีเกี่ยวข้องในประเทศไทยนั่นเอง.........ดร. ปิยลักษณ เต๊ะวงษ ไปนำาเสนอภูมิปัญญาไทย ในบทความทางวิชาการ เรื่อง “Wisdom of Indigo Hand Woven Fabrics of Tai Song Dam Ethnic Group” ณ สถาบันวิจัยพระพุทธศาสนาและบาลี เมืองแคนดีสาธารณรัฐสังคมนิยมประชาธิปไตยศรีลังกา ระหว่างวันที่ 21-24 พฤศจิกายน 2557......... และเข้าอบรมเพิ่มพูนความรู้หลักสูตร “สุดยอดการเปนหัวหน้างาน รุ่น 12” (Effective Leadership) ระหว่างวันที่ 27-28 พฤศจิกายน 2557 ณ ศูนย์ปฏิบัติการโรงแรมศาลายาพา วิลเลียม วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล........นายสกรรจ บุญคง ช่างเทคนิคภาควิชาฯ เข้าฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง “การวิเคราะหและแก้ไขปัญหาในระบบยานยนตสมัยใหม่” โดยร่วมกับสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานนานาชาติเชียงแสนและบริษัท EEGEM ประเทศ อิสราเอลระว่างวันที่ 25-26 พฤศจิกายน 2557 ณ สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานนานาชาติ เชียงแสน อ.เชียงแสน จ.เชียงราย........เมื่อวันที่ 26-27 พฤศจิกายน 2557 ที่ผ่านมา น.ส. นพรัตน คล้ายคลง เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานบริหารภาควิชาฯ เข้าร่วมฝึกอบรมเชิงปฏิบัติ การ “Refresh your English” ณ อาคารนวมินทรราชินี มจพ. เพื่อจะได้นำามาใช้ในการ ปฏิบัติงานจริงในภาควิชาฯ นั่นเอง

Upload: others

Post on 09-Jul-2020

3 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: สื่อประจำmae.eng.kmutnb.ac.th/th/files/bulletin/bulletin_08.pdfสื่อประจำ ของภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกลและการบิน-อวกาศ

สื่อประจำ� ของภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกลและการบิน-อวกาศ ที่ทำาให้ประชาคมของเราชาว MAE ได้รับรู ้ข้อมูล ข่าวสาร ซึ ่งเป็นทั ้งข้อมูลวิชาการ สันทนาการและเกร็ดความรู้ต่างๆ ที่นำาเสนอโดยคณาจารย์ ผู้ทรงคุณวุฒิ ทุกท่าน รวมถึงเรื่องราวความเป็นไปของทุกชีวิตในรั้ว MAE ของเรานั่นเอง.........ผ่านพ้นไปกับงาน “ถอดไทค์ใส่ช๊อป” ของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 ทีจัดขึ้นเมื่อวันอังคารที่ 18 พ.ย. 2557 ที่อาคาร 88 ห้อง 901 โดยมีอาจารย์มานพ คงคานิธิ เป็นผู้กล่าวเปิดงาน และนอกจากนี้ก็ยังมี ผศ.ดร. ปูมยศ วัลลิกุล ผศ.ดร. เพชร เจียรนัยศิลาวงศ์ และดร. สว่างทิตย์ ศรีกิจสุวรรณ เข้าร่วมงานอีกด้วย ก็นับเป็นการแสดงออกถึงความเปลี่ยนแปลงของน้องๆ นักศึกษาชั้นปีที่ 1 ที่จะเข้ามาเป็น “ว่าที่วิศวกร MAE” มากยิ่งขึ้น.......ภาควิชาฯ ได้มีความร่วมมือทางวิชาการ กับ Brandenburg University of Technology Cottbus-Senftenberg (BTU C-S) ซึ่งได้ลงนามความร่วมมือทางวิชาการฯ ตั้งแต่ปี 2006 โดยได้ดำาเนินกิจกรรมร่วมกันอย่างต่อเนื่อง จนถึงปัจจุบัน โดยมี ผศ.ดร. บุญชัย วัจจะตรากุล เป็นผู้ประสานงาน และเมื่อวันที่ 19 พฤศจิกายน 2557 ที่ผ่านมา มหาวิทยาลัยดังกล่าวจัดงานบรรยายพิเศษเรื่อง “The Next Collaboration on the Cutting Edge Technology of the Micro Gas Turbine – SOFC” ณ ห้องสัมมนาใหญ่ชั้น 9 ของสำานักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยี “Micro Gas Turbine – SOFC” ให้กับคณาจารย์ นักศึกษาสาขาวิศวกรรมการบินและอวกาศ ของภาควิชาฯ รวมทั้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในประเทศไทยนั่นเอง.........ดร. ปิยลักษณ์ เต๊ะวงษ์ ไปนำาเสนอภูมิปัญญาไทยในบทความทางวิชาการ เรื่อง “Wisdom of Indigo Hand Woven Fabrics of Tai Song Dam Ethnic Group” ณ สถาบันวิจัยพระพุทธศาสนาและบาลี เมืองแคนดี้ สาธารณรัฐสังคมนิยมประชาธิปไตยศรีลังกา ระหว่างวันที่ 21-24 พฤศจิกายน 2557.........และเข้าอบรมเพิ่มพูนความรู้หลักสูตร “สุดยอดการเป็นหัวหน้างาน รุ่น 12” (Effective Leadership) ระหว่างวันที่ 27-28 พฤศจิกายน 2557 ณ ศูนย์ปฏิบัติการโรงแรมศาลายาพาวิลเลียม วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล........นายสกรรจ์ บุญคง ช่างเทคนิคภาควิชาฯ เข้าฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง “การวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาในระบบยานยนต์สมัยใหม่” โดยร่วมกับสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานนานาชาติเชียงแสนและบริษัท EEGEM ประเทศอิสราเอลระว่างวันที่ 25-26 พฤศจิกายน 2557 ณ สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานนานาชาติเชียงแสน อ.เชียงแสน จ.เชียงราย........เมื่อวันที่ 26-27 พฤศจิกายน 2557 ที่ผ่านมาน.ส. นพรัตน์ คล้ายคลึง เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานบริหารภาควิชาฯ เข้าร่วมฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ “Refresh your English” ณ อาคารนวมินทรราชินี มจพ. เพื่อจะได้นำามาใช้ในการปฏิบัติงานจริงในภาควิชาฯ นั่นเอง

Page 2: สื่อประจำmae.eng.kmutnb.ac.th/th/files/bulletin/bulletin_08.pdfสื่อประจำ ของภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกลและการบิน-อวกาศ

2

บุคลากร ในสาขาวิศวกรรมศาสตร์อย่างเราๆ ท่านๆน่าจะรู้จักเครื่องดื่มที่เรียกว่า “เบียร์” หลายครั้ง เบียร์มักเป็นส่วนประกอบในการพูดคุย มีตติ้ง พบปะสังสรรค์ระหว่างเพื่อนฝูง บ้างก็ใช้เบียร์เป็นเครื่องมือสำาคัญในการเจรจาธุรกิจ และถึงแม้หลายคนจะเป็นบุคคลปลอดแอลกอฮอล์ แต่ก็คงปฏิเสธไม่ได้ว่าเบียร์มีส่วนสำาคัญเกี่ยวพันกับวัฒนธรรมของประเทศไทยและของโลกของเรา อย่างมีนัยยะสำาคัญ

ประวัติศาสตร์ของเบียร์ เช่ือหรือไม่ว่าเบียร์เกิดพร้อมกับการที่มนุษย์เรียนรู้วิธีการทำาการเกษตร และลงหลักปักฐานสร้างเป็นสังคมขึ้น ว่ากันตามหลักฐานทางประวัติศาสตร์เครื่องดื่มหมักคล้ายเบียร์สามารถพบได้ท้ังในอารยธรรมอียิปต์ อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอารยธรรมแถบจีนโบราณ การดื่มเบียร์ได้รับความนิยมและแพร่หลายในยุโรปตั้งแต่ก่อนคริสตกาลในบริเวณแถบประเทศเยอรมันในปัจจุบัน ส่วนเทคโนโลยีการหมักเบียร์ได้ถูกพัฒนาเรื่อยมาโดยบาทหลวงและนักบวชในช่วงนั้น เพื่อต้องการสร้างเครื่องดื่มสำาหรับบรรเทาความหนาวเย็นของสภาวะอากาศในบริเวณดังกล่าว เบียร์คุณภาพสูงหลายตัวที่หาได้ในปัจจุบันมาจากการหมักเบียร์ของบาทหลวงเหล่านั้น

ส่วนประกอบของเบียร์ เบียร์ เป็นเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ประเภทหนึ่ง ซึ่งส่วนประกอบที่สำาคัญคือ น้ำา น้ำาตาลหรือแป้ง เช่น ข้าวบาร์เลย์ และตัวย่อยน้ำาตาลหรือแป้งให้กลายเป็นแอลกอฮอร์ ซึ่งตัวย่อยสำาหรับเบียร์ก็คือยีส นอกจากนี้ เบียร์ในปัจจุบันยังมีส่วนประกอบที่สำาคัญคือ ฮอปส์ (Hops) ซึ่งทำาหน้าที่เหมือนสารกันบูดและเพิ่มรสชาติให้กับเบียร์อีกด้วย ในส่วนของกระบวนการในการหมัก มีหลายส่วน ทั้งการผสมส่วนที่เป็นข้าวเข้ากับน้ำา การต้ม การหมัก การกลั่น การกรอง และอื่นๆ กระบวนการโดยละเอียดของการหมักเบียร์สามารถหาข้อมูลได้เพิ่มเติมจากการเยี่ยมชมโรงเบียร์ และจะได้ลองชิมเบียร์ด้วย

ข้าวบาร์เลย์ และ ฮอปส์

ประเภทของเบียร์ ประเภทของเบียร์แบ่งออกเป็นได้สองลักษณะใหญ่ ตามประเภทของยีสต์ที่ใช้ 1) Ale หรือ เอล เป็นเบียร์ที่ผลิตจากยีสต์ที่หมักที่อุณหภูมิตั้งแต่ 12 ถึง 21 องศาเซลเซียส เมื่อทำาการหมักจะทำาให้เกิดฟองลอยอยู่ด้านบนของหม้อหมัก และตะกอนตกลงไปด้านล่าง โดยทั่วไป เอล มักมีเนื้อของ

ส่วนประกอบที่ใช้หมักลอยอยู่ ทำาให้เบียร์ประเภทนี้มักขุ่นและมีรสชาติเข้มข้น และเมื่อหมักที่อุณหภูมิสูง ทำาให้กระบวนการหมักเป็นไปได้อย่างเข้มข้น ทำาให้เอล มีรสชาติขม มีกลิ่นหอมของผลไม้ มักดื่มที่อุณหภูมิสูง (7-12 องศาเซลเซียส) เพื่อให้กลิ่นอันเข้มข้นยังคงอยู่ 2) Lager หรือ ลาเกอร์/เลเกอร ์เป็นเบียร์ที่ผลิตจากยีสต์ที่หมักที่อุณหภูมิตั้งแต่ 3 ถึง 10 องศาเซลเซียส ซึ่งเป็นอุณหภูมิหมักที่ต่ำากว่าเอล การหมักเป็นการดำาเนินการของยีสที่ด้านล่างของหม้อหมักทำาให้ส่วนประกอบที่เป็นส่วนผสมของเบียร์นอนก้น เบียร์ลาเกอร์ที่ได้มีความใสกว่าเอล และเมื่อทำาการหมักที่อุณหภูมิต่ำา ทำาให้ปฏิกิริยาการหมักเกิดได้ช้า เบียร์ลาเกอร์ต้องหมักนานขึ้น และที่อุณหภูมิต่ำาทำาให้กลิ่นหอมของผลไม้ลดหรือหายไป เบียร์ลาเกอร์จะจืด เบาและนุ่มกว่าเอล มีฟองมาก มีกลิ่นจางๆ มักดื่มที่อุณหภูมิต่ำา (3-7 องศาเซลเซียส) ประเภทของเบียร์ยังแยกย่อยได้ตามสี กลิ่น รส ความแรงของแอลกอฮอล์ ประเภทของส่วนผสมที่ใช้ ประเภทของเบียร์ที่รู้จักกันทั่วไปคือ • Pale Ale เป็นเอลแบบบาง ใส สกัดมาจาก Pale Malt • Stout และ Porter เป็นเอลที่ทำาจาก malt หรือ barley ที่ผ่านการคั่ว ทำาให้เบียร์มีสีเข้ม รสชาติ เข้มข้น และมีแอลกอฮอล์สูง • Pale Lagers เป็นเบียร์ที่นิยมดื่มมากที่สุดในโลก ตั่วอย่างเช่น เบียร์ที่ดื่มในประเทศไทย เบียร์มักมีแอลกอฮอล์ตั้งแต่ 3-8% แอลกอฮอล์ โดยเบียร์ลาเกอร์ ที่ดื่มในยุโรปและญี่ปุ่นมักมีเปอร์เซนต์แอลกอฮอล์ประมาณ 4-5 % แต่สำาหรับเบียร์ในประเทศไทยมักมีเปอร์เซนต์แอลกอฮอล์สูงกว่าปกติ เนื่องจากคนไทยนิยมดื่มเบียร์กับน้ำาแข็ง ขณะที่ในต่างประเทศ การดื่มเบียร์กับน้ำาแข็งถือว่าเป็นการทำาลายรสชาติของเบียร์และเป็นสิ่งไม่ควรทำา

เบียร์กับวิศวฯ เบียร์มีความสัมพันธ์กับวิศวกรอย่างแน่นแฟ้น เพราะนักศึกษาในหลักสูตรวิศวกรรม รวมถึงบุคลากรที่เกี่ยวข้องมักมีความชื่นชอบเบียร์เป็นอย่างมาก และขาดไม่ได้ในการสังสรรค์ต่างๆ นอกจากนี้ นักศึกษายังสามารถทำางานในโรงงานเบียร์ได้ เพราะต้องดูแลกระบวนการผลิต และบางคนยังคงชื่นชอบในการตรวจสอบคุณภาพของเบียร์ในการผลิตอีกด้วย นอกจากนี้แล้ว ผู้เขียนไม่แน่ใจว่าเบียร์สัมพันธ์กับวิศวกรแต่อย่างใด ……

ขอบคุณแหล่งข้อมูลจากhttp://en.wikipedia.org/wiki/Hops

Page 3: สื่อประจำmae.eng.kmutnb.ac.th/th/files/bulletin/bulletin_08.pdfสื่อประจำ ของภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกลและการบิน-อวกาศ

ตอนที่ 11 พระเจ้าเหี้ยนเต้หนีตาย

โจโฉเมื่อได้เมืองกุนจิ๋วกลับคืนมาได้บำารุงกองทัพให้เข้มแข็ง ได้ขุนพลและที่ปรึกษามาเป็นขุนนางมากขึ้น ต่อมา ลิฉุย กุยกีผิดใจกัน ต้องการ

เป็นใหญ่แต่เพียงผู้เดียวและต้องการพระเจ้าเหี้ยนเต้เป็นตัวประกัน เพื่อต่อรองอำานาจ ทำาการหยาบช้าเป็นอันมาก ทำาให้พระเจ้าเหี้ยนเต้เสด็จหนีออกจากวัง

ณ นครเตียงฮัน พร้อมด้วยพระมเหสีและขุนนางที่จงรักภักดีไปอยู่เมืองลกเอี๋ยงราชธานีเดิม ลิฉุย กุยกีทราบว่าพระเจ้าเหี้ยนเต้หนีมายังเมืองลกเอี๋ยง จึงนำา

กองทัพมาจับพระองค์

ตอนที่ 12 โจโฉเป็นมหาอุปราช

พระเจ้าเหี้ยนเต้ เมื่อทราบข่าวว่ากองทัพลิฉุย กุยกี ไล่ตามมา จึงรับสั่งขอกองทัพโจโฉมาช่วย เสด็จออกจากเมืองลกเอี๋ยงไปยังเมืองฮูโต๋ ระหว่าง

ทางกองทัพลิฉุย กุยกีไล่ตามทัน แต่กองทัพโจโฉมาถึงก่อน ได้สกัดและขับไล่กองทัพลิฉุย กุยกีแตกพ่ายไป พระเจ้าเหี้ยนเต้จึงปลอดภัย โจโฉทูลเชิญให้ประทับ

ณ เมืองฮูโต๋ และทำาการย้ายเมืองหลวงมาอยู่ ณ เมืองฮูโต๋ เนื่องจากลกเอี๋ยงถูกตั๋งโต๊ะเผาทำาลายจนมาสามารถบูรณะกลับคืนมาโดยเร็วได้

โจโฉได้รับการแต่งตั้งเป็น มหาอุปราช ผู้สำาเร็จราชการ พร้อมกับตั้งขุนนางตนเป็นข้าราชสำานัก ใคร ๆ ก็พากันคิดว่า อำานาจไม่ถึงพระเจ้าเหี้ยนเต้

สักที เพียงแค่เปลี่ยนมือผู้สำาเร็จราชการเท่านั้น

โจโฉได้เป็นใหญ่แล้ว คิดแก้แค้นเล่าปี่ โดยการใช้ลิโป้เครื่องมือ จึงมีราชโองการให้เล่าปี่นำาทัพโจมตีอ้วนสุด เตียวหุยน้องร่วมสาบานรักษาเมืองชีจิ๋ว

แต่เตียวหุยเอาแต่เสพสุรา มิสนใจป้องกันบ้านเมือง เป็นช่องให้ลิโป้ยกกองทัพจากเมืองเสียวพ่ายโจมตีเมืองชีจิ๋ว เมืองชีจิ๋วจึงเป็นของลิโป้ เมื่อเล่าปี่ทราบข่าว

ได้เจรจากัน เล่าปี่จึงถอยกลับมารักษาเมืองเสียวพ่ายแทน

เกร็ดประวัติตัวละครสำาคัญ

2 3

แหล่งข้อมูลอ้างอิง : www.thaisamkok.com, www.สามก๊ก.com

พระเจ้าเหี้ยนเต้

เป็นโอรสองค์ที่ 2 ของพระเจ้าเลนเต้ เกิดจากนางอองบีหยิน พระสนมเอก เนื่องจากนางอองบีหยิน

ถูกนางโฮเฮามเหสีใส่โทษ จึงถูกประหารชีวิต หองจูเหียบจึงอยู่ในอุปถัมภ์ของพระนางตังไทฮอ พระราชชนนีของ

พระเจ้าเลนเต้ เมื่อพระเจ้าเลนเต้สิ้นพระชนม์ เกิดความวุ่นวานในเรื่องสืบราชสมบัติ หองจูเปียน ราชโอรสซึ่ง

เกิดจากนางโฮเฮาได้ครองเมืองอยู่้ 6 เดือนก็ถูกตั๋งโต๊ะถอด แล้วยกหองจูเหียบขึ้นแทนทรงพระนามภายหลังว่า

พระเจ้าเหี้ยนเต้( เซี่ยนตี้ ) แม้จะเป็นผู้ปรีชาสามารถ แต่ก็ตกอยู่ใต้อำานาจของขุนศึกตลอดเวลา เมื่อตั๋งโต๊ะตาย

แล้ว ตกอยู่ในอำานาจลิฉุย กุยกี สิ้นลิฉุย กุยกีแล้ว ตกอยู่ใต้อำานาจโจโฉ เคยคิดโค่นโจโฉ 2 ครั้ง แต่ไม่สำาเร็จ

ความแตก โจโฉจับนางตังกุยฮุย สนมเอกฆ่าเสียคนหนึ่ง ต่อมาจับนางฮกเฮามเหสี ฆ่าเสียอีกคนหนึ่ง แล้วถวาย

บุตรสาวให้เป็นมเหสีแทน เมื่อสิ้นบุญโจโฉแล้ว พระเจ้าเหี้ยนเต้ตกอยู่ใต้อำาอาจของโจผีต่อไป อยู่ในราชสมบัติ 12

ปี ถูกโจผีแย่งราชบัลลังก์ ตั้งราชวงค์วุยขึ้นแทน ได้รับแต่งตั้งให้เป็นขุนนางชั้นก๋ง ( เจ้าพระยา ) ออกไปอยู่เมือง

ซันเอี่ยง มณฑลเหอหนาน จนสิ้นชีวิต

Page 4: สื่อประจำmae.eng.kmutnb.ac.th/th/files/bulletin/bulletin_08.pdfสื่อประจำ ของภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกลและการบิน-อวกาศ

4