academic article guideline2012

9
1 Academic Article Guideline-Dr.Danai Thieanphut Copyright2012 DntNet จะเลือกใชโมเดลอะไรในการเขียนบทความ ดร.ดนัย เทียนพุฒ [email protected] ความมันสของการเปนนักเขียนบทความทางวิชาการหรือหนังสือวิชาการคือ สามารถเลา เรื่องตางๆ ทางธุรกิจที่เกิดขึ้น หรือเมื่อผูเขียนไดพบเหตุการณอันทําใหเกิดความรูและอยากใหผูอื่นไดรับรู บางจนถายทอดออกมาเปนตัวอักษร และยิ่งมีเขียนมากเทาไหรภาษาและทัศนะก็ยิ่งพริ้ว และเฉียบคม มากขึ้นเปรียบประดุจดัง การลับคมใบมีดผูอานหลายทานและผูบริหารเคยสอบถามวา ในการเขียนบทความครั้งๆ หนึ่ง ผูเขียนมี การวางโครงรางไวกอนหรือไม หรือกําหนดแนวทางการเขียนอยางไร ถาคิดในเชิงการใชวิชาความรูจริงๆ ผูเขียนมีหลักยึดอยู 2-3 ประการดวยกันดังนีประการแรก ตนแบบจากวิธีการเขียนเรื่องสั้น ในชวงแรกๆ ของการเขียนบทความ ผูเขียนนึกถึงสมัยตอนที่เรียนอยูมัธยมศึกษาตอน ปลายไดเรียนวิชาหนึ่งคือ ประวัติวรรณคดีไทยซึ่งไดศึกษาเกี่ยวกับการเขียนกาพย กลอน โครง นิราศ และวิธีการประพันธ เชน เรื่องสั้น ตลอดจนนวนิยาย และบทเรียนจากสิ่งเหลานี้ไดทําใหผูเขียนนึกอยากทีจะเขียนขึ้นมาบาง สิ่งที่ผูเขียนใชเปนกรอบในการเขียนบทความจากองคความรูที่ไดเรียนมาคือ การวางโครงเรื่องหรือเคาโครงเรื่อง โดยในชวงแรกๆ ของการเขียน ผูเขียนใช วิธีการนึกกอนวามีเรื่องอะไรหรือประเด็นอะไรที่เห็นดวย เห็นโตแยง หรืออยากแสดงทัศนะออกมาของธุรกิจ ทั้งดานกลยุทธ การตลาด การบริหาร HR หรือความเปนผูนํา ฯลฯ ตัวอยางเชน .....เมื่ออานบทความหรือหนังสือเกี่ยวกับธุรกิจอิเลคทรอนิกส (e-Business) ซึ ่งมัก เขียนโดยกลุมดานเทคนิค เชน IT Manager เจาของบริษัทดอทคอม Web Master หรือคอลัมนิสตของ วารสารหรือสิ่งพิมพ ผูเขียนมีทัศนะวา องคประกอบที่สําคั ของบทความทางวิชาการ (รกิจ)

Post on 14-Sep-2014

583 views

Category:

Education


0 download

DESCRIPTION

แนวทางและการวางโมเดลในการเขียนบทความ

TRANSCRIPT

Page 1: Academic article guideline2012

1  

Academic Article Guideline-Dr.Danai Thieanphut Copyright2012 DntNet

จะเลือกใชโมเดลอะไรในการเขียนบทความ 

ดร.ดนัย เทยีนพุฒ[email protected]

 

    ความมนัสของการเปนนักเขียนบทความทางวิชาการหรือหนังสือวิชาการคือ สามารถเลา

เร่ืองตางๆ ทางธุรกิจที่เกิดข้ึน หรือเมื่อผูเขียนไดพบเหตุการณอันทาํใหเกิดความรูและอยากใหผูอ่ืนไดรับรู

บางจนถายทอดออกมาเปนตัวอักษร และยิ่งมเีขียนมากเทาไหรภาษาและทัศนะก็ยิ่งพร้ิว และเฉียบคม

มากข้ึนเปรียบประดุจดัง “การลับคมใบมีด” 

 

ผูอานหลายทานและผูบริหารเคยสอบถามวา ในการเขียนบทความคร้ังๆ หนึ่ง ผูเขียนมี

การวางโครงรางไวกอนหรือไม หรือกาํหนดแนวทางการเขียนอยางไร 

ถาคิดในเชิงการใชวิชาความรูจริงๆ ผูเขียนมีหลักยึดอยู 2-3 ประการดวยกนัดังนี ้

ประการแรก ตนแบบจากวธิีการเขียนเร่ืองส้ัน 

    ในชวงแรกๆ ของการเขียนบทความ ผูเขียนนกึถึงสมัยตอนที่เรียนอยูมธัยมศึกษาตอน

ปลายไดเรียนวิชาหนึง่คือ “ประวัติวรรณคดีไทย” ซึง่ไดศึกษาเกีย่วกบัการเขียนกาพย กลอน โครง นิราศ

และวิธีการประพันธ เชน เร่ืองส้ัน ตลอดจนนวนยิาย และบทเรียนจากส่ิงเหลานี้ไดทําใหผูเขียนนึกอยากที่

จะเขียนข้ึนมาบาง 

ส่ิงที่ผูเขียนใชเปนกรอบในการเขียนบทความจากองคความรูที่ไดเรียนมาคือ 

การวางโครงเร่ืองหรือเคาโครงเรื่อง โดยในชวงแรกๆ ของการเขียน ผูเขียนใชวิธีการนึกกอนวามีเร่ืองอะไรหรือประเด็นอะไรที่เหน็ดวย เห็นโตแยง หรืออยากแสดงทัศนะออกมาของธุรกิจทั้งดานกลยุทธ การตลาด การบริหาร HR หรือความเปนผูนํา ฯลฯ ตัวอยางเชน

.....เมื่ออานบทความหรือหนังสือเกี่ยวกับธุรกิจอิเลคทรอนิกส (e-Business) ซึ่งมัก

เขียนโดยกลุมดานเทคนิค เชน IT Manager เจาของบริษัทดอทคอม Web Master หรือคอลัมนิสตของ

วารสารหรือส่ิงพิมพ ผูเขียนมีทัศนะวา

องคประกอบที่สําคัญของบทความทางวิชาการ (ธุรกิจ)

Page 2: Academic article guideline2012

 

Academi

และถาเป

สําเร็จทีส่

ผูเขียนที่

โดยตรง

การศึกษConcepผลึกเปน(www.@

โดยสาม

ic Article Guid

ปนผูบริหารระ

สามารถนําไป

ลองผิดลองถู

ผูเขียษาทางอินเตอpt) ใหกับเวบไนความคิดรวบ@Dot.com)”

ารถสรุปเปนโ

deline-Dr.Dan

(1) ไมตรงใจ

ะดับสูง หรือผู

(2) ยังขาดมุ

ปประยกุตใชไ

ถูกมาจากธุรกิ

ยนจงึเร่ิมเขียนรเน็ต การบรไซทบางแหง บยอดสูการเป

เมื่อการเขียนโมเดลไดดังนี้

รูปที

nai Thieanphu

จที่ผูเขียนตอง

ผูประกอบการ

มุมหรือแกนขอ

ไดอยางชัดเจ

กิจอินเตอรเนต็

นบทความเกี่รรยายเร่ืองเห(ศูนยหนังสือปนหนังสือเลม

นชํานาญข้ึน นี ้ที่ 1 : โมเดลข

ut

งการเพราะเน

ร เราไมอยาก

องความเปนธ

น เพราะหนัง

ต หรือธุรกิจอิ

ยวกับเร่ืองe-หลานี้รวมถึงกอจฬุาฯ)และปมหนึ่งในขณะ

องคประกอบ

ของโครงรางก

นนไปทางเทค

กรูมากเพราะ

ธุรกจิอยางแท

ังสือดานนี้ใน

อิเลคทรอนกิส

-Business เร่ืการเปนที่ปรึกประสบการณใะนั้น เปนหนัง

บของโครงราง

การเขียนบทค

C

คนิค หรือเทคโ

ะจางมืออาชีพ

ทจริง ไมไดใช

นเมืองไทยเปน

สมากกวาที่ได

อง การพัฒนกษาวางแนวคิในการปรับเปสือชื่อ “องคก

งของผูเขียน

ความ

Copyright201

โนโลยีมากเกิ

พใหมาทาํได

ชโมเดลหรือมี

นประสบการณ

ดรับการเรียนรู

นาเวบไซทจากคิด (Businessปล่ียนองคกร กรยุคดอทคอ

ไดผุดบังเกิดขึ

2 DntNet

กินไป

มีสูตร

ณของ

รูมา

กs จึงตกม

ข้ึนเอง

Page 3: Academic article guideline2012

 

Academi

ประเมินความคิดมากข้ึน

อาจรวบ

ที่ “หนกั”

วารสารจ

จะถูกหยิ

ic Article Guid

ประ เนื่อง

ผลการศึกษาดติดตัวมาโดย ทําใหเกิดกา

รูปท

สรุป

ข้ันตอนที ่3-4

” คือ ตองการ

จฬุาลงกรณข

ยิบมาใชทันท ี

deline-Dr.Dan

ะการที่สอง ตงจากผูเขียนคา ที่ภาควิจัยกยตลอดและภรคิดและพัฒ

ที่ 2 : การใช

ปแลว กรอบข

4 ก็ได แตโดย

รอางอิงทางวชิ

ของคณะพาณิ

nai Thieanphu

นแบบจากกาคลุกคลีในแวการศึกษา คณภายหลังจากจนาโมเดลในก

โมเดลการเขี

ของการเขียนบ

ยหลักใหญใจ

ชาการ หรือเป

ณิชยศาสตร จุ

ut

ารเขียนรายงาดวงวิจัยดวยณะครุศาสตร จบการศึกษารการเขียนบทค

ยนบทความจ

บทความของ

จความผูเขียน

ปนขอความรู

จฬุาฯ หรือวาร

านวิจัย สมัยที่เรียนป ิจุฬาฯ ทําใหระดับปริญญความไดงายยิ

จากการเขียน

งผูเขียนเปนไป

นวางอยูในกร

รใหมหรือสงไป

รสารทางวชิา

C

ริญญาโทดากรอบของกาาเอกตองมกียิ่งข้ึน โดยสรุ

นรายงานการวิ

ปตามข้ันตอน

รอบขางตนเส

ปลงในวารสา

การของสถาบ

Copyright201

นการวัดและรวิจัยจะอยูในารทาํวิจยัทางรปใหเหน็ดังรูป

วจิยั

นที่ 1-5 ในบา

มอ และหาก

ารวิชาการ เช

บันการศึกษา

2 DntNet

นโมเดลงธุรกิจปที่ 2

างคร้ัง

กเปนเร่ือง

าโมเดลนี้

Page 4: Academic article guideline2012

4  

Academic Article Guideline-Dr.Danai Thieanphut Copyright2012 DntNet

ประการสุดทาย ผูเขียนใชกรอบในการเขียนบทความวชิาการจากการเขียนจดหมาย

การเขียนเรียงความ ยอความหรือการเขียนจดหมาย โดยท่ัวๆ ไปจะประกอบดวยข้ันตอน

3 สวนที่สําคัญดังนี้ 1) คํานํา 2) เนื้อหา และ 3) บทสรุป ดังรูปที่ 3

รูปที่ 3 : การใชโมเดลบทความจากรูปแบบการเขียนจดหมาย

ทั้งหมดใน 3 ประการที่ผูเขียนไดอธิบายถึง รูปแบบในการที่ผูเขียนใชวางโมเดลของ

การเขียนบทความ ผูเขียนใชรูปแบบใดรูปแบบหนึง่ใน 3 รูปแบบสลับกันไปมา หรือหากสรุปงายๆ คือ ถา

เขียนจดหมายถึงแฟน (คนรัก) ไดก็เขียนบทความไดเพราะโครงรางหรือโมเดลจะเหมือนกนั ซึ่งคนรุนใหม

คงลําบากหนอยเพราะเด๋ียวนี้ไมมีโอกาสเขียนจดหมายกันแลว เพราะใช Facebook, Twitter, SMS ผาน

ทางโทรศัพทมอืถือ

Page 5: Academic article guideline2012

5  

Academic Article Guideline-Dr.Danai Thieanphut Copyright2012 DntNet

มืออาชีพดานการเขียนบทความ 

ดร.ดนัย เทยีนพุฒ[email protected]

 

    โลกของนกัเขียนบทความและหนังสือวชิาการทางธุรกิจมีหลายส่ิงหลายอยางที่นาพิสมัย

เพราะวาเปนโลกแหงความจริง เปนโลกของการนาํหลักการหรือทฤษฎีที่ผานการปฏิบัติจริงใน

“หองทดลองธุรกิจ” ออกมาสูสาธารณะเพือ่การตีแผเผยแพรขอความจริง และสรางองคความรูใหมใหโลก

ธุรกิจสามารถพัฒนาเติบโตอยางตอเนื่องและไมหยุดยัง้ 

 

คําถามที่ผูเขียนจ่ัวหัวข้ึนมาคือ “ใครจะสามารถเขียนบทความวิชาการไดดี!? คําตอบ

ของคําถามถาตอบแบบพื้นๆ ตองบอกวา “พวกผูรู” หรือ “พวกนักวิชาการ” หรือ”มือ-อาชีพดานดานเขียน

บทความ” จงึจะเปนผูที่สามารถเขียนไดดี

แตในโลกความเปนจริงเปนละครับ! ที่นาจะเขียนไดดีทีสุ่ด

ในทัศนะและประสบการณของผูเขียนบทความหรือหนงัสือทางวิชาการดานธุรกิจคิดวา

เราสามารถพจิารณาไดจากบุคคลใน 3 กลุมอาชีพตอไปนี ้

กลุมแรก อาจารยหรือนกัวิชาการในสถาบนัการศึกษา

บุคคลในกลุมนี้เปนผูทีท่รงความรูมากที่สุด เพราะอยูในสถาบันการศึกษา ทาํหนาที่ถายทอดความรูใหกับลูกศิษยรุนตอรุนจนนับไมถวน ทําการศึกษาวจิัยและคนควาหาความรูอยูตลอดเวลา (อาจจะไมทกุคน)

ดังนัน้กลุมอาชีพแรกนี้ควรเขียนบทความทางวิชาการไดดีและไมวาจะดวยปจจยัหรือ

เงื่อนไขใดๆ ทัง้ส้ิน

ใครจะสามารถเขียนบทความทางวิชาการไดดี?

Page 6: Academic article guideline2012

6  

Academic Article Guideline-Dr.Danai Thieanphut Copyright2012 DntNet

ส่ิงที่เปนปญหาจริงๆ ของธุรกิจที่จะไดรับประโยชนจากนกัเขียนกลุมแรกคือ

ขอความรูจากหลักการ ทฤษฎี หรือบางคร้ังอาจเปนงานวิจัย คนควา แตสวนใหญมกั

มีจุดออนตรงที่เปน “ทฤษฎีดิบ” คือ การนาํไปประยุกตใชจริงๆ คอนขางยาก เนื่องจากผูเขียนขาด

ประสบการณในการทําธุรกจิ

ขอความรูบางคร้ังนักเขียนทางวชิาการในกลุมนี้เปนขอความรูจาก “หองสมุด” หรือ

การไปศึกษารวบรวมจากตํารา บทความ หรือขอสนเทศที่มีการตีพิมพเผยแพรออกมา ทําให “การประมวล

ความรูทางธุรกิจ” เปนมิติของความรูที่ไมทันกับการเปล่ียนแปลงของธุรกิจ หรือไมสามารถนํามาใชไดกับ

ธุรกิจที่กาวลํ้าหนาไปไกลมากๆ

หากนักเขียนในกลุมนี้ไดลงไปในภาคสนาม ไดสัมผัสกบัโลกธุรกิจจริงๆ ความรูที่เผยแพร

ออกมาในรูปบทความทางวชิาการจะมีประโยชนกับธุรกิจเปนอยางยิง่

กลุมที่สอง นกัปฏิบัติหรือผูที่เชี่ยวชาญในอาชีพสาขาตางๆ

บุคคลในกลุมนี้เปนผูที่ลงมอืปฏิบัติจริง ดังนัน้ขอความรูที่ไดจึงเปนประโยชนมาก ซึง่

ในทางธุรกิจเราเรียกกนัวา “บทเรียนที่ดีเลิศ (Best Practices)”

ขอความรูจากนักเขียนในกลุมนี้ มหีลักการ โมเดล และรูปแบบการนาํไปสูการปฏิบัติ

ที่ประสบผลสําเร็จมาแลวขององคกรธุรกจิ

ขอจํากัดขององคความรูจากนักเขียนในกลุมนี้สวนใหญเปนความสําเร็จขององคกร

เพียงแหงเดียวไมสามารถไดอยางแพรหลาย เพราะไมไดเปน “ตัวแทนความรู” ของทัง้ธุรกิจ

อยางไรก็ตาม หากนักเขียนในกลุมนี้สามารถขยายผลไปสูการวิจยัและพัฒนาเพื่อการ

สรางใหเกิดความรูใหม หรือนําไปสูกระบวนการทางวิทยาศาสตร เพือ่สรุปเปนทฤษฎีที่ใชไดทั่วไป

(Generalization) สามารถเปนประโยชนตอธุรกิจอยางสูงยิ่ง และจะมีความสําเร็จสูงกวากลุมแรกเปน

ทวีคูณ

กลุมสุดทาย มืออาชีพหรือที่ปรึกษา หรือมือปนรับจาง

กลุมนกัเขียน ถามาจากกลุมนี้เราเรียกไดวา “ครบเคร่ือง” คือ มีองคความรูดานทฤษฎีที่

แนน ผานการปฏิบัติมาอยางเขมขนและมีประสบการณในฐานะที่ปรึกษาหลายธุรกจิ ดังนัน้ขอความหรือ

บทความที่เผยแพรออกมาจึงมีคุณคาสูง อาท ิ

Page 7: Academic article guideline2012

7  

Academic Article Guideline-Dr.Danai Thieanphut Copyright2012 DntNet

ขอความรูจากนักเขียนในกลุมนี้ มนีัยสําคัญตอความสําเร็จของธุรกิจที่สูงสุด

ไมมีขีดจํากัดของการนาํไปใชหรือการขยายผล ยิง่หากมีการวิจยัและพัฒนาอยาง

ตอเนื่อง จะไดทฤษฎีใหมๆ เกิดข้ึนมากมาย

ในปจจุบันเราพบวากลุมธุรกิจที่ปรึกษาช้ันนาํหลายๆ แหงไดนาํประสบการณทีห่ลอหลอม

เปนองคความรูใหมถายทอดออกมาเปนตํารามากมาย และติดอันดับ “เคร่ืองมือใหมของธุรกิจ” หลายตอ

หลายเร่ือง ผูเขียนไดมีโอกาสอานบทความทางวิชาการดานการบริหารทรัพยากรบุคคลในวารสารของ

สมาคมวิชาชพีของไทยบางแหง ทาํใหเกดิขอกังขาวา

นักวชิาการหรือนักปฏิบัติ หรืออาจารยทีเ่ขียนบทความทางวิชาการ มักมีสไตล

เหมือนๆ กนั เชน พยายามทีจ่ะใหคํานิยาม หาความหมายของคําศัพทวาคืออะไร ใครพูดไวบาง และ

สรุปวาตนเองเห็นวานาจะเปนอยางไร

ประเด็นนี้สําคัญมากตอการเขียนบทความทางวิชาการ เพราวาเปนเสมือนการพายเรือใน

อาง ไมไดกระโจนไปสูขอความใหม หรือเปรียบไปแลวเปนแคการคนควาและการเขียนรายงานจาก

หองสมุดเทานัน้เอง

ความจํากัดทางดานประสบการณและความเขาใจในทฤษฎีอยางลึกซ้ึง” แตในความ

เปนจริงไมมีอะไรในกอไผเพราะขอเขียนดังกลาว

- ขาดตรรกของระบบการคิด ทําใหโมเดลใหมทีน่าํเสนอออกมามีความขัดแยงกัน

โดยรวมและในองคความรู

- ไมสามารถที่จะนําไปใชได หรือหากนําไปใชมักเกิดขอติดขัดหรืออุปสรรคอยาง

มากมายเนื่องจากไมไดผานการนาํไปใชมากอน

- มักเปนการแปลบทความหรือนําบทความตางๆ มารอยเรียงกนัเพื่อใหดูเปน

องคประกอบที่ลงตัว แตในความเปนจริงแลวสับสนและเปนเร่ืองที่เชือ่มโยงกันยาก แต “บังคับใหเขารูป”

ในแนวคิดหรือโมเดลทีน่ําเสนอ

Page 8: Academic article guideline2012

8  

Academic Article Guideline-Dr.Danai Thieanphut Copyright2012 DntNet

โดยสรุปแลว การที่จะเขียนบทความและหนงัสือทางวิชาการดานธุรกจิ มิได

หมายความแบบงายๆ ที่ใครนึกอยากสนกุและเขียนข้ึน เพราะผลกระทบมีอยูสูงมากเนื่องจากไมรูวาจะมี

ใครมาอานบาง และเกิดความไมเทาทันในความคิด เผอิญไปขยายผลสูการปฏิบัติก็จะเสียหายทัง้ตนเอง

และธุรกิจ ซึ่งมีใหเหน็อยูเสมอๆ อาท ิเชน ในเร่ืองของดัชนีวัดผลสําเร็จธุรกิจ (KPIs) ในเร่ืองของ

ความสามารถ (Competencies) เร่ืองการปรับเปล่ียนองคกรธุรกิจ (Corporate Transformation) เปนตน

ผูเขียนไดเคยเลาใหฟงไปบางแลววา รูปแบบในสไตลการเขียนของผูเขียนเกี่ยวกับ

บทความและหนงัสือทางวิชาการนั้น ผูเขียนมีอยู 3 ลําดับในพัฒนาการดังนี ้

ลําดับแรก ในชวง 5 ปแรกของการเขียนบทความและหนังสือทางวิชาการเปนการนาํ

ปญหาในธุรกจิ ขอคนพบจากการศึกษา การอาน หรือการวิจยัมาเขียนเปนบทความก่ึงวิชาการ พรอม

ตัวอยางทีน่าสนใจและสรุปดวยขอคิดเหน็ของผูเขียน ซึง่มีทฤษฎีและหลักการสนับสนุนขอคิดเหน็ดังกลาว

ลําดับตอมา ในชวงอีก 10 ปตอมาของการสูอาชีพนักเขียนดานวิชาการท่ีเขมขน มี

สไตลการเขียนเปนลักษณะเปรียบเทยีบถงึทฤษฎี (Theory) หรือแนวคิด (Concept) ตางๆ วาสามารถ

นําไปปฏิบัติไดหรือไม มีจุดเดน จุดออนอยางไรและตัวยางของการนาํไปปฏิบัติจริงๆ ในธุรกิจไดเกิดผล

สําเร็จมาแลวมากนอยเพียงใด พรอมทั้งไดมีการพัฒนาทางดานภาษาและสํานวนในลักษณะที่อานงาย

มากข้ึนกวาการเขียนในชวงแรก

ลําดับปจจุบัน คือขอเขียนและหนังสือที่ผูเขียนตีพิมพเผยแพรอยูในขณะนี้ มีสไตล

การเขียนเปนรูปแบบใหมคือ นาํทฤษฎีหรือองคความรูที่ไดพัฒนาข้ึนมาจากการลงไปปฏิบัติจริงในธุรกิจ

และสรางเปนองคความรูดวยวิธกีารวิจยัเชิงปฏิบัติการ (Action Research) ออกมาเผยแพรใหธุรกิจ

นําไปใช พรอมการวิเคราะหวิจารณวาควรพัฒนาตอเนื่องในอนาคตขางหนาอยางไร

ทิศทางสูอนาคต เปนการพฒันารูปแบบการเขียนหนงัสือทางวิชาการหรือรายงาน

การวิจยัที่ปรับใหเปนองคความรูใหมในสไตล รายงานการวิจัยเชิงพาณิชย (Com-mercial Research

Report) โดยเหมือนอานหนงัสือฮาวท ู(How-To) มากกวาอานรายงาน การวิจยั ปจจุบันไดนํางานวิจยัมา

เขียนในลักษณะนี้ได 2 เลมแลว

Page 9: Academic article guideline2012

9  

Academic Article Guideline-Dr.Danai Thieanphut Copyright2012 DntNet

เลมแรก เจาะ DNA ธุรกิจครอบครัวไทย เขียนจาก

งานวิจยัที่ศึกษาธุรกิจครอบครัวไทยต้ังแตยุคสุโขทัยจนถึงกรุงรัตนโกสินทร

เลมที่สอง ทนุมนุษยจัดการใหดีสูดีเลิศ เปนการเขียนจากงานวิจัยเกีย่วกับ การพฒันา

โมเดลการจัดการและการวดัทุนมนุษยและเสนอโมเดลทุนมนุษยสูอนาคต

เห็นไหมละครับ! การเขียนบทความและหนังสือทางธุรกจิ

ผูเขียนก็ไดพฒันาตนเองใหมีความรูเพิม่พูนมากข้ึนไปดวย แถมยงัสามารถทําใหเกิดรายไดเสริมอาชีพ

ข้ึนมาอีกทางหน่ึง...ไมเชื่อกล็องเขียนดูซิครับ!