ใบเนื้อหาหน่วยที่ · 1...

31
1 ใบเนื้อหาหน่วยที1 วิชา 2001-2001 คอมพิวเตอร์และสารสนเทศเพื่องานอาชีพ สอนครั้งที1 ชื่อหน่วย การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องาน อาชีพ จานวน 3 คาบ สาระสาคัญ คอมพิวเตอร์ได้เข้ามามีบทบาทที่สาคัญอย่างมากทั้งในชีวิตประจาวัน รวมไปถึงการใช้งานใน หน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนได้มีการนาคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยในการบริหารจัดการองค์กร มากขึ้น ดังนั้นจึงมีความจาเป็นที่จะต้องเรียนรู้เกี่ยวกับความหมาย หลักการทางานของคอมพิวเตอร์ องค์ประกอบ ผลกระทบ ของคอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ เพื่อให้สามารถใช้คอมพิวเตอร์และ ระบบสารสนเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น จุดประสงค์การเรียนการสอน จุดประสงค์ทั่วไป 1. เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพ 2. เพื่อให้ประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพ 3. เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ 4. เพื่อให้มีกิจนิสัยในการทางานด้วยความรับผิดชอบ รอบคอบ และปลอดภัย จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. บอกความหมายของคอมพิวเตอร์ได้อย่างถูกต้อง 2. อธิบายหลักการทางานของคอมพิวเตอร์ได้อย่างถูกต้อง 3. บอกองค์ประกอบระบบคอมพิวเตอร์ได้อย่างถูกต้อง 4. บอกความหมายของระบบสารสนเทศได้อย่างถูกต้อง 5. บอกความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างถูกต้อง 6. อธิบายวิธีการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศในงานอาชีพได้อย่าง ถูกต้อง 7. บอกผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างถูกต้อง 8. มีเจตคติที่ดีในการเรียน ด้วยความรับผิดชอบ รอบคอบ และปลอดภัย สมรรถนะประจาหน่วย 1. แสดงความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ หลักการทางาน และองค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ 2. แสดงความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศ 3. ประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และระบบสนสนเทศเพื่องานอาชีพได้อย่างเหมาะสม

Upload: others

Post on 01-Jun-2020

1 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: ใบเนื้อหาหน่วยที่ · 1 ใบเนื้อหาหน่วยที่ 1 วิชา 2001-2001 คอมพิวเตอร์และสารสนเทศเพื่อ

1

ใบเนื้อหาหน่วยที่ 1

วิชา 2001-2001 คอมพิวเตอร์และสารสนเทศเพ่ืองานอาชีพ สอนครั้งที่ 1

ชื่อหน่วย การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพ่ืองานอาชีพ

จ านวน 3 คาบ

สาระส าคัญ

คอมพิวเตอร์ได้เข้ามามีบทบาทที่ส าคัญอย่างมากทั้งในชีวิตประจ าวัน รวมไปถึงการใช้งานในหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนได้มีการน าคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยในการบริหารจัดการองค์กรมากขึ้น ดังนั้นจึงมีความจ าเป็นที่จะต้องเรียนรู้เกี่ยวกับความหมาย หลักการท างานของคอมพิวเตอร์ องค์ประกอบ ผลกระทบ ของคอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ เพ่ือให้สามารถใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพมากข้ึน

จุดประสงค์การเรียนการสอน จุดประสงค์ทั่วไป

1. เพ่ือให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพ่ืองานอาชีพ 2. เพ่ือให้ประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพ่ืองานอาชีพ 3. เพ่ือให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ 4. เพ่ือให้มีกิจนิสัยในการท างานด้วยความรับผิดชอบ รอบคอบ และปลอดภัย

จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. บอกความหมายของคอมพิวเตอร์ได้อย่างถูกต้อง 2. อธิบายหลักการท างานของคอมพิวเตอร์ได้อย่างถูกต้อง 3. บอกองค์ประกอบระบบคอมพิวเตอร์ได้อย่างถูกต้อง 4. บอกความหมายของระบบสารสนเทศได้อย่างถูกต้อง 5. บอกความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างถูกต้อง 6. อธิบายวิธีการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศในงานอาชีพได้อย่าง

ถูกต้อง 7. บอกผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างถูกต้อง 8. มีเจตคติท่ีดีในการเรียน ด้วยความรับผิดชอบ รอบคอบ และปลอดภัย

สมรรถนะประจ าหน่วย 1. แสดงความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ หลักการท างาน และองค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ 2. แสดงความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศ 3. ประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และระบบสนสนเทศเพ่ืองานอาชีพได้อย่างเหมาะสม

Page 2: ใบเนื้อหาหน่วยที่ · 1 ใบเนื้อหาหน่วยที่ 1 วิชา 2001-2001 คอมพิวเตอร์และสารสนเทศเพื่อ

2

ใบเนื้อหาหน่วยที่ 1

วิชา 2001-2001 คอมพิวเตอร์และสารสนเทศเพ่ืองานอาชีพ สอนครั้งที่ 1

ชื่อหน่วย การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพ่ืองานอาชีพ

จ านวน 3 คาบ

เนื้อหาสาระหน่วยท่ี 1 1. การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพ่ืองานอาชีพ

1.1 ความรู้เบื้องต้นเก่ียวกับคอมพิวเตอร์ 1.1.1 ความหมายของคอมพิวเตอร์ 1.1.2 หลักการทางานของคอมพิวเตอร์ 1.1.3 ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ 1.1.4 คุณสมบัติของคอมพิวเตอร์

1.2 ความรู้เบื้องต้นเก่ียวกับระบบสารสนเทศ 1.2.1 ความหมายของระบบสารสนเทศ 1.2.2 องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ

1.3 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพ่ืองานอาชีพ 1.3.1 งานราชการ 1.3.2 ด้านการศึกษา 1.3.3 ด้านวิศวกรรม 1.3.4 งานวิทยาศาสตร์ 1.3.5 งานธุรกิจ 1.3.6 งานธนาคาร 1.3.7 ร้านค้าปลีก 1.3.8 วงการแพทย์ 1.3.9 ด้านอุตสาหกรรม 1.3.10 การคมนาคมและการสื่อสาร

1.4 ผลกระทบจากเทคโนโลยีสารสนเทศ 1.4.1 ผลกระทบด้านบวก 1.4.2 ผลกระทบด้านลบ

Page 3: ใบเนื้อหาหน่วยที่ · 1 ใบเนื้อหาหน่วยที่ 1 วิชา 2001-2001 คอมพิวเตอร์และสารสนเทศเพื่อ

3

ใบเนื้อหาหน่วยที่ 1

วิชา 2001-2001 คอมพิวเตอร์และสารสนเทศเพ่ืองานอาชีพ สอนครั้งที่ 1

ชื่อหน่วย การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพ่ืองานอาชีพ

จ านวน 3 คาบ

การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพ

1.1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 1.1.1 ความหมายของคอมพิวเตอร์

ตามพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ได้บัญญัติศัพท ์คอมพิวเตอร์ ว่า “คณิตกรณ์” และได้ให้ความหมายของคอมพิวเตอร์ ดังนี้ เครื่องอิเล็กทรอนิกส์แบบอัตโนมัติ ท าหน้าที่เหมือนสมองกล ใช้ส าหรับแก้ปัญหาที่ง่ายและซับซ้อนโดยวิธีทางคณิตศาสตร์

คอมพิวเตอร์ (Computer) เป็นสิ่งผลิตที่ส าคัญที่สุดที่ประดิษฐ์ขึ้น ในปัจจุบันได้ทราบกันแล้วว่าเครื่องคอมพิวเตอร์เข้ามามีบทบาทในชีวิตประจ าวัน ซึ่งเป็นอุปกรณ์ที่ช่วยแบ่งเบาภาระงานของมนุษย์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถค านวณงานสลับซับซ้อน แก้ไขปัญหาทางวิทยาศาสตร์ งานด้านธุรกิจ ซึ่งใช้กันอย่างแพร่หลาย เพราะว่า เครื่องคอมพิวเตอร์ท างานได้ถูกต้อง แม่นย ารวดเร็วและสามารถเก็บข้อมูลได้จ านวนมาก รวมทั้งจะท าการประมวลผลตามชุดค าสั่งโดยอัตโนมัติ ค าว่า “computer” มาจากภาษาลาตินว่า “computer” ซึ่งหมายถึงการนับ หรือการค านวณ (กุลยา นิ่มสกุล, 2534, หน้า 2)

คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องจักรอิเล็กทรอนิกส์เอนกประสงค์ที่ใช้งานในการประมวลผลข้อมูลโดยมีความสามรถในการรับข้อมูลท าการประมวลผลหรือท างานตามชุดค าสั่ง โดยการค านวณเคลื่อนย้ายข้อมูล ท าการเปรียบเทียบ และแสดงผลลัพธ์ ได้โดยอัตโนมัติ (วราภรณ์ รัชตะวรรณ,2541, หน้า 2)

คอมพิวเตอร์ คือ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ชนิดหนึ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นมา เพ่ือใช้ส าหรับค านวณหรือประมวลผลข้อมูลต่าง ๆ จากการป้อนข้อมูลลงไปผ่านทางแป้นพิมพ์ เพ่ือให้แสดงผลลัพธ์ออกมาในรูปแบบต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นข้อความ ตัวเลข ภาพ เสียงและอ่ืน ๆ โดยแสดงผลออกมาทางจอภาพ หรือทางเครื่องพิมพ์ เป็นต้น (พิษณุ ปุระศิริ 2553, หน้า 3)

คอมพิวเตอร์ คือ เครื่องอิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถจัดการกับสัญลักษณ์ต่าง ๆ ด้วยความเร็วสูงโดยปฏิบัติตามขั้นตอนของโปรแกรม สามารถประมวลผลเป็นตัวเลข ตัวอักษร และภาพต่าง ๆได้อย่างรวดเร็วตามลักษณะโปรแกรมที่ใช้ สามารถเก็บบันทึกสารสนเทศได้เป็นจ านวนมากสามารถแสดงผลลัพธ์ออกทางจอภาพ เครื่องพิมพ์ และอ่ืน ๆ ได้หลายลักษณะ (บุญสืบ โพธ์ศรี และคณะ, 2554, หน้า 4)

กล่าวโดยสรุป คอมพิวเตอร์ คือ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถท างานตามชุดค าสั่งของโปรแกรม โดยรับเอาข้อมูลเข้ามาเก็บไว้ในหน่วยความจ า ท าการประมวลผลและแสดงผลออกมาเป็นสารสนเทศในรูปแบบต่าง ๆ ได้อย่างรวดเร็วตามวัตถุประสงค์ท่ีต้องการ ดังภาพที่ 1.1

Page 4: ใบเนื้อหาหน่วยที่ · 1 ใบเนื้อหาหน่วยที่ 1 วิชา 2001-2001 คอมพิวเตอร์และสารสนเทศเพื่อ

4

ใบเนื้อหาหน่วยที่ 1

วิชา 2001-2001 คอมพิวเตอร์และสารสนเทศเพ่ืองานอาชีพ สอนครั้งที่ 1

ชื่อหน่วย การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพ่ืองานอาชีพ

จ านวน 3 คาบ

ภาพที่ 1.1 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (ที่มา : http://www.thaiwbi.com/course/Intro_com/Intro_com/wbi1/hie/page11.htm)

1.1.2 หลักการท างานของคอมพิวเตอร์

คอมพิวเตอร์ไม่ว่าจะเป็นประเภทใดก็ตามxจะมีลักษณะการท างานของส่วนต่าง ๆที่มีความสัมพันธ์กันเป็นกระบวนการxโดยมีองค์ประกอบพ้ืนฐานหลักคือ Input Process Output และStorage ซึ่งมีข้ันตอนการท างาน ดังภาพที่ 1.2

ภาพที่ 1.2 แสดงหลักการท างานของคอมพิวเตอร์ (ที่มา : http://sekut98kering.blogspot.com/)

จากภาพที่ 1.2 หลักการท างานของคอมพิวเตอร์สามารถแบ่งขั้นตอนการท างาน โดยมี

ขั้นตอนดังนี้

Page 5: ใบเนื้อหาหน่วยที่ · 1 ใบเนื้อหาหน่วยที่ 1 วิชา 2001-2001 คอมพิวเตอร์และสารสนเทศเพื่อ

5

ใบเนื้อหาหน่วยที่ 1

วิชา 2001-2001 คอมพิวเตอร์และสารสนเทศเพ่ืองานอาชีพ สอนครั้งที่ 1

ชื่อหน่วย การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพ่ืองานอาชีพ

จ านวน 3 คาบ

1.1.2.1 ขั้นตอนที่ 1 : การรับข้อมูลและค าสั่ง (Input) คอมพิวเตอร์จะรับข้อมูลและค าสั่งผ่านอุปกรณ์น าเข้าข้อมูล คือ เมาส์ คีย์บอร์ด สแกนเนอร์ ไมโครโฟน ฯลฯ เช่นxถ้าเป็นการพิมพ์ข้อความหรือโปรแกรม จะใช้แป้นพิมพ์ (Keyboard) เป็นต้น

1.1.2.2 ขั้นตอนที่ 2 : ประมวลผลข้อมูล (Process) เป็นการน าข้อมูลและค าสั่งที่คอมพิวเตอร์รับเข้ามา แล้วมาด าเนินการตามข้อมูลและค าสั่งที่ได้รับมา เพ่ือให้ได้ผลลัพธ์ตามที่ต้องการเช่น น าข้อมูลมาบวก ลบ คูณ หาร ท าการเรียงล าดับ จัดกลุ่ม เป็นต้น

1.1.2.3 ขั้นตอนที่ 3 : แสดงผลลัพธ์ (Output) เป็นการน าผลลัพธ์จากการประมวลผลมาแสดงทางอุปกรณ์ที่ก าหนดไว้xโดยทั่วไปจะแสดงผ่านทางจอภาพ หรือเรียกกันทั่วไปว่า "จอมอนิเตอร์" (Monitor) หรือพิมพ์ข้อมูลออกทางกระดาษโดยใช้เครื่องพิมพ์ เป็นต้น

1.1.2.4 ขั้นตอนที่ 4 : การเก็บบันทึกข้อมูล (Storage) คอมพิวเตอร์จะท าการเก็บผลลัพธ์จากการประมวลผลไว้ในหน่วยเก็บข้อมูล เช่น ฮาร์ดดิสก์ แผ่นบันทึกข้อมูล (Floppy disk) ซีดีรอม เพ่ือให้สามารถน ามาใช้ใหม่ได้ในอนาคต

1.1.3 ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ แบ่งตามหน้าที่การท างานได้ เป็น 4 กลุ่ม คือ หน่วยรับ

ข้อมูล หน่วยประมวลผลข้อมูล หน่วยความจ า และหน่วยแสดงผลข้อมูล ดังภาพที่ 1.3

ภาพที่ 1.3 แสดงส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์

(ที่มา : http://sekut98kering.blogspot.com/)

จากภาพที่ 1.3 ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์สามารถแบ่งหน้าที่การท างาน โดยมีรายละเอียด ดังนี้

Page 6: ใบเนื้อหาหน่วยที่ · 1 ใบเนื้อหาหน่วยที่ 1 วิชา 2001-2001 คอมพิวเตอร์และสารสนเทศเพื่อ

6

ใบเนื้อหาหน่วยที่ 1

วิชา 2001-2001 คอมพิวเตอร์และสารสนเทศเพ่ืองานอาชีพ สอนครั้งที่ 1

ชื่อหน่วย การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพ่ืองานอาชีพ

จ านวน 3 คาบ

1.1.3.1 หน่วยรับข้อมูล ท าหน้าที่ในการรับข้อมูลหรือค าสั่งจากภายนอกเข้าไปเก็บไว้ในหน่วยความจ า เพ่ือเตรียมประมวลผลข้อมูลตามที่ต้องการ ซึ่งอุปกรณ์ที่ใช้ในการน าเข้าข้อมูลที่ใช้กันอยู่ตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบันนั้นมีอยู่หลายประเภทด้วยกัน ส าหรับอุปกรณ์ที่นิยมใช้ในปัจจุบัน เช่น. แป้นพิมพ์(Keyboard), แทร็คบอล (Trackball), เมาส์ (Mouse), จอยสติ๊ก (Joystick), สแกนเนอร์ (Scanner), จอภาพสัมผัส (Touch Screen) และกล้องดิจิตอล (Digital Camera) เป็นต้น

1.1.3.2 หน่วยประมวลผลกลาง ท าหน้าที่ในการประมวลผล แบ่งออกเป็น 2 ส่วนคือ

1) หน่วยควบคุม (control unit) ท าหน้าที่ควบคุมการท างาน ควบคุมการเขียนอ่านข้อมูลระหว่างหน่วยความจ าของซีพียู ควบคุมกลไกการท างานทั้งหมดของระบบ และควบคุมจังหวะเวลาโดยมีสัญญาณนาฬิกาเป็นตัวก าหนดจังหวะการท างาน

2) หน่วยค านวณและตรรกะ (arithmetic and logic unit) เป็นหน่วยที่มีหน้าทีน่ าเอาข้อมูลที่เป็นตัวเลขฐานสองมาประมวลผลทางคณิตศาสตร์และตรรกะ เช่น การบวก การลบ การเปรียบเทียบ และการสลับตัวเลข เป็นต้น การค านวณท าได้เร็วตามจังหวะการควบคุมของหน่วยควบคุม

1.1.3.3 หน่วยความจ าxท าหน้าที่ในการเก็บข้อมูลหรือค าสั่งต่างๆ ที่รับจากภายนอกเข้ามาเก็บไว้เพ่ือประมวลผลและยังเก็บผลที่ได้จากการประมวลผลไว้เพ่ือแสดงผลอีกด้วย แบ่งออกเป็น 2 ประเภท

1) หน่วยความจ าหลัก ใช้เก็บข้อมูลและค าสั่งซีพียูมีการท างานเป็นวงรอบโดยการรับค าสั่งจากหน่วยความจ าหลักมาแปลความหมายแล้วกระท าตาม เมื่อท าเสร็จก็จะน าผลลัพธ์มาเก็บในหน่วยความจ าหลัก ซีพียูจะกระท าตามขั้นตอนเช่นนี้เรื่อย ๆ ไปอย่างรวดเร็ว เรียกการท างานลักษณะนี้ว่า วงรอบของค าสั่ง การแบ่งประเภทหน่วยความจ าหลัก โดยทั่วไปการแบ่งประเภทของหน่วยความจ าจะแบ่งตามสภาพการใช้งาน คือหน่วยความจ าที่เขียนหรืออ่านข้อมูลได้ เราเรียกหน่วยความจ าประเภทนี้ว่า แรม (Random Access Memory: RAM) และหน่วยความจ าที่ซีพียูอ่านได้อย่างเดียว ไม่สามารถเขียนลงไปได้ ก็เรียกว่า รอม (Read Only Memory : ROM) รอมจึงเป็นหน่วยความจ าที่เก็บข้อมูลหรือโปรแกรมไว้ถาวร เช่น เก็บโปรแกรมควบคุมการจัดการพ้ืนฐานของระบบไมโครคอมพิวเตอร์ (bios)

2) หน่วยความจ าส ารอง ใช้เป็นส่วนเพ่ิมหน่วยความจ าให้มีขนาดใหญ่มากขึ้น ท างานติดต่ออยู่กับส่วนความจ าหลัก โดยปกติแล้วหน่วยความจ าส ารองจะมีความจุมากและมีราคาถูกกว่าหน่วยความจ าหลัก แต่เรียกข้อมูลมาใช้งานได้ช้ากว่า เช่น ฮาร์ดดิสก์, ฟลอบปี้ดิสก ์เป็นต้น

Page 7: ใบเนื้อหาหน่วยที่ · 1 ใบเนื้อหาหน่วยที่ 1 วิชา 2001-2001 คอมพิวเตอร์และสารสนเทศเพื่อ

7

ใบเนื้อหาหน่วยที่ 1

วิชา 2001-2001 คอมพิวเตอร์และสารสนเทศเพ่ืองานอาชีพ สอนครั้งที่ 1

ชื่อหน่วย การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพ่ืองานอาชีพ

จ านวน 3 คาบ

1.1.3.4 หน่วยแสดงผลข้อมูลxท าหน้าที่ในการแสดงผลลัพธ์ที่ได้จากการค านวณและประมวลผลในรูปแบบที่มนุษย์เข้าใจ ส าหรับอุปกรณ์ที่ท าหน้าที่ในการแสดงผล เช่น จอภาพ (Monitor) เครื่องพิมพ์ (Printer) ล าโพง (Speaker) และพล็อตเตอร์ (Plotter) เป็นต้น

1.1.4 คุณสมบัติของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์มีคุณสมบัติที่ส าคัญ 5 ประการดังนี้ 1.1.4.1 การท างานด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic machine)xการจัดเก็บข้อมูล

ที่บันทึกผ่านทางแป้นพิมพ์หรืออุปกรณ์อ่ืน ๆ ข้อมูลเหล่านี้จะถูกแปลงให้เป็นสัญญาณไฟฟ้าเพ่ือให้คอมพิวเตอร์เข้าใจและ สามารถประมวลผลได้ และเมื่อคอมพิวเตอร์ประมวลผลเรียบร้อยแล้วข้อมูลที่เป็นสัญญาณไฟฟ้าจะถูกแปลงกลับให้เป็นรูปแบบที่มนุษย์สามารถเข้าใจได้

1.1.4.2 การท างานด้วยความเร็วสูง (Speed)xเนื่องจากการท างานของคอมพิวเตอร์เป็นระบบอิเล็กทรอนิกส์ ดังนั้นการด าเนินงานต่าง ๆ จึงสามารถกระท าได้อย่างรวดเร็ว (มากกว่าพันล้านค าสั่งในหนึ่งวินาที)

1.1.4.3 ความถูกต้องแม่นย าเชื่อถือได้ (Accuracy and Reliability)xคอมพิวเตอร์จะท างานตามที่ค าสั่งที่มนุษย์เขียนโปรแกรมหรือค าสั่งไว้ ถ้าผู้ใช้ป้อนข้อมูลและชุดค าสั่งมีความถูกต้อง ผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลก็จะมีความถูกต้องเชื่อถือได้

1.1.4.4 การเก็บข้อมูลได้ในปริมาณมาก (Storage)xคอมพิวเตอร์ที่มีหน่วยความจ าที่ท าหน้าที่เก็บข้อมูลที่บันทึกไป ความสามารถในการจัดเก็บข้อมูลนี้จะขึ้นอยู่กับขนาดของคอมพิวเตอร์ เช่น เครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันจะมีหน่วยเก็บข้อมูลส ารองที่สามารถเก็บ ข้อมูลมีได้มากกว่าหมื่นล้านตัวอักษร เป็นต้น

1.1.4.5 การสื่อสารเชื่อมโยงข้อมูล (Communication)xคอมพิวเตอร์สามารถติดต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์อ่ืน ๆ และสามารถท างานที่หลากหลายมากขึ้นกว่าการใช้คอมพิวเตอร์ระบบเดี่ยว เช่น การน าคอมพิวเตอร์เชื่อมต่อระบบอินเทอร์เน็ตเพ่ือการสืบค้น เป็นต้น 1.2 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ

1.2.1 ความหมายของระบบสารสนเทศ ระบบสารสนเทศ หมายถึง ชุดขององค์ประกอบที่ท าหน้าที่รวบรวม ประมวลผล จัดเก็บ

และแจกจ่ายสารสนเทศ เพ่ือช่วยในการตัดสินใจ และการควบคุมในองค์กร ในการท างานของระบบสารสนเทศประกอบไปด้วยกิจกรรม 3 อย่าง คือ การน าข้อมูลเข้าสู่ระบบ ( Input) การประมวลผล (Processing) และการน าเสนอผลลัพธ์ (Output) ระบบสารสนเทศอาจจะมีการสะท้อนกลับ(Feedback) เพ่ือการประเมินและปรับปรุงข้อมูลน าเข้า ระบบสารสนเทศอาจจะเป็นระบบที่

Page 8: ใบเนื้อหาหน่วยที่ · 1 ใบเนื้อหาหน่วยที่ 1 วิชา 2001-2001 คอมพิวเตอร์และสารสนเทศเพื่อ

8

ใบเนื้อหาหน่วยที่ 1

วิชา 2001-2001 คอมพิวเตอร์และสารสนเทศเพ่ืองานอาชีพ สอนครั้งที่ 1

ชื่อหน่วย การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพ่ืองานอาชีพ

จ านวน 3 คาบ

ประมวลผลด้วยมือ(Manual) หรือระบบที่ใช้คอมพิวเตอร์ประมวลผลก็ได้ (Computer-based information system –CBIS) (Laudon & Laudon, 2001)

ระบบสารสนเทศ หมายถึง ระบบคอมพิวเตอร์ที่จัดเก็บข้อมูล และประมวลผลเป็นสารสนเทศ และระบบสารสนเทศเป็นระบบที่ต้องอาศัยฐานข้อมูล (CIS 105 — Survey of Computer Information Systems, n.d.)

ระบบสารสนเทศ หมายถึง ชุดของกระบวนการ บุคคล และเครื่องมือ ที่จะเปลี่ยนข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ (FAO Corporate Document Repository, 1998) ระบบสารสนเทศ ไม่ว่าจะเป็นระบบมือหรือระบบอัตโนมัติ หมายถึง ระบบที่ประกอบด้วย คน เครื่องจักรกล(machine) และวิธีการในการเก็บข้อมูล ประมวลผลข้อมูล และเผยแพร่ข้อมูล ให้อยู่ในลักษณะของสารสนเทศของผู้ใช้ (Information system, 2005)

สรุปได้ว่า ระบบสารสนเทศ ก็คือ ระบบของการจัดเก็บ ประมวลผลข้อมูล โดยอาศัยบุคคลและเทคโนโลยีสารสนเทศในการด าเนินการ เพ่ือให้ได้สารสนเทศที่เหมาะสมกับงานหรือภารกิจแต่ละอย่าง

1.2.2. องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ องค์ประกอบของระบบสารสนเทศที่ท าให้การจัดการข้อมูลมีประสิทธิภาพ และสามารถ

น าสารสนเทศมาใช้ประโยชน์ได้ ดังภาพที่ 1.4

ภาพที่ 1.4 แสดงองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ (ที่มา : sugafahru.wordpress.com)

Page 9: ใบเนื้อหาหน่วยที่ · 1 ใบเนื้อหาหน่วยที่ 1 วิชา 2001-2001 คอมพิวเตอร์และสารสนเทศเพื่อ

9

ใบเนื้อหาหน่วยที่ 1

วิชา 2001-2001 คอมพิวเตอร์และสารสนเทศเพ่ืองานอาชีพ สอนครั้งที่ 1

ชื่อหน่วย การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพ่ืองานอาชีพ

จ านวน 3 คาบ

1.2.2.1 ฮาร์ดแวร์ (Hardware) คือ เครื่องมือหรืออุปกรณ์ต่างๆ ที่ใช้งานในระบบสารสนเทศ เช่น อุปกรณ์ส านักงานและเครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ โดยฮาร์ดแวร์ที่ส าคัญที่สุดในระบบสารสนเทศ คือ เครื่องคอมพิวเตอร์ ฮาร์ดแวร์ของเครื่องคอมพิวเตอร์สามารถแบ่งได้ตามหน่วยการท างาน ดังนี้

1) หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) เป็นฮาร์ดแวร์ที่ท าหน้าที่เป็นหน่วยรับข้อมูล เรียกว่า อุปกรณ์รับข้อมูล (Input Devices) เช่น แป้นพิมพ์ (Keyboard) เมาส์ (Mouse) กล้องดิจิทัล(Digital Camera) สแกนเนอร์ (Scanner) และไมโครโฟน (Microphone) เป็นต้น ดังภาพที่ 1.5

ภาพที่ 1.5 แสดงหน่วยรับข้อมูลฮาร์ดแวร์

(ที่มา : sugafahru.wordpress.com)

2) หน่วยประมวลผลกลางหรือซีพียู (CPU : Central Processing Unit) บางครั้งเรียกว่าโปรเซสเซอร์(Processor) มีลักษณะเป็นวงจรอิเล็กทรอนิกส์หรือชิป(Chip) ภายในประกอบด้วย ทรานซิสเตอร์ (Transistor) และอุปกรณ์อ่ืนๆ รวมอยู่ด้วยกันจ านวนมากภายในคอมพิวเตอร์ ดังภาพที่ 1.6

ภาพที่ 1.5 แสดงหน่วยประมวลผลกลางหรือซีพียู (ที่มา : https://www.anandtech.com/show/6985)

Page 10: ใบเนื้อหาหน่วยที่ · 1 ใบเนื้อหาหน่วยที่ 1 วิชา 2001-2001 คอมพิวเตอร์และสารสนเทศเพื่อ

10

ใบเนื้อหาหน่วยที่ 1

วิชา 2001-2001 คอมพิวเตอร์และสารสนเทศเพ่ืองานอาชีพ สอนครั้งที่ 1

ชื่อหน่วย การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพ่ืองานอาชีพ

จ านวน 3 คาบ

3) หน่วยความจ า (Memory Unit) เป็นหน่วยที่ท างานในเครื่องคอมพิวเตอร์ด้วยความเร็วมากที่สุด มีหลายแบบทั้งแบบที่ติดตั้งในเครื่องคอมพิวเตอร์และแบบพกพาหน่วยความจ าแบ่งตามลักษณะการทางานเป็น 2 ประเภท ได้แก่

(1) หน่วยความจ าหลัก (Main Memory) ได้แก่ แรม (RAM : Random Access Memory) รอม (ROM : Read-Only Memory) และซีมอส (CMOS : Complementary Metal-Oxide Semiconductor)

(2) หน่วยความจ าส ารอง เป็นฮาร์ดแวร์ส ารองข้อมูล ได้แก่ ฮาร์ดดิสก์ (Hard Disk) แผ่นซีดี (CD : Compact Disc) แผ่นดีวีดี (DVD :Digital Versatile Disc) เป็นต้น

4) หน่วยแสดงผล (Output Unit) ท าหน้าที่แสดงผลที่ได้จากการประมวลผลข้อมูล ได้แก่ เครื่องพิมพ์ และจอภาพตัวอย่างจอภาพ เครื่องพิมพ์เลเซอร์ และเครื่องพิมพ์ฉีดหมึก ดังภาพที่ 1.7

ภาพที่ 1.7 แสดงหน่วยแสดงผล Hardware (ที่มา : http://uberstudent.com/wiki/index.php?title=File:Monitors.png)

1.2.2.2 ซอฟต์แวร์ (Software) หรือโปรแกรม คือ ชุดค าสั่งที่เรียงเป็นล าดับขั้นตอนเพ่ือ

สั่งให้คอมพิวเตอร์ท างานและประมวลผลข้อมูลให้ได้สารสนเทศที่ต้องการ ปัจจุบันซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการท างานระดับบุคคล ระดับกลุ่ม และระดับองค์กร มี 2 ประเภท ดังนี้

1) ซอฟต์แวร์ระบบ เป็นตัวกลางระหว่างฮาร์ดแวร์และโปรแกรมประยุกต์ ใช้ในการควบคุมและดูแลการท างานทั้งหมดของระบบคอมพิวเตอร์ขณะที่เปิดใช้โปรแกรมประยุกต์อยู่ซอฟต์แวร์ระบบจะควบคุมการท างานของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ทั้งหมดอย่างต่อเนื่อง ซอฟต์แวร์ระบบประกอบด้วยระบบปฏิบัติการและตัวแปลภาษา ดังภาพที่ 1.8

Page 11: ใบเนื้อหาหน่วยที่ · 1 ใบเนื้อหาหน่วยที่ 1 วิชา 2001-2001 คอมพิวเตอร์และสารสนเทศเพื่อ

11

ใบเนื้อหาหน่วยที่ 1

วิชา 2001-2001 คอมพิวเตอร์และสารสนเทศเพ่ืองานอาชีพ สอนครั้งที่ 1

ชื่อหน่วย การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพ่ืองานอาชีพ

จ านวน 3 คาบ

ภาพที่ 1.8 แสดงซอฟต์แวร์ระบบ (ที่มา : https://sites.google.com/site/poxsw2/software/sxftwaer)

2) ซอฟต์แวร์ประยุกต์ คือ ซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นเพ่ือใช้งานด้านต่างๆ ตาม

ความต้องการของผู้ใช้ เช่น ซอฟต์แวร์กราฟิก ซอฟต์แวร์ประมวลค า ซอฟต์แวร์ตารางท างาน เป็นต้น 1.2.2.3 ข้อมูล (Data) คือ ข้อมูลเป็นองค์ประกอบที่ชี้วัดความส าเร็จหรือความล้มเหลว

ของระบบสารสนเทศ ข้อมูลที่ดีซึ่งเหมาะแก่การน าไปใช้งานต้องเป็นข้อมูลที่ถูกต้อง ทันสมัย และมีความน่าเชื่อถือ โดยผ่านกระบวนการกลั่นกรองและตรวจสอบแล้ว นอกจากนี้ต้องมีระบบการจัดการข้อมูลให้เป็นระเบียบเพื่อความสะดวกในการค้นหา

1.2.2.4 บุคลากร (People ware) คือบุคคลที่ใช้งาน จัดการ และควบคุมระบบสารสนเทศ ซึ่งหากบุคลากรมีความรู้ความสามารถในการใช้ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ และปฏิบัติงานตามขั้นตอนที่ถูกต้อง ส่งผลให้ระบบสารสนเทศท างานได้อย่างมีประสิทธิภาพและได้ผลงานที่มีคุณภาพ บุคลากรที่เก่ียวข้องในการจัดการระบบสารสนเทศ มีดังนี ้

1) นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst) คือ ผู้ท าหน้าที่วิเคราะห์ระบบการท างานของเครื่องคอมพิวเตอร์หรือระบบสารสนเทศที่ต้องการ โดยศึกษาปัญหาที่เคยเกิดขึ้นในระบบสารสนเทศ ตลอดจนหาแนวทางในการแก้ไขและปรับปรุงระบบสารสนเทศให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยนักวิเคราะห์ระบบแบ่งเป็น2 ประเภท ดังนี้

(1) นักวิเคราะห์ระบบที่เป็นบุคลากรภายในองค์กร (Staff employee within the organization)

Page 12: ใบเนื้อหาหน่วยที่ · 1 ใบเนื้อหาหน่วยที่ 1 วิชา 2001-2001 คอมพิวเตอร์และสารสนเทศเพื่อ

12

ใบเนื้อหาหน่วยที่ 1

วิชา 2001-2001 คอมพิวเตอร์และสารสนเทศเพ่ืองานอาชีพ สอนครั้งที่ 1

ชื่อหน่วย การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพ่ืองานอาชีพ

จ านวน 3 คาบ

(2) นักวิเคราะห์ระบบที่เป็นที่ปรึกษาจากภายนอก (Outside or external consultant)

2) โปรแกรมเมอร์ (Programmer) คือ ผู้ที่ท าหน้าที่รับระบบสารสนเทศจากนักวิเคราะห์ระบบที่ได้จัดท าไว้มาเขียนหรือสร้างให้เป็นโปรแกรม เพ่ือสั่งงานเครื่องคอมพิวเตอร์ให้ท าหน้าที่ได้ผลลัพธ์ตามท่ีออกแบบมา

3) เจ้าหน้าที่ฝ่ายปฏิบัติงานเครื่อง (Operator) คือ ฝ่ายที่ท าหน้าที่ติดตั้งโปรแกรมคอมพิวเตอร์ลงในเครื่องคอมพิวเตอร์ เพ่ือให้เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถใช้งานได้ตรงตามความต้องการอย่างมีประสิทธิภาพ

4) ผู้ใช้ (User) เป็นผู้ใช้งานระบบสารสนเทศโดยตรง ผู้ใช้ระบบสารสนเทศที่ดีจะต้องมีความรู้เกี่ยวกับการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์และซอฟต์แวร์ที่ใช้

1.2.2.5 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน (Procedure) คือ ระเบียบ วิธีการปฏิบัติงาน ล าดับขั้นตอนในการปฏิบัติงานหรือกระบวนการในการจัดการข้อมูลให้เป็นสารสนเทศที่สามารถน าไปใช้ประโยชน์ได้ เช่น ขั้นตอนการบันทึกข้อมูล ขั้นตอนการประมวลผล ขั้นตอนปฏิบัติเมื่อเครื่องช ารุดหรือข้อมูลสูญหาย และข้ันตอนการท าส าเนาข้อมูลส ารองเพ่ือความปลอดภัย เป็นต้น

1.3 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพ

1.3.1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศในงานราชการ คอมพิวเตอร์ถูกน ามาใช้ในงานทะเบียนราษฎร์ ช่วยในการนับคะแนนการเลือกตั้ง

และการประกาศผลเลือกตั้ง การคิดภาษีอากร การเก็บข้อมูลสถิติสัมมโนประชากร การเก็บเงินค่าไฟฟ้า น้ าประปา ค่าใช้โทรศัพท์ เป็นต้น ดังภาพที่ 1.9

ภาพที่ 1.9 แสดงการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศในงานราชการ

(ท่ีมา : http://oknation.nationtv.tv/blog/phuketpost/2013/08/25/entry-2)

Page 13: ใบเนื้อหาหน่วยที่ · 1 ใบเนื้อหาหน่วยที่ 1 วิชา 2001-2001 คอมพิวเตอร์และสารสนเทศเพื่อ

13

ใบเนื้อหาหน่วยที่ 1

วิชา 2001-2001 คอมพิวเตอร์และสารสนเทศเพ่ืองานอาชีพ สอนครั้งที่ 1

ชื่อหน่วย การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพ่ืองานอาชีพ

จ านวน 3 คาบ

1.3.2. การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศในด้านการศึกษา ปัจจุบันตามสถานศึกษาต่างๆ ได้มีการน าคอมพิวเตอร์มาใช้ในการเรียนการสอนอย่าง

มากมาย น ามาใช้ เช่น คอมพิวเตอร์ช่วยสอน อิเล็กทรอนิกส์บุค วิดีโอเทเลคอนเฟอเรนซ์ ระบบวิดีโอออนดีมานด์ การสืบค้นข้อมูลในคอมพิวเตอร์ และระบบอินเทอร์เน็ต เป็นต้น รวมทั้งใช้คอมพิวเตอร์ในงานบริหารของโรงเรียน เช่น การจัดท าประวัตินักเรียน ประวัติครูอาจารย์ การคัดคะแนนสอบ การจัดท าตารางสอน ใช้คอมพิวเตอร์ในงานห้องสมุด การจัดท าตารางสอน เป็นต้น ดังภาพที่ 1.10

ภาพที่ 1.10 แสดงการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศในด้านการศึกษา (ท่ีมา : https://sites.google.com/site/suhainee571031221/

5-kar-chi-khxmphiwtexr-ni-kar-thangan-dan-tang)

1.3.3 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศในงานด้านวิศวกรรม คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศสามารถท างานในด้านวิศวกรรมได้ตั้งแต่ขั้นตอน

การเขียนแบบ ลอกเขียนแบบ จนกระทั ่งถึงการออกแบบโครงสร้างของสถาปัตยกรรมต่างๆ ตลอดจนช่วยค านวณโครงสร้าง ช่วยในการวางแผนและควบคุมโครงการงานก่อสร้าง ดังภาพที่ 1.11

ภาพที่ 1.11 แสดงการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศในงานด้านวิศวกรรม (ท่ีมา : https://sites.google.com/site/suhainee571031221/

5-kar-chi-khxmphiwtexr-ni-kar-thangan-dan-tang)

Page 14: ใบเนื้อหาหน่วยที่ · 1 ใบเนื้อหาหน่วยที่ 1 วิชา 2001-2001 คอมพิวเตอร์และสารสนเทศเพื่อ

14

ใบเนื้อหาหน่วยที่ 1

วิชา 2001-2001 คอมพิวเตอร์และสารสนเทศเพ่ืองานอาชีพ สอนครั้งที่ 1

ชื่อหน่วย การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพ่ืองานอาชีพ

จ านวน 3 คาบ

1.3.4 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศในงานวิทยาศาสตร์ คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศสามารถท างานร่วมกับเครื่องมือทางวิทยาศาสตร์

ต่างๆ เช่น เครื่องมือวิเคราะห์สารเคมี เครื่องมือการทดลองต่างๆ แม้กระทั่งการเดินทางของยานอวกาศต่างๆ การถ่ายพ้ืนผิวโลกบนดาวอังคาร เป็นต้น ดังภาพที่ 1.12

ภาพที่ 1.12 แสดงการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศในงานวิทยาศาสตร์ (ท่ีมา : https://sites.google.com/site/suhainee571031221/

5-kar-chi-khxmphiwtexr-ni-kar-thangan-dan-tang)

1.3.5 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศในงานธุรกิจ ในการด าเนินธุรกิจคอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ ได้ถูกน ามาใช้ในจัดเก็บข้อมูล

ลูกค้า รวบรวม และวิเคราะห์ ข้อมูลช่วยให้ผู้บริหารสามารถตัดสินใจในการท าธุรกิจต่าง ๆ เช่น การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-commerce) ตลอดจนงานทางด้านเอกสารงานพิมพ์ต่างๆ เป็นต้น ดังภาพที่ 1.13

ภาพที่ 1.13 แสดงการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศในงานธุรกิจ (ท่ีมา : https://sites.google.com/site/suhainee571031221/

5-kar-chi-khxmphiwtexr-ni-kar-thangan-dan-tang)

Page 15: ใบเนื้อหาหน่วยที่ · 1 ใบเนื้อหาหน่วยที่ 1 วิชา 2001-2001 คอมพิวเตอร์และสารสนเทศเพื่อ

15

ใบเนื้อหาหน่วยที่ 1

วิชา 2001-2001 คอมพิวเตอร์และสารสนเทศเพ่ืองานอาชีพ สอนครั้งที่ 1

ชื่อหน่วย การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพ่ืองานอาชีพ

จ านวน 3 คาบ

1.3.6 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศในงานธนาคาร ในแวดวงธนาคารนับได้ว่าคอมพิวเตอร์ได้เข้ามามีบทบาทมากที่สุด เพราะธนาคารจะ

มีข้อมูล (Transaction) เป็นประจ าทุกวัน การหาอัตราดอกเบี้ยต่างๆ นอกจากนี้การใช้บริการ ATM ซึ่งลูกค้าสามารถฝากถอนเงินได้จากเครื่องอัตโนมัติ ซึ่งจะให้สะดวกแก่ผู้ใช้บริการเป็นอย่างยิ่ง และเป็นที่นิยมแพร่หลายในปัจจุบัน ดังภาพที่ 1.14

ภาพที่ 1.14 แสดงการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศในงานธนาคาร (ท่ีมา : https://sites.google.com/site/suhainee571031221/

5-kar-chi-khxmphiwtexr-ni-kar-thangan-dan-tang)

1.3.7 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศในร้านค้าปลีก ในธุรกิจร้านค้าปลีก หรือที่ธุรกิจ"เฟรนไชน์" ส่วนมาก ได้มีการน าคอมพิวเตอร์และ

ระบบสารสนเทศเข้ามาใช้ในการให้บริการลูกค้า เช่น การคิดเงิน การตรวจสอบสินค้าคงคลัง การให้บริการช าระ ค่าน้ า-ไฟฟ้า ค่าโทรศัพท์ เป็นต้น จะเห็นได้ว่ามีการออนไลน์ระหว่างร้านค้าเหล่านั้นกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพ่ือสามารถตัดยอดบัญชีได้ เป็นต้น ดังภาพที่ 1.15

ภาพที่ 1.15 แสดงการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศในร้านค้าปลีก (ท่ีมา : https://sites.google.com/site/suhainee571031221/

5-kar-chi-khxmphiwtexr-ni-kar-thangan-dan-tang)

Page 16: ใบเนื้อหาหน่วยที่ · 1 ใบเนื้อหาหน่วยที่ 1 วิชา 2001-2001 คอมพิวเตอร์และสารสนเทศเพื่อ

16

ใบเนื้อหาหน่วยที่ 1

วิชา 2001-2001 คอมพิวเตอร์และสารสนเทศเพ่ืองานอาชีพ สอนครั้งที่ 1

ชื่อหน่วย การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพ่ืองานอาชีพ

จ านวน 3 คาบ

1.3.8 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศในวงการแพทย์ คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศได้ถูกน ามาใช้ในการเก็บประวัติของคนไข้ ควบคุม

การรับและจ่ายยา ตลอดจนยังอยู่ในอุปกรณ์เครื่องมือทางการแพทย์ เช่น เครื่องมือผ่าตัด บันทึกการเต้นของหัวใจ ตรวจคลื่นสมอง และด้านการหาต าแหน่งของอวัยวะก่อนการผ่าตัด เป็นต้น ดังภาพที่ 1.16

ภาพที่ 1.16 แสดงการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศในวงการแพทย์ (ท่ีมา : https://sites.google.com/site/suhainee571031221/

5-kar-chi-khxmphiwtexr-ni-kar-thangan-dan-tang)

1.3.9 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศในงานด้านอุตสาหกรรม ในวงการอุตสาหกรรม ตั้งแต่การวางแผนการผลิต ก าหนดเวลาการผลิต จนกระทั่งถึง

ผลิตสินค้า ในการควบคุมระบบการผลิตทั้งหมด ได้มีการน าคอมพิวเตอร์มาใช้ใน การควบคุมการท างานของเครื่องจักร เช่น การเจาะ ตัด ไส กลึง เป็นต้น ส่วนโรงงานผลิตรถยนต์ ก็จะใช้ หุ่นยนต์คอมพิวเตอร์ในการท าสี รวมถึงการประกอบรถยนต์ เป็นต้น ดังภาพที่ 1.17

ภาพที่ 1.17 แสดงการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศในงานด้านอุตสาหกรรม (ท่ีมา : https://sites.google.com/site/suhainee571031221/

5-kar-chi-khxmphiwtexr-ni-kar-thangan-dan-tang)

Page 17: ใบเนื้อหาหน่วยที่ · 1 ใบเนื้อหาหน่วยที่ 1 วิชา 2001-2001 คอมพิวเตอร์และสารสนเทศเพื่อ

17

ใบเนื้อหาหน่วยที่ 1

วิชา 2001-2001 คอมพิวเตอร์และสารสนเทศเพ่ืองานอาชีพ สอนครั้งที่ 1

ชื่อหน่วย การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพ่ืองานอาชีพ

จ านวน 3 คาบ

1.3.10 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศในการคมนาคมและการสื่อสาร การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศในการคมนาคม เป็นส่วนที่เกี่ยวกับการ

เดินทาง เช่น การเดินทางโดยรถไฟ มีการเชื่อมโยงข้อมูลการจองที่นั่งไปยังทุกสถานี ท าให้สะดวกต่อผู้โดยสาร การเช็คอินของสายการบิน ได้จัดท าเครื่องมือที่สะดวกต่อลูกค้า ในรูปแบบของการเช็คอินด้วยตนเอง การควบคุมไฟจราจรด้วยคอมพิวเตอร์จะช่วยให้สัญญาณไฟจราจรตามทางแยกมีการปิดเปิดสัญญาณไฟเขียวอย่างสัมพันธ์กัน ในส่วนที่เป็นการสื่อสาร จะเห็นได้ว่า มีการสื่อสารในรูปแบบต่าง ๆ ในเครือข่ายสาธารณะ ซึ ่งสามารถที่จะสื ่อสาร กับทุกคนได้ทั่วมุมโลก โดยมีโปรแกรมที่ สามารถจะใช้ในการพูดคุยกันได้ เช่น ไลน์ เฟซบุ๊ก ทวิตเตอร์ เป็นต้น 1.4 ผลกระทบจากเทคโนโลยีสารสนเทศ

ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อชีวิตความเป็นอยู่และสังคมมีมาก มีการเรียนรู้และใช้สารสนเทศกันอย่างกว้างขวาง ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ กล่าวได้ดังนี้

1.4.1 ผลกระทบด้านบวกของเทคโนโลยีสารสนเทศ 1.4.1.1 ผลกระทบด้านคุณภาพชีวิต

1) การสร้างเสริมคุณภาพชีวิต มีการพัฒนาใช้ระบบสื่อสารโทรคมนาคม เพ่ือติดต่อสื่อสารให้สะดวกขึ้น มี

การประยุกต์มาใช้กับเครื่องอ านวยความสะดวกภายในบ้าน น ามาควบคุมอุปกรณ์ต่างๆภายในบ้าน ได้แก่ แนวคิดบ้านอัจฉริยะ ที่มีการควบคุมการท างานของบ้านภายใน ผ่านระบบปฏิบัติการที่จะสั่งงานอุปกรณ์ท่ีอยู่ในบ้านได้ เช่น

(1) การดูโทรทัศน์แบบสั่งได้ (ออน ดีมานด์) ควบคุมระดับเสียงของวิทยุให้นุ่มหู หรือเลือกที่จะเล่นเกมยามว่าง

(2) ตู้เย็นสามารถตรวจเช็คของในตู้เย็น และจ านวนที่ถูกใช้ไป เช่น มีไข่ในตู้เย็น 10 ฟอง ถ้าน าไข่ออก 2 ฟอง ระบบจะรายงานทันทีว่า มีไข่เหลือ 8 ฟอง ซึ่งหากต้องการสั่งซื้อของบเพ่ิม ก็สามารถซ้ือผ่านตู้เย็นได้ทันที รวมทั้งขอสูตรการท าอาหารรสเด็ดต่างๆ ได้อีกด้วย

(3) ห้องนอนสามารถควบคุมแสง ด้วยการสั่งผ่านเสียง เช่น ต้องการให้แสงภายในห้องมืดลงก็พูดสั่งได้เลย แสงภายในห้องก็จะลดความสว่างลงโดยอัตโนมัติ เป็นต้น

(4) การใช้กล้องวงจรปิด ปัจจุบันกล้องวงจรปิดได้ถูกใช้งานอย่างแพร่หลายมาก เนื่องมาจากข่าวตามหน้าหนังสือพิมพ์, โทรทัศน์, อินเทอร์เน็ต ฯลฯ ซึ่งเหตุการณ์ร้ายต่างๆ ที่เกิดขึ้นนั้นส่วนถูกบันทึกโดยกล้องวงจรปิด เลยท าให้ผู้คนหันมาติดกล้องวงจรปิดกันมากขึ้น โดยกล้องวงจรปิดที่อยู่ตามอาคาร ทางเข้า หรือที่สาธารณะต่างๆ ก็เพ่ือจุดประสงค์ทางด้านการรักษาความปลอดภัย ซึ่งกล้องวงจรปิดเหล่านี้ จะมีความสามารถในการเก็บภาพเป็นจ านวนมากมายหลายเฟรม

Page 18: ใบเนื้อหาหน่วยที่ · 1 ใบเนื้อหาหน่วยที่ 1 วิชา 2001-2001 คอมพิวเตอร์และสารสนเทศเพื่อ

18

ใบเนื้อหาหน่วยที่ 1

วิชา 2001-2001 คอมพิวเตอร์และสารสนเทศเพ่ืองานอาชีพ สอนครั้งที่ 1

ชื่อหน่วย การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพ่ืองานอาชีพ

จ านวน 3 คาบ

ต่อเนื่องกัน เพื่อมาเก็บไว้ที่เครื่องบันทึกวิดีโอ ทั้งยังสามารถดูผ่านทางอินเตอร์เน็ตได้ หากเราเดินทางไปต่างจังหวัด เพื่อเปิดดูเหตุการณ์ความเคลื่อนไหวต่างๆ ที่บ้าน

(5) การใช้ GPS น าทาง เครื่องรับสัญญาณ GPS รับสัญญาณ GPS ในเครื่องตัวโปรแกรม ที่ได้ติดตั้งไว้ในเครื่องรับสัญญาณจะแสดงต าแหน่งปัจจุบันบนแผนที่ที่ถูกติดตั้งไว้ ภายในเครื่องแล้วเช่นกัน แผนที่ส าหรับการน าทางจะเป็นแผนที่ชนิดพิเศษที่มีการก าหนดทิศทางการจราจร เช่น การจราจรแบบชิดซ้ายหรือชิดขวา ข้อมูลการเดินรถทางเดียว สถานที่ส าคัญ และข้อมูลทางภูมิศาสตร์ต่างๆ ฝังไว้ในข้อมูลแผนที่นั้นแล้ว ข้อมูลเหล่านี้ได้จากการส ารวจและตั้งค่าไว้โดยบริษัทหรือองค์กร ที่ผลิตแผนที่ฐานนั้นๆ ในแต่ละทางแยกก็จะมีการก าหนดค่าเอาไว้ด้วยเช่นกันเพ่ือให้ตัวโปรแกรมสามารถเลือกการเชื่อมต่อของเส้นทางจนถึงจุดหมายที่ได้ก าหนดไว้ ดังภาพที่ 1.18

ภาพที่ 1.18 แสดงการใช้ TV on demand

(ที่มา : http://57010912683.blogspot.com/2015/02/1-1.html)

1.4.1.2 ผลกระทบด้านสังคม 1). การเสริมสร้างความเสมอภาคในสังคมและการกระจายโอกาส เทคโนโลยี

สารสนเทศช่วยให้การกระจายข่าวสารไปได้ท่ัวทุกหนแห่ง แม้แต่ในถ่ินทุรกันดาร เช่น (1) การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม (Distance Learning) เป็นนวัตกรรม

ทางการศึกษาท่ีเกิดข้ึนในสมัยศตวรรษท่ี 20 เพื่อตอบสนองความต้องการของสังคมปัจจุบันซึ่งเป็นสังคมข่าวสาร หรือสังคมของการเรียนรู้ได้อย่างเหมาะสม เป็นการเปิดโอกาสทางการศึกษาไปสู่บุคคลกลุ่มต่าง ๆ อย่างท่ัวถึง ท าให้เกิดการศึกษาตลอดชีวิต ที่บุคคลสามารถน าไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตได้อย่างต่อเนื่อง ดังภาพที่ 1.19

Page 19: ใบเนื้อหาหน่วยที่ · 1 ใบเนื้อหาหน่วยที่ 1 วิชา 2001-2001 คอมพิวเตอร์และสารสนเทศเพื่อ

19

ใบเนื้อหาหน่วยที่ 1

วิชา 2001-2001 คอมพิวเตอร์และสารสนเทศเพ่ืองานอาชีพ สอนครั้งที่ 1

ชื่อหน่วย การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพ่ืองานอาชีพ

จ านวน 3 คาบ

ภาพที่ 1.19 แสดงการเรียนการสอนทางไกลผ่าน Web Conference (ที่มา : http://57010912683.blogspot.com/2015/02/1-1.html)

(2). การรักษาพยาบาลผ่านเครือข่ายสื่อสารเรียกอีกอย่างว่า การรักษาโรค

ทางไกล (Telemedicine) คือการน าเทคโนโลยีด้านไอที และเทคโนโลยีด้านการสื่อสารโทรคมนาคม (โทรศัพท์, คลื่นวิทยุ, คลื่นไมโครเวฟ , wi-fi, เครือข่ายโทรศัพท์มือถือ , 3G , 4G, ดาวเทียม) มาช่วยในการตรวจวินิจฉัยโรค รักษาโรค และดูแลผู้ป่วย โดยมักจะมุ่งไปเพ่ือการน าบริการด้านสาธารณสุขให้เข้าถึงพ้ืนที่ที่ห่างไกลและขาดแคลนผู้เชี่ยวชาญและบริการด้านสุขภาพโดยใช้เทคโนโลยีที่มีอยู่แล้วและเทคโนโลยีที่ก าลังเกิดข้ึน ซึ่งการท า Telemedicine นี้ เป็นได้ตั้งแต่ง่ายๆเพียงแค่การท าตารางนัดหมายแบบออนไลน์ ไปจนถึงการผ่านตัดทางไกล ( remote surgery) เลยก็ได้ ดังภาพที่ 1.20

ภาพที่ 1.20 แสดงการรักษาโรคทางไกล (Telemedicine)

(ที่มา : https://www.beartai.com/news/itnews/85527)

การท า remote monitoring ก็ถือเป็นส่วนหนึ่งของ Telemedicine ช่วยให้การตรวจสังเกตติดตามอาการคนไข้ท าได้ง่ายขึ้น เช่นติดตั้งกล้องวงจรปิดที่สามารถส่งภาพมายังโทรศัพท์มือถือผ่านทาง

Page 20: ใบเนื้อหาหน่วยที่ · 1 ใบเนื้อหาหน่วยที่ 1 วิชา 2001-2001 คอมพิวเตอร์และสารสนเทศเพื่อ

20

ใบเนื้อหาหน่วยที่ 1

วิชา 2001-2001 คอมพิวเตอร์และสารสนเทศเพ่ืองานอาชีพ สอนครั้งที่ 1

ชื่อหน่วย การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพ่ืองานอาชีพ

จ านวน 3 คาบ

อินเทอร์เน็ต ให้คอยติดตามดูอาการของคนไข้ แม้ลูกหลานจะอยู่นอกบ้าน หรือการติด sensor ไว้ที่คนไข้เพ่ือให้ส่งสัญญาณการติดตามอาการ หากมีสิ่งผิดปกติเกิดขึ้นมายังคอมพิวเตอร์ หรือมือถือของผู้ที่เฝ้าสังเกตอาการของคนไข้ เป็นต้น ดังภาพที่ 1.21

ภาพที่ 1.21 แสดงระบบการท างานของ การรักษาโรคทางไกล (Telemedicine) (ที่มา : http://57010912683.blogspot.com/2015/02/1-1.html)

2). การจัดทรัพยากรธรรมชาติหลายอย่างจ าเป็นต้องใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เช่น

การดูแลรักษาป่า จ าเป็นต้องใช้ข้อมูล มีการใช้ภาพถ่ายจากดาวเทียม การติดตามข้อมูลสภาพอากาศ การพยากรณ์อากาศ การจ าลองรูปแบบสภาวะสิ่งแวดล้อมเพ่ือปรับปรุงแก้ไข การเก็บรวบรวมข้อมูลคุณภาพน้ าในแม่น้ าต่าง ๆ การตรวจวัดมลภาวะ ตลอดจนการใช้ระบบการตรวจวัดระยะไกลมาช่วยที่เรียกว่า โทรมาตร เป็นต้น ดังภาพที่ 1.22

ภาพที่ 1.22 แสดงซอฟต์แวร์ด้านการพยากรณ์อากาศ (ที่มา : http://57010912683.blogspot.com/2015/02/1-1.html)

Page 21: ใบเนื้อหาหน่วยที่ · 1 ใบเนื้อหาหน่วยที่ 1 วิชา 2001-2001 คอมพิวเตอร์และสารสนเทศเพื่อ

21

ใบเนื้อหาหน่วยที่ 1

วิชา 2001-2001 คอมพิวเตอร์และสารสนเทศเพ่ืองานอาชีพ สอนครั้งที่ 1

ชื่อหน่วย การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพ่ืองานอาชีพ

จ านวน 3 คาบ

1.4.1.3 ผลกระทบด้านการเรียนการสอน ในสถานศึกษามีการน าคอมพิวเตอร์และเครื่องมือประกอบช่วยในการเรียนการ

สอน เช่น วีดีทัศน์ เครื่องฉายภาพ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน คอมพิวเตอร์ช่วยจัดการศึกษา จัดตารางสอน ค านวณระดับคะแนน จัดชั้นเรียน ท ารายงานเพ่ือให้ผู้บริหารได้ทราบถึงปัญหาและการแก้ปัญหาในโรงเรียน ปัจจุบันมีการเรียนการสอนทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศในสถานศึกษามากขึ้น ดังภาพที่ 1.23

ภาพที่ 1.23 แสดงการเรียนการสอนผ่านทางอินเตอร์เน็ต

(ที่มา : http://57010912683.blogspot.com/2015/02/1-1.html)

1.4.2 ผลกระทบด้านลบของเทคโนโลยีสารสนเทศ นับตั้งแต่เทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามามีบทบาทมากในชีวิตประจ าวัน การใช้เทคโนโลยี

เป็นไปอย่างกว้างขวาง ซึ่งหมายถึงการใช้เทคโนโลยีไปในด้านต่างๆ ซึ่งแน่นอนที่ทุกสิ่งย่อมมีทั้งคุณและโทษ ภาพยนตร์หลายเรื่องได้สะท้อนความคิดของการน าเอาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในทางลบ ผลกระทบในทางลบเหล่านี้บางอย่างเป็นเพียงการคาดคะเนเท่านั้นอาจไม่ได้เกิดข้ึนจริง แต่อย่างไรก็ตามย่อมมีโอกาสเกิดขึ้นได้

ผลกระทบในทางลบของเทคโนโลยีสารสนเทศ มีดังนี้ 1.4.2.1 ท าให้เกิดอาชญากรรม เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นหนทางในการก่ออาชญากรรม

ได้ โจรผู้ร้ายอาจใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการวางแผนปล้น วางแผนโจรกรรม มีการลักลอบใช้ข้อมูลข่าวสาร มีการโจรกรรมหรือแก้ไขตัวเลขบัญชีด้วยคอมพิวเตอร์ การลอบเข้าไปแก้ไขข้อมูลอาจท าให้เกิด

Page 22: ใบเนื้อหาหน่วยที่ · 1 ใบเนื้อหาหน่วยที่ 1 วิชา 2001-2001 คอมพิวเตอร์และสารสนเทศเพื่อ

22

ใบเนื้อหาหน่วยที่ 1

วิชา 2001-2001 คอมพิวเตอร์และสารสนเทศเพ่ืองานอาชีพ สอนครั้งที่ 1

ชื่อหน่วย การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพ่ืองานอาชีพ

จ านวน 3 คาบ

ปัญหาหลายอย่าง เช่น การแก้ไขระดับคะแนนของนักศึกษา การแก้ไขข้อมูลในโรงพยาบาลเพ่ือให้การรักษาพยาบาลคนไข้ผิด ซึ่งเป็นการท าร้ายหรือฆาตกรรมดังท่ีเห็นในภาพยนตร์ ดังภาพที่ 1.24

ภาพที่ 1.24 แสดงการโจรกรรมข้อมูล

(ที่มา : http://57010912683.blogspot.com/2015/02/1-1.html)

1.4.2.2. ท าให้ความสัมพันธ์ของมนุษย์เสื่อมถอย การใช้คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์สื่อสาร ท าให้สามารถติดต่อสื่อสารกันได้โดยไม่ต้องเห็นตัว การใช้งานคอมพิวเตอร์หรือแม้แต่การเล่นเกมมีลักษณะการใช้งานเพียงคนเดียว ท าให้ความสัมพันธ์กับผู้ อ่ืนลดลง ผลกระทบนี้ท าให้มีความเชื่อว่า มนุษยสัมพันธ์ของบุคคลจะน้อยลง สังคมใหม่จะเป็นสังคมที่ไม่ต้องพ่ึงพากันมาก อย่างไรก็ดีได้มีงานวิจัยคัดค้านและแสดงความคิดเห็นที่ว่าเทคโนโลยีได้ช่วยให้มนุษย์มีการติดต่อสื่อสารถึงกันมากขึ้นและความสัมพันธ์ดีขึ้น

1.4.2.3. ท าให้เกิดความวิตกกังวล ผลกระทบนี้เป็นผลกระทบทางด้านจิตใจของกลุ่มบุคคลบางกลุ่มที่มีความวิตกกังวลว่า คอมพิวเตอร์อาจท าให้เกิดการว่าจ้างงานน้อยลง มีการน าเอาหุ่นยนต์มาใช้ในงานมากขึ้น มีระบบการผลิตที่อัตโนมัติมากขึ้น ท าให้ผู้ใช้แรงงานอาจตกงาน หรือหน่วยงานอาจเลิกว่าจ้างได้ โดยความจริงแล้วความคิดเหล่านี้จะเกิดขึ้นกับบุคลากรบางกลุ่มเท่านั้น แต่ถ้าบุคคลนั้นมีการปรับตัวให้เข้ากับเทคโนโลยี หรือมีการพัฒนาให้มีความรู้ความสามารถสูงขึ้นแล้วปัญหานี้จะไม่เกิดขึ้น ดังภาพที่ 1.25

Page 23: ใบเนื้อหาหน่วยที่ · 1 ใบเนื้อหาหน่วยที่ 1 วิชา 2001-2001 คอมพิวเตอร์และสารสนเทศเพื่อ

23

ใบเนื้อหาหน่วยที่ 1

วิชา 2001-2001 คอมพิวเตอร์และสารสนเทศเพ่ืองานอาชีพ สอนครั้งที่ 1

ชื่อหน่วย การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพ่ืองานอาชีพ

จ านวน 3 คาบ

ภาพที่ 1.25 แสดงการน าหุ่นยนต์มาใช้ในโรงงานอุตสาหกรรม (ที่มา : http://57010912683.blogspot.com/2015/02/1-1.html)

1.4.24. ท าให้เกิดการเสี่ยงภัยทางด้านธุรกิจ ธุรกิจในปัจจุบันจ าเป็นต้องพ่ึงพาอาศัย

เทคโนโลยีสารสนเทศมากขึ้น ข้อมูลข่าวสารทั้งหมดของธุรกิจฝากไว้ในศูนย์ข้อมูล เช่น ข้อมูลลูกหนี้การค้า ข้อมูลสินค้าและบริการต่างๆ หากเกิดการสูญหายของข้อมูล อันเนื่องมาจากเหตุอุบัติภัย เช่น ไฟไหม้ น้ าท่วม หรือด้วยสาเหตุใดก็ตามท่ีท าให้ข้อมูลหายหมด ย่อมท าให้เกิดผลกระทบต่อธุรกิจโดยตรง

1.4.2.5. ท าให้มีการพัฒนาอาวุธที่มีอ านาจท าลายสูง ประเทศที่เป็นเจ้าของเทคโนโลยี สามารถน าเทคโนโลยีมาช่วยในการสร้างอาวุธที่มีอานุภาพการท าลายสูง ท าให้เสี่ยงต่อการเกิดสงครามและมีการสูญเสียมากขึ้น

สรุปเนื้อหา

คอมพิวเตอร์ คือ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถท างานตามชุดค าสั่งของโปรแกรมโดยรับเอาข้อมูลเข้ามาเก็บไว้ในหน่วยความจ า ท าการประมวลผลและแสดงผลออกมาเป็นสารสนเทศในรูปแบบต่าง ๆ ได้อย่างรวดเร็วตามวัตถุประสงค์ท่ีต้องการ

หลักการท างานของคอมพิวเตอร์ มีดังนี้ 1 การรับข้อมูลและค าสั่ง (Input) 2 ประมวลผลข้อมูล (Process) 3 แสดงผลลัพธ์ (Output) 4 การเก็บบันทึกข้อมูล (Storage)

ระบบคอมพิวเตอร์ที่สมบูรณ์จึงประกอบด้วยองค์ประกอบส าคัญ 5 ส่วน มีรายละเอียดดังนี้

Page 24: ใบเนื้อหาหน่วยที่ · 1 ใบเนื้อหาหน่วยที่ 1 วิชา 2001-2001 คอมพิวเตอร์และสารสนเทศเพื่อ

24

ใบเนื้อหาหน่วยที่ 1

วิชา 2001-2001 คอมพิวเตอร์และสารสนเทศเพ่ืองานอาชีพ สอนครั้งที่ 1

ชื่อหน่วย การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพ่ืองานอาชีพ

จ านวน 3 คาบ

1. ฮาร์ดแวร์ (Hardware) 2. ซอฟต์แวร์ (Software) 3. บุคลากรทางคอมพิวเตอร์ (People ware) 4. ข้อมูล (Data) 5. กระบวนการท างาน (Procedure)

คอมพิวเตอร์มีการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในด้านต่างๆ อีกหลายด้าน ดังต่อไปนี้ 1. งานธุรกิจ 2. งานวิทยาศาสตร์ 3. งานคมนาคมและสื่อสาร 4. งานวิศวกรรมและสถาปัตยกรรม 5. งานราชการ 6. การศึกษา 7. งานธนาคาร 8. งานร้านค้าปลีก 9. งานอุตสาหกรรม 10 งานการแพทย์

ผลกระทบจากเทคโนโลยีสารสนเทศ 1. ด้านบวก ส่งผลกระทบด้านคุณภาพชีวิต สังคม และการสอน 2. ด้านลบ ส่งผลกระทบด้านอาชญากรรม ความสัมพันธ์ของมนุษย์เสื่อมถอย ธุรกิจ และ

อาวุธ การติดตั้งอุปกรณ์คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์รอบข้างควรพิจารณาในเรื่องการเลือกสถานที่ใน

การติดตั้ง การต่อสายไฟอุปกรณ์ต่าง ๆ และการเชื่อมต่ออุปกรณ์คอมพิวเตอร์ให้ถูกต้อง หน่วยนี้จะเป็นการอธิบายเกี่ยวกับอุปกรณ์คอมพิวเตอร์เบื้องต้น โดยเริ่มจากการอธิบาย

ความหมาย ลักษณะเด่น คุณสมบัติของคอมพิวเตอร์ ประโยชน์xการท างาน องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ ส่วนประกอบและหน้าที่การท างานของฮาร์ดแวร์ในระบบคอมพิวเตอร์ วิธีตรวจสอบอุปกรณ์ต่างๆ ในเครื่องคอมพิวเตอร์ และผลกระทบจากเทคโนโลยีสารสนเทศ

Page 25: ใบเนื้อหาหน่วยที่ · 1 ใบเนื้อหาหน่วยที่ 1 วิชา 2001-2001 คอมพิวเตอร์และสารสนเทศเพื่อ

25

ใบเนื้อหาหน่วยที่ 1

วิชา 2001-2001 คอมพิวเตอร์และสารสนเทศเพ่ืองานอาชีพ สอนครั้งที่ 1

ชื่อหน่วย การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพ่ืองานอาชีพ

จ านวน 3 คาบ

หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ค าสั่ง 1. ให้นักเรียนท าเครื่องหมาย ลงบนกระดาษค าตอบข้อที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว

2. ท าแบบทดสอบทุกข้อที่ก าหนดให้ 3. ข้อสอบข้อละ 1 คะแนน มีจ านวน 10 ข้อ

################################################################ 1. ค าว่า “คอมพิวเตอร์” มาจากภาษาอะไร

ก ภาษาลาติน ข ภาษากรีก ค ภาษาเยอรมัน ง ภาษาฝรั่งเศส

2. หลักการท างานของคอมพิวเตอร์มีกี่ขั้นตอน ก 1 ขั้นตอน ข 2 ขั้นตอน ค 3 ขั้นตอน ง 4 ขั้นตอน

3. ข้อใดกล่าวถึงส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ได้ถูกต้อง ก หน่วยรับข้อมูล หน่วยประมวลผลข้อมูล หน่วยความจ า และหน่วยแสดงผลข้อมูล ข หน่วยรับข้อมูล หน่วยประมวลผลข้อมูล หน่วยความจ า และหน่วยปรับปรุงข้อมูล ค หน่วยรับข้อมูล หน่วยส่งข้อมูล หน่วยความจ า และหน่วยแสดงผลข้อมูล ง หน่วยประกอบข้อมูล หน่วยประมวลผลข้อมูล หน่วยความจ า และหน่วยแสดงผลข้อมูล

4. ข้อใดคือความหมายของระบบสารสนเทศ ก ชุดขององค์ประกอบที่ท าหน้าที่รวบรวม ประมวลผล จดัเก็บ และแจกจ่ายสารสนเทศ เพ่ือช่วย

การตัดสินใจ และการควบคุมในองค์กร ข ใช้เป็นส่วนเพิ่มหน่วยความจ าให้มีขนาดใหญ่มากข้ึน ท างานติดต่อยู่กับส่วนความจ าหลัก ค รับข้อมูลหรือค าสั่งจากภายนอกเข้าไปเก็บไว้ในหน่วยความจ า เพื่อเตรียมประมวลผลข้อมูลตามที่

ต้องการ ง เครื่องอิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถจัดการกับสัญลักษณ์ต่าง ๆ ด้วยความเร็วสูงโดยปฏิบัติตามข้ันตอน

ของโปรแกรม 5. องคป์ระกอบของระบบสารสนเทศมีทั้งหมดกี่องค์ประกอบ

ก 1 องค์ประกอบ ข 3 องค์ประกอบ

Page 26: ใบเนื้อหาหน่วยที่ · 1 ใบเนื้อหาหน่วยที่ 1 วิชา 2001-2001 คอมพิวเตอร์และสารสนเทศเพื่อ

26

ใบเนื้อหาหน่วยที่ 1

วิชา 2001-2001 คอมพิวเตอร์และสารสนเทศเพ่ืองานอาชีพ สอนครั้งที่ 1

ชื่อหน่วย การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพ่ืองานอาชีพ

จ านวน 3 คาบ

ค 7 องค์ประกอบ ง 5 องค์ประกอบ

6. การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศในงานราชการน ามาใช้ท าอะไร ก การจัดท าประวัตินักเรียน ข นับคะแนนการเลือกตั้ง ค การเขียนแบบ ง วิเคราะห์สารเคมี

7. ข้อใดคือผลกระทบด้านบวกของเทคโนโลยีสารสนเทศ ก การดูโทรทัศน์แบบสั่งได้ ข ท าให้เกิดอาชญากรรม ค การว่าจ้างงานน้อยลง ง เกิดสงครามและมีการสูญเสีย

8. แรม จัดอยู่ในหน่วยความจ าใด ก หน่วยความจ าหลัก ข หน่วยความจ าส ารอง ค หน่วยแสดงผล ง หน่วยประมวลผลกลาง

9. ซอฟต์แวร์มีกี่ประเภท ก 2 ประเภท ข 4 ประเภท ค 10 ประเภท ง 7 ประเภท

10. ข้อใดท าหน้าที่ในการแสดงผลลัพธ์ที่ได้จากการค านวณและประมวลผลในรูปแบบที่มนุษย์เข้าใจ ส าหรับอุปกรณ์ที่ท าหน้าที่ในการแสดงผลนั้น

ก หน่วยความจ ารอง ข หน่วยความจ าหลัก ค หน่วยแสดงผลข้อมูลx ง หน่วยควบคุม

Page 27: ใบเนื้อหาหน่วยที่ · 1 ใบเนื้อหาหน่วยที่ 1 วิชา 2001-2001 คอมพิวเตอร์และสารสนเทศเพื่อ

27

ใบเนื้อหาหน่วยที่ 1

วิชา 2001-2001 คอมพิวเตอร์และสารสนเทศเพ่ืองานอาชีพ สอนครั้งที่ 1

ชื่อหน่วย การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพ่ืองานอาชีพ

จ านวน 3 คาบ

แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 ค าชี้แจง : ให้นักเรียนตอบค าถามให้สมบูรณ์ 1. จงให้ความหมายของคอมพิวเตอร์ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………………… 2. จงอธิบายความหมายของระบบสารสนเทศ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………....………… 3. ซอฟต์แวร์หมายถึงอะไร ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..……………… 4. จงยกตัวอย่าง และบอกหน้าที่การท างานของอุปกรณ์หน่วยอินพุต ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………

Page 28: ใบเนื้อหาหน่วยที่ · 1 ใบเนื้อหาหน่วยที่ 1 วิชา 2001-2001 คอมพิวเตอร์และสารสนเทศเพื่อ

28

ใบเนื้อหาหน่วยที่ 1

วิชา 2001-2001 คอมพิวเตอร์และสารสนเทศเพ่ืองานอาชีพ สอนครั้งที่ 1

ชื่อหน่วย การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพ่ืองานอาชีพ

จ านวน 3 คาบ

5. จงบอกหลักการท างานของคอมพิวเตอร์ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

Page 29: ใบเนื้อหาหน่วยที่ · 1 ใบเนื้อหาหน่วยที่ 1 วิชา 2001-2001 คอมพิวเตอร์และสารสนเทศเพื่อ

29

ใบเนื้อหาหน่วยที่ 1

วิชา 2001-2001 คอมพิวเตอร์และสารสนเทศเพ่ืองานอาชีพ สอนครั้งที่ 1

ชื่อหน่วย การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพ่ืองานอาชีพ

จ านวน 3 คาบ

เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์

1.ก. 2.ง. 3.ก. 4.ก. 5.ง. 6.ข. 7.ก. 8.ก. 9.ก. 10.ค.

เฉลยแบบฝึกหัด หน่วยที่ 1 เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์

ค าชี้แจง : ให้นักเรียนตอบค าถามให้สมบูรณ์ 1. จงให้ความหมายของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ เป็นเครื่องจักรอิเล็กทรอนิกส์ที่ถูกสร้างข้ึน เพื่อใช้ท างานแทนมนุษย์ ในด้านการคิดค านวณและสามารถจ าข้อมูล ทั้งตัวเลขและตัวอักษรได้เพ่ือการเรียกใช้งานในครั้งต่อไป นอกจากนี้ ยังสามารถจัดการกับสัญลักษณ์ได้ด้วยความเร็วสูง โดยปฏิบัติตามขั้นตอนของโปรแกรม คอมพิวเตอร์ยังมีความสามารถในด้านต่างๆ อีกมาก เช่น การเปรียบเทียบทางตรรกศาสตร์ การรับส่งข้อมูล การจัดเก็บข้อมูลในตัวเครื่องและสามารถประมวลผลจากข้อมูลต่างๆ 2. จงอธิบายความหมายของระบบสารสนเทศ

ชุดขององค์ประกอบที่ท าหน้าที่รวบรวม ประมวลผล จัดเก็บ และแจกจ่ายสารสนเทศ เพ่ือช่วยในการตัดสินใจ และการควบคุมในองค์กร ในการท างานของระบบสารสนเทศประกอบไปด้วยกิจกรรม 3 อย่าง คือ การน าข้อมูลเข้าสู่ระบบ (Input) การประมวลผล (Processing) และการน าเสนอผลลัพธ์ (Output)

Page 30: ใบเนื้อหาหน่วยที่ · 1 ใบเนื้อหาหน่วยที่ 1 วิชา 2001-2001 คอมพิวเตอร์และสารสนเทศเพื่อ

30

ใบเนื้อหาหน่วยที่ 1

วิชา 2001-2001 คอมพิวเตอร์และสารสนเทศเพ่ืองานอาชีพ สอนครั้งที่ 1

ชื่อหน่วย การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพ่ืองานอาชีพ

จ านวน 3 คาบ

3. จงบอกความหมายของ ซอฟท์แวร์ ซอฟท์แวร์ หมายถึง ชุดค าสั่งที่เรียงเป็นล าดับขั้นตอนเพ่ือสั่งให้คอมพิวเตอร์ท างานและประมวลผลข้อมูลให้ได้สารสนเทศท่ีต้องการ ปัจจุบันซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการท างานระดับบุคคล ระดับกลุ่ม และระดับองค์กร 4. จงบอกผลกระทบด้านลบของเทคโนโลยีสารสนเทศมา 5 ข้อ

1. ท าให้เกิดอาชญากรรม เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นหนทางในการก่ออาชญากรรมได้ โจรผู้ร้ายอาจใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการวางแผนปล้น วางแผนโจรกรรม มีการลักลอบใช้ข้อมูลข่าวสาร มีการโจรกรรมหรือแก้ไขตัวเลขบัญชีด้วยคอมพิวเตอร์ การลอบเข้าไปแก้ไขข้อมูลอาจท าให้เกิดปัญหาหลายอย่าง เช่น การแก้ไขระดับคะแนนของนักศึกษา

2. ท าให้ความสัมพันธ์ของมนุษย์เสื่อมถอย การใช้คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์สื่อสาร ท าให้สามารถติดต่อสื่อสารกันได้โดยไม่ต้องเห็นตัว มนุษยสัมพันธ์ของบุคคลจะน้อยลง สังคมใหม่จะเป็นสังคมที่ไม่ต้องพ่ึงพากันมาก อย่างไรก็ดีได้มีงานวิจัยคัดค้านและแสดงความคิดเห็นที่ว่าเทคโนโลยีได้ช่วยให้มนุษย์มีการติดต่อสื่อสารถึงกันมากข้ึนและความสัมพันธ์ดีขึ้น

3. ท าให้เกิดความวิตกกังวล ผลกระทบทางด้านจิตใจของกลุ่มบุคคลบางกลุ่มที่มีความวิตกกังวลว่า คอมพิวเตอร์อาจท าให้เกิดการว่าจ้างงานน้อยลง มีการน าเอาหุ่นยนต์มาใช้ในงานมากขึ้น มีระบบการผลิตที่อัตโนมัติมากขึ้น ท าให้ผู้ใช้แรงงานอาจตกงาน หรือหน่วยงานอาจเลิกว่าจ้างได้

4. ท าให้เกิดการเสี่ยงภัยทางด้านธุรกิจ ธุรกิจในปัจจุบันจ าเป็นต้องพ่ึงพาอาศัยเทคโนโลยีสารสนเทศมากขึ้น ข้อมูลข่าวสารทั้งหมดของธุรกิจฝากไว้ในศูนย์ข้อมูล เช่น ข้อมูลลูกหนี้ การค้า ข้อมูลสินค้าและบริการต่างๆ หากเกิดการสูญหายของข้อมูล อันเนื่องมาจากเหตุอุบัติภัย เช่น ไฟไหม้ น้ าท่วม

5. ท าให้มีการพัฒนาอาวุธที่มีอ านาจท าลายสูง ประเทศที่เป็นเจ้าของเทคโนโลยี สามารถน าเทคโนโลยีมาช่วยในการสร้างอาวุธที่มีอานุภาพการท าลายสูง ท าให้เสี่ยงต่อการเกิดสงครามและมีการสูญเสียมากขึ้น 5. จงบอกหลักการท างานของคอมพิวเตอร์มีกี่ข้ันตอน อะไรบ้าง

หลักการท างานของคอมพิวเตอร์มี 4 ขั้นตอน ขั้นตอนที่ 1 : การรับข้อมูลและค าสั่ง (Input) คอมพิวเตอร์จะรับข้อมูลและค าสั่งผ่าน

อุปกรณ์น าเข้าข้อมูล คือ เมาส์ คีย์บอร์ด สแกนเนอร์ ไมโครโฟน ฯลฯ ขั้นตอนที่ 2 : ประมวลผลข้อมูล (Process) เป็นน าข้อมูลและค าสั่งที่คอมพิวเตอร์

รับเข้ามา แล้วมาด าเนินการตามข้อมูลและค าสั่งที่ได้รับมา เพ่ือให้ได้ผลลัพธ์ตามที่ต้องการ ขั้นตอนที่ 3 : แสดงผลลัพธ์ (Output) เป็นการน าผลลัพธ์จากการประมวลผลมาแสดง

ทางอุปกรณ์ท่ีก าหนดไว้

Page 31: ใบเนื้อหาหน่วยที่ · 1 ใบเนื้อหาหน่วยที่ 1 วิชา 2001-2001 คอมพิวเตอร์และสารสนเทศเพื่อ

31

ใบเนื้อหาหน่วยที่ 1

วิชา 2001-2001 คอมพิวเตอร์และสารสนเทศเพ่ืองานอาชีพ สอนครั้งที่ 1

ชื่อหน่วย การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพ่ืองานอาชีพ

จ านวน 3 คาบ

ขั้นตอนที่ 4 : การเก็บบันทึกข้อมูล (Storage) คอมพิวเตอร์จะท าการเก็บผลลัพธ์จากการประมวลผลไว้ในหน่วยเก็บข้อมูล