30 มกราคม 2552 -...

Post on 23-Jul-2020

1 Views

Category:

Documents

0 Downloads

Preview:

Click to see full reader

TRANSCRIPT

Regulation 178/2002

กองควบคุมอาหาร สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาถาวินี จารุพิสิฐธร30 มกราคม 2552

Regulation 178/2002

หัวขอทีน่ําเสนอ• ความเปนมา• Regulation 178• Regulation อื่นๆ ที่เกี่ยวของกับ Reg. 178• ตัวอยางกฎหมายของไอรแลนดที่สนับสนุนกฎหมายดานความปลอดภัยของสหภาพยุโรป

ความเปนมา

• Green Paper on Food Safety• White Paper on Food safety

Regulation 178/2002General Food LawEuropean Food Safety

White Paper on Food Safety Outcomes

• Regulation 178/2002General Food LawEuropean Food Safety

• Action Plans

Action Plan

• Product safety ความปลอดภัยของผลิตภัณฑ.food hygiene, additives, materials in contact with food,contaminants, novel food, control system, etc.

• Consumer information การใหขอมลูแกผูบริโภค. Labelling

• Quality requirements ขอกําหนดดานคุณภาพ. Directives for honey, chocolate, milk

products, dietetic foods, etc.

Action Plan

มาตรการที่สําคัญ เชน. ขอเสนอที่จะทํากฎหมายการกํากับดูแลดานอาหารใหเปนที่เขาใจ

และนําไปปฏิบัติตามไดโดยงาย (สุขอนามัยและการกํากับดูแล). Regulation 178/2002. อาหารใหม สิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม. วัตถุเจือปนอาหาร วัตถุปรุงแตงกลิ่นรส. การแสดงฉลาก

Structure of Regulation 178/2002

Chapters I SCOPE AND DEFINITIONSArticle 1 Aim and scopeArticle 2 Definition of foodArticle 3 Other definitions

Structure of Regulation 178/2002

Chapter II GENERAL FOOD LAWArticle 4 Scope

Section 1 GENERAL PRINCIPLES OF FOOD LAW

Article 5 General objectivesArticle 6 Risk AnalysisArticle 7 Precautionary principleArticle 8 Protection of consumer’s interests

Structure of Regulation 178/2002

Chapter II GENERAL FOOD LAWSection 2 PRINCIPLES OF TRANSPARENCY

Article 9 Public consultationArticle 10 Public informationArticle 7 Precautionary principleArticle 8 Protection of consumer’s interests

Structure of Regulation 178/2002

Chapter II GENERAL FOOD LAWSection 3 GENERAL OBLIGATIONS OF FOOD

TRADE

Article 11 Food and feed imported into communityArticle 12 Food and feed exported from community Article 13 International standards

Structure of Regulation 178/2002

Chapter II GENERAL FOOD LAWSection 4 GENERAL REQUIREMENTS OF FOOD LAW

Article 14 Food safety requirementsArticle 15 Feed safety requirements Article 16 PresentationArticle 17 ResponsibilityArticle 18 TraceabilityArticle 19 Responsibilities for food : food business operatorsArticle 20 Responsibilities for feed : feed business operatorsArticle 21 Liability

Structure of Regulation 178/2002

Chapter III EUROPEAN FOOD SAFETY AUTHORITYSection 1 MISSION AND TASKS

Article 22 Mission of the AuthorityArticle 23 Tasks of the Authority

Section 2 ORGANISATIONArticle 24 Bodies of the AuthorityArticle 25 Management BoardArticle 26 Executive DirectorArticle 27 Advisory Forum

Structure of Regulation 178/2002

Chapter III (cont.)Section 2 ORGANISATIONArticle 28 Scientific Committee and Scientific PanelsSection 3 OPERATIONArticle 29 Scientific opinionsArticle 30 Diverging scientific opinionsArticle 31 Scientific and technical assistanceArticle 32 Scientific studies

Structure of Regulation 178/2002

Section 3 OPERATION (cont.)

Article 33 Collection of dataArticle 34 Identification of emerging risksArticle 35 Rapid alert systemArticle 36 Networking of organisations

operating in the fields within the Authority’s mission

Structure of Regulation 178/2002

Section 4 INDEPENDENCE, TRANSPARENCY, CONFIDENTIALITY AND COMMUNICATION

Article 37 IndependenceArticle 38 TransparencyArticle 39 ConfidentialityArticle 40 Communications from the AuthorityArticle 41 Access to documentsArticle 42 Consumers, producers and other interested

parties

Structure of Regulation 178/2002

Section 5 FINANCIAL PROVISIONSArticle 43 Adoption of the Authority’s budgetArticle 44 Implementation of the Authority’s budgetArticle 45 Fees received by the AuthoritySection 6 GENERAL PROVISIONSArticle 46 Legal personality and privilegesArticle 47 LiabilityArticle 48 StaffArticle 49 Participation of third countries

Structure of Regulation 178/2002

CHAPTER IV RAPID ALERT SYSTEM, CRISIS MANAGEMENT AND EMERGENCIES

SECTION 1 RAPID ALERT SYSTEMArticle 50 Rapid Alert SystemArticle 51 Implementing measuresArticle 52 Confidentiality rules for rapid alert systemSECTION 2 EMERGENCIES

Article 53 Emergency measures for food and feed of community origin or imported from a third country

Article 54 Other emergency measures

Structure of Regulation 178/2002

CHAPTER IV (cont.)SECTION 3 CRISIS MANAGEMENTArticle 55 General plan for crisis managementArticle 56 Crisis unitArticle 57 Tasks of crisis unit

Structure of Regulation 178/2002

CHAPTER V PROCEDURES AND FINAL PROVISIONSSECTION 1 COMMITTEE AND MEDIATION PROCEDURESArticle 58 CommitteeArticle 59 Functions assigned to CommitteeArticle 60 Mediation procedureSECTION 2 FINAL PROVISIONSArticle 61 Review clauseArticle 62 References to EFSA and to Standing Committee on

Food Chain and Animal HealthArticle 63 Competence of European Agency for Evaluation of Medicinal

ProductsArticle 64 Commencement of Authority’s operationArticle 65 Entry into force

Regulation(EC) 178/2002 General Food Law

• วัตถุประสงคทั่วไป

. การคุมครองสุขภาพของประชาชนและประโยชนของผูบริโภคในระดับสูง

. การเคลื่อนยายสินคาอาหารโดยเสรี• การกําหนดหลักทั่วไปสําหรับกฎหมายอาหาร

• การจัดตั้ง European Food Safety Authority

Regulation 178/2002 : Key elements

• Definitions คําจํากัดความ• Risk Analysis การวิเคราะหความเสี่ยง• Protection of consumers’ interest• Food safety requirements• Presentation• Responsibility• Traceability

Regulation 178/2002 : Key elements

• Rapid alert system• Transparency• Crisis management and

emergencies

Regulation 178/2002 : Apply to:

• All stages of production, processing and distribution

• Food businesses…any undertaking,whether for profit or not profit and whether public or private, carrying out any of the activities related to any stage of production,processing and distribution of food…

Article 1 (3)

Regulation 178/2002 : Exemption

ยกเวน• การผลิตขั้นตนเพื่อใชในครัวเรือน• การเตรียม การจัดการ หรือเกบ็รักษาอาหาร เพื่อการบริโภคในครัวเรือน

Article 1 (3)

Regulation 178/2002 : Definition

Food is defined as: …….any substance or product, whether processed

partially processed or unprocessed, intended to be, or reasonably expected to be ingested by human….Includes drink, chewing gumAny substance intentionally incorporated into the food during its manufacture, preparation or treatmentWater

Article 2

Regulation 178/2002 : Definition

Food definition excludes. Unlicensed medicinal products (Medicines

Directive 2001/83/EC). Live animals. Tobacco products. Plants prior to harvesting

Article 2

Regulation 178/2002 : Definition

• ความเสี่ยง• การวิเคราะหความเสี่ยง• การประเมินความเสี่ยง• การสื่อสารความเสี่ยง• การสืบหารองรอย• การผลิตขั้นตน• ผูบริโภคสุดทาย

Risk analysis การวิเคราะหความเสีย่ง

• กฎหมายตองอยูบนพื้นฐานของการวิเคราะหความเสี่ยง

• การประเมนิความเสีย่ง ตองใชหลกัฐานทางวิทยาศาสตรที่มี

• การจัดการความเสี่ยง พิจารณาการประเมนิความเสีย่งปจจัยอื่นๆ ที่มเีหตผุล

Article 6

Precautionary principle การระวังไวกอน

• มีการบงชีว้าอาจเกิดอันตรายตอสุขภาพ แตยังมีขอมลูไมเพียงพอ

• ไมเปนขอกีดกนัทางการคาเกนิกวาความจําเปนที่จะทําใหสามารถคุมครองผูบริโภคในระดับสูง

• ตองทบทวนในเวลาที่สมควรและมขีอมลูทางวิทยาศาสตรเพิ่มขึน้

Article 7

Protection of Consumers’ Interest

จุดมุงหมายของกฎหมายอาหาร• ตองคุมครองประโยชนของผูบริโภค• ตองใหขอมูลแกผูบริโภคเพื่อการเลอืกซื้อ• ตองปองกัน

*การโกง หลอกลวง*การปลอมปน*การเขาใจผิดของผูบริโภค

Article 8

Transparency : Public consultation

• Public consultation การหารือกับสาธารณะระหวางการเตรียม การประเมินผล และการพิจารณา การทบทวนกฎหมายอาหาร ตองหารือกับสาธารณะอยางเปดเผย

Article 9

Transparency : Public Information

• การใหขอมูลแกสาธารณะ ตองกระทําเมือ่มีเหตุที่สงสัยวาอาหารอาจกอใหเกิดความเสี่ยงตอสุขภาพของคนและสัตว

• ขึ้นกับลักษณะและความรนุแรงของความเสี่ยง• หนวยงานทางการตองแจงใหสังคมทราบถึง

• ลักษณะของความเสี่ยง• ชนดิของอาหาร• ความเสี่ยงที่อาจมีขึ้น• มาตรการเพื่อปองกัน ลด หรือกําจัดความเสี่ยง

Article 10

Food & Feed Business Operators

• ตองปฏิบตัิตามกฎหมาย• ตองไมจําหนายอาหารที่ไมปลอดภัย หรือไมเหมาะแกการบิโภค

• ยกเลิกและ/หรือเรียกสินคาที่ไมปลอดภัย• ไมทําใหผูบริโภคเกิดความเขาใจผิด• รวมมือกับหนวยงานภาครัฐ• บันทึกขอมูลการสืบหารองรอย

Article 11 to 21

Food Imports

• อาหารที่นําเขา EU ตองเปนไปตามขอกําหนดของกฎหมายอาหารที่เกี่ยวของ

• เปนไปตามเงื่อนไขความเทาเทียมกันทีย่อมรับซึง่กันและกัน

• เงื่อนไขเฉพาะที่ตกลงกับประเทศผูสงออก

Article 11

Food Exports

อาหารสงออก หรอืสงออกซ้ํา จาก EU ไปยังประเทศทีส่าม ตองเปนไปตามกฎหมายอาหารของ EU ถา• ไมไดเปนไปตามการเรยีกรองของประเทศผูนําเขา• ไมไดเปนไปตามกฎหมายของประเทศผูนําเขา• อาหารจะสงไปยังประเทศผูนําเขาไดก็ตอเมื่อ

หนวยงานที่ รบัผิดชอบของประเทศผูนําเขา ยนิยอม• เปนไปตามเงื่อนไขในความตกลงทวิภาคีกับประเทศผู

นาํเขาArticle 12

Food Safety Requirements

• ตองไมจําหนายอาหารที่ไมปลอดภัยการจําหนาย การมไีวซึ่งอาหารเพื่อวัตถุประสงคในการขาย รวมถึงการเสนอขายหรือรูปแบบอืน่ๆ ในการสงตอ ไมวาจะมคีาตอบแทนหรือไมก็ตาม และการขาย การจัดจําหนาย และรูปแบบอืน่ๆ ของการสงตอ

• อาหารที่ไมปลอดภยัเปนอนัตรายตอสุขภาพไมเหมาะตอการบริโภค

Article 14

Unsafe

ขึ้นกบั• สภาวะการใชปกติ โดยผูบริโภค• ขัน้ตอนในการผลิต แปรรูป และการจัดจําหนาย• ขอมูลทีใ่หแกผูบริโภค (รวมถงึ การแสดงฉลาก หรือขอมลูอืน่ๆ ที่มไีวสําหรับผูบริโภค) ซึ่งเกีย่วของกับ การหลีกเลีย่งผลกระทบตอสุขภาพจากอาหารอยางใดอยางหนึง่ เชน สารกอภมูแิพ

Article 14

Injurious to health

อันตรายตอสุขภาพ• ผลกระทบตอสุขภาพของผูบริโภคที่อาจเกดิขึ้นโดยทันท ีและ/หรือ ในระยะสัน้ และ/หรอืในระยะยาว จากการบริโภคอาหาร

• ผลที่เกิดขึน้กบัคนในรุนตอไป• ผลกระทบทีอ่าจเกดิขึ้นจากพิษสะสม• ความออนไหวของสุขภาพในเฉพาะกลุมผูบริโภค

Article 14

Unfit ไมเหมาะกับการบริโภค

การไมสามารถยอมรับอาหารเพื่อการบริโภคของมนุษย ตามวัตถุประสงคในการบริโภค• การปนเปอน จากสิ่งแปลกปลอม หรอื

อื่นๆ • การเนาเสีย• การเสื่อมสภาพ

Article 14

Safe Food อาหารที่ปลอดภัย

• อาหารที่เปนไปตามขอกําหนดความปลอดภัยดานอาหารของ EU

• ถึงแมอาหารจะเปนไปตามขอกําหนด แตถาหนวยงานที่ดูแลตามกฎหมายสงสัยวาอาหารนั้นอาจไมปลอดภยั ก็สามารถทีจะสัง่ไมใหวางจําหนายหรือเรียกสินคาคืนได

• ในกรณีที่ไมมีขอกําหนดของ EU ใหบงัคับตามกฎหมายของประเทศสมาชกิ แตตองไมขดักับเงือ่นไขในสนธสิญัญา

Presentation การนําเสนอ

• “…การแสดงฉลาก การโฆษณา และการนําเสนอของอาหาร หรืออาหารสัตว รวมไปถึงรูปราง ลักษณะที่ปรากฏ การบรรจุ วัสดุที่ใชเพื่อการบรรจุ ลักษณะที่จัดวาง และการจัดแสดงสินคา และขอมูลที่เสนอแกผูบริโภคโดยผานสื่อตางๆ จะตองไมทําใหผูบริโภคเขาใจผิด”

Article 16

Responsibility ความรับผิดชอบ

• ผูประกอบการ ตองปฏิบัติตามกฎหมายที่เกี่ยวของ

• ประเทศสมาชิก ตองบังคับใชกฎหมายอาหาร ตองเฝาระวังและทวนสอบวาผูประกอบการอาหารในทุกขั้นตอนของการผลิต แปรรูป และจัดจําหนาย ไดปฏิบัติตามกฎหมายอาหาร

Article 17

Responsibility ความรับผิดชอบ

การรักษาระบบการกํากับดูแล รวมถึง• การสื่อสารกับสาธารณะเรือ่งความปลอดภัยและความเสี่ยงของอาหาร

• การติดตามความปลอดภยัดานอาหาร• กิจกรรมในการเฝาระวังอื่นๆ• มาตรการที่ใชและการลงโทษเมือ่ละเมิด –ตองมีประสทิธิผล เหมาะสม และหามปรามได

Article 17

Traceability การสบืหารองรอย

• ตองสามารถสืบหารองรอยไดในทุกขั้นตอนของการผลิต การแปรรูป การจัดจําหนาย (one step forwardone step backward)

• กฎหมายไมไดกําหนดใหตองมีการสืบหารองรอยภายใน

Article 18

European Guidance on Traceability

• ธุรกิจอาหารตองมีระบบการสืบหารองรอยสาํหรับดําเนินการ(เชน การจัดทําเปนเอกสาร)สามารถจัดหาขอมูลใหแกเจาหนาที่เมือ่ตองการระบบตองสามารถระบุผูจัดหาและลูกคาที่ถัดจากตนไดระบบตองกําหนดความเชือ่มโยงของผูจัดหากับผลิตภัณฑระบบตองกําหนดความเชือ่มโยงของลกูคากับผลิตภัณฑ(ลูกคาคือธุรกิจอืน่ๆ มใิชผูจําหนายปลกี)

European Guidance on Traceability

• ธุรกิจอาหาร ไมจําเปนตองสืบหารองรอยยาสัตว ผลิตภัณฑในการปกปองพืช ปุยสืบหารองรอยวัสดุเพื่อการบรรจุ (มกีฎหมายฉบับอืน่ควบคุม)

• กฎระเบียบนี้ใชปฏิบตัิกับธุรกิจอาหารทั้งหมด รวมถึง การกุศลและการบริจาคผูประกอบการขนสงและการเก็บรักษา

European Guidance on Traceability

• กฎระเบียบนี้ไมใชกับ. ผูประกอบการในประเทศที่สาม. ผูสงออก นอกสหภาพยุโรป

European Guidance on Traceability

• ขอมูลที่ตองจัดหาไวสําหรับเจาหนาที่ ในทุกกรณี. ชือ่และที่อยูของผูจัดหาสินคาและลูกคา ลักษณะของผลิตภัณฑที ่ จัดหาหรอืนําสงโดยผูจัดหา

. วันที่ดําเนนิการ/นาํสง• ขอมูลที่แนะนําวาควรเกบ็รกัษาไว

. ปรมิาณของสินคา

. รุนการผลิต (ถาม)ี

. รายละเอียดอืน่ ๆของผลติภัณฑ

European Guidance on Traceability

• Traceability Records โดยทั่วไป ควรเกบ็บันทกึไว 5 ป นับแตวันที่ผลิตผลิตภัณฑที่ไมกําหนดการหมดอายุ- ใหปฏบิัติตามกฎทัว่ไปผลิตภัณฑที่มอีายุนานกวา 5 ป ใหเกบ็ไวอกี 6 เดือนจากวันหมดอายุผลิตภัณฑสดที่สงตรงถึงผูบริโภคสุดทาย ใหเกบ็ไวอกี 6 เดือนจากวันที่ควรบริโภคผลิตภัณฑสดที่ไมกําหนดวันบรโิภค ใหเกบ็ไว 6 เดือนจากวันสง

Responsibility for food

ผูประกอบธุรกิจอาหารตอง• ยกเลิกสินคาอาหารที่ไมปลอดภัยและแจงหนวยงานที่ รับผิดชอบ(เมื่ออาหารไดพนจากการดูแลของผูประกอบธุรกจิอาหารในทนัท)ี

• เรยีกคนืสนิคาอาหารนัน้ เมื่อสนคานัน้ไดถงึมือผูบริโภคแลวและแจงหนวยงานทีร่ับผิดชอบ(แจงผูบรโิภคทราบถงึเหตุผลของการยกเลกิการจําหนาย)

• รวมมอืกับผูประกอบธุรกจิอาหาร หรือหนวยงานทีร่บัผิดชอบซึ่งเปนผูเริม่การยกเลิก/เรยีกคนืสินคา

Article 19

Liability

• COUNCIL DIRECTIVE(85/374/EEC)of 25 July 1985on the approximation of the laws,regulations and administrativeprovisions of the Member Statesconcerning liability for defectiveproducts.

Article 21

European Food Safety Authority

• Missionshall provide sci.advice & tech.supportfor Community’s legislationshall contribute to a high level of protection of human life and healthshall collect and analyse data to characterise and monitor risks

Article 22 to 36

European Food Safety Authority

งานของ EFSA• ใหความเห็นทางวิทยาศาสตรแกหนวยงานที่เกี่ยวของเพื่อกําหนด กฎหมาย

• สงเสริมและประสานความรวมมือเพือ่พัฒนาวิธีการประเมินความเสี่ยงใหเปนเอกภาพ

• ใหการสนับสนุนดานวิทยาศาสตรและวิชาการแกกรรมาธิการและเมื่อขอใหชวยในการแปรผลและการพิจารณาการประเมินความเสี่ยง

• ดําเนินการศึกษาดานวิทยาศาสตรที่จําเปนตอพันธกิจคนหา รวบรวม เปรียบเทียบ วิเคราะห และสรุปขอมูลดานวิทยาศาสตรและวิชาการตามพันธกิจ

European Food Safety Authority

งานของ EFSA• จัดตั้งและรบัผิดชอบระบบเครอืขายขององคกรที่ดําเนนิการในสาขาตามพันธกิจ

• ใหความชวยเหลือดานวิทยาศาสตรและวิชาการแกกรรมาธิการในขัน้ตอนการจัดการวิกฤติการณดานความปลอดภัยของอาหารและอาหารสัตว เมื่อมีการรองขอ

• ใหความชวยเหลือดานวิทยาศาสตรและวิชาการเพื่อปรับปรุงความรวมมอืระหวางประชาคม ประเทศสมาชิก องคการระหวางประเทศ และประเทศที่สามในสาขาที่เกี่ยวของตามพันธกจิ

Article 23

European Food Safety Authority

งานของ EFSA• ตองแนใจวาสาธารณะและผูสนใจไดรับขอมูลที่เกี่ยวของตามพันธกิจ อยางรวดเร็ว เชือ่ถอืได อยูบนพืน้ฐานของความจริง และครบถวน

• แสดงความเปนอสิระในการเสนอขอสรุปและความเชือ่ในเรอืงทีเ่กีย่วของตามพันธกิจ

• ดําเนนิการในเรือ่งอืน่ๆ ตามที่ไดรับมอบหมายจากกรรมาธิการ

Article 23

European Food Safety Authority

• หนาที ่Scientific Committee & Scientific Panelsใหความเห็นทางวิทยาศาสตรกับสํานักงาน จัดทําประชาพิจารณ เมื่อจําเปนประสานงานเพือ่ใหการดําเนนิการเพื่อใหความเห็นทางวิทยาศาสตรเปนไปตามบรรทดัฐานที่กําหนดใหความเห็นทางวิทยาศาสตรในประเดน็ที่เกี่ยวของกับ Scientific Panels หลายคณะ หรือไมอยูในความรับผดิชอบของคณะใดเลย กรณีที่ไมมี Scientific Panels คณะใดทีร่ับผดิชอบ Scientific Committee จะตองตั้งคณะทํางานเพื่อทราบความเห็นจากผูเชี่ยวชาญที่แตงตั้งขึ้น

European Food Safety Authority

• องคประกอบของ Scientific Committeeประธานของ Scientific Panel +ผูเชีย่วชาญอิสระที่ไมไดอยูใน Panel 6 คน ซึง่จะตองไดรับการแตงตั้งจากคณะกรรมการบริหาร ดาํรงตําแหนงคราวละ 3 ป และตองตออายุโดยตองมีเอกสารเผยแพรใน Official Journal of the European Communities และสิ่งพิมพชัน้นําดานวทิยาศาสตร และตองแสดงถึงความสนใจบนเว็ปไซตของ EFSA

• องคประกอบของ Scientific Panels เปนผูเชี่ยวชาญอิสระดานวทิยาศาสตร

European Food Safety Authority

คณะกรรมการ Scientific Panels • Food additives, flavourings, processing aids &

materials in contact with food;• additives and products or substances used in animal

feed;• plant health, plant protection products and their

residues;• GMO• Dietetic products, nutrition and allergies• Biological hazards• Contaminants in food chain• Animal health and welfare

European Food Safety Authority

• เมือ่มคีวามตองการจากกรรมาธิการ สํานักงานตองใหความเห็นดานวิทยาศาสตร หรือ

• ดําเนินการใหความเหน็เองตามพันธกิจ หรือ • เมือ่มคีวามตองการจากรัฐสภา หรือ ประเทศสมาชกิ• ในการใหความเห็นจะตองใหขอมูลภูมหิลังของประเด็นดังกลาวพรอมกบัความสนใจของประชาคมดวย

Article 29

European Food Safety Authority

• ความแตกตางของความเหน็ทางวิทยาศาสตรตองเฝาระวังความแตกตางในความเห็นทางวิทยาศาสตรระหวางความเห็นของสํานกังานฯ กบั หนวยงานอืน่ทีท่ํางานในเรื่องเดียวกนั เพื่อจะไดทราบตั้งแตระยะตนเมื่อทราบวาเกิดความเห็นทีแ่ตกตางกันขึ้น ตองติดตอหนวยงานนัน้ๆ และประสานขอมูลซึ่งกันและกันเพื่อที่จะทราบรายละเอียดของประเดน็ที่แตกตางอยางชดัเจน

Article 30

European Food Safety Authority

ความแตกตางของความเห็นทางวิทยาศาสตร (ตอ)• หากหนวยงานของประชาคมหรือคณะกรรมการวิทยาศาสตรของกรรมาธิการเปนเจาของความเห็นทีแ่ตกตางนัน้ สํานักงานและหนวยงานนัน้ๆ ตองรวมกนัเพื่อแกปญหาดังกลาวหรอืนําเสนอเอกสารของทั้งสองฝายใหกับกรรมาธิการพรอมระบุคาความไมแนนอนของขอมูลไวดวย และจะตองเผยแพรเอกสารนีใ้หแกสาธารณะดวย

• หากเปนหนวยงานของประเทศสมาชิกก็ใหสํานกังานรวมมอืกับประเทศสมาชกิเพื่อแกปญหาดังกลาว และจะตองเผยแพรเอกสารนี้ใหแกสาธารณะดวย

Article 30

European Food Safety Authority

Scientific studies • สํานักงานตองจัดทําการศกึษาวิทยาศาสตรที่จําเปนตอพันธกิจ

• ตองกระทําอยางเปดเผยและโปรงใส• ตองหลีกเลี่ยงการศกึษาที่ซ้ําซอนกบัการวิจัยของประเทศสมาชกิและประชาคม

• ตองสรางความรวมมืออยางเขมแข็งโดยการประสานงานอยางเหมาะสม

• ตองนาํเสนอผลการศึกษาใหกับรัฐสภา กรรมาธิการและกรรมาธิการ

Article 32

European Food Safety Authority

การรวบรวมขอมูล สาํนักงานตองคนควา รวบรวม เปรยีบเทยีบ วิเคราะห และสรุปผลขอมูลทางวิทยาศาสตรและวิชาการ ที่เกีย่วของตามพันธกจิ โดยเฉพาะขอมูล

• การบริโภคอาหารและการไดรับสัมผัสความเสี่ยงที่เกิดจากการบริโภคอาหารนัน้

• อุบัติการณและความชุกของความเสี่ยงทางชีววทิยา• การปนเปอนในอาหารและอาหารสัตว• สารตกคาง

Article 33

European Food Safety Authority

Identification of emerging risks• สํานักงานตองกําหนดขั้นตอนเพื่อดําเนนิการคนควา รวบรวม เปรียบเทียบ และวิเคราะหขอมูล อยางเปนระบบเพื่อใหสามารถระบถุึงความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นใหมตามพันธกจิที่ไดรับมอบหมาย

• ถามีขอมูลทีน่ําไปสูขอสงสัยวาจะเกิดความเสี่ยงที่รนุแรง ตองขอขอมลูเพิ่มเติมจากประเทศสมาชกิ หรอืหนวยงานอืน่ๆ ของประชาคมและกรรมาธิการ ทุกฝายที่เกี่ยวของตองใหขอมูลอยางเรงดวน

• ตองนาํขอมูลที่ไดมาระบุความเสี่ยงที่จะมีขึ้น• ตองนาํเสนอขอมลูที่ไดรวบรวมและประมวลผลเสนอแกรัฐสภา กรรมาธิการและประเทศสมาชกิ

Article 34

European Food Safety Authority

Rapid Alert System• สํานักงานตองเปนผูไดรับขาวสารที่สงผานระบบ

• ตองวิเคราะหขอมูลที่ไดรับเพื่อสามารถใหขอมูลที่จําเปนแกกรรมาธิการและประเทศสมาชิกเพื่อจะนําไปใชเพื้อวัตถุประสงคของการวิเคราะหความเสี่ยง

Article 35

European Food Safety Authority

Independence• คณะกรรมการบริหาร • คณะกรรมการที่ปรึกษา • ผูอํานวยการฝายบริหาร• คณะกรรมการวิทยาศาสตร และกรรมการรายสาขา ตองประกาศเจตนารมณในการไมมีผลประโยชนเปนลายลักษณอักษรทุกป

• ผูเกี่ยวของขางตน และผูเชีย่วชาญภายนอก ที่ทํางานในคณะทํางานจะตอง ประกาศถึงความเปนอิสระของตนจากประโยชนที่เกี่ยวของในวาระการประชุมในแตละการประชุม

Article 37

European Food Safety Authority

Transparency ตองเปดเผยแกสาธารณะโดยไมชักชา

• วาระและรายงานการประชุมของคณะกรรมการวิทยาศาสตรและกรรมการรายสาขา

• ความเห็นที่ไดจากการประชุมทันทีที่รับรอง รวมทั้งความเห็นของสวนนอยดวย

• ขอมูลความเห็นที่ไมละเมิดกับมาตรา 39 และ มาตรา 41• การประกาศเจตนารมณของบุคคลที่เกี่ยวของ• ผลการศึกษาทางวิทยาศาสตร• รายงานกิจกรรมประจําป• ความเห็นทางวิทยาศาสตรที่ถูกปฏิเสธ ถูกปรับเปลี่ยน พรอมเหตุผลจากรัฐสภายุโรป กรรมาธิการและประเทศสมาชิก

Article 14

European Food Safety Authority

Confidentiality

• เพื่อไมเปนการบิดเบือนมาตรา 38 สํานักงานตองไมเปดเผยขอมูลที่ถือเปนความลับแกบุคคลที่สาม ยกเวนเสียแตวาขอมูลนั้นจําเปนที่จะตองใหสาธารณชนรับทราบ เพื่อที่จะคุมครองสุขภาพ

• บุคคล กลุมบุคคลที่มีหนาที่ในการใหความเห็นทางวิทยาศาสตร ถึงพนจากการทําหนาที่แลว ก็ยังตองปฏิบัตติามขอกําหนดกฎหมายเรื่องการรักษาความลับ ตามมาตรา 287 ของสนธิสัญญา

• ตองไมเก็บความเห็นทางวิทยาศาสตรที่มีผลตอสุขภาพไวเปนความลับ• ตองกําหนดหลักเกณฑการบริหารจัดการเพื่อปฏบิัติเรือ่งการรกัษาความลับ

Article 39

RAPID ALERT SYSTEM

• เครือขายสําหรับแจงถึงความเสี่ยงตอสุขภาพของคนที่เกดิจากอาหารหรืออาหารสัตว

• ประเทศสมาชิก กรรมาธิการ และสํานกังาน• บริหารโดยกรรมาธิการ• ประเทศสมาชิกกําหนดจุดติดตอที่แนนอน • แจงทันทีไปยังกรรมาธิการ กรรมาธิการสงตอทันทีใหกับสมาชกิ

• สํานักงานฯอาจใหขอมูลดานวิชาการเพิ่มเติมเพื่อเปนประโยชนตอการจัดการความเสี่ยงไดรวดเร็วและถูกตองของสมาชกิ

Article 50

RAPID ALERT SYSTEM

ประเทศสมาชกิตองแจงกรรมาธิการทันทีที่• มมีาตรการหามการจําหนาย หรือยกเลกิ หรอืเรียกคืนสนิคา

• มีขอเสนอแนะ หรือขอตกลงกับผูประกอบการทั้งสมัครใจ หรือบังคับในการปองกนั จํากัด หรือกําหนดเงือ่นไขเฉพาะในการวางจําหนายหรือบริโภค โดยมีความเสี่ยงที่รุนแรงและตองดําเนนิการที่รวดเร็ว

• มกีารปฏิเสธการนําเขาที่ดานภายในสหภาพยุโรป

EMERGENCIES

• สินคาที่ผลิตในประชาคมระงับการจําหนายสินคาที่มีปญหาชัว่คราวกาํหนดเงือ่นไขเฉพาะสําหรับสินคาที่มีปญหามาตรการอื่นๆ ที่เหมาะสม

• สินคาจากประเทศทีส่ามระงับการนําเขาสนิคาของประเทศทีม่ีปญหาทั้งหมดหรือบางสวน

Article 53

EMERGENCIES

• ภายใน 10 วันทําการ ตองยืนยัน แกไข หรือจะยกเลกิมาตรการที่ประกาศ ตามขัน้ตอนทีก่ําหนด

• เหตผุลในการดําเนนิการตองเผยแพรใหประชาชนทราบโดยไมชกัชา

• หากประเทศสมาชกิใชมาตรการฉุกเฉนิดวยตนเอง ตองแจงใหกรรมาธิการและประเทศสมาชกิทราบทันท ีและอาจใชมาตรการของตนไดจนกวาจะมีมาตรการของประชาคม

Article 54

Crisis Management

กรรมาธิการตองกําหนดแผน (general plan) สําหรับการจัดการวิกฤติการณ ที่ระบุถึง

• ประเภทของสถานการณที่ไมสามารถจัดการไดดวยมาตรการฉุกเฉิน

• ขั้นตอนการปฏิบัติการที่จําเปนตอการจัดการวิกฤติการณ รวมถึงหลักความโปรงใส ในกลยุทธการสื่อสาร

Article 55

Crisis unit

• เมื่อไมสามารถจัดการความเสี่ยงตามมาตรา 53 และ 54กรรมาธิการตองแจงประเทสสมาชิกและสํานักงานทันทีตองตั้ง Crisis unit ทันที สํานักงานตอทํางานในหนวยโดยใหความชวยเหลือดานขอมูลทางวิทยาศาสตรและวิชาการ

• หนวยนี้ตองเก็บรวบรวมและประเมินผลขอมูลที่เกี่ยวของทั้งหมดและตองระบุถึงทางเลือกเพื่อดําเนินการปองกัน กําจัด และลดความเสี่ยงใหอยูในระดับที่ยอมรับไดอยางมีประสิทธิภาพและรวดเร็วเทาที่จะเปนได

• อาจขอความชวยเหลือจากหนวยงานทั้งภาครัฐและเอกชนที่มีผูเชี่ยวชาญเพื่อจะจัดการวิกฤติการอยางมีประสิทธภิาพ

• ตองแจงใหสาธารณชนไดรับทราบถึงความเสี่ยงและมาตรการที่ดําเนินการ

Article 56&57

RAPID ALERT SYSTEM

• RASFF

Member State Commision

Member States

FSAI

Notification

EFSA

ALERT

Action

Environmental health officesPublic analyst Vet office Food industry

Regulations ที่เกีย่วของกับ Reg. 178

852/2004Food hygiene

178/2002

2002/99animal health

2073/2005Micro Criteria

882/2004Official control

853/2004Hygiene for animal origin

854/2004Official control

Products of animal

Animal Origin

Hygiene RulesFood of animal origin

853/2004

Hygiene of food stuffs852/2004

Official Control on products of animal origin

854/2004

178/2002 General Food Law

Official Control of Foodand Feed 882/2004

Official Control of Foodand Feed 882/2004

Hygiene of food stuffs852/2004

MicroCriteria

2073/2005

Repealing Directives2004/41/EEC

Animal HealthAnd Welfare2002/99

Transitional Measure2076/2005

Implementing Measure 2074/2005

Non-animal origin

2073/2005Micro Criteria

852/2004 &853/2004Hygiene of Food stuffs

882/2004 & 854/2004 Official Control of Food and Feed

178/2002General Food Law

Food safety Authority of Ireland Act 1998 (FSAI Act)

Principle functionshall take all reasonable step to ensure food meets the highest standards of food safety and food hygiene

FSAI Act

Advice of Authority• food-borne disease, food-borne zoonotic disease,• Nutritional aspects of food, role of diet in public

health• Statutory developments relating to food safety and

hygiene,• Technology and industrial practices• Labelling and packaging of food including materials

used in packaging• Scope for improved systems for communication of

information to public on safety and hygiene including safe handling of food in home

FSAI Act

Collection and assessment of dataThe Authority shall• collect and assess statistical data official

control of food• Collect, assess or otherwise analyse such

data relating to production and consumption of food

• Undertake assessment of statistical data on food-borne diseases including food-borne zoonotic diseases

top related