การนำสายใยแก้วนำแสงมาเชื่อมต่อ...

Post on 13-Mar-2016

37 Views

Category:

Documents

0 Downloads

Preview:

Click to see full reader

DESCRIPTION

การนำสายใยแก้วนำแสงมาเชื่อมต่อ หัวเชื่อมต่อที่นิยมใช้มี ดังนี้ 1. หัวเชื่วมต่อแบบ ST ผลิตขึ้นโดยบริษัท AT&T สำหรับสายใยแก้วประเภท Multi Mode Step Index และ Graded Index Multi Mode. 1. 2. หัวเชื่วมต่อแบบ FC/PC นิยมใช้สำหรับสายใยแก้วประเภท Single Mode. - PowerPoint PPT Presentation

TRANSCRIPT

1

การนำาสายใยแก้วนำาแสงมาเชื่อมต่อ หัวเชื่อมต่อท่ีนิยมใชม้ ีดังน้ี

1. หัวเชื่วมต่อแบบ ST ผลิตขึน้โดยบรษัิท AT&T สำาหรบัสายใยแก้วประเภท Multi Mode Step Index และ Graded Index Multi Mode

2

2 . หัวเชื่วมต่อแบบ FC/PC นิยมใช้สำาหรบัสายใยแก้วประเภท Single Mode

3 . หัวเชื่วมต่อแบบ SC นิยมใชใ้นปัจจุบนั

3

4 . หัวเชื่วมต่อแบบ SMF มขีนาดเล็กและใชง้านง่าย

ขอ้ดีของใยแก้วนำาแสดงคือ1 . ขนาดเล็กและนำ้าหนักเบา

2. มค่ีาแบนด์วดิธส์งู ทำาให้อัตราความเรว็ในการสง่ขอ้มูลสงู3 . มคีวามทนทานต่อคลื่นรบกวน

4. การเสยีกำาลังของสญัญาณมนี้อยกวา่สื่อชนิดอ่ืน5 . สามารถติดตั้งใชง้านในอุณหภมูท่ีิสงู

หรอืตำ่ามาก ๆได้ขอ้เสยี

1. ราคาแพง 2. มคีวามเปราะบาง แตกหักง่าย 3. การติดตั้งต้องใชค้วามชำานาญเป็น

พเิศษ

5

2. สื่อกลางท่ีกำาหนดเสน้ทางไม่ได้ หรอืระบบไรส้าย (Wireless System)1 .คลื่นไมโครเวฟ (Microwave2. แสงอินฟราเรด (Infrared)3. ระบบสื่อสารวทิยุ (Radio Link)4. ระบบดาวเทียม (Satellite

Link)5. บลทูธู (Bluetooth)

6

1. ระบบคลื่นไมโครเวฟ

ลักษณะของคลื่นไมโครเวฟ - การรบั-สง่ ใชจ้านสะท้อนรูปพาลาโบลา - การสง่สญัญาณขอ้มูลจะทำาการสง่ต่อ ๆ กัน จากสถานีหน่ึงไปยงัอีกสถานีหนึ่ง เป็นทอด ๆ การสง่สญัญาณระหวา่งสถานีจะเดินทางเป็นเสน้ตรง - สถานีหนึ่ง ๆ ครอบคลมุพื้นท่ีในการรบัสญัญาณ - 3050 กิโลเมตร- ใชค้วามถ่ี - 240 GHz ในการสง่สญัญาณ ความถ่ีอยูใ่นชว่ง - 2400 2484 GHz ไมต้่องเสยีค่าใชจ้า่ยขอ้ดี 1 . ไมต้่องเสยีค่าใชจ้า่ยในการติดตั้งสาย 2. มค่ีาแบนด์วดิธส์งู มผีลทำาให้ความเรว็ในการสง่ขอ้มูลสงูด้วยขอ้เสยี 1. ถกูรบกวนจากสญัญาณภายนอกได้ง่าย เชน่ พายุ ฟา้ผ่า 2. ค่าติดต้ังจานและเสาสง่มรีาคาแพง 3. ต้องขอใชค้วามถ่ีจากองค์กรควบคมุการสื่อสาร

2. แสงอินฟราเรด (Infrared)ลักษณะของแสงอินฟราเรด - ใชใ้นการสื่อสารระยะใกล้ ๆ เชน่ในห้องเดียวกัน - นิยมใชส้ื่อสารขอ้มูลระหวา่งสองอุปกรณ์เท่านัน้ - อัตราความเรว็ในการสง่ขอ้มูลไมส่งู ประมาณ 4Mbpsขอ้ดี 1. ราคาถกู สามารถสะท้อนกลับวตัถุได้ 2. ไมต้่องขอใชค้วามถ่ีจากองค์กรสื่อสาร ขอ้เสยี 1. ไมส่ามารถผ่านวตัถทึุบแสงได้ เดินทางในแนวเสน้ตรง 2.ถกูรบกวนจากแสงอาทิตยไ์ด้ง่าย

3. คล่ืนวทิยุ (Radio Link)ลักษณะของระบบสื่อสารวทิยุ - ระบบสื่อสารวทิยุ 1 ชอ่งสญัญาณ ใชไ้ด้กับหลาย สถานี - ใชค้วามถ่ีในชว่ย - 400900MHz ขอ้ดี 1. ใชง้านได้ไมต้่องขอใชค้ลื่นความถ่ี

2. สามารถสง่สญัญาณกับสถานีเคลื่อนท่ีได้ 3. มค่ีาแบนด์วดิธส์งู อัตราการสง่ขอ้มูลสงูด้วย ขอ้เสยี 1. ถกูรบกวนจากสญัญาณภายนอกได้ง่าย 2. เป็นการสง่สญัญาณขอ้มูลแบบแพรก่ระจาย ความปลอดภัยของขอ้มูลตำ่า

10

4 . ดาวเทียม  (Satellite)

Up-link Down-link

มอุีปกรณ์ระบบทวน สญัญาณ (Repeater)

ลักษณะของระบบดาวเทียม - คล้ายกับไมโครเวฟ - การสง่สญัญาณจากภาคพื้นดินไปยงัดาวเทียม เรยีกวา่ อัปลิงค์ (Uplink) - การสง่สญัญาณจากดาวเทียมมายงัพื้นดิน เรยีกวา่ ดาวน์ลิงค์ (Downlink) - มอุีปกรณ์เรยีกวา่ Transponder ทำาหน้าท่ี รบั สง่ –สญัญาณ และขยายสญัญาณ ระหวา่งพื้นโลกและดาวเทียม

ขอ้ดีของระบบดาวเทียม 1. สามารถสง่สญัญาณได้ในระยะไกล

อัตราความเรว็สงู 2. ไมม่ปีัญหาสายขาด 3. ค่าใชจ้า่ยในการาติดตั้งไม่ขึน้กับระยะทางขอ้เสยี

1. จะเกิดความล่าชา้ของสญัญาณ เรยีกวา่ ความหน่วยในการแพรส่ญัญาณ 2. อุปกรณ์ในการติดต้ังราคาแพง 3. ถกูรบกวนจากสญัญาณภายนอกได้ง่าย เชน่ พายุ ฟา้ผ่า 4.เป็นการสง่สญัญาณขอ้มูลแบบแพรก่ระจาย ความรกัษาความปลอดภัยตำ่า

5 . บลทูธู (Bluetooth)ลักษณะของบลทูธ

- เป็นเทคโนโลยใีหมเ่กิดขึน้เมื่อประมาณปี ค.ศ 1998 - ใชค้วามถ่ีในการสง่สญัญาณ 25. GHz - ปัจจุบนัสื่อสารได้ในระยะทางไมเ่กิน 10เมตร

- สามารถสื่อสารผ่านวตัถทึุบแสงได้- สามารถสื่อสารระหวา่งอุปกรณ์หลาย

อุปกรณ์ได้ขอ้ดี 1. เป็นระบบท่ีมมีาตรฐานสามารถนำาไปใชง้านได้ทั่วโลก 2. ใชง้านได้ทั้งขอ้มูล เสยีง และมลัติมเีดีย ขอ้เสยี 1. เนื่องจากเป็นระบบท่ีสามารถสื่อสารกับอุปกรณ์ได้หลาย อุปกรณ์จงึมีปัญหาเรื่องการชนกันของขอ้มูล

หลักการพจิารณาเลือกใชส้ื่อกลาง 1. ต้นทนุ (Cost)

2. ความเรว็ (Speed)3. ระยะทาง (Distance)4. สภาพแวดล้อม (Environment)5. ความปลอดภัยของขอ้มูล (Security)

15

2สื่อกลางในการสง่

ขอ้มูล

16

ประเภทของระบบเครอืขา่ย

17

1. ระบบเครอืขา่ยเฉพาะท่ี (LAN-Local Area Network)

18

2. ระบบเครอืขา่ยระหวา่งเมอืง (MAN- Metropolitan Area Network)

19

3. ระบบเครอืขา่ยระยะไกล (WAN-Wide Area Network)

20

4.อินเทอรเ์น็ต

21

รูปแบบการเชื่อมต่อของระบบเครอื

ขา่ย

22

3. การเชื่อมต่อเครอืขา่ยแบบวงแหวน

23

4. เครอืขา่ยแบบผสม

24

องค์ประกอบของระบบเครอืขา่ย

3. ตัวกลางนำาขอ้มูล

1. อุปกรณ์ฮารด์แวร์2. ซอฟต์แวร์

25

1.1. NIC (Network Interface Card)1. อุปกรณ์ฮารด์แวร์

26

1.2 HUB

27

1.3 Bridge

28

1.4 Router

top related