add m5-1-chapter2

Post on 10-Aug-2015

234 Views

Category:

Education

3 Downloads

Preview:

Click to see full reader

TRANSCRIPT

บทที่ 2ฟงกชันตรีโกณมิติ

( 40 ชั่วโมง )

วิชาตรีโกณมิติแตเดิมไมไดนิยาม ไซน โคไซน แทนเจนต ในรูปของฟงกชัน แตนิยามในรูปของอัตราสวนระหวางความยาวของดานของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก และเมื่อนําไปประยุกตสวนมากก็จะเปนการประยุกตในเรื่องระยะทาง ความสูง โดยอาศัยรูปสามเหลี่ยม ดวยเหตุนี้จึงทําใหบางคนคิดวาวิชาตรีโกณมิติเปนวิชาที่เกี่ยวกับดานและมุมของรูปสามเหลี่ยมเทานั้น และเมื่อเขียน sin x ก็ทําใหเขาใจวา x เปนขนาดของมุมแตเพียงอยางเดียว แตในปจจุบันมีการใชวิชาการนี้อยางกวางขวาง เชน ในการศึกษาเกี่ยวกับวิชาแสง เสียงและในวิชาแคลคูลัส การอินทิเกรตฟงกชันบางชนิดจะตองใชฟงกชันตรีโกณมิติชวยในการอินทิเกรต ดังนั้นการศึกษาวิชาตรีโกณมิติจึงไมควรจะจํากัดอยูเฉพาะเรื่องที่เกี่ยวกับรูปสามเหลี่ยม ดังนั้นเพื่อใหผูเรียนมีความเขาใจวิชาตรีโกณมิติกวางขวางขึ้นจึงไดจัดสาระการเรียนรูตามลําดับดังนี้ ฟงกชันไซนและโคไซน คาของฟงกชันไซนและโคไซน ฟงกชันตรีโกณมิติอ่ืนๆ ฟงกชันตรีโกณมิติของมุม การใชตารางคาฟงกชันตรีโกณมิติ ฟงกชันตรีโกณมิติของผลบวกและผลตางของจํานวนจริงหรือมุม ตัวผกผันของฟงกชันตรีโกณมิติ เอกลักษณและสมการตรีโกณมิติ กฎของโคไซนและไซน และการหาระยะทางและความสูง

ผลการเรียนรูท่ีคาดหวัง1. มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับฟงกชันตรีโกณมิติ และเขียนกราฟของฟงกชันที่กําหนดใหได2. นําความรูเร่ืองฟงกชันตรีโกณมิติและการประยุกตไปใชแกปญหาได

ผลการเรียนรูที่คาดหวังเปนผลการเรียนรูที่สอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูชวงชั้นทางดานความรูดังนั้นในการจัดการเรียนรู ผูสอนตองคํานึงถึงมาตรฐานการเรียนรูดานทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตรดวยการสอดแทรกกิจกรรมหรือโจทยปญหาที่จะสงเสริมใหผูเรียนเกิดทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตรที่จําเปนอันไดแก ความสามารถในการแกปญหา การใหเหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตรและการนําเสนอ การเชื่อมโยงความรูตาง ๆ ทางคณิตศาสตรและเชื่อมโยงคณิตศาสตรกับศาสตรอ่ืน และการคิดริเร่ิมสรางสรรค นอกจากนั้นกิจกรรมการเรียนรู ควรสงเสริมใหผูเรียนตระหนักใน คุณคาและมีเจตคติที่ดีตอวิชาคณิตศาสตร ตลอดจนฝกใหนักเรียนทํางานอยางเปนระบบ มีระเบียบวินัย รอบคอบมีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณ และมีความเชื่อมั่นในตนเอง

52

ปญหาและขอเสนอแนะ1. ในการเริ่มตนสอนบทนี้ ผูสอนควรเริ่มตนสอนโดยถือเสมือนวาผูเรียนไมเคยเรียนตรีโกณมิติ

มาเลย เพื่อใหผูเรียนเขาใจวาฟงกชันตรีโกณมิติเปนฟงกชันของจํานวนจริงกอน แลวจึงคอยกลาวถึงฟงกชันตรีโกณมิติของมุม ดังลําดับหัวขอที่ใหไวในหนังสือเรียน มิฉะนั้นจะเปนการยากที่จะใหผูเรียนเขาใจบทนิยามของฟงกชันตรีโกณมิติของจํานวนจริง เนื่องจากผูเรียนมักจะนึกถึงฟงกชันของมุมและคาของฟงกชันของมุม

2. ความรูพื้นฐานในการเรียนบทนี้ไดแกความรูในเรื่องวงกลมหนึ่งหนวย การสมมาตรและความยาวของสวนโคงของวงกลม

3. เมื่อเร่ิมสอน ผูสอนควรทําใหผูเรียนเขาใจเกี่ยวกับการวัดระยะไปตามสวนโคงของวงกลมหนึ่งหนวยใหยาว θ หนวย โดยเริ่มวัดจากจุด (1, 0) ไปถึงจุด (x, y) โดยคิดทิศทางและควรกําหนด θ เปนจํานวนจริงตาง ๆ เชน 2, -2, 7, 1

3, 2 เปนตน จํานวนจริงที่สําคัญอีกจํานวนหนึ่งก็คือ π ซ่ึงเปน

จํานวนอตรรกยะที่มีคา 3.14159265358979323846… เหตุที่ใชจํานวนจริง π เพราะความยาวของเสนรอบวงอยูในรูปของ π และในการนิยามฟงกชันตรีโกณมิติ จะนิยามโดยใชวงกลมหนึ่งหนวย ในบทนี้จะใชคา πเทากับ 3.1416

4. กราฟของความสัมพันธ 2 2{ (x, y) (x h) (y k) 1 }− + − = จะเปนวงกลมรัศมี 1 หนวย (unitcircle) ซ่ึงมีจุดศูนยกลางอยูที่จุด (h, k) ในหนังสือเรียนนี้เมื่อกลาวถึง วงกลมหนึ่งหนวย (The unit circle)จะหมายถึงวงกลมรัศมี 1 หนวยที่มีจุดศูนยกลางอยูที่จุดกําเนิดซึ่งเปนกราฟของความสัมพันธ

2 2{ (x, y) x y 1 }+ = เทานั้น5. ผูสอนควรใหผูเรียนเขาใจความหมายของสัญลักษณ เชน cos θ 2 , cos2θ , (cos θ)2 วาเหมือน

กันหรือตางกันอยางไร6. ในการหาคาของฟงกชันไซนและโคไซนของจํานวนจริงบางจํานวน เชน , ,

6 4 3π π π นั้นใชทฤษฎี

ทางเรขาคณิตเกี่ยวกับวงกลม ดังนั้นเพื่อชวยใหผูเรียนเขาใจไดรวดเร็วข้ึน ผูสอนควรทบทวนทฤษฎีบทตอไปนี้“ในวงกลมเดียวกันหรือวงกลมที่เทากัน คอรดที่ตัดสวนโคงออกไดยาวเทากันยอมยาวเทากัน”

ผูสอนอาจชวยใหผูเรียนเขาใจทฤษฎีบทดังกลาวไดดังนี้6.1 โดยใชความรูเกี่ยวกับสมมาตรซึ่งใชวิธีพับรูปใหทับกันสนิท เชน จากรูป ใหสวนโคง AB เทากับสวนโคง BC จะเห็นวา OB เปนแกนสมมาตร ของรูปสามเหลี่ยมฐานโคง OAB กับรูปสามเหลี่ยมฐานโคง OBC AB ทับกับ BC สนิท นั่นคือ คอรด AB เทากับคอรด BC6.2 โดยการพิสูจน ซ่ึงการพิสูจนนี้ตองใชความรูที่วา “ในวงกลมเดียวกัน

O

BA

C

53

หรือวงกลมที่เทากัน มุมที่จุดศูนยกลางซึ่งรองรับดวยสวนโคงที่เทากัน ยอมเทากัน” ดังนี้ให A เปนจุดศูนยกลางของวงกลม และใหสวนโคง BC ยาวเทากับสวนโคง CDดังนั้น BAC CAD

∧ ∧

=

จะได ∆ ABC ≅ ∆ ACD (ด.ม.ด.)ดังนั้น คอรด BC ยาวเทากับคอรด CD

หมายเหตุ สําหรับความรูที่วา “ในวงกลมเดียวกันมุมที่จุดศูนยกลางซึ่งรองรับดวยสวนโคงที่เทากันยอมยาวเทากัน” นั้น ผูเรียนไดเรียนมาแลวในชั้นชวงชั้นที่ 3 ซ่ึงผูสอนอาจทบทวนความรูดังกลาวโดยใชวิธีดังตอไปนี้

มุมที่จุดศูนยกลางซึ่งรองรับดวยสวนโคงที่ยาว 2πr หนวย มีขนาดกี่องศา ( 360° )

มุมที่จุดศูนยกลางซึ่งรองรับดวยสวนโคงที่ยาว 1 หนวย มีขนาดกี่องศา (r

180π

o

)

มุมที่จุดศูนยกลางซึ่งรองรับดวยสวนโคงที่ยาว a หนวย มีขนาดกี่องศา (r

180π

o

) a

ดังนั้นถามีสวนโคงยาว a หนวยเทากันและ r เปนรัศมีของวงกลมมุมที่จุดศูนยกลางจึงเทากันคือ 180a

rπ องศา

7. หนังสือเรียนจะแสดงเฉพาะ θ ที่เปนบวกและจุดปลายสวนโคงที่ยาว θ หนวย อยูในควอดรันตที่หนึ่งผูสอนควรแสดงรูปในกรณีที่จุดปลายสวนโคงที่ยาว θ หนวย ตกอยูในควอดรันตที่ 2 (ดังรูป ก) หรือควอดรันตที่ 3หรือควอดรันตที่ 4 ตลอดจนกรณีที่ θ เปนจํานวนลบ เชน ดังรูป ขเพื่อใหผูเรียนเห็นวาสําหรับทุกคาของ θ ∈ R

sin ( - θ ) = - sin θcos ( - θ ) = cos θ

8. หลังจากที่ผูเรียนไดรูจักฟงกชัน tangent, cotangent, cosecant และ secant แลวควรใหผูเรียน

AB

C D

aar

O

Y

X(1, 0)

θ

- θ

0

รูป กY

X(1, 0)- θ

θ

0

รูป ข

54

สรุปขอความตอไปนี้ได โดยใชบทนิยามของฟงกชันเหลานี้และผลที่ไดจากขอ 7 เมื่อ θ เปนจํานวนจริง

tan ( - θ ) = - tan θcot ( - θ ) = - cot θcosec ( - θ ) = - cosec θsec ( - θ ) = sec θ

9. คาของฟงกชันตรีโกณมิติในตารางที่กําหนดไวใหทายหนังสือเรียนนั้น สวนใหญเปนคาโดยประมาณ แตมีบางคาที่เปนคาที่ถูกตอง เชน sin 30° = 0.5000, tan 45° = 1.0000 ในหนังสือเรียนจะเขียนคาของฟงกชันตรีโกณมิติของจํานวนจริง (หรือมุม) ที่กําหนดใหวาเทากับคาที่อานไดจากตาราง จะไมใชเครื่องหมาย ≈ เชน sin

4π = 0.7071

ถาตองการจะตรวจสอบวาคาของฟงกชันตรีโกณมิติของจํานวนจริง (หรือมุม) ที่กําหนดใหคาใดเปนคาโดยประมาณ คาใดเปนคาที่แทจริง อาจทําไดโดยอาศัยสมการ sin 2θ + cos 2θ = 1 ถาคานั้นสอดคลองกับสมการแสดงวาเปนคาที่แทจริง ถาใกลเคียงก็แสดงวาเปนคาประมาณ เชน

จากตาราง sin 41° = .6561 cos 41° = .7547

จะได sin2 41° + cos2 41° = .430467 + .569572 ≈ 1.000 จะเห็นวาคาดังกลาวไมสอดคลองกับสมการ sin 2θ + cos 2θ = 1

ดังนั้นคา sin2 41° และ cos2 41° ที่ไดจากตารางจึงเปนคาโดยประมาณ10. ผูสอนควรใหผูเรียนสังเกตวา เมื่อ 0 ≤ x ≤

1) sin x, tan x, sec x จะมีคาเพิ่มขึ้น เมื่อ x เพิ่มขึ้น 2) cos x, cot x, cosec x จะมีคาลดลง เมื่อ x เพิ่มขึ้น

3) sin x, tan x, sec x จะมีคาลดลง เมื่อ x ลดลง 4) cos x, cot x, cosec x จะมีคาเพิ่มขึ้น เมื่อ x ลดลง

ขอสังเกตนี้มีประโยชนในการเขียนกราฟและการหาคาของฟงกชันตรีโกณมิติเมื่อกําหนดจํานวนจริง (หรือมุม) ให หรือการหาจํานวนจริง (หรือมุม) เมื่อกําหนดคาของฟงกชันตรีโกณมิติให โดยที่คาที่กําหนดใหนั้นไมอยูในตาราง ดังนั้น การประมาณคาของฟงกชันตรีโกณมิติที่เพิ่มขึ้นหรือลดลง จึงควรจะพิจารณาสมบัติของฟงกชันดังกลาวขางตน

55

11. ในการสอนใหผูเรียนเขียนกราฟของ y = sin x หรือ y = cos x โดยใชวงกลมหนึ่งหนวยนั้นผูสอนอาจสรางและใชอุปกรณดังนี้

วัสดุท่ีใช ไม 2 แผน (แผนบนเปนรูปวงกลมหนึ่งหนวยติดอยูบนแผนไมรูปสี่เหล่ียม)ตะปูและเชือก 1 เสน (หรือแถบกระดาษ)

วิธีใช 1) ใชเชือกหรือแถบกระดาษวัดรอบรูปวงกลมหนึ่งหนวย ความยาวที่ไดจะเปน 2π หนวย แลวแบงสเกลบนเชือกหรือแถบกระดาษเปน π,

2π ,

3π ,

4π ,

8π หรือจํานวนอื่นๆ

ตามตองการ 2) ใชเชือกหรือกระดาษวัดระยะไปตามสวนโคง (โดยคิดทิศทาง) จนไดความยาวของ สวนโคง ตามตองการ ใหจุดปลายของสวนโคงนั้นเปนจุด B หาระยะหางระหวาง จุด B กับ สวนของเสนตรง AM และ สวนของเสนตรง PQ (โดยคิดเครื่องหมาย) ไดเปนระยะ BF และ BD ตามลําดับ 3) นําคาของความยาวของสวนโคงถึงจุด B กับระยะ BF มาลงจุด ( AB , BF ) บน ระนาบแกนมุมฉาก XY โดยท่ี

แกน X เปนแกนบอกความยาวของสวนโคง โดยคิดทิศทางการวัดแกน Y เปนแกนบอกระยะหางระหวางจุดปลายโคงนั้นกับ สวนของเสนตรง AM (คิดทิศทางการวัด)

4) จุดอื่น ๆ จะหาไดในทํานองเดียวกัน เชน ( AC , CE )− ทําเชนนี้ไปเรื่อยๆ ก็จะได กราฟของ y = sin x

5) ในทํานองเดียวกัน กราฟของ y = cos x หาไดจากการลงจุดซึ่งเปนคูอันดับของ

M A (1, 0)

PD B

FE

C GQ

0

56

ความยาวสวนโคง กับ ระยะตั้งฉากจากจุดปลายสวนโคงนั้นกับสวนของเสนตรง PQ(บนระนาบแกนมุมฉาก XY) โดยคิดทิศทางการวัด เชน ( AB , BD )

หมายเหตุ AB หมายถึงความยาวของสวนโคง AB

12. ในการใชตารางคาฟงกชันตรีโกณมิติเพื่อหาคาของฟงกชันตรีโกณมิติที่ θ เมื่อกําหนด θ ใหหรือเพื่อหาคา θ เมื่อกําหนดคาของฟงกชันตรีโกณมิติที่ θ นั้น ผูสอนควรจะทบทวนสมบัติของฟงกชันดังตอไปนี้

1) ถา f เปนฟงกชัน และ θ1 = θ2

จะได f (θ1) = f (θ2) เชน ถา θ =

4π จะได sin θ = sin

2) ถา f เปนฟงกชันแตไมเปนฟงกชัน 1 - 1และ f (θ1) = f (θ2)

ไมอาจสรุปไดวา θ1 = θ2

เชน จาก sin π = 0 และ sin 2π = 0 ดังนั้น sin π = sin 2π = 0

แต π ≠ 2π

13. ในการพิจารณาชวงที่มีกราฟเหมือนกันของฟงกชันที่เปนคาบ (periodic function) นั้นจะเริ่มจากจุดใดก็ได เชน กราฟของ y = sin x ซ่ึงมีคาบเปน 2π อาจพิจารณาชวงที่มีกราฟซ้ํากันไดดังรูป

14. ในเรื่องของฟงกชันที่เปนคาบ นอกจากจะกลาวถึงเรื่องคาบ ยังกลาวถึงเรื่องแอมพลิจูด ซ่ึงคาบและแอมพลิจูดจะบอกลักษณะและขอบเขตของกราฟ ดังนั้น ผูสอนควรใหผูเรียนเขียนกราฟเหลานี้บนกระดาษกราฟแลวใหสังเกตดูวากราฟของแตละฟงกชันมีคาบและมีแอมพลิจูดเปนอยางไร เชน

X

Y

01

-1-π-2π π 2π

2π 2π

2π 2π 2π2π 2π

57

จากรูป กราฟของ y = sin x และ y = 2sin x มีคาบเทากันคือ 2π แตมีแอมพลิจูดตางกันคือ มีคาเปน 1 และ 2 ตามลําดับ

15. ในหนังสือเรียนไมไดใหบทนิยามของฟงกชันที่เปนคาบไว เพราะไมไดมุงหวังใหผูเรียนสามารถพิสูจนไดวาฟงกชันที่กําหนดใหเปนฟงกชันที่เปนคาบหรือไม สําหรับบทนิยามของฟงกชันที่เปนคาบเปนดังนี้

“ฟงกชัน f ซ่ึงไมเปนฟงกชันคงตัว จะเปนฟงกชันที่เปนคาบก็ตอเมื่อมีจํานวนจริง p ที่ทําใหf (x + p) = f (x) สําหรับทุกคาของ x และ x + p ที่อยูในโดเมนของ f

และถา p เปนจํานวนบวกที่นอยที่สุดที่ทําใหฟงกชัน f มีสมบัติดังกลาวจะเรียก p วาคาบ(fundamental period) ของฟงกชัน f”

16. เนื่องจากบทเรียนนี้เปนการใหนักเรียนรูจักฟงกชันตรีโกณมิติในลักษณะของฟงกชันที่จับคูระหวางจํานวน θ ซ่ึงเปนความยาวของสวนโคงบนวงกลมหนึ่งหนวยกับจํานวนจริงซึ่งสัมพันธกับจุดปลายของสวนโคง ผูสอนควรเริ่มตนดวยการทบทวนความหมายของฟงกชันเสียกอน และใหผูเรียนไดเรียนรูและเกิดทักษะในการแกปญหาเกี่ยวกับฟงกชันไซน และฟงกชันโคไซนใหดีกอนที่จะแนะนําใหรูจักฟงกชันตรีโกณมิติอ่ืนๆ เพื่อใหผูเรียนเกิดแนวคิดที่ชัดเจนและสามารถนําแนวคิดที่ไดไปปรับใชได

17. กรณีที่ผูเรียนมีความสับสนในการจับคูระหวางความยาวสวนโคง 3π

, 4π

และ 6π

กับคูอันดับ (21

, 23

) , ( 2

1,

21

) และ (23

,21

) ผูสอนอาจใหผูเรียนวาดรูปเพื่อแสดงจุดปลาย

ของสวนโคงที่ยาว 3π

, 4π

และ 6π

และเปรียบเทียบคาของ 21

, 23

และ 2

1 วาสามารถเรียงคาจาก

มากไปนอยหรือจากนอยไปมากไดเชนใด ก็จะชวยใหผูเรียนสามารถจับคูระหวางความยาวสวนโคงและจุดปลายสวนโคงไดถูกตอง

X

Y

y = 2sin xy = sin x

π012

-2-1

-π-2π 2π

58

18. เมื่อผูเรียนสามารถหาคาของฟงกชันตรีโกณมิติของจํานวนจริงหรือของมุม α ± β ไดแลว

ผูสอนควรใหผูเรียนหาคาของฟงกชันตรีโกณมิติ π ± α , 2π± α เปรียบเทียบกับผลที่ไดมากอนหนานี้

เชน ผูเรียนควรหาไดวาsin (π + α) = sin πcos α + cos πsin α

= - sin α

หรือ cos(2π

- α ) = cos2π

cos α + sin 2π

sin α

= sin α เปนตน ในกรณีที่หาคา tan ( )

2π± α และ cot ( )

2π± α ตองเปลี่ยนใหอยูในรูป sin ( )

2π± α และ

cos ( )2π± α เสียกอน19. ในหนังสือเรียนไมไดกลาวถึงโดเมนและเรนจของฟงกชันผกผันของฟงกชัน cotangent, cosecant

และ secant ซ่ึงถาผูเรียนถามผูสอนอาจตอบวาหนังสือบางเลมกําหนดโดเมนและเรนจดังนี้

ฟงกชัน โดเมน เรนจarccotangent R {y | 0 < y < π}arcsecant {x | x ≥ 1 หรือ x ≤ -1} {y | 0 ≤ y <

2π หรือ

2π < y ≤ π}

arccosecant {x | x ≥ 1 หรือ x ≤ -1} {y | 0 < y ≤ 2π หรือ -

2π ≤ y < 0}

20. ผูสอนควรบอกผูเรียนวาเอกลักษณใดที่ไดพิสูจนแลว สามารถนําไปอางอิงได และผูสอนควรแนะนําเอกลักษณที่เห็นวาสําคัญ เชน

1) เอกลักษณพื้นฐาน (basic identities) 1sin

cscθ =

θ

1cossec

θ =θ

sin 1tancos cot

θθ = =

θ θ

sin ( ) sin−θ = − θ

cos ( ) cos−θ = θ

tan ( ) tan−θ = − θ

59

2) เอกลักษณแบบพีทาโกรัส (Pythagorean identities) 2 2sin cos 1θ + θ =

2 21 tan sec+ θ = θ

2 21 cot csc+ θ = θ

3) เอกลักษณแบบฟงกชันรวม (Cofunction identities) sin ( x) cos x

2π− =

cos ( x) sin x2π− =

tan ( x) cot x2π− =

4) เอกลักษณแบบผลบวกและผลตาง sin ( ) sin cos cos sinα ± β = α β ± α β

cos ( ) cos cos sin sinα ± β = α β α βm

tan tantan ( )1 tan tan

α ± βα ± β =

α βm

5) เอกลักษณแบบจํานวนทวีคูณ sin 2x 2 sin x cos x=

2 2cos 2x cos x sin x= −

2

2 tan xtan 2x1 tan x

=−

2 1 cos 2xsin x2

−=

2 1 cos 2xcos x2

+=

6) เอกลักษณแบบครึ่งมุม x 1 cos xsin

2 2−

= ±

x 1 cos xcos2 2

+= ±

x 1 cos xtan2 1 cos x

−= ±

+

60

21. เพื่อใหผูเรียนไมมีความรูสึกวาเอกลักษณตรีโกณมิติมีมากเกินไป ผูสอนควรใหผูเรียนเลือกจําเฉพาะบางเอกลักษณ แลวนําเอกลักษณเหลานั้นไปพัฒนาเปนเอกลักษณอ่ืนๆ เชน

จากเอกลักษณ 2 2sin cos 1θ + θ = ซ่ึงไดมาจากสมการของวงกลมหนึ่งหนวย x2 + y2 = 1 เมื่อนํา sin2θ หารตลอดจะได

2 21 cot csc+ θ = θ

เมื่อนํา cos2θ หารตลอดจะได tan2θ + 1 = sec2θ

หรือจากเอกลักษณ sin( α+ β) สามารถพัฒนาไปสู sin 2x เปนตน

22. ในการสอนการพิสูจนเอกลักษณ สําหรับผูเรียนที่มีความสามารถทางการเรียนไมมากนัก ผูสอนควรเริ่มตนจากการยกตัวอยางที่งายกอน แลวจึงคอยๆยกตัวอยางที่ยากขึ้น เพื่อให ผูเรียนไมเกิดความทอถอยตั้งแตแรก ดังตัวอยางตอไปนี้

ตัวอยางที่ 1 จงพิสูจนวา sin2(–θ) + cos2(–θ) = 1วิธีทํา sin2(–θ) + cos2(–θ) = [sin(–θ)]2 + [cos(–θ)]2

= (–sin θ)2 + (cos θ)2

= (sin θ)2 + (cos θ)2

= 1

ตัวอยางที่ 2 จงพิสูจนวา 2 2sin ( ) cos ( )sin( ) cos( )

−θ − −θ−θ − −θ

= cos θ – sin θ

วิธีทํา2 2sin ( ) cos ( )sin( ) cos( )

−θ − −θ−θ − −θ

=2 2[sin( )] [cos( )]

sin( ) cos( )−θ − −θ−θ − −θ

=2 2( sin ) (cos )

sin cos− θ − θ− θ− θ

=2 2(sin ) (cos )

sin cosθ − θ

− θ− θ

= (sin cos )(sin cos )(sin cos )

θ− θ θ+ θ− θ+ θ

= cos θ – sin θ

61

ตัวอยางที่ 3 จงพิสูจนวา 1 tan1 cot+ θ+ θ

= tan θ

วิธีทํา 1 tan1 cot+ θ+ θ

= 1 tan11tan

+ θ

= 1 tantan 1tan

+ θθ+θ

= tan (1 tan )tan 1θ + θ

θ+= tan θ

ตัวอยางที่ 4 จงพิสูจนวา sin 1 cos1 cos sin

θ + θ+

+ θ θ = 2 csc θ

วิธีทํา sin 1 cos1 cos sin

θ + θ+

+ θ θ=

2 2sin (1 cos )(1 cos )(sin )

θ+ + θ+ θ θ

=2 2sin 1 2cos cos(1 cos )(sin )θ+ + θ+ θ+ θ θ

=2 2(sin cos ) 1 2cos(1 cos )(sin )θ+ θ + + θ+ θ θ

= 2 2cos(1 cos )(sin )

+ θ+ θ θ

= 2(1 cos )(1 cos )(sin )

+ θ+ θ θ

= 2(1 cos )(1 cos )(sin )

+ θ+ θ θ

= 2sinθ

= 2 csc θ

ตัวอยางที่ 5 จงพิสูจนวา 1 coscos 1 sin

θ−

θ + θ = tan θ

วิธีทํา 1 coscos 1 sin

θ−

θ + θ=

21 sin coscos (1 sin )+ θ− θ

θ + θ

=2sin (1 cos )

cos (1 sin )θ+ − θθ + θ

62

=2sin sin

cos (1 sin )θ+ θθ + θ

= sin (1 sin )cos (1 sin )

θ + θθ + θ

= tan θ

23. การพิสูจนเอกลักษณโดยทั่ว ๆ ไปไมมีกฏเกณฑแนนอนตายตัว เพียงแตพยายามแสดงใหเห็นวาทั้งสองขางของสมการนั้นเทากันจริงสําหรับทุกคาของสมาชิกที่อยูในโดเมนของฟงกชันทั้งหมดในสมการโดยอาศัยเอกลักษณที่พิสูจนแลวการพิสูจนเอกลักษณอาจจะเริ่มทําจากนิพจนที่อยูทางซายของสมการใหเหมือนกับนิพจนที่อยูทางขวาของสมการ หรือทําจากนิพจนที่อยูทางขวาของสมการใหเหมือนกับนิพจนที่อยูทางซายของสมการ หรืออาจจะทําจากนิพจนที่อยูแตละขางของสมการใหผลสุดทายเปนนิพจนเดียวกันสําหรับบางเอกลักษณการทําจากนิพจนที่อยูแตละขางของสมการใหผลสุดทาย เปนนิพจนเดียวกันจะสะดวกกวาการทําจากนิพจนขางใดขางหนึ่งใหเหมือนกับนิพจนอีกขางหนึ่งดังตัวอยางตอไปนี้

จงพิสูจน 2 2tan sin cot cos 2 sin cos cot tanθ θ + θ θ + θ θ = θ + θ

LS = 2 2sin cossin cos 2 sin coscos sin

θ θθ + θ + θ θ

θ θ

=3 3sin cos 2 sin cos

cos sinθ θ+ + θ θ

θ θ

=4 4 2 2sin cos 2 sin cos

sin cosθ + θ + θ θ

θ θ

=2 2 2 2(sin cos ) (sin cos )

sin cosθ + θ θ + θ

θ θ

= 1sin cosθ θ

RS = cos sinsin cos

θ θ+

θ θ

=2 2cos sinsin cosθ + θθ θ

= 1sin cosθ θ

LS = RS

24. ในเรื่องการแกสมการตรีโกณมิติ เมื่อเอกภพสัมพัทธคือ เซตของจํานวนจริงหรือมุม ในกรณีที่หาคา θ เมื่อ 0 < θ < 2π ไดมากกวา 1 คานั้น การตอบคําตอบในรูปของคาทั่วไป ไมจําเปนตองใหผูเรียน

63

เขียนคําตอบรวมเปนคาเดียวเสมอไป ผูเรียนสามารถตอบในรูปของคาทั่วไปของแตละคาของ θ เมื่อ0 < θ < 2π ไดก็เพียงพอแลว ตัวอยางเชนจงแกสมการ cot θ = 1จะได θ = 5,

4 4π π เมื่อ 0 ≤ θ < 2π

ดังนั้น คาทั่วไปของ θ คือ 2nπ + 4π และ 2nπ + 5

4π เมื่อ n ∈ I

ผูเรียนไมจําเปนตองตอบไดวาคาทั่วไปของ θ คือ nπ + 4π เมื่อ n ∈ I

25. ในโจทยปญหาที่เกี่ยวกับเรื่องระยะทางและความสูง กรณีที่โจทยกลาวถึงผูสังเกตมองดูวัตถุเปนมุมกมหรือมุมเงย โดยที่โจทยไมไดกําหนดความสูงของผูสังเกตให ใหถือวาความสูงของผูสังเกตเปนศูนยหนวย

กิจกรรมเสนอแนะบทนิยามของฟงกชันไซนและโคไซน

ในการสอนบทนิยามของฟงกชันไซนโดยใชวงกลมหนึ่งหนวย ตลอดจนการหาคาของฟงกชันนั้นผูสอนควรทบทวนเกี่ยวกับการสมมาตรและความยาวของเสนรอบวงซึ่งอาจทําไดดังนี้

1. ผูสอนทบทวนความรูเร่ืองสมมาตร โดยใหผูเรียนดูจากรูปและบอกแกนสมมาตร เชน

รูปสี่เหล่ียมนี้มีเสนทแยงมุมเปนแกนสมมาตร

สวนโคงครึ่งวงกลมนี้มีแกน Y เปนแกนสมมาตร

Y

X0

64

สวนของเสนตรง AB สมมาตรกับสวนของเสนตรง CD โดยมีแกน Y เปนแกนสมมาตร

จุด A สมมาตรกับจุด D โดยมีแกน Y เปน แกนสมมาตร

จากความรูเร่ืองสมมาตรนี้จะนําไปใชในการหาโคออรดิเนตของจุดตาง ๆผูสอนกําหนดจุดสองจุดใด ๆ ซ่ึงสมมาตรกันโดยมีแกน X หรือแกน Y เปนแกนสมมาตรและ

กําหนดโคออรดิเนตของจุดหนึ่งให ใหผูเรียนบอกโคออรดิเนตของอีกจุดหนึ่ง เชน จากรูป

ใหจุด A (4, 1) สมมาตรกับจุด B โดยมีแกน X เปนแกนสมมาตรใหจุด P(-2, 3) สมมาตรกับจุด Q โดยมีแกน Y เปนแกนสมมาตรผูเรียนควรบอกไดวาโคออรดิเนตของจุด B และ Q คือ(4, -1) และ (2, 3) ตามลําดับ

2. ผูสอนทบทวนเรื่องวงกลมซึ่งผูเรียนควรจะบอกสิ่งตอไปนี้ได 2.1 ความสัมพันธ 2 2{ (x, y) x y 1 }+ = มีกราฟเปนวงกลม จุดศูนยกลางอยูที่จุด (0, 0)

รัศมี 1 หนวย ซ่ึงผูสอนแนะนําผูเรียนวาจะเรียกวงกลมนี้วา “วงกลมหนึ่งหนวย” 2.2 เสนรอบวงของวงกลมหนึ่งหนวยยาว 2π หนวย 2.3 วงกลมหนึ่งหนวยตัดแกน X ที่จุด (1, 0) และ (-1, 0) ตัดแกน Y ที่จุด (0, 1) และ

(0, -1) 2.4 ความยาวของสวนโคงของวงกลมหนึ่งหนวยที่วัดจากจุด (1, 0) ในทิศทวนเข็มนาฬิกา

ไปยังจุด (0, 1) , (-1, 0) , (0, -1) , (1, 0) ยาวเทากับ 3, ,2 2π π

π และ 2π หนวย ตามลําดับ 2.5 ความยาวของสวนโคงของวงกลมหนึ่งหนวยที่วัดจากจุด (1, 0) ในทิศทวนเข็มนาฬิกา

ไปยังจุดกึ่งกลางของสวนโคงที่เชื่อมระหวาง 1) จุด (1, 0) กับจุด (0, 1) ยาว

4π หนวย

2) จุด (0, 1) กับจุด (-1, 0) ยาว 34π หนวย

C D A B

O

Y

X

Y

X

QP(-2, 3)

A(4, 1)

B0

65

3) จุด (-1, 0) กับจุด (0, -1) ยาว 54π หนวย

4) จุด (0, -1) กับจุด (1, 0) ยาว 74π หนวย

ผูสอนบอกขอตกลงกับผูเรียนวาถาวัดระยะสวนโคงไปในทิศทางตามเข็มนาฬิกา จะแทนความยาวของสวนโคงดวยจํานวนลบ แตถาวัดทวนเข็มนาฬิกาจะแทนความยาวของสวนโคงดวยจํานวนบวก แลวผูสอนใหผูเรียนบอกความยาวสวนโคง ดังเชนในขอ 2.4 และ 2.5 แตใหวัดในทิศตามเข็มนาฬิกา

3. ผูสอนใหผูเรียนบอกโคออรดิเนตของจุดปลายของสวนโคงของวงกลมหนึ่งหนวยที่เร่ิมวัดจากจุด (1, 0) ไปยาว θ หนวย (โดยคิดทิศทาง) ซ่ึงผูสอนตกลงกับผูเรียนวาตอไปนี้จะเรียกจุดปลายที่ไดวา “จุดปลายสวนโคงที่ยาว θ หนวย” และผูสอนอาจใชวิธีการดังนี้

3.1 ผูสอนใหผูเรียนบอกจุดปลายสวนโคงที่ยาว 0, 2π , π, 3

2π , 2π ซ่ึงผูเรียนควรตอบไดวา

คือจุด (1, 0) , (0, 1) , (-1, 0) , (0, -1) , (1, 0) ตามลําดับ 3.2 ผูสอนใหผูเรียนบอกจุดปลายสวนโคงที่ยาว

− , - π, 32π

− , -2π ซ่ึงผูเรียนควรตอบไดวาคือจุด (0, -1) , (-1, 0) , (0, 1) , (1, 0) ตามลําดับ

3.3 ผูสอนและผูเรียนอาจชวยกันหาจุดปลายสวนโคงที่ยาว , ,4 6 3π π π หนวย โดยยังไมตอง

กลาวถึงชื่อไซนและโคไซน หลังจากชวยกันหาไดแลว ผูเรียนควรบอกจุดปลายของสวนโคงที่ยาวn n n, ,4 6 3π π π เมื่อ n เปนจํานวนเต็มได โดยใชวิธีการนับเพิ่มทีละสวน และในทํานองเดียวกันควรบอกจุด

ปลายสวนโคงที่ยาว 2n , 2n , 2n4 6 3π π π

π + π + π + ได เมื่อ n เปนจํานวนเต็มใดๆ4. ผูเรียนควรสรุปไดวา เมื่อกําหนดจํานวนจริง θ ให 1 คาก็จะมีจุดปลายสวนโคงที่ยาว θ หนวย

เพียงจุดเดียวเทานั้น เชนถา

θ = จะไดจุดปลายสวนโคงที่ยาว θ หนวย จุดเดียวเทานั้น คือ จุด 2 2( , )2 2

ถา 6π

θ = จะไดจุดปลายสวนโคงที่ยาว θ หนวย จุดเดียวเทานั้น คือ จุด 3 1( , )2 2

ถา 2π

θ = จะไดจุดปลายสวนโคงที่ยาว θ หนวย จุดเดียวเทานั้น คือ จุด ( 0, 1 )

5. จากขอ 4 ผูสอนใหผูเรียนบอกคูอันดับซึ่งสมาชิกตัวหนาเปนจํานวนจริง θ ที่แทนความยาวสวนโคง และสมาชิกตัวหลัง คือ พิกัดหลังของจุดปลายสวนโคงที่ยาว θ หนวย ซ่ึงผูเรียนควรบอกคูอันดับไดเชน 2 1( , ) , ( , ) , ( ,1)

4 2 6 2 2π π π

66

ผูสอนและผูเรียนชวยกันสรุปวา เนื่องจากคูอันดับเหลานี้มีเปนจํานวนมาก จึงไมสามารถเขียนเซตของคูอันดับดังกลาวแบบแจกแจงจากสมาชิกได แตสามารถเขียนเซตนี้แบบบอกเงื่อนไขได

6. ผูสอนและผูเรียนชวยกันเขียนเซตของคูอันดับดังกลาวแบบบอกเงื่อนไข จะได f = { (θ, y)θ เปนจํานวนจริง และ y เปนพิกัดหลังของจุด ( x, y) ซ่ึงเปนจุดปลายสวนโคงที่ยาว θ หนวย}

ผูสอนถามผูเรียนวา f เปนฟงกชันหรือไม ซ่ึงผูเรียนควรจะตอบไดวาเปนฟงกชันพรอมทั้งบอกเหตุผลได

ผูสอนบอกผูเรียนวาฟงกชันนี้ เรียกวา ฟงกชันไซน (sine) ดังนั้นsine คือ { (θ, y)θ เปนจํานวนจริง และ y เปนพิกัดหลังของจุด( x, y) ซ่ึงเปนจุดปลายสวนโคงที่ยาว θหนวย}

7. ผูสอนทบทวนความรูในเรื่องคาของฟงกชันวา เมื่อ f เปนฟงกชัน และ (x, y) ∈ f จะไดวา y เปนคาของฟงกชัน f ที่ x หรือเขียนไดวา y = f (x)

ดังนั้นผูเรียนควรบอกไดวา เมื่อ (θ, y) ∈ sine จะไดวา y เปนคาของฟงกชันไซนที่ θ หรือเขียนไดวา y = sine(θ) ซ่ึงผูสอนบอกผูเรียนวานิยมเขียนเปน y = sin θ

8. ผูสอนใหผูเรียนบอกคูอันดับซึ่งสมาชิกตัวหนาเปนจํานวนจริง θ ที่แทนความยาวสวนโคงและสมาชิกตัวหลังคือ พิกัดแรกของจุดปลายสวนโคงที่ยาว θ หนวย แลวใชวิธีการในทํานองเดียวกันกับขอ 5, 6และ 7 เพื่อใหนักเรียนสรุปไดวา x = cosine(θ) หรือ x = cos θ

9. ผูสอนใหผูเรียนบอกโดเมนและเรนจของฟงกชันทั้งสองซึ่งผูเรียนควรบอกไดวาDsine = Dcosine = RRsine = Rcosine = {x 1 x 1}− ≤ ≤

10. ผูสอนฝกใหผูเรียนหาคาของฟงกชันไซนและโคไซนที่ θ สําหรับ θ บางจํานวน เชน50, , , , ,

2 3 6 6π π π π

π ฯลฯ11. ผูสอนใหผูเรียนหาความสัมพันธระหวาง sin θ และ cos θ ซ่ึงผูเรียนควรสรุปไดวา

sin2θ + cos2θ = 112. ผูสอนแนะนําใหผูเรียนเขาใจความหมายของสัญลักษณ cos2θ กับ (cos θ)2 และ cos θ2

ฟงกชันตรีโกณมิติอ่ืน ๆในการสอนเกี่ยวกับบทนิยามของฟงกชันตรีโกณมิติอ่ืน ๆ ผูสอนอาจทบทวนความรูเร่ืองพีชคณิต

ของฟงกชันและใชวิธีการดังตอไปนี้

67

1. ผูสอนยกตัวอยางฟงกชันพีชคณิต 2 ฟงกชัน แลวใหผูเรียนหาผลหารของฟงกชันพรอมทั้งบอกโดเมนของฟงกชันผลลัพธ เชน

ให f = { (x, y) | y = 1} g = { (x, y) | y = x - 5}

ซ่ึงผูเรียนควรตอบไดวา f 1{(x, y) y }g x 5

= =−

และ โดเมนของ fg

คือ { x | x ≠ 5 }

2. ผูสอนกําหนดฟงกชัน g และ h ตอไปนี้ g = { (θ, y) | y = sin θ}

h = { (θ, y) | y = cos θ} ใหผูเรียนบอกโดเมนของ g และ h และใหหา g

h และ

gh ผูเรียนควรตอบไดวา

Dh = Dg = R g

h = { (θ, y) | y = sin

cosθθ

, cos θ ≠ 0}hg

= { (θ, y) | y = cossin

θθ

, sin θ ≠ 0}

3. ผูสอนบอกผูเรียนวาฟงกชัน gh

นี้เรียกวาฟงกชัน tangent และ gh เรียกวา ฟงกชัน cotangent

และเนื่องจาก (θ, y) ∈ tangent ผูเรียนควรบอกไดวา y = tangent θ = sin

cosθθ

, cos θ ≠ 0

ในทํานองเดียวกันเมื่อ (θ, y) ∈ cotangent ผูเรียนควรบอกไดวา y = cotangent θ = cos

sinθθ

, sin θ ≠ 0

4. ผูสอนแนะนําผูเรียนวาอาจเขียน “tangent” ยอๆ เปน “tan” ได แลวผูสอนใหผูเรียนหาโดเมนและเรนจของฟงกชัน tan ซ่ึงผูเรียนควรตอบไดวา

Dtan = { x | x ∈ Dsin ∩ Dcos , cos x ≠ 0 } แต cos x ≠ 0 เมื่อ x ≠ n

2π , โดยที่ n เปนจํานวนคี่

นั่นคือ Dtan = { x | x ∈ R , x ≠ n2π , n เปนจํานวนคี่ }

และแนะนําฟงกชัน cot ในทํานองเดียวกัน5. ผูสอนใชคําถามเพื่อใหผูเรียนสรุปเกี่ยวกับฟงกชัน cosecant ดังนี้

ถาให f = { (θ, y) | y = 1} g = { (θ, y) | y = sin θ}

68

จะได fg

= { (θ, y) | y = 1sin θ

, sin θ ≠ 0}

ผูสอนบอกผูเรียนวาฟงกชัน fg

นี้เรียกวาฟงกชัน cosecant ดังนั้น

cosecant คือ { (θ, y) | y = 1sin θ

, sin θ ≠ 0}

และเนื่องจาก (θ, y) ∈ cosecant ผูเรียนควรบอกไดวา y = cosecant θ = 1

sin θ , sin θ ≠ 0

6. ผูสอนแนะนําสัญลักษณ cosec และ csc แลวใหผูเรียนบอกโดเมนและเรนจของฟงกชันcosecant ผูเรียนควรตอบไดวา

Dcosec = { x | x ∈ Dsin ∩ R , sin x ≠ 0 } แต sin θ ≠ 0 เมื่อ θ ≠ nπ โดยที่ n เปนจํานวนเต็ม นั่นคือ Dcosec = { x | x ∈ R , x ≠ nπ , n ∈ I }

การพิจารณาเรนจของฟงกชัน cosecant คือพิจารณา cosec x ทําไดดังนี้ เนื่องจาก -1 ≤ sin x ≤ 1 นั่นคือ sin x 1≤

จะได 11sin x

cosec x 1≥

นั่นคือ cosec x ≥ 1 หรือ cosec x ≤ -1 ดังนั้น Rcosec = { x | x ≥ 1 หรือ x ≤ -1 }7. ผูสอนใชวิธีการเดียวกันนี้สําหรับฟงกชันตรีโกณมิติอ่ืน ๆ8. ผูสอนใหผูเรียนหาความสัมพันธระหวางฟงกชันตรีโกณมิติตาง ๆ เชน 1 + tan2θ = sec2θ ,

1 + cot2θ = cosec2θ หลังจากนั้นฝกใหผูเรียนใชความสัมพันธเหลานี้ โดยการหาคาของฟงกชันหนึ่งเมื่อกําหนดคาของฟงกชันอีกฟงกชันหนึ่งให เชน

(1) กําหนด sin θ = 0.40 , 2π

< θ < π ใหหา cos θ (โดยใช sin2θ + cos2θ = 1) (2) กําหนด tan θ = 0.75 ,

< θ < π ใหหา sec θ (โดยใช 1 + tan2θ = sec2θ ) (3) กําหนด cot θ = 0.75 ,

< θ < π ใหหา cosec θ (โดยใช 1 + cot2θ = cosec2θ )

69

การหา cos (α - β) เม่ือ α , β เปนจํานวนจริงหรือมุมใด ๆ1. ผูสอนทบทวนความรูเกี่ยวกับฟงกชันตรีโกณมิติและระยะทางระหวางจุด 2 จุดซึ่งผูเรียนควรจะ

บอกไดวา 1.1 ถา (m, n) เปนจุดปลายสวนโคงที่ยาว θ หนวยแลว จะได m = cos θ และ n = sin θ 1.2 2 2sin cos 1θ + θ =

1.3 ระยะระหวางจุด (a, b) และ (c, d) เทากับ 2 2(a c) (b d)− + −

2. ผูสอนและผูเรียนชวยกันหา cos (α - β) ตามขั้นตอนดวยวิธีการตอไปนี้ เนื่องจากในวงกลมหนึ่งหนวย จุดปลายสวนโคงที่ยาว θ หนวย คือจุด (cos θ , sin θ) ดังนั้น

นักเรียนควรบอกไดวา ถา P1 เปนจุดปลายสวนโคงที่ยาว α หนวย จะไดโคออรดิเนตของจุด P1 คือ (cos α , sin α)

ถา P2 เปนจุดปลายสวนโคงที่ยาว β หนวย จะไดโคออรดิเนตของจุด P2 คือ (cos β , sin β) ถา P3 เปนจุดปลายสวนโคงที่ยาว α - β หนวย จะไดโคออรดิเนตของจุด P3 คือ

(cos (α - β) , sin (α - β))

เนื่องจากสวนโคง P1P2 และสวนโคง AP3 ตางก็ยาวเทากับ α - βดังนั้น คอรด P1 P2 ยาวเทากับคอรด AP3

นั่นคือ 1 2 3P P AP=

2 2(cos cos ) (sin sin )α− β + α − β = 2 2{cos ( ) 1} sin ( )α − β − + α − β

ยกกําลังสองทั้งสองขาง จะได2 2(cos cos sin sin )− α β + α β = 2 2 cos ( )− α− β

2(cos cos sin sin )− α β + α β = 2 cos ( )− α− β

ดังนั้น cos ( ) cos cos sin sinα− β = α β + α β

P1

Y

X0

P2

A (1, 0)

βα

Y

X0 A (1, 0)

P2 ( cos β , sin β)

P1 ( cos α , sin α )

P3 ( cos (α - β ) , sin (α - β ) )

70

ตัวผกผันของฟงกชันตรีโกณมิติ1. ผูสอนอาจทบทวนเรื่องตัวผกผันของฟงกชัน โดยกําหนดฟงกชันทั้งแบบบอกเงื่อนไขและแบบ

แจกแจงสมาชิกแลวใหนักเรียนหาตัวผกผันของแตละฟงกชันนั้น เชนf = { (1, 2) , (2, 4) , (4, 6) , (5, 4) }g = 2{ (x, y) y x 5 }= +

h = { (x, y) 2y 3x 4 }− =

ผูเรียนควรหาตัวผกผันของแตละฟงกชันนั้นไดและบอกไดวาเปนฟงกชันหรือไม2. ผูสอนทบทวนเรื่องฟงกชันผกผันซึ่งผูเรียนควรบอกไดวาคือตัวผกผันของฟงกชันที่เปนฟงกชัน

และฟงกชัน 1 – 1 เทานั้นที่มีฟงกชันผกผัน3. ผูสอนใหผูเรียนพิจารณาฟงกชัน { (x, y) y sin x }= ใหผูเรียนบอกตัวผกผันของฟงกชันนี้และ

บอกดวยวาเปนฟงกชันหรือไม เพราะเหตุใด ผูเรียนควรตอบไดวาคือ { (x, y) x sin y }= ซ่ึงไมเปนฟงกชัน เพราะฟงกชันไซนไมเปนฟงกชัน 1 – 1 ในการพิจารณาวาตัวผกผันของฟงกชันไซน เปนฟงกชันหรือไม ผูสอนอาจใหผูเรียนพิจารณาจากกราฟของ y = sin x ก็ได

4. จากกราฟของ y = sin x ผูสอนและผูเรียนชวยกันพิจารณาหาชวงบนแกน X ที่ทําใหกราฟเปนฟงกชัน 1 – 1 และฟงกชันนั้นมีเรนจเปน [-1, 1] ซ่ึงผูเรียนควรหาชวงไดตาง ๆ กัน เชน [ 3,

2 2π π ] ,

[ 3 5,2 2π π ] , [ ,

2 2π π

− ] , [ 3 ,2 2π π

− − ]

23π0 X

Y

1

-1 2π

23π

−2π

1

-10 X

Y

X

Y

1

-10

23π

2π0

1

-1X

Y

52π

71

5. ผูสอนใหผูเรียนเขียนฟงกชันที่มีกราฟอยูในแตละชวงที่หาได ซ่ึงผูเรียนควรเขียนไดดังนี้3{(x, y) y sin x, x }

2 2π π

= ≤ ≤

3 5{(x, y) y sin x, x }2 2π π

= ≤ ≤

{(x, y) y sin x, x }2 2π π

= − ≤ ≤

3{(x, y) y sin x, x }2 2− π π

= ≤ ≤ −

.

.

.6. จากฟงกชันที่ไดในขอ 5 ผูสอนใหผูเรียนบอกฟงกชันที่มี 0 เปนสมาชิกในโดเมนผูเรียนควรตอบ

ไดวาคือ {(x, y) y sin x, x }2 2π π

= − ≤ ≤ ซ่ึงผูสอนบอกผูเรียนวา โดยท่ัวไปมักนิยมใหเปนฟงกชันผกผัน

ของฟงกชันไซน จะเรียกฟงกชันนี้วา arcsine ดังนั้น arcsine คือ{(x, y) x sin y, y }

2 2π π

= − ≤ ≤

นั่นคือ สําหรับ (x, y) ∈ arcsine จะได y = arcsin x เมื่อ x = sin y และ y

2 2π π

− ≤ ≤

7. ผูสอนอาจใชวิธีการทํานองเดียวกับขางตนในการใหนิยามฟงกชัน arccosine และ arctangentดังนั้น arccosine คือ { (x, y) x cos y, 0 y }= ≤ ≤ π

และ arctangent คือ { (x, y) x tan y, y }2 2π π

= − < <

8. ใหผูเรียนสรุปโดเมนและเรนจของฟงกชัน arcsine, arccosine และ arctangent

9. ผูสอนฝกใหผูเรียนหาคาของฟงกชันผกผันทั้งสาม ซ่ึงผูเรียนจําเปนตองทราบวาคาของฟงกชันผกผันตองอยูในเรนจของฟงกชันผกผันนั้น ๆ เชน ผูสอนใหผูเรียนแทนคา arcsin 2

2

เมื่อให arcsin 22

= t แลว นักเรียนควรบอกไดวา

sin t = 22

และ t2 2π π

− ≤ ≤

ดังนั้น t = 4π นั่นคือ arcsin 2

2 =

72

การเขียนกราฟของฟงกชันไซนและโคไซน

กราฟของฟงกชันตรีโกณมิติเปนกราฟที่มีความสําคัญ โดยเฉพาะกราฟของฟงกชันไซนและโคไซน เนื่องจากผูเรียนมีความรูพื้นฐานในการเขียนกราฟมาแลว ดังนั้นการเขียนกราฟของฟงกชันตรีโกณมิติ ผูสอนอาจดําเนินการตามตัวอยางตอไปนี้ เพื่อใหผูเรียนเกิดทักษะในการเขียนกราฟของฟงกชันไซนและโคไซน

กราฟของ y = sin x 0 ≤ x ≤ π

โดเมน คือ [0, π ] เรนจ คือ [0, 1]

กราฟของ y = sin x , 0 ≤ x ≤ 2π กราฟของ y = sin x x ∈ R

โดเมน คือ [0, 2π] เรนจ คือ [–1, 1] โดเมน คือ เซตของจํานวนจริง เรนจ คือ [–1, 1]

ฟงกชันตรีโกณมิติทุกฟงกชันเปนฟงกชันที่เปนคาบ กราฟของฟงกชันในแตละชวงยอยจะมีลักษณะเหมือนกัน ความยาวของชวงยอยที่ส้ันที่สุดที่มีสมบัติดังกลาว เรียกวาคาบ คาบของฟงกชัน y = sin x เทากับ 2π ดังรูป

x sin x0 0

6π 1

2

2π 156π 1

2

π 0

12

1

2π 5

X

Y

0 π

X1

–12π π

Y

0 X

Y

1

–1 –π π 2π

X

Y

1–1

2π 2π 2π

–2π–4π 2π 4π

0

73

การแบงคาบของกราฟ y = sin x อาจจะตางจากตัวอยางขางตนก็ไดแตคาบจะเทากับ 2π เสมอ

ฟงกชันไซนมีคาสูงสุดเทากับ 1 และคาต่ําสุดเทากับ - 1 คร่ึงหนึ่งของคาสูงสุดลบดวยคาต่ําสุดของฟงกชันไซน 1 ( 1)( 1)

2− −

= เรียกวาแอมพลิจูดนั่นคือ ฟงกชัน y = sin x มีคาบเทากับ 2π และแอมพลิจูดเทากับ 1

กราฟของ y = a sin x a ∈Ra = 1, y = sin x, 0 ≤ x ≤ 2π

ฟงกชัน y = sin x มีคาบ เทากับ 2π และแอมพลิจูดเทากับ 1กราฟของ y = sin x ตัดแกน X ที่จุด (0, 0), (π, 0) และ (2π, 0)

a = 2, y = 2 sin x, 0 ≤ x ≤ 2π

ฟงกชัน y = 2 sin x มีคาบ เทากับ 2π และแอมพลิจูดเทากับ 2กราฟของ y = 2 sin x ตัดแกน X ที่จุด (0, 0), (π, 0) และ (2π, 0)

1

–12π π X

Y

0

2

–22π π X

Y

0

X

Y

1–1

–2π–4π 2π 4π

2π 2π 2π 2π

0

74

a = 12

, y = 12

sin x, 0 ≤ x ≤ 2π

ฟงกชัน y = 12

sin x มีคาบ เทากับ 2π และแอมพลิจูดเทากับ 12

กราฟของ y = 12

sin x ตัดแกน X ที่จุด (0, 0), (π, 0) และ (2π, 0)

a = –1, y = – sin x, 0 ≤ x ≤ 2π

ฟงกชัน y = – sin x มีคาบ เทากับ 2π และแอมพลิจูดเทากับ 1กราฟของ y = – sin x ตัดแกน X ที่จุด (0, 0), (π, 0) และ (2π, 0)

กราฟของ y = sin(nx) , n ∈Rn = 2, y = sin 2x, 0 ≤ x ≤ 2π

ฟงกชัน y = sin 2x มีคาบ เทากับ π และแอมพลิจูดเทากับ 1กราฟของ y = sin 2x ตัดแกน X ที่จุด (0, 0), (

2π , 0), (π, 0), ( 3

2π , 0) และ (2π, 0)

1

–12π π X

Y

0

1

–1X

Y

0 2π π

12

2π π X

Y

012

75

n = 12

, y = sin 12

x, 0 ≤ x ≤ 2π

ฟงกชัน y = sin 12

x มีคาบ เทากับ 4π และแอมพลิจูดเทากับ 1

กราฟของ y = sin 12

x ตัดแกน X ที่จุด (0, 0), (2π, 0) และ (4π, 0)ในกรณีทั่วไป

เมื่อทราบคาบและแอมพลิจูดของฟงกชันไซนที่กําหนดให เราสามารถรางกราฟของฟงกชันไซนอยางคราว ๆ ไดดังตัวอยางที่ไดกลาวมาแลว

กราฟของฟงกชันโคไซนเราสามารถเขียนกราฟของฟงกชันโคไซนไดในทํานองเดียวกับการเขียนกราฟ

ของฟงกชันไซนตามที่ไดกลาวมาโดยทั่วไป

f : R → R, f(x) = cos (nx)คาบ เทากับ 2

nπ แอมพลิจูด เทากับ 1 เรนจ คือ [–1, 1]

f : R → R, f(x) = a cos (nx), n, a > 0คาบ เทากับ 2

nπ แอมพลิจูด เทากับ a เรนจ คือ [–a, a]

12 X

Y

0 4π 2π

f : R → R, f(x) = sin (nx)คาบ เทากับ 2

nπ แอมพลิจูด เทากับ 1 เรนจ คือ [–1, 1]

f : R → R, f(x) = a sin (nx), n, a > 0คาบ เทากับ 2

nπ แอมพลิจูด เทากับ a เรนจ คือ [–a, a]

76

กราฟของ y = cos x , 0 ≤ x ≤ 2π

กราฟของ y = cos x , –2π ≤ x ≤ 2π

ฟงกชัน y = cos x มีคาบเทากับ 2π และแอมพลิจูดเทากับ 1กราฟของฟงกชัน y = cos x ตัดแกน X ที่จุด 3( , 0)

− , ( , 0)2π

− , ( , 0)2π และ 3( , 0)

เมื่อผูเรียนมีความเขาใจและสามารถเขียนกราฟของฟงกชันไซน และ ฟงกชันโคไซน ไดแลวผูสอนควรฝกใหผูเรียนเขียนกราฟของฟงกชันไซน และ ฟงกชันโคไซน ที่มีรูปแบบตางไปจากเดิม ซ่ึงในที่นี้จะขอยกตัวอยางเพียงการเขียนกราฟของฟงกชันไซนเทานั้น เพราะเมื่อผูเรียนมีความเขาใจหลักการแลวก็จะสามารถเขียนฟงกชันตรีโกณมิติอ่ืนๆ โดยอาศัยหลักการเดียวกันนี้ได

ตัวอยาง จงเขียนกราฟของ y = – sin x + 2วิธีทํา จากกราฟของ y = sin x เขียนกราฟของ y = – sin x ไดดังนี้

1

–1X

Y

0 2π π

x cos x0 1

2π 0π –132π 0

2π 1

32π

−32π

−0–2π 2π X

Y

2

-2

Y

X–π2π π 2π 5

32π

y = sin x

0

77

จากกราฟ y = – sin x เขียนกราฟของ y = – sin x + 2 ไดดังนี้

สําหรับตัวอยางที่ 1 – 3 ในหนังสือเรียน หัวขอ 2.8 หนา 142 – 143 นั้น ผูสอนอาจอาศัยกราฟเพื่อชวยใหผูเรียนเกิดความเขาใจ และสามารถหาคําตอบไดงายและรวดเร็วข้ึน โดยขอยกตัวอยางที่ 1เพียงตัวอยางเดียว ดังนี้ตัวอยางที่ 1 จงหาคาของ arcsin 1วิธีทํา ให arcsin 1 = θ จะได sin θ = 1

หาคา θ เมื่อ 22π

≤θ≤π

− และ sin θ = 1

พิจารณากราฟ y = sin θ

จากกราฟ จะพบวา เมื่อ 22π

≤θ≤π

− จะมี θ = 2π เพียงคาเดียวที่ sin θ = 1

ดังนั้น arcsin 1 = 2π

–π2π

π 2π

52π3

2

-2

Y

X

y = –sin x

0

–π2π π 2π 5

32π

4

2

-2

Y

X

y = –sin x + 2

0

52π3

− 2π

Y

θ–π π 2π–1

1

0

78

ตัวอยางแบบทดสอบประจาํบท

1. กําหนดให sin α + cos α = 1.2 จงหาคาของ sin3α + cos3α

2. จากรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ABC กําหนดให AC = 4 หนวย , BP = 1 หนวย และ BP ⊥AC ที่จุด P จงหาคามุม θ

3. กําหนดให a และ b เปนคาคงตัว และ 23 4cos

1 2sin− + θ

− θ = a + b sin θ

จงหาคา a และ b ที่ทําใหสมการนี้เปนจริงทุก ๆ คามุม θ4. จงหาคามุม x ทั้งหมด ซ่ึง 0 ≤ x ≤ 2π และ sin 2x + cos 2x + sin x + cos x + 1 = 05. รูปสามเหลี่ยมรูปหนึ่ง มีดานทั้งสามยาว x, y และ 2 2x xy y+ + หนวย

จงหามุมที่ใหญที่สุดของรูปสามเหลี่ยมนี้6. กําหนดให ABCD เปนรูปสี่เหล่ียมใดๆ ที่อยูภายในวงกลม ซ่ึง AB = 2 หนวย ,

BC = 3 หนวย, CD = 4 หนวย และ DA = 6 หนวย ดังรูป จงหาความยาวดาน AC

7. จงหาคา x ที่ทําใหสมการ cos10x – sin10x = 1 เปนจริง เมื่อ 0 ≤ x ≤ 2π8. กําหนดให sin 54° = cos 36° จงหาคาของ sin 18°9. ถาความยาวของเข็มยาวและเข็มสั้นของนาฬิกาเทากับ 6 เซนติเมตร และ 4 เซนติเมตร

ตามลําดับ จงหาระยะทางจากจุดปลายของเข็มยาวไปยังจุดปลายของเข็มสั้น เมื่อนาฬิกาเรือนนี้บอกเวลา 14.00 น.

A

B

D

C

32x

6 4

A

B Cθ

P

79

10. รูปสามเหลี่ยม ABC รูปหนึ่งมี AC = BC และ ABAC

= r จงพิสูจนวา

cos A + cos B + cos C = 1 + r – 2r2

เฉลยตัวอยางแบบทดสอบ

1. เนื่องจาก sin α + cos α = 1.2 ---------- (1)ยกกําลังสองทั้งสองขาง จะได

(sin α + cos α)2 = (1.2)2

sin2α + 2 sin α cos α + cos2α = 1.44 1 + 2 sin α cos α = 1.44

sin α cos α = 0.22 ---------- (2)ดังนั้น (sin α + cos α)3 = (1.2)3

sin3α + 3 sin2 α cos α + 3 sin α cos2α + cos3α = 1.728 sin3α + 3 sin α cos α (sin α + cos α) + cos3α = 1.728 ---------- (3)แทนคาสมการ (1) และ (2) ลงในสมการ (3) sin3α + 3(0.22)(1.2) + cos3α = 1.728ดังนั้น sin3α + cos3α = 0.936

2. พื้นที่ ∆ ABC = 12

(4)(1) = 2 ----------- (1)

แตพื้นที่ ∆ ABC = 12

AB⋅BC

= 12

AC sin θ ⋅ AC cos θ

= 8 sin θ cos θ= 4 sin 2θ ----------- (2)

จากสมการ (1) และ (2)จะได 2 = 4 sin 2θ

sin 2θ = 12

ดังนั้น 2θ = 30° หรือ 150°นั่นคือ θ = 15° หรือ 75°

80

3.23 4cos

1 2sin− + θ

− θ=

23 4(1 sin )1 2sin

− + − θ− θ

=21 4sin

1 2sin− θ− θ

= (1 2sin )(1 2sin )1 2sin

− θ + θ− θ

= 1 + 2 sin θ

เนื่องจากโจทยกําหนดให 23 4cos

1 2sin− + θ

− θ = a + b sin θ

ดังนั้น a = 1 และ b = 2

4. sin 2x + cos 2x + sin x + cos x + 1 = 0 , 0 ≤ x ≤ 2π2 sin x cos x + 2 cos2x – 1 + sin x + cos x + 1 = 0 sin x (2 cos x + 1) + cos x (2 cos x + 1) = 0

(sin x + cos x)(2 cos x + 1) = 0ถา sin x + cos x =0sin x 1cos x

+ = 0

tan x = –1x = 3 7,

4 4π π

ถา 2 cos x + 1 = 0cos x = 1

2−

x = 2 4,3 3π π

ดังนั้น x = 2 4 3, ,3 3 4π π π หรือ 7

5. เนื่องจาก 2 2x xy y+ + เปนดานที่ยาวที่สุด ดังนั้น มุมตรงขามดาน 2 2x xy y+ +

เปนมุมที่ใหญที่สุดโดยกฎของโคไซนจะได x2 + xy + y2 = x2 + y2 – 2xy cos θ

cos θ = 12

θ = 120°ดังนั้น มุมที่ใหญที่สุดมีขนาดเทากับ 120°

x yθ

2 2x xy y+ +

81

6. ใชกฎของโคไซน พิจารณารูป ∆ ABC และ ∆ ADC จาก ∆ ABC จะได x2 = 4 + 9 – 12 cos B ---------- (1)จาก ∆ ADC จะได x2 = 36 + 16 – 48 cos D ---------- (2)เนื่องจากรูปสี่เหล่ียม ABCD อยูภายในวงกลม จะไดวา D B

∧ ∧+ = 180°

ดังนั้น cos D = cos (180° – B)= – cos B

แทนคา cos D ลงในสมการ (2)จะได x2 = 36 + 16 + 48 cos B ---------- (3)(3) – (1) , 0 = 39 + 60 cos B

cos B = 3960

แทนคา cos B ลงใน (1)จะได x2 = 13 – (12) ( 39

60− )

= 1045

ดังนั้น x = 1045

7. cos10x – sin10x = 1 cos10x = 1 + sin10x ---------- (1)

เนื่องจาก 0 ≤ cos10x ≤ 1 และ 1 + sin10x ≥ 1คําตอบของสมการ (1) จะเปนไปไดเพียงกรณีเดียวเมื่อ cos10x = 1 และ sin10x = 0

cos10x = 1 จะได cos x = 1 หรือ cos x = –1ดังนั้น x = 0, π หรือ 2π

sin10x = 0 จะได sin x = 0ดังนั้น x = 0, π หรือ 2πนั่นคือ x = 0, π, 2π

8. เนื่องจาก sin 54° = cos 36°sin (3 × 18°) = cos (2 × 18°)

เพราะวา sin 3A = 3 sin A – 4 sin3Aและ cos 2A = 1 – 2 sin2A

82

ให x = sin A = sin 18°จะได 3x – 4x3 = 1 – 2x2

4x3 – 2x2 – 3x + 1 = 0(x – 1)(4x2 + 2x – 1) = 0 , x ≠ 1

4x2 + 2x – 1 = 0

x = 2 2 58

− ±

ดังนั้น sin 18° = 1 54

− +

9. มุมระหวางเข็มยาวและเข็มสั้นเมื่อนาฬิกาบอกเวลา 14.00 น. คือ 60°

จากกฎของโคไซน จะไดd2 = 62 + 42 – 2(6)(4) cos 60°

= 36 + 16 – 24= 28

d = 28 = 2 7

ดังนั้น ระยะทางจากจุดปลายของเข็มยาวไปยังจุดปลายของเข็มสั้น เมื่อนาฬิกาบอกเวลา 14.00 น. เทากับ 2 7 เซนติเมตร

10. จากรูป ให AC = BC = 1จากที่โจทยกําหนด AB

AC = r

จะได AB = rโดยกฎของโคไซน

cos A = cos B = 2r และ cos C =

2r12

ดังนั้น cos A + cos B + cos C = 2r r r(1 )

2 2 2+ + −

= 2r1 r2

+ −

12

6

3910

11 12

457

8

60°6

4

d

A D B

C

83

เฉลยแบบฝกหัด 2.2 ก

1. 1) 0, –1 2) 0, 13) 0, –1 4) 0, 15) –1, 0 6) 1, 07) –1, 0 8) 1, 09) 1, 0 10) –1, 011) 0, –1 12) 0, –113) 0, –1 14) 0, –115) –1, 0 16) 1, 0

2.θ sin θ cos θ

32π

43π

65π

67π

45π

34π

35π

47π

611π

23

22

21

21

22

23

23

22

21

21

22

23

23

22

21

21

22

23

84

3. 1) 0, π, 2π, 3π, –π ฯลฯ2) 5 9 3 7, , , ,

2 2 2 2 2π π π π π

− − ฯลฯ

3) 3 5 3, , , ,2 2 2 2 2π π π π − π

− − ฯลฯ

4) 0, 2π, 4π, 6π, –2π ฯลฯ5) 3 7 11 5, , , ,

2 2 2 2 2π π π π π

− − ฯลฯ

6) π, 3π, 5π, –π, –3π ฯลฯ7) 5 13 7 11, , , ,

6 6 6 6 6π π π π π

− − ฯลฯ

8) 3 5 11 3 5, , , ,4 4 4 4 4π π π π π

− − ฯลฯ

9) 4 5 10 2, , , ,3 3 3 3 3π π π π π

− − ฯลฯ

4. 1) 2 2,2 2

− 2) 2 2,2 2

3) 2 2,2 2

4) 2 2,2 2

5) 3 1,2 2

− 6) 1 3,2 2

7) 3 1,2 2

− 8) 3 1,2 2

9) 1 3,2 2

10) 3 1,2 2

5. ไมมี เพราะ –1 ≤ sin θ ≤ 1

เฉลยแบบฝกหัด 2.2 ข

1. ควอดรันตที่ 1 และ 22. ควอดรันตที่ 2 และ 33. cos2x – sin2x = 1

2

cos2x – (1 – cos2x) = 12

85

2cos2x – 1 = 12

cos2x = 34

cos x = 32

− , x2π≤ ≤ π

4. 1) sin 1312π = sin( )

12π

π+ = sin12π

cos 1312π = cos( )

12π

π+ = cos12π

2) 5sin3π = sin(2 )

π− = sin3π

5cos3π = cos(2 )

π− = cos3π

3) 7sin6π = sin( )

π+ = sin6π

7cos6π = cos( )

π+ = cos6π

4) 7sin10π = 3sin( )

10π

π− = 3sin10π

7cos10π = 3cos( )

10π

π− = 3cos10π

5) 9sin5π = sin(2 )

π− = sin5π

9cos5π = cos(2 )

π− = cos5π

6) 16sin( )7π

− = 16sin7π

− = 2sin(2 )7π

− π+ = 2sin7π

16cos( )7π

− = 16cos7π = 2cos(2 )

π+ = 2cos7π

5. 1) จาก sin2θ + cos2θ = 1cos2θ = 1 – sin2θ

cos θ = 21 sin− θ

∴ cos θ = 21 (0.4848)−

= 0.8746

86

2) sin (π – θ) = sin θ= 0.4848

3) cos (π + θ) = –cos θ= –0.8746

4) sin (–θ) = –sin θ= –0.4848

5) cos (θ – 2π ) = cos θ= 0.8746

6) sin (3π – θ) = sin θ= 0.4848

6. sin( )θ− π = – sin( )π−θ

= –sin θ = 3

5−

7. 1) เท็จ2) จริง3) จริง

เฉลยแบบฝกหัด 2.3

1. 1) ควอดรันตที่ 12) ควอดรันตที่ 33) ควอดรันตที่ 24) ควอดรันตที่ 2

87

2. sin cos tan cosec sec cot

1) 0 0 1 0 – 1 – 2)

2π 1 0 – 1 – 0

3) 4π 2

2 2

2 1 2 2 1

4) 34π 2

2 2

2− –1 2 2− –1

5) 23π 3

2 1

2− 3− 2 3

3 –2 1

3−

6) π 0 –1 0 – –1 –

7) 74π 2

2− 2

2 –1 2− 2 –1

8) 43π 3

2− 1

2− 3 2 3

3− 2− 1

3

9) 72π –1 0 – –1 – 0

10) 52π 1 0 – 1 – 0

11) 2π 0 1 0 – 1 –

12) 34π

− 22

− 22

− 1 2− 2− 1

13) 54π

− 22

22

− –1 2 2− –1

14)3π

− 32

− 12

3− 2 33

− 2 13

15) –π 0 –1 0 – –1 – 16) 5

− –1 0 – –1 – 0

17) 72π

− 1 0 – 1 – 0 18) –2π 0 1 0 – 1 –

3. cos θ = 21 sin− θ

= 21 0.48−

≈ 0.88

จํานวนจริงฟงกชัน

88

tan θ = sincos

θθ

= 0.480.88

≈ 0.55

cosec θ = 1sinθ

= 10.48

≈ 2.08

sec θ = 1cosθ

= 10.88

≈ 1.14

cot θ = cossin

θθ

= 0.880.48

≈ 1.83

4. วิธีที่ 1 sec θ + cosec θ = 5 53 4+ วิธีที่ 2 cosθ = 21 sin− θ

= 20 1512+ = 161

25−

= 3512

= 925

= 35

≈ 2.92 จะได sec θ = 53

ดังนั้น sec θ + cosec θ =

5 53 4+

= 20 1512+

≈ 2.92

5. วิธีที่ 1 2 cos θ + cot θ = 32 310

+

วิธีที่ 2

= 610

+ 3 sec2θ = 1 + tan2θ

= 3 10 35

+ = 119

+ = 109

= 10 535

+

sec θ = 103

ดังนั้น 2 cos θ + cot θ

= 32 310

+

= 3 10 35

+

= 10 535

+

4 5

θ3

110

θ3

89

6. 1) 4 3 13

+ = 4 3 33+

2) 1 3 62 3 4+ − = 6 4 3 3 6

12+ −

3) 1 32

− + = 2 3 12−

4) 2 32+

5) 2

7. 1) ไมจริง เพราะ cos2 3π π +

= 5cos

= cos (π – 6π )

= cos6π

= 32

cos cos2 3π π+ = 10

2+ = 1

2

∴ cos( )2 3π π+ ≠ cos cos

2 3π π+

2) จริง

3) ไมจริง เพราะ sin sin6 3π π+ = 1 3

2 2+

sin2π = 1

∴ sin sin6 3π π+ ≠ sin

4) ไมจริง เพราะ cos 2cos6 3π π+ = 3 1

2+

5cos6π = cos( )

π−

= cos6π

= 32

∴ cos 2cos6 3π π+ ≠ 5cos

90

5) ไมจริง เพราะ cos sin4 4π π+ = 2 2

2 2+

= 2

sin2π = 1

∴ cos sin4 4π π+ ≠ sin

เฉลยแบบฝกหัด 2.4

1. 1) 120° 2) –150°3) 396° 4) 720°5) 171.89° หรือ 171° 53′

2. 1) 53π 2) 169

270π

3) 74π

− 4) 449π

5) 259π

3. 215π

4. sin cos tan cosec sec cot

1) 150° 12

32

− 33

− 2 2 33

− 3−

2) 120° 32

12

− 3− 2 33

–2 – 33

3) 315° 22

− 22

–1 2− 2 –1

4) –315° 22

22

1 2 2 1

5) 930° 12

− 32

− 33

–2 2 33

− 3

มุมฟงกชัน

91

5. 1)2 23tan 135 sec 3002sin 330

° − °°

=2 23( 1) (2)122

− − −

= 3 41−−

= 1

2) tan( 480 ) sin( 840 )cos( 390 )

− ° − − °− °

=33232

+

=2 3 32 232

+= 3 3 2

2 3× = 3

6. sin A = 122 61

= 661

cos A = 102 61

= 561

tan A = 1210

= 65

sin B = 102 61

= 561

cos B = 122 61

= 661

tan B = 1012

= 56

จาก sin A = CD10

ดังนั้น CD = 61061

× = 6061

หนวย ≈ 7.68 หนวย

cos B = DB12

ดังนั้น BD = 61261

× = 7261

หนวย ≈ 9.22 หนวย

7. กําหนด cos A = 47

ดังนั้น sin A = 337

tan A = 334

cosec A = 7 3333

sec A = 74

cot A = 4 3333

2 61

A

BC 12

10 D

A

7

4

33

92

8. เนื่องจาก –1 ≤ cos ≤ 1 หรือ 0 ≤ cos θ ≤ 1 0 ≤ 1

secθ ≤ 1

0 ≤ 1secθ

≤ 1

ดังนั้น sec θ ≥ 1จะไดวา ไมมีจํานวนจริง θ ใด ที่ทําให sec θ < 1

9. มี เพราะเรนจของฟงกชัน tangent เปนเซตของจํานวนจริง

10. เนื่องจาก tan2x = sec2x – 1จะไดsec2x + sec2x – 1 = 7

2

2sec2x = 92

sec x = 32

±

แต x2π< < π ดังนั้น sec x = 3

2−

จะได cos x = 23

11. วิธีท่ี 1 32 = a2 + 12

a2 = 9 – 1 = 8a = 2 2

เนื่องจาก θ อยูในควอดรันตที่ 2

จะได tan θ = 12 2

− = 24

วิธีท่ี 2 เพราะวา sec θ < 0 ดังนั้น cos θ < 0 ดวย

จาก sin θ = 13

จะทําให cos θ = 211 ( )3

− = 2 23

ดังนั้น tan θ = sincos

θθ

= 1 33 2 2×−

= 24

3

a

93

12. วิธีท่ี 1 a2 = 12 + 52

a = 26

เนื่องจาก θ อยูในควอดรันตที่ 3

จะได cos θ = 526

− = 5 2626

วิธีท่ี 2 เพราะวา sin θ < 0 ดังนั้น cosec θ < 0 ดวยจาก cot θ = 5 จะได cosec2θ = 1 + cot2θ

= 1 + 25cosec θ = 26−

sin θ = 126

จาก cot θ = cos θ5 = cos1

26

θ

cos θ = 5 2626

เฉลยแบบฝกหัด 2.5

1. 1) ควอดรันตที่ 1 หรือ ควอดรันตที่ 22) ควอดรันตที่ 2 หรือ ควอดรันตที่ 33) ควอดรันตที่ 2 หรือ ควอดรันตที่ 44) ควอดรันตที่ 1 หรือ ควอดรันตที่ 35) ควอดรันตที่ 1 หรือ ควอดรันตที่ 2

2. BCAB

= sin 20°

BC = 10 (0.342) = 3.42 เซนติเมตรACAB

= cos 20°

AC = 10 (0.9397) = 9.397 เซนติเมตร

3

a

20°

B

AC

10

94

3. BPAB

= sin 70°

BP = 5(0.9397)= 4.6985 เซนติเมตร

BC = BPsin50°

= 4.69850.7660

= 6.1338 เซนติเมตร

AP = AB cos 70° = 5(0.3420) = 1.71 เซนติเมตรPC = BC cos 50° = 6.1338 × 0.6428 = 3.9428 เซนติเมตรAC = AP + PC = 1.71 + 3.9428 = 5.6528 เซนติเมตร

4. BD = AB cos 40°= 6(0.7660)= 4.5960 เซนติเมตร

AD = AB sin 40°= 6(0.6428)= 3.8568 เซนติเมตร

DC = AD cot 30° = 3.8568 × 1.7321 = 6.680 เซนติเมตรCA = AD

sin30° = 2 × 6.680 = 13.360 เซนติเมตร

BC = BD + DC = 4.5960 + 6.680 = 11.276 เซนติเมตร

5. จากสมบัติของรูปสามเหลี่ยมหนาจั่วจะได BD = DC = 20″BDAB

= cos 70°

AB = BDcos70°

= 200.3420

= 58.4795 นิ้ว

∴ เสนรอบรูปของรูปสามเหลี่ยมหนาจั่วยาว 58.4795 + 58.4795 + 40 = 156.959 นิ้ว

P50°70°

B

A C

5

40° 30°

110°6

DB C

A

A

CB40″D

70°70°

95

6. จาก DEBE

= tan 40°

DE = 60(0.8391) = 50.346∴ ตึกที่สูงกวา สูง 40 + 50.346 = 90.346 ฟุต

7. จากรูป BCAB

= sin 60°

AB = BCsin 60°

= 50 23× = 100 3

3

∴ ระยะทางที่นักวายน้ําวายขามฝง เทากับ 100 33

เมตร

8. จากรูป x = AD – ACและ AE = AD = AB

= 90 เซนติเมตรเนื่องจาก AC

AB = cos 15°

AC = 90 cos 15° = 86.931

นั่นคือ x = 90 – 86.931 = 3.069 เซนติเมตร

เฉลยแบบฝกหัด 2.6

1. 1) แอมพลิจูด เทากับ 12

คาบ คือ 21π = 2π

2) แอมพลิจูด เทากับ 3คาบ คือ 2

1π = 2π

3) แอมพลิจูด เทากับ 3คาบ คือ 2

12

π = 4π

A C

D

EB 40°40 ฟุต

60 ฟุต

CA

B

60°50 เมตร

D

E B

A15° 15°

C x เซนติเมตร

96

4) แอมพลิจูด เทากับ 4คาบ คือ 2

5) แอมพลิจูด เทากับ 12

− = 12

คาบ คือ 24π =

6) แอมพลิจูด เทากับ 2− = 2คาบ คือ 21

2

π = 4π

7) แอมพลิจูด เทากับ 1คาบ คือ 2π

8) แอมพลิจูด เทากับ 3คาบ คือ 2π

2. 1) y = 1 sin 22

θ

2) y = 1 cos2

θ

Y

θ

Y

θ

97

3) y = 1 sin( 2 )2

− θ

4) y = 1 sin( 2 )2

− − θ

5) y = 12sin 12

− θ−

Y

θ

θ

Y

θ

Y

98

6) y = 12cos 12

− θ+

7) y = 2sin 2 1θ+

8) y = 2cos 2 1θ−

Y

θ

θ

Y

θ

Y

99

3. 1) จ 2) ฉ3) ก 4) ฌ5) ซ 6) ข7) ค 8) ช9) ง

เฉลยแบบฝกหัด 2.7

1. 1) cos (60° + 45°) = cos 60° cos 45° – sin 60° sin 45°

= 1 2 3 22 2 2 2

= 2 64 4

= 2 64−

= 1 ( 2 6)4

2) cos 3( )2 3π π− = 3 3cos cos sin sin

2 3 2 3π π π π

+

= 30 ( 1)2

+ −

= 32

3) cos 165° = cos (120° + 45°)= cos 120° cos 45° – sin 120° sin 45°= 1 2 3 2

2 2 2 2 − −

= 2 64 4

− −

= 1 ( 2 6)4

− +

100

4) cos 225° = cos (180° + 45°)= cos 180° cos 45° – sin 180° sin 45°

= (–1) 22

– 0

= 22

5) sin 105° = sin (60° + 45°)= sin 60° cos 45° + cos 60° sin 45°

= 3 22 2

+ 1 22 2

= 6 24 4

+

= 1 ( 6 2)4

+

6) sin 135° = sin (90° + 45°)= sin 90° cos 45° + cos 90° sin 45°

= 2(1) 02

+

= 22

7) tan 75° = tan (30° + 45°)= tan 30 tan 45

1 tan30 tan 45° + °

− ° °

=3 1331 (1)3

+

= 3 3 33 3 3+

×−

= 3 33 3+−

8) tan 105° = tan (60° + 45°)= tan 60 tan 45

1 tan 60 tan 45° + °

− ° °

101

= 3 11 ( 3)(1)

+−

= 1 31 3+−

9) sin 1712π = 3sin

2 12π π −

= 3 3sin cos cos sin2 12 2 12π π π π

= ( 1)cos 03 4π π − − −

= cos cos sin sin3 4 3 4π π π π − +

= 1 2 3 22 2 2 2

− +

= 1 ( 2 6)4

− +

10) cos 712π = cos

2 12π π +

= cos cos sin sin2 12 2 12π π π π

= 0 (1)sin3 4π π − −

= sin cos cos sin3 4 3 4π π π π − −

= 3 2 1 22 2 2 2

− −

= 1 ( 2 6)4

11) 19tan12π = 7tan( )

12π

π+

=7tan tan1271 tan tan12

ππ+

π− π

=1 301 31 0

++

−−

= 1 31 3+−

102

12) 7tan12π = tan 105°

= 1 31 3+−

13) sin12π −

= sin

12π −

= sin3 4

π π − −

= sin cos cos sin3 4 3 4π π π π − −

= 3 2 1 22 2 2 2

− −

= 1 ( 2 6)4

14) sec12π −

= 1

cos12π −

= 1

cos12π

= 1

cos3 4π π −

= 1

cos cos sin sin3 4 3 4π π π π

+

= 11 2 3 22 2 2 2

+

= 42 6+

= 4 2 62 6 2 6

−⋅

+ −

= 4( 2 6)2 6−−

= 6 2−

103

15) 5cot12π −

= 1

5tan12π −

= 17tan12π − π

= 17tan tan1271 tan tan12

π − π

π + π

= 11 3 01 3+

−−

= 1 31 3−+

2. 5 5sin sin cos cos2 2 2 2π π π π − + −

= (–1)(1) + 0 = –1

3. sin sin cos cos3 4 4 3π π π π − + −

= 3 2 2 1

2 2 2 2 − +

= 6 24 4

− +

= 1 ( 2 6)4

4. 1) sin 20° cos 10° + cos 20° sin 10° = sin (20° + 10°)= sin 30°= 1

2

2) cos 70° cos 20° – sin 70° sin 20° = cos (70° + 20°)= cos 90°= 0

104

3) tan 20 tan 251 tan 20 tan 25

° + °− ° °

= tan (20° + 25°)= tan 45°= 1

4) 7 7sin cos cos sin12 12 12 12π π π π

− = 7sin( )12 12π π−

= sin( )2π

= –1

5) 5 5sin cos sin cos12 12 12 12π π π π

− = 5sin( )12 12π π−

= sin( )3π

= 32

5. 1)

sin (α + β) = sin α cos β + cos α sin β= 3 2

5 5

+ 4 1

5 5 −

= 6 45 5 5 5

= 25 5

= 2 525

cos (α + β) = cos α cos β – sin α sin β= 4 2 3 1

5 55 5 − −

= 8 35 5 5 5

+ = 115 5

= 11 525

53

1

2

5

β

105

sin (α – β) = sin α cos β – cos α sin β= 3 2 4 1

5 55 5 − −

= 6 45 5 5 5

+ = 105 5

= 2 55

tan (α – β) = tan tan1 tan tan

α − β+ α β

=3 14 23 114 2

− −

+ −

=5458

= 5 84 5× = 2

2)

sin (α + β) = sin α cos β + cos α sin β

= 4 1 3 35 2 5 2

+ −

= 4 3 310 10

− = 1 (4 3 3)10

cos (α + β) = cos α cos β – sin α sin β

= 3 1 4 35 2 5 2

− −

= 3 4 310 10

− − = 1 (3 4 3)10

− +

54

23

106

sin (α – β) = sin α cos β – cos α sin β

= 4 1 3 35 2 5 2

− −

= 4 3 310 10

+ = 1 (4 3 3)10

+

tan (α – β) = tan tan1 tan tan

α − β+ α β

=4 3341 ( 3)3

− − + −

=4 3 33

3 4 33

− −

= 4 3 34 3 3+

= 48 25 339+

3)

sin (α + β) = sin α cos β + cos α sin β

= 5 1 12 313 2 13 2

− + −

= 5 12 326 26

− −

= 1 (5 12 3)26

− +

135

12α

2

1

3

β

107

cos (α + β) = cos α cos β – sin α sin β

= 12 1 5 313 2 13 2

− − −

= 12 5 326 26

= 1 (12 5 3)26

sin (α – β) = sin α cos β – cos α sin β= 5 1 12 3

13 2 13 2 − − −

= 5 12 326 26

− +

= 1 (12 3 5)26

tan (α – β) = tan tan1 tan tan

α − β+ α β

=5 ( 3)1251 ( 3)12

− − − + − −

=12 3 512

12 5 312

+

= 12 3 55 3 12

−+

6. 1) sin2π + θ

= sin cos cos sin

2 2π π

θ+ θ

= cos θ

2) cos

θ+π2

= cos2π cos θ – sin

2π sin θ

= – sin θ

3) sin

θ−π2

= sin2π cos θ – cos

2π sin θ

= cos θ

108

4) sin( )π+ θ = sin π cos θ + cos π sin θ= – sin θ

5) cos

θ−π2

3 = cos2

3π cos θ + sin2

3π sin θ

= – sin θ6) 3sin

2π + θ

= 3 3sin cos cos sin

2 2π π

θ+ θ

= – cos θ7) tan (π – θ) = tan tan

1 tan tanπ− θ

+ π θ

= 0 tan1 0− θ+

= – tan θ8) sin (α + β) + sin (α – β) = sin α cos β + cos α sin β + sin α cosβ

– cos α sin β= 2 sin α cos β

9) sin( )sin cos

α +βα β

= sin cos cos sinsin cos

α β+ α βα β

= cos sin1sin cos

α β+

α β

= 1 cot tan+ α β

10) cos( )cos cos

α +βα β

= cos cos sin sincos cos

α β− α βα β

= sin sin1cos cos

α β−

α β

= 1 tan tan− α β

11) sin( )sin( )

α +βα −β

= sin cos cos sinsin cos cos sin

α β+ α βα β− α β

= sin cos cos sinsin cos cos sin sin cos cos sin

α β α β+

α β− α β α β− α β

= 1 11 cot tan tan cot 1

+− α β α β−

109

= 1 1tan tan1 1tan tan

+β α

− −α β

= tan tantan tan tan tan

α β+

α − β α − β

= tan tantan tan

α + βα − β

7. 1) tan (α – β) = sin( )cos( )

α −βα −β

= sin cos cos sincos cos sin sin

α β− α βα β+ α β

=sin cos cos sincos cos cos coscos cos sin sincos cos cos cos

α β α β−

α β α βα β α β

+α β α β

, cos 0, cos 0α ≠ β ≠

= tan tan1 tan tan

α − β+ α β

2) 2 cos α sin β = cos α sinβ + cos α sin β= sin (α + β) – sin α cos β – sin (α – β) + sin α cos β= sin (α + β) – sin (α – β)

3) 2 cos α cos β = cos α cosβ + cos α cos β = cos (α + β) + sin α sin β + cos (α – β) – sin α sin β = cos (α + β) + cos (α – β)

4) 2 sin α sin β = sin α sinβ + sin α sin β = cos (α – β) – cos α cos β + cos α cos β – cos (α + β) = cos (α – β) – cos (α + β)

5) เนื่องจาก sin (x + y) – sin (x – y) = 2 cos x sin yให α = x + y, β = x – y จะได x =

2α +β , y =

2α −β

∴ sin α – sin β = 2 cos 2

α +β

sin 2

α −β

110

6) เนื่องจาก cos (x + y) + cos (x – y) = 2 cos x cos yให α = x + y, β = x – yจะได x =

2α +β , y =

2α −β

∴ cos α + cos β = 2 cos 2

α +β

cos 2

α −β

7) เนื่องจาก cos (x + y) – cos (x – y) = –2 sin α sin βให α = x + y, β = x – yจะได x =

2α +β , y =

2α −β

∴ cos α – cos β = –2 sin2

α +β

sin 2

α −β

8) จาก 2 2sin cos2 2α α+ = 1

2sin2α = 21 cos

sin2α = 21 cos

± −

จาก 2cos2α

=cos 2 1

22

α + = cos 1

2α +

∴ sin2α = cos 11

2α +

± −

= 2 cos 12

− α −±

= 1 cos2

− α±

9) จาก 2 2sin cos2 2α α+ = 1

cos2α = 21 sin

± −

จาก 2sin2α

=1 cos2

22

α − = 1 cos

2− α

111

∴ cos2α = 1 cos1

2− α

± −

= 2 1 cos2

− + α±

= 1 cos2

+ α±

10) tan2α =

sin2

cos2

α

α

=1 cos2

1 cos2

− α±

+ α±

= 1 cos1 cos− α

±+ α

8. 1) sin (90° – A) = sin 90° cos A – cos 90° sin A= cos A

2) tan (90° – A) = tan 90 tanA1 tan90 tanA

° −+ °

=1 1

cot 90 cot A11

cot 90 cot A

−°

=cot A cot 90cot 90 cot Acot 90 cot A 1cot 90 cot A

− °°

° +°

= cot A 00 1

−+

= cot A

3) cot (90° – B) = 1tan(90 B)° −

= 1cot B

= tan B4) sec (90° – A) = 1

cos(90 A)° −

= 1cos90 cosA sin 90 sinA° + °

= 1sinA

= csc A

112

5) csc (90° – B) = 1sin(90 B)° −

= 1sin 90 cosB cos90 sin B° − °

= 1cosB

= sec B6) sin (90° + A) = sin 90° cos A + cos 90° sin A

= cos A7) cos (270° – A) = cos 270° cos A + sin 270° sin A

= – sin A8) tan (270° – A) = sin(270 A)

cos(270 A)° −° −

= sin 270 cosA cos270 sin Acos270 cosA sin 270 sinA

° − °° + °

= cosAsinA

−−

= cot A

9. 1) cos (x – 30°) – cos (x + 30°) = 2 sin x sin 30°= 2sin x

2= sin x

2) cos (x + 45°) + cos (x – 45°) = 2 cos x cos 45°= 2 2

2 cos x

= 2 cos x

3) sin (x – 30°) + sin (x + 30°) = 2 sin x cos 30°= 2 3

2 sin x

= 3 sin x0

4) sin (x + y) sin (x – y) = (sin x cos y + cos x sin y)(sin x cos y – cos x sin y) = sin2x cos2y – cos2xsin2y = sin2x (1 – sin2y) – (1 – sin2x) sin2y = sin2x – sin2x sin2y – sin2y + sin2x sin2y = sin2x – sin2y

113

10. cos 2x = 2 cos2x – 1

=232 1

7 −

= 92 149

= 3149

11. tan 2x = 22 tan x1 tan x−

= 2

122112

= 1114

−= 4

3

12. cos 32° = cos 642° 1 coscos

2 2 α + α

= ±

= 1 cos642

+ ° Q 32° อยูในควอดรันตที่ 1

= 1 0.442

+ = 0.72 = 0.849

13. sin 0.52 = 1.04sin2

= 1 cos1.042

= 1 0.52−

= 0.25 = 0.5

14. cos (x + y) = cos x cos y – sin x sin y= 3 12 4 5

5 13 5 13 − − − −

= 36 2065 65

+ = 5665

15. sin (x + y) = sin x cos y + cos x sin y513

− = 3 4cos y sin y5 5

+

114

1) เพราะวา 0 < x < 2π , sin x = 3

5

ดังนั้น cos x = 21 sin x− = 9125

− = 45

เพราะวา π < x + y < 32π , sin (x + y) = 5

13−

ดังนั้น cos (x + y) = 21 sin (x y)− − + = 1213

sin (x + y) = sin x cos y + cos x sin y 5

13− = 3 4cos y sin y

5 5+ ---------- (*)

cos (x + y) = cos x cos y – sin x sin y 12

13− = 4 3cos y sin y

5 5− ---------- (**)

(*) × 4 – (**) × 3 จะได 255

sin y = 20 3613

− +

ดังนั้น sin y = 1665

2) tan (x + y) = sin(x y)cos(x y)

++

=5131213

= 512

เฉลยแบบฝกหัด 2.8

1. 1) arcsin 0ให arcsin 0 = θ จะได sin θ = 0หาคา θ เมื่อ

2 2π π

− ≤ θ ≤ และ sin θ = 0

จะพบวา เมื่อ 2 2π π

− ≤ θ ≤ จะมี θ = 0 เพียงคาเดียวที่ sin θ = 0ดังนั้น arcsin 0 = 0

115

2) arccos 1ให arcsin 0 = θ จะได cos θ = 1หาคา θ เมื่อ 0 ≤ θ ≤ π และ cos θ = 1จะพบวา เมื่อ 0 ≤ θ ≤ π จะมี θ = 0 เพียงคาเดียวที่ cos θ = 1ดังนั้น arccos 1 = 0

3) arcsin (–1)ให arcsin (–1) = θ จะได sin θ = –1หาคา θ เมื่อ

2 2π π

− ≤ θ ≤ และ sin θ = –1

จะพบวา เมื่อ 2 2π π

− ≤ θ ≤ จะมี θ = 2π

− เพียงคาเดียวที่ sin θ = –1

ดังนั้น arcsin (–1) = 2π

4) arccos –1ให arccos (–1) = θ จะได cos θ = –1หาคา θ เมื่อ 0 ≤ θ ≤ π และ cos θ = –1จะพบวา เมื่อ 0 ≤ θ ≤ π จะมี θ = π เพียงคาเดียวที่ cos θ = –1ดังนั้น arccos (–1) = π

5) arctan 0ให arctan 0 = θ จะได tan θ = 0หาคา θ เมื่อ

2 2π π

− < θ < และ tan θ = 0

จะพบวา เมื่อ 2 2π π

− < θ < จะมี θ = 0 เพียงคาเดียวที่ tan θ = 0ดังนั้น arctan 0 = 0

6) arctan (–1)ให arctan (–1) = θ จะได tan θ = –1

116

หาคา θ เมื่อ 2 2π π

− < θ < และ tan θ = –1

จะพบวา เมื่อ 2 2π π

− < θ < จะมี θ = 4π

− เพียงคาเดียวที่ tan θ = –1

ดังนั้น arctan (–1) = 4π

7) arcsin 22

ให arcsin 22

= θ จะได sin θ = 22

หาคา θ เมื่อ 2 2π π

− ≤ θ ≤ และ sin θ = 22

จะพบวา เมื่อ 2 2π π

− ≤ θ ≤ จะมี θ = 4π เพียงคาเดียวที่ sin θ = 2

2

ดังนั้น arcsin 22

= 4π

8) arctan 33

ให arctan 33

= θ จะได tan θ = 33

หาคา θ เมื่อ 2 2π π

− < θ < และ tan θ = 33

จะพบวา เมื่อ 2 2π π

− < θ < จะมี θ = 6π เพียงคาเดียวที่ tan θ = 3

3

ดังนั้น arctan 33

= 6π

9) arctan 3

ให arctan 3 = θ จะได tan θ = 3

หาคา θ เมื่อ 2 2π π

− < θ < และ tan θ = 3

จะพบวา เมื่อ 2 2π π

− < θ < จะมี θ = 3π เพียงคาเดียวที่ tan θ = 3

ดังนั้น arctan 3 = 3π

117

10) arcsin 3( )2

ให arcsin 3( )2

− = θ จะได sin θ = 32

หาคา θ เมื่อ 2 2π π

− ≤ θ ≤ และ sin θ = 32

จะพบวา เมื่อ 2 2π π

− ≤ θ ≤ จะมี θ = 3π

− เพียงคาเดียวที่ sin θ = 32

ดังนั้น arcsin 3( )2

− = 3π

11) arccos 3( )2

ให arccos 3( )2

− = θ จะได cos θ = 32

หาคา θ เมื่อ 0 ≤ θ ≤ π และ cos θ = 32

จะพบวา เมื่อ 0 ≤ θ ≤ π จะมี θ = 56π เพียงคาเดียวที่ cos θ = 3

2−

ดังนั้น arccos 3( )2

− = 56π

12) arcsin 2( )2

ให arcsin 2( )2

− = θ จะได sin θ = 22

หาคา θ เมื่อ 2 2π π

− ≤ θ ≤ และ sin θ = 22

จะพบวา เมื่อ 2 2π π

− ≤ θ ≤ จะมี θ = 4π

− เพียงคาเดียวที่ sin θ = 22

ดังนั้น arcsin 2( )2

− = 4π

2. 1) 81° 10′ 2) 54° 50′ 3) 55° 40′4) 26° 50′ 5) 20° 10′

3. 1) 3cos(arcsin( ))2

ให arcsin 32

= θ จะได sin θ = 32

118

หา θ ที่ sin θ = 32

− และ 2π

− ≤ θ ≤ 2π

แต sin3π −

= 3

2−

จะได arcsin 32

= 3π

ดังนั้น cos (arcsin 32

) = cos( )3π

= 12

2) 1sin(arcsin( ))2

ให arcsin 12

= θ จะได sin θ = 12

หา θ ที่ sin θ = 12

− และ 2π

− ≤ θ ≤ 2π

แต sin6π −

= 1

2−

จะได arcsin 12

= 6π

ดังนั้น 1sin(arcsin( ))2

− = sin( )6π

= 12

3) 3cos(arccos( ))2

ให arccos 32

= θ จะได cos θ = 32

หา θ ที่ cos θ = 32

− และ 0 ≤ θ ≤ π

แต 5cos6π = 3

2−

จะได arccos 32

= 56π

ดังนั้น 3cos(arccos( ))2

− = 5csc6π

= 32

119

4) 1tan(arcsin )3

ให arcsin 13

= θ จะได sin θ = 13

หา θ ที่ sin θ = 13

และ 2 2π π

− ≤ θ ≤

เนื่องจาก sin θ > 0 และ 2 2π π

− ≤ θ ≤

ใชรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก และทฤษฎีบทพีทาโกรัส หาคําตอบไดดังนี้จากรูป sin θ = 1

3

และ tan θ = 12 2

= 24

ดังนั้น 1tan(arcsin )3

= tan θ

= 24

5) 1tan(arccos )3

ให arccos 13

= θ จะได cos θ = 13

หา θ ที่ cos θ = 13

และ 0 ≤ θ ≤ πเนื่องจาก cos θ > 0 และ 0 ≤ θ ≤ πใชรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก และทฤษฎีบทพีทาโกรัส หาคําตอบไดดังนี้

จากรูป cos θ = 13

และ tan θ = 2 2

ดังนั้น 1tan(arccos )3

= tan θ = 2 2

6) 1tan(arctan )2

ให arctan 12

= θ จะได tan θ = 12

หา θ ที่ tan θ = 12

และ2π

− < θ < 2π

เนื่องจาก tan θ > 0 และ2π

− < θ < 2π

3 1

2 2

( 2 2 , 1)

θ

3

1

2 2

(1, 2 2 )

θ

120

ดังนั้น 1tan(arctan )2

= tan θ = 12

7) 2cos(arcsin )3

ให arcsin 23

= θ จะได sin θ = 23

หา θ ที่ sin θ = 23

และ2 2π π

− ≤ θ ≤

เนื่องจาก sin θ > 0 และ2 2π π

− ≤ θ ≤

ใชรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก และทฤษฎีบทพีทาโกรัส หาคําตอบไดดังนี้

จากรูป sin θ = 23

และ cos θ = 73

ดังนั้น 3cos(arcsin )3

= cos θ

= 73

8) 2cot(arcsin( ))3

ให arcsin 2( )3

− = θ จะได sin θ = 23

หา θ ที่ sin θ = 23

− และ2π

− ≤ θ ≤ 2π

เนื่องจาก sin θ < 0 และ2π

− ≤ θ ≤ 2π

ใชรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก และทฤษฎีบทพีทาโกรัส หาคําตอบไดดังนี้จากรูป sin θ = 2

3−

และ cot θ = 72

− = 142

ดังนั้น 2cot(arcsin( )3

− = cot θ

= 142

2

7

( 7, 2)

θ

23

( 7 , 2− )

7

121

9) csc (arctan 12

)

ให arctan 12

= θ จะได tan θ = 12

หา θ ที่ tan θ = 12

และ2π

− < θ < 2π

เนื่องจาก tan θ > 0 และ2π

− < θ < 2π

ใชรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก และทฤษฎีบทพีทาโกรัส หาคําตอบไดดังนี้จากรูป tan θ = 1

2และ csc θ = 5ดังนั้น csc (arctan 1

2) = csc θ

= 510) sin (arctan (–3))

ให arctan (–3) = θ จะได tan θ = –3หา θ ที่ tan θ = –3 และ

− < θ < 2π

เนื่องจาก tan θ < 0 และ2π

− < θ < 2π

ใชรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก และทฤษฎีบทพีทาโกรัส หาคําตอบไดดังนี้จากรูป tan θ = –3และ sin θ = 3

10−

ดังนั้น sin (arctan (–3)) = sin θ = 3 10

10−

11) 3cot(arccos( ))3

ให arccos 33

= θ จะได cos = 33

หา θ ที่ cos θ = 33

− และ 0 ≤ θ ≤ πเนื่องจาก cos θ < 0 และ 0 ≤ θ ≤ πใชรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก และทฤษฎีบทพีทาโกรัส หาคําตอบไดดังนี้

θ

103

(1, –3)

1

(2, 1)

θ

5 1

2

122

จากรูป cos θ = 33

และ cot θ = 36

− = 22

ดังนั้น 3cot(arccos( ))3

− = cot θ

= 22

12) 2 5sec(arcsin )5

ให arcsin 2 55

= θ จะได sin θ = 2 55

หา θ ที่ sin θ = 2 55

และ2 2π π

− ≤ θ ≤

เนื่องจาก sin θ > 0 และ2 2π π

− ≤ θ ≤

ใชรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก และทฤษฎีบทพีทาโกรัส หาคําตอบไดดังนี้จากรูป sin θ = 2 5

5

และ sec θ = 55

= 5

ดังนั้น 2 5sec(arcsin )5

= sec θ = 5

13) 1csc(arccos )3

ให arccos 13

= θ จะได cos θ = 13

หา θ ที่ cos θ = 13

และ 0 ≤ θ ≤ πเนื่องจาก cos θ > 0 และ 0 ≤ θ ≤ πใชรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก และทฤษฎีบทพีทาโกรัส หาคําตอบไดดังนี้

จากรูป cos θ = 13

และ csc θ = 32 2

ดังนั้น 1csc(arccos )3

= csc θ

36

θ

( 3, 6)−

3

2 5

5

( 5, 2 5)

(1,2 2 )

θ

3

1

2 2

123

= 32 2

= 3 24

14) tan (arcsin 0.7030)ให arcsin 0.7030 = θ จะได sin θ = 0.7030หา θ ที่ sin x = 0.7030 และ

2 2π π

− ≤ θ ≤

เปดตารางได θ = 44° 40′ดังนั้น tan (arcsin 0.7030) = tan 44° 40′

= 0.9884

15) tan (arcsin (cos )6π ) = tan (arcsin 3

2)

ให arcsin 32

= θ จะได sin θ = 32

หา θ ที่ sin θ = 32

และ 2 2π π

− ≤ θ ≤

แต sin 3π = 3

2

จะได arcsin (cos 6π ) =

ดังนั้น tan (arcsin (cos 6π ) = tan

3π = 3

16) cos (arctan 3.2709)ให arctan 3.2709 = θ จะได tan θ = 3.2709หา θ ที่ tan θ = 3.2709 และ

2 2π π

− < θ <

เปดตารางได tan 73° = 3.2709จะได arctan 3.2709 = 73°ดังนั้น cos (arctan 3.2709) = cos 73°

= 0.2924

17) cos2(arcsin 0.9261)ให arcsin 0.9261 = θ จะได sin θ = 0.9261

124

หา θ ที่ sin θ = 0.9261 และ2 2π π

− ≤ θ ≤

เปดตารางได sin 67° 50′ = 0.9261จะได arcsin 0.9261 = 67° 50′ดังนั้น cos2(arcsin 0.9261) = cos2 67° 50′

= (0.3773)2

= 0.1424

18) sin (arctan 2)ให arctan 2 = θ จะได tan θ = 2หา θ ที่ tan θ = 2 และ

− < θ < 2π

เนื่องจาก tan θ > 0 และ 2π

− < θ < 2π

จากรูป tan θ = 2และ sin θ = 2

5 = 2 5

5

ดังนั้น sin (arctan 2) = sin θ = 2 5

5

19) sin (2 arccos a) , a > 0ให arccos a = θ , จะได cos θ = aหา θ ที่ cos θ = a และ 0 ≤ θ ≤ π เนื่องจาก cos θ > 0 และ 0 ≤ θ ≤ πใชรูปสามเหลี่ยมมุมฉากและทฤษฎีบทพีทาโกรัสหาคําตอบไดดังนี้

sin θ = 21 a−

cos θ = aดังนั้น sin (2 arccos a) = sin 2θ = 2 sin θ cos θ = 22 1 a a−

= 22a 1 a−

(1, 2)

θ

5

1

2

a

21 a−

125

20) 3 3sin(arccos arcsin( ))5 5+ −

ให arccos 35

= α จะได cos α = 35

หา α ที่ cos α = 35

และ 0 ≤ α ≤ π

เนื่องจาก cos α > 0 และ 0 ≤ α ≤ π

ใชรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก และทฤษฎีบทพีทาโกรัส หาคําตอบไดดังนี้จากรูป sin α = 4

5

cos β = 35

ให arcsin 3( )5

− = β จะได sin β = 35

หา β ที่ sin β = 35

− และ2 2π π

− ≤ β ≤

เนื่องจาก sin β < 0 และ2 2π π

− ≤ β ≤

ใชรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก และทฤษฎีบทพีทาโกรัส หาคําตอบไดดังนี้จากรูป sin β = 3

5−

cos β = 45

ดังนั้น sin (arccos 35

+ arcsin (– 35

) = sin (α + β) = sin α cos β + cos α sin β = 4 4 3 3( )( ) ( )( )

5 5 5 5+ −

= 16 925 25

− = 725

α3

45

β

5 3

4

126

4. 1) ให arcsin θ = xจะได sin x = θ และ x

2 2π π

− ≤ ≤

จาก cos 2x = 1 – 2 sin2x = 1 – 2θ2

ดังนั้น cos (2 arcsin θ) = cos 2x = 1 – 2θ2

2) ให arcsin 45

= x

ดังนั้น sin x = 45

และ x2 2π π

− ≤ ≤

จะได cos x = 16125

− = 35

ให arccos 1213

= y

ดังนั้น cos y = 1213

และ 0 y≤ ≤ π

จะได sin y = 1441169

− = 513

ให arcsin 1665

= z

ดังนั้น sin z = 1665

และ z2 2π π

− ≤ ≤

จะได cos z = 2161 ( )65

− = 6365

เพราะวา sin (x + y + z) = sin (x + (y + z)]

= sin x cos (y + z) + cos x sin (y + z)= sin x (cos y cos z – sin y sin z) + cos x (sin y cos z + cos y sin z)= 4 12 63 5 16 3 5 63 12 16( ) ( )5 13 65 13 65 5 13 65 13 65

⋅ − ⋅ + ⋅ + ⋅

นั่นคือ sin (x + y + z) = 1 จะได x + y + z = 2π

ดังนั้น 4 12 16arcsin arccos arcsin5 13 65+ + =

127

3) arcsin 12

+ arcsin 32

=6 3π π+ =

– arcsin (–1) = 2π

ดังนั้น arcsin 12

+ arcsin 32

= – arcsin (–1)

4) ให arctan x = θจะได tan θ = x และ

2 2π π

− < θ <

sec (arctan x) = sec θ (sec2θ = 1 + tan2θ)= 21 tan+ θ

= 21 x+

5) ให arctan 13

= θ

ดังนั้น tan θ = 13

และ2 2π π

− < θ <

เนื่องจาก tan θ > 0 จะได 0 < θ < 2π นั่นคือ 0 < 2θ < π

เพราะวา tan 2θ = 22 tan1 tan

θ− θ

=23119

= 34

เนื่องจาก 0 < 2θ < π และ tan 2θ > 0 จะได 0 < 2θ < 2π

จะได 2θ = arctan 34

นั่นคือ 2 arctan 13

= arctan 34

6) ให arcsin x = θจะได sin θ = x และ

2 2π π

− ≤ θ ≤

ดังนั้น cos θ = 21 x−

128

เพราะวา sin 2θ = 2 sin θ cos θ = 22x 1 x−

ดังนั้น sin (2 arcsin x) = 22x 1 x−

5. 1) ให arctan x = θจะได tan θ = x และ

2 2π π

− < θ <

ดังนั้น – tan θ = –x และ2 2π π

− < −θ <

tan(–θ) = –x และ2 2π π

− < −θ <

จะได arctan (–x) = –θนั่นคือ arctan x + arctan (–x) = θ + (–θ) = 0

อีกวิธีหนึ่งให arctan x = θ จะได tan θ = x และ

2 2π π

− < θ <

ให arctan (–x) = β จะได tan β = –x และ2 2π π

− < β <

เพราะวา tan (θ + β) = tan tan1 tan tan

θ+ β− θ β

= x ( x)1 x( x)+ −− −

= 0จาก

2 2π π

− < θ < และ2 2π π

− < β < จะได −π < θ+β < πดังนั้น θ+β = 0นั่นคือ arctan x + arctan (–x) = 0

2) ให arcsin x = y

sin y = x และ y2 2π π

− ≤ ≤

ให arccos x = z cos z = x และ 0 z≤ ≤ π

129

ดังนั้น sin y = cos z โดยที่ 0 y2π

≤ ≤ และ 0 z2π

≤ ≤

จะได y = z =4π

นั่นคือ arcsin x + arccos x = y + z = 4 4π π+ =

3) ให arctan x = A จะได tan A = x และ A2 2π π

− < <

ให arctan y = B จะได tan B = y และ B2 2π π

− < <

เมื่อ A2 2π π

− < < และ B2 2π π

− < < จะได –π < A + B < π

แต arctan x + arctan y < 2π

− จะได A + B < 2π

นั่นคือ –π < A + B < 2π

0 < π + (A + B) < 2π

จาก tan (π + (A + B)) = tan (A + B)= tanA tan B

1 tanA tan B+

= x y1 xy+−

จะได π + (A + B) = arctan x y1 xy+−

A + B = –π + arctan x y1 xy+−

นั่นคือ arctan x + arctan y = –π + arctan x y1 xy+−

4) ให arctan x = A จะได tan A = x และ A2 2π π

− < <

ให arctan y = B จะได tan B = y และ B2 2π π

− < <

เมื่อ A2 2π π

− < < และ B2 2π π

− < < จะได –π < A + B < π

แต arctan x + arctan y > 2π จะได A + B >

นั่นคือ A B2π< + < π

(A B) 02π

− < −π+ + <

130

จาก tan (–π + (A + B)) = tan (A + B)= tanA tan B

1 tanA tan B+

= x y1 xy+−

จะได –π + (A + B) = arctan x y1 xy+−

A + B = π + arctan x y1 xy+−

นั่นคือ arctan x + arctan y = π + arctan x y1 xy+−

เฉลยแบบฝกหัด 2.9 (1)

1. 1) csc θ ⋅ cos θ = 1sinθ

cos θ

= cossin

θθ

= cot θ

2) 1 + tan2(–θ) =2

2sin ( )1cos ( )

−θ+

−θ

=2 2

2cos ( ) sin ( )

cos−θ + −θ

θ

= 21

cos θ

= sec2θ

3) cos θ (tan θ + cot θ) = cos θ tan θ + cos θ cot θ= sin coscos ( ) cos ( )

cos sinθ θ

θ + θθ θ

=2 2sin cossinθ+ θ

θ

= 1sinθ

= csc θ

131

4) tan θ cot θ – cos2θ = sincos

θθ

2cos cossin

θ− θ

θ

= 1 – cos2θ

= sin2θ

5) (sec θ – 1)(sec θ + 1) = sec2θ – 1= tan2θ

6) (sec θ + tan θ)(sec θ – tan θ) = sec2θ – tan2θ

= 1

7) sin2θ (1 + cot2θ) = sin2θ + sin2θ 2

2cossin

θθ

= sin2θ + cos2θ

= 1

8) (sin θ + cos θ)2 + (sin θ – cos θ)2 = sin2θ + 2 sin θ cos θ + cos2θ + sin2θ – 2 sinθ cos θ + cos2θ

= 2 sin2θ + 2 cos2θ

= 2 (sin2θ + cos2θ)= 2

9) sec4θ – sec2θ = sec2θ (sec2θ – 1)= (tan2θ + 1)tan2θ

= tan4θ + tan2θ

10) sec θ – tan θ = 1cosθ

– sincos

θθ

= 1 sin (1 sin )cos (1 sin )− θ + θ

×θ + θ

=21 sin

cos (1 sin )− θθ + θ

=2cos

cos (1 sin )θ

θ + θ

= cos1 sin

θ+ θ

132

11) 3 sin2θ + 4 cos2θ = 3(1 – cos2θ) + 4 cos2θ

= 3 – 3 cos2θ + 4 cos2θ

= 3 + cos2θ

12)2cos1

1 sinθ

−+ θ

=21 sin 1 sin

1 sin 1 sin+ θ − θ

−+ θ + θ

=21 sin 1 sin

1 sin+ θ− + θ

+ θ

= sin (1 sin )1 sinθ + θ+ θ

= sin θ

13) 1 tan1 tan+ θ− θ

=sin1cossin1cos

θ+

θθ

−θ

=cos sincos

cos sincos

θ+ θθ

θ− θθ

= cos sincos sin

θ+ θθ− θ

=cos 1sincos 1sin

θ+

θθ−

θ

= cot 1cot 1

θ+θ−

14) sec sincsc cos

θ θ+

θ θ= sin sin

cos cosθ θ+

θ θ

= 2sincos

θθ

= 2 tan θ

15) 1 sin1 sin+ θ− θ

=1 sinsin sin1 sinsin sin

θ+

θ θθ

−θ θ

= csc 1csc 1

θ+θ−

133

16) 1 sin coscos 1 sin− θ

+θ − θ

=2 21 2sin sin cos

cos (1 sin )− θ+ θ+ θ

θ − θ

=2 21 2sin sin 1 sin

cos (1 sin )− θ+ θ+ − θ

θ − θ

= 2(1 sin )cos (1 sin )

− θθ − θ

= 2cosθ

= 2 sec θ 17) sin

sin cosθ

θ− θ= 1

sin cossinθ− θ

θ

= 11 cot− θ

18) 1 sin1 sin− θ+ θ

= 1 sin1 sin− θ+ θ

1 sin1 sin− θ− θ

=2

21 2sin sin

1 sin− θ+ θ

− θ

=2

21 2sin sin

cos− θ+ θ

θ

= 2 22

2sinsec tancos

θθ− + θ

θ

= sec2θ – 2 sec θ tan θ + tan2θ

= (sec θ – tan θ)2

19) cos sin1 tan 1 cot

θ θ+

− θ − θ= cos sin

sin cos1 1cos sin

θ θ+

θ θ− −

θ θ

=2 2cos sin

cos sin sin cosθ θ

+θ− θ θ− θ

=2 2cos sin

cos sinθ− θθ− θ

= (cos sin )(cos sin )cos sin

θ− θ θ+ θθ− θ

= sin θ + cos θ20) cot tan

1 tan 1 cotθ θ

+− θ − θ

=2cot tan

1 tan tan 1θ θ

+− θ θ−

=21 tan

tan1 tan

− θθ− θ

134

=31 tan

tan (1 tan )− θθ − θ

=2(1 tan )(1 tan tan )

tan (1 tan )− θ + θ+ θ

θ − θ

= 1 + tan θ + cot θ

2. 1) cos x sin xsec x csc x

+ = cos2x + sin2x= 1

2) cot θ cos θ + sin θ =2 2cos sin

sin sinθ θ+

θ θ

= 1sinθ

= csc θ

3) csc x – sin x = 21 sin x

sin x sin x−

=21 1 cos x

sin x− +

= cos x cot x

4) sin2α cot2α + tan2α cos2α =2

22

cossinsin

αα

α +

22

2sin coscos

αα

α

= 2 2cos sinα + α

= 15) sec θ – sec θ sin2θ = sec θ (1 – sin2θ)

=21 sin

cos− θ

θ

= cos θ

6) 2 sin2α – 1 = 2(1 – cos2α) – 1= 2 – 2 cos2α – 1= 1 – 2cos2α

7) tan2θ – cot2θ = (sec2θ – 1) – (csc2θ – 1)= sec2θ – csc2θ

135

8) tan2θ – sin2θ =2 2 2

2sin sin cos

cosθ− θ θ

θ

=2 2

2sin (1 cos )

cos− θ

θ

=2 2

2sin sincosθ θ

θ

= tan2θ sin2θ

3. 1) sin2θ tan θ + cos2θ cot θ + 2 sinθ cos θ = (1 – cos2θ) tan θ + (1 – sin2θ) cot θ+ 2 sin θ cos θ

= tan θ – cos2θ sincos

θθ

+ cot θ

– sin2θ cossin

θθ

+ 2 sinθ cosθ = tan θ + cot θ

2) 2 22sin cos cos

1 sin sin cosθ θ− θ

− θ+ θ− θ= 2 2

cos (2sin 1)1 sin sin 1 sin

θ θ−− θ+ θ− + θ

= 2cos (2sin 1)2sin sinθ θ−

θ− θ

= cos (2sin 1)sin (2sin 1)

θ θ−θ θ−

= cot θ

4. 1) cos (α + β) cos (α – β) = (cos α cos β – sin α sin β)(cos α cos β+ sin α cos β)

= cos2α cos2β – sin2α sin2β

= cos2α – cos2α sin2β – sin2β + sin2β cos2β

= cos2α – sin2β

2) cos (45° – θ) – sin (45° + θ) = cos 45° cos θ + sin 45° sin θ – sin 45°cos θ – cos 45° sin θ

= 22

(cos θ + sin θ – cos θ – sin θ)= 0

136

3) tan (45° – α) = t an 45 tan1 tan 45 tan

° − α+ ° α

= 1 tan1 tan− α+ α

4) cot 2θ + tan θ = cos 2sin 2

θθ

+ sincos

θθ

=2 2cos sin

2sin cosθ− θθ θ

+ sincos

θθ

= cos sin sin2sin 2cos cos

θ θ θ− +

θ θ θ

= cos sin2sin 2cos

θ θ+

θ θ

=2 22cos 2sin

4sin cosθ+ θθ θ

=2 22(cos sin )

2(2sin cos )θ+ θθ θ

= 1sin 2θ

= csc 2θ5) tan( ) tan

1 tan( ) tanα −β + β

− α −β β= tan (α – β + β)

= tan α

5. 1) sin 21 cos 2

θ+ θ

= 22sin cos1 2cos 1

θ θ+ θ−

= sincos

θθ

= tan θ

2) cot α – tan α = cos sinsin cos

α α−

α α

=2 2cos sinsin cosα − αα α

= 2cos 2sin 2

αα

= 2 cot 2α

3) 2(sin cos )2 2θ θ− = 2 2sin 2sin cos cos

2 2 2 2θ θ θ θ− +

= 1 – sin 2( )2θ

= 1 – sin θ

137

4) sin 2 sincos 2 cos 1

θ+ θθ+ θ+

= 22sin cos sin2cos 1 cos 1

θ θ+ θθ− + θ+

= sin (2cos 1)cos (2cos 1)

θ θ+θ θ+

= tan θ

6. 1) cos 3θ = cos (2θ + θ)= cos 2θ cos θ – sin 2θ sin θ= (cos2θ – sin2θ) cos θ – 2 sinθ2 cos θ= cos3θ – (1 – cos2θ) cos θ – 2 cosθ (1 – cos2θ)= cos3θ – cos θ + cos3θ – 2 cos θ + 2 cos3θ

= 4 cos3θ – 3cos θ

2) cos 4θ = cos (2θ + 2θ)= cos 2θ cos 2θ – sin 2θ sin 2θ= (2 cos2θ – 1)2 – 4 sin2θ cos2 θ= 4 cos4θ – 4 cos2θ + 1 – 4 cos2θ (1 – cos2θ)= 4 cos4θ – 4 cos2θ + 1 – 4 cos2θ + 4 cos4θ

= 8 cos4θ – 8 cos2θ + 1

3) tan 3θ = tan (2θ + θ)= tan 2 tan

1 tan 2 tanθ+ θ

− θ θ

= 2

2

2

2 tan tan1 tan

2 tan11 tan

θ+ θ

− θθ

−− θ

=2

2 22 tan tan (1 tan )1 tan 2 tanθ+ θ − θ− θ− θ

=3

23 tan tan1 3tan

θ− θ− θ

7. 1) sin A = sin (180° – (B + C))= sin (B + C)

138

2) cos A = cos (180° – (B + C))= – cos (B + C)

3) sin A + sin B + sin C = A B A B2sin cos sinC2 2+ −

+

= A B A B2sin cos sin[180 (A B)]2 2+ −

+ °− +

= A B A B2sin cos sin(A B)2 2+ −

+ +

= A B A B A B A B2sin cos 2sin cos2 2 2 2+ − + +

+

= A B A B A B2sin (cos cos )2 2 2+ − +

+

=A B A B A B A B( ) ( )180 C 2 2 2 22sin( )2cos cos

2 2 2

− + − ++ −°−

= C A B4sin(90 )cos cos2 2 2

° −

= C C A B4(sin 90 cos cos90 sin )cos cos2 2 2 2

° − °

= A B C4cos cos cos2 2 2

4) cos A + cos B + cos C = A B A B2cos cos cosC2 2+ −

+

= 2180 C A B C2cos( ) cos (1 2sin )2 2 2° − −

+ −

= 2C A B C1 2sin cos 2sin2 2 2

−+ −

= C A B 180 (A B)1 2sin (cos sin )2 2 2

− °− ++ −

= C A B A B1 2sin (cos sin(90 )2 2 2

− ++ − °−

= C A B A B1 2sin (cos cos )2 2 2

− ++ −

=A B A B A B A B

C 2 2 2 21 2sin [ 2sin sin ]2 2 2

− + − + + − + −

= C A B1 2sin [ 2sin sin( )]2 2 2

+ − −

= C A B1 2sin [ 2sin ( sin )]2 2 2

+ − −

= A B C1 4sin sin sin2 2 2

+

139

8. 1) sin8 sin 2cos8 cos 2

θ+ θθ+ θ

= sin(5 3 ) sin(5 3 )cos(5 3 ) cos(5 3 )

θ+ θ + θ− θθ+ θ + θ− θ

= 2sin 5 cos32cos5 cos3

θ θθ θ

= tan 5θ

2) sin θ + sin 3θ + sin 5θ + sin 7θ= sin (2θ + θ) + sin (2θ – θ) + sin (6θ + θ) + sin (6θ – θ)= 2 sin 2θ cos θ + 2 sin 6θ cosθ= 2 cos θ (sin 2θ + sin 6θ)= 2 cos θ [sin(4θ + 2θ ) + sin (4θ – 2θ)]= 2 cos θ 2 sin 4θ cos 2θ= 4 cos θ sin 4θ cos 2θ

3) sin sin 3 sin 5cos cos3 cos5

θ+ θ+ θθ+ θ+ θ

= sin 3 [sin(3 2 ) sin(3 2 )]cos3 [cos(3 2 ) cos(3 2 )]

θ+ θ+ θ + θ− θθ+ θ+ θ + θ− θ

= sin 3 2sin 3 cos 2cos3 2cos3 cos 2

θ+ θ θθ+ θ θ

= sin 3 [1 2cos 2 ]cos3 [1 2cos 2 ]

θ + θθ + θ

= tan 3θ

4) cos2A + cos2(60° + A) + cos2(60° – A)= cos2A + cos (60° + A) cos (60° + A) + cos (60 – A) cos (60 – A)= cos2A + [cos 60° cos A – sin 60° sin A]2 + [cos 60° cos A + sin 60° sin A]2

=2 2

2 1 3 1 3cos A cosA sinA cosA sinA2 2 2 2

+ − + +

= cos2A + 14

cos2A – 32

cos A sin A + 34

sin2A + 14

cos2A + 32

cos A sin A

+ 34

sin2A

= 2 23 3cos A sin A2 2

+

= 2 23 (cos A sin A)2

+

= 32

140

5) cos 20° cos 40° cos 80° = 1 cos 20 [2cos80 cos 40 ]2

° ° °

= 1 cos 20 [cos120 cos 40 ]2

° ° + °

= 1 1cos 20 [2cos 20 cos 40 ]4 4

− °+ ° °

= 1 1cos 20 [cos60 cos 20 ]4 4

− °+ °+ °

= 1 1 1cos 20 cos60 cos 204 4 4

− °+ °+ °

= 1 14 2×

= 18

เฉลยแบบฝกหัด 2.9 (2)

1. 1) 2 cos2θ + cos θ = 0cos θ (2 cos θ + 1) = 0cos θ = 0 และ 2 cos θ + 1 = 0 θ = 3,

2 2π π cos θ = 1

2−

θ = 2 4,3 3π π

ดังนั้น θ = 2 4 3, , ,2 3 3 2π π π π

2) 2 sin2θ – sin θ – 1 = 0(2 sin θ + 1)(sin θ – 1) = 02 sin θ + 1 = 0 และ sin θ – 1 = 0 sin θ = 1

2− sin θ = 1

θ = 7 11,6 6π π θ =

ดังนั้น θ = 2π , 7 11,6 6π π

141

3) tan θ = 2 sin θsin 2sincos

θ− θ

θ= 0

1sin 2cos

θ − θ = 0

sin θ = 0 และ 1 2cos

−θ

= 0

θ = 0, π 1cosθ

= 2

cos θ = 12

θ = 5,3 3π π

ดังนั้น θ = 0, 3π , π, 5

2. 1) 4 sin2x – 3 = 0 จะได sin x = 32

±

ดังนั้น x = 2 4 5, , ,3 3 3 3π π π π

2) tan x ( sin x + 1) = 0ถา tan x = 0 จะได x = 0, πถา sin x + 1 = 0 นั่นคือ sin x = –1แต 3tan

2π หาคาไมได

ดังนั้น x = 0, π

3) cos x (2 cos x – 3 ) = 0ถา cos x = 0 จะได x = 3,

2 2π π

ถา 2 cos x – 3 = 0 นั่นคือ cos x = 32

จะได x = 11,6 6π π

ดังนั้น x = 3 11, , ,6 2 2 6π π π π

4) sin x ( 4 sin2x – 1) = 0ถา sin x = 0 จะได x = 0, πถา 4 sin2x – 1 = 0

142

sin x = 12

± จะได x = 5 7 11, , ,6 6 6 6π π π π

ดังนั้น x = 0, 5 7 11, , , ,6 6 6 6π π π π

π

5) sin2x – cos x + 5 = 01 – cos2x – cos x + 5 = 0cos2x + cos x – 6 = 0 จะได (cos x + 3)(cos x – 2) = 0ถา cos x + 3 = 0 จะได cos x = –3ถา cos x – 2 = 0 จะได cos x = 2แต cos 1θ ≤ เสมอ ดังนั้น จึงไมมีคา x ใดที่สอดคลองกับสมการ

6) 3 sec x – cos x + 2 = 03 cos x 2cos x

− + = 0 , cos x ≠ 03 – cos2x + 2 cos x = 0 นั่นคือ (cos x – 3)(cos x + 1) = 0ถา cos x – 3 = 0 ไมมีคา x ใดที่สอคคลองกับสมการนี้ถา cos x + 1 = 0 นั่นคือ cos x = –1 จะได x = πดังนั้น x = π

7) 23 csc x 2csc x+ = 0

23 2

sin xsin x+ = 0, sin x ≠ 0

3 2sin x+ = 0, sin x ≠ 0 sin x = 3

2− จะได x = 4 5,

3 3π π

ดังนั้น x = 4 5,3 3π π

8) cos 2x + 2cos2 x2

= 1

2 cos2x – 1 + (2 cos2 x2

– 1) = 02 cos2x – 1 + cos x = 0(2 cos x – 1)(cos x + 1) = 0

143

ถา 2 cos x – 1 = 0 นั่นคือ cos x = 12

จะได x = 3π , 5

ถา cos x + 1 = 0 นั่นคือ cos x = –1 จะได x = πดังนั้น x = 5, ,

3 3π ππ

9) 2sin2x – 3 cos x – 3 = 02(1 – cos2x) – 3 cos x – 3 = 02 cos2x + 3 cos x + 1 = 0(2 cos x + 1)(cos x + 1) = 0ถา 2 cos x + 1 = 0 นั่นคือ cos x = 1

2− จะได x = 2 4,

3 3π π

ถา cos x + 1 = 0 นั่นคือ cos x = –1 จะได x = πดังนั้น x = 2 4, ,

3 3π ππ

10) cot x + 2 sin x = csc xcos x + 2 sin2x = 1 , sin x ≠ 02cos2x – cos x – 1 = 0(2 cos x + 1)(cos x – 1 ) = 0ถา 2 cos x + 1 = 0 นั่นคือ cos x = 1

2− จะได x = 2 4,

3 3π π

ถา cos x – 1 = 0 นั่นคือ cos x = 1 จะได x = 0แต x = 0 ทําให sin x = 0ดังนั้น x = 2 4,

3 3π π

3. 1) 2 sin θ – 1 = 0 นั่นคือ sin θ = 12

จะได θ = 30°, 150°ดังนั้น เซตคําตอบ คือ {30°, 150°}

2) 3 tan2θ – 1 = 0 นั่นคือ 1tan3

θ = ± จะได θ = 30°, 150°, 210°, 330°

ดังนั้น เซตคําตอบ คือ {30°, 150°, 210°, 330°}3) 3 csc2θ + 2 csc θ = 0 จะได csc θ ( 3 csc θ + 2) = 0

ถา csc θ = 0 ไมมีคา θ ที่ทําให csc θ = 0

144

ถา 3 csc θ + 2 = 0 นั่นคือ csc θ = 23

หรือ sin θ = 32

− จะได θ = 240° , 300°ดังนั้น เซตคําตอบ คือ {240° , 300°}

4) 4 tan2θ – 3 sec2θ = 04 tan2θ – 3 (1 + tan2θ) = 0 จะได tan2θ = 3นั่นคือ tan θ = 3± จะได θ = 60°, 120°, 240°, 300°ดังนั้น เซตคําตอบ คือ {60°, 120°, 240°, 300°}

5) 2 cos2θ + 2 cos 2θ = 1 หรือ 2 cos2θ + 2(2 cos2θ – 1) = 1นั่นคือ 6 cos2θ – 3 = 0 หรือ cos2θ = 1

2

นั่นคือ cos θ = 12

± จะได θ = 45°, 135°, 225°, 315°

ดังนั้น เซตคําตอบ คือ {45°, 135°, 225°, 315°}

6) sin 2θ – cos2θ + 3 sin2θ = 02 sin θ cos θ – cos2θ + 3 sin2θ = 0(3 sin θ – cos θ)(sin θ + cos θ) = 0ถา 3 sin θ – cos θ = 0 จะได tan θ = 1

3 ≈ 0.3333

จากตาราง tan 18° 30′ = 0.3346 และ tan 18° 20′ = 0.3314คาของฟงกชันเพิ่มขึ้น 0.0032 คาของมุมเพิ่มขึ้น 10 ลิปดาคาของฟงกชันเพิ่มขึ้น 0.0019 คาของมุมเพิ่มขึ้น 10 0.0019

0.0032× = 5.94 ลิปดา

จะได tan 18° 25.9′ = 0.3333ดังนั้น ถา tan θ = 1

3 จะได θ ≈ 18° 26′, 198° 26′

ถา sin θ + cos θ = 0 นั่นคือ tan θ = –1 จะได θ = 135°, 315°ดังนั้น เซตคําตอบ คือ {18° 26′, 135° , 198° 26′, 315°}

7) 4 csc θ – 4 sin θ = 2 2 cot θ

นํา sin θ คูณตลอดจะได 4 – 4sin2θ = 2 2 cosθ

145

2 – 2 + 2 cos2θ = 2 cosθ

2 cos2θ – 2 cosθ = 0 นั่นคือ cos θ (2 cos θ – 2 ) = 0ถา cos θ = 0 จะได θ = 90° , 270°ถา 2 cos θ – 2 = 0 นั่นคือ cos θ = 2

2 จะได θ = 45°, 315°

ดังนั้น เซตคําตอบ คือ {45°, 90°, 270°, 315°}

8) cos θ + 4 sin θ – sin 2θ = 2cos θ + 4 sin θ – 2 sin θ cos θ – 2 = 0cos θ – 2 – 2 sin θ (cos θ – 2) = 0(cos θ – 2)(1 – 2 sin θ) = 0ถา cos θ – 2 = 0 นั่นคือ cos θ = 2 ซึ่งไมมีคา θ ที่สอดคลองกับสมการนี้ถา 1 – 2 sin θ = 0 นั่นคือ sin θ = 1

2 จะได θ = 30°, 150°

ดังนั้น เซตคําตอบ คือ {30°, 150°}

9) 4 cos4θ = (sin 2θ)2 หรือ 4 cos4θ – (2 sin θ cos θ)2 = 0นั่นคือ 4 cos4θ – 4 sin2θ cos2θ = 0ดังนั้น 4 cos2θ (cos2θ – sin2θ) = 0ถา 4 cos2θ = 0 นั่นคือ cos θ = 0 จะได θ = 90°, 270°ถา cos2θ – sin2θ = 0 นั่นคือ 1 – 2 sin2θ = 0ดังนั้น sin2θ = 1

2 นั่นคือ sin θ = 1

จะได θ = 45°, 135°, 225°, 315°ดังนั้น เซตคําตอบ คือ {45°, 90°, 135°, 225°, 270°, 315°}

10) sin 5θ + sin 3θ = 0(5 3 ) (5 3 )2sin cos2 2

θ+ θ θ− θ = 0 นั่นคือ 2 sin 4θ cos θ = 0ถา cos θ = 0 จะได θ = 90°, 270°ถา sin 4θ = 0 จะได 4θ = 0°, 180°, 360°, 540°, 720°, ..., 1260°

θ = 0°, 45°, 90°, 135°, 180°, 225°, 270°, 315°ดังนั้น เซตคําตอบ คือ {0°, 45°, 90°, 135°, 180°, 225°, 270°, 315°}

146

11) sin 3θ cos θ – cos 3θ sin θ = cos θsin (3θ – θ) = cos θ2 sin θ cos θ = cos θ

(2 sin θ – 1) cos θ = 0ถา cos θ = 0 จะได θ = 90°, 270°ถา 2 sin θ – 1 = 0 นั่นคือ sin θ = 1

2 จะได θ = 30°, 150°

ดังนั้น เซตคําตอบ คือ {30°, 90°, 150°, 270°}

4. 1) 4 sin2θ = 1 จะได sin θ = 12

±

นั่นคือ θ = 5 7 11, , ,6 6 6 6π π π π

คาทั่วไปของ θ ที่จะทําใหสมการเปนจริง คือ 5 7 112n ,2n ,2n ,2n

6 6 6 6π π π π

π+ π+ π+ π+ เมื่อ n เปนจํานวนเต็ม

หรืออาจเขียนคําตอบรวมกันเปน n6π

π± เมื่อ n เปนจํานวนเต็ม

2) tan2x – 3 = 0 จะได tan x = 3±

x = 2 4 5, , ,3 3 3 3π π π π

คาทั่วไปของ x ที่ทําใหสมการนี้เปนจริง คือ2 4 52n ,2n , 2n ,2n

3 3 3 3π π π π

π+ π+ π+ π+ เมื่อ n เปนจํานวนเต็ม

หรืออาจเขียนคําตอบรวมกันเปน n3π

π± เมื่อ n เปนจํานวนเต็ม

3) tan θ sin θ + tanθ = 0 นั่นคือ tan θ (sin θ + 1) = 0ถา tan θ = 0 จะได θ = 0, πถา sin θ + 1 = 0 นั่นคือ sin θ = –1 จะได θ = 3

แตถา θ = 32π , tan θ ไมอาจจะหาคาได

ดังนั้น คาทั่วไปของ θ ที่ทําใหสมการนี้เปนจริงคือ 2nπ + 0°, 2nπ + π เมื่อ n ∈ Iหรือ θ = nπ เมื่อ n เปนจํานวนเต็ม

147

4) sec2θ – 2 tan θ = 0 นั่นคือ 1 + tan2θ – 2 tan θ = 0จะได (tan θ – 1)2 = 0tan θ – 1 = 0 นั่นคือ tan θ = 1 จะได θ =

4π , 5

ดังนั้น คาทั่วไปของ θ ที่ทําใหสมการนี้เปนจริงคือ 2nπ + 4π , 52n

π+

เมื่อ n เปนจํานวนเต็ม หรือ θ = n4π

π+ เมื่อ n เปนจํานวนเต็ม

5) cos 2θ = sin θ1 – 2 sin2θ = sin θ นั่นคือ (2 sin θ – 1) (sin θ + 1) = 0ถา 2 sin θ – 1 = 0 นั่นคือ sin θ = 1

2 จะได θ = 5,

6 6π π

ถา sin θ + 1 = 0 นั่นคือ sin θ = –1 จะได θ = 32π

คาทั่วไปของ θ คือ 2nπ + 6π , 2nπ + 5

6π , 2nπ + 3

2π เมื่อ n ∈ I

เฉลยแบบฝกหัด 2.10

1. 1) จากกฎของโคไซน a2 = b2 + c2 – 2bc cos A= (40)2 + (60)2 – 2 × 40 × 60 cos 60°= 2800

ดังนั้น a = 20 7

2) 2 19

3) 254.344) จากกฎของโคไซน cos B = 2 2 2a c b

2ac+ −

= 2 2 212 8 72 12 8+ −× ×

= 0.8281

จากตาราง cos 34° = 0.8290 และ cos 34° 10′ = 0.8274คาของโคไซนเพิ่มขึ้น 0.0016 คาของมุมลดลง 10 ลิปดาคาของโคไซนเพิ่มขึ้น 0.0007 คาของมุมลดลง 10 0.0007

0.0016× = 4.4 ลิปดา

148

cos (34° 10′ – 4.4′) = 0.8274 + 0.0007 cos 34° 5.6′ = 0.8281

ดังนั้น B = 34° 5.6′

5) จากกฎของโคไซน cos A = 2 2 2b c a2bc+ −

= 2 2 2(3.7) (5.2) (8.4)2 3.7 5.2+ −× ×

= –0.7752

จากตาราง cos 39° 10 ′ = 0.7753 และ cos 39° 20′ = 0.7735คาของโคไซนเพิ่มขึ้น 0.0018 คาของมุมลดลง 10 ลิปดาคาของโคไซนเพิ่มขึ้น 0.0001 คาของมุมลดลง 10 0.0001

0.0018× = 0.56 ลิปดา

ดังนั้น cos 39° 10.56′ = 0.7752cos (180° - 39° 10.56′) = –cos 39° 10.56′ = –0.7752cos 140° 49.44′ = –0.7752

ดังนั้น A = 140° 49.44′

2. 1) A = 45°, C = 60°, b = 20 จงหา cเนื่องจาก A + B + C = 180°ดังนั้น B = 180° – A – C = 180° – 45° – 60° = 75°จากกฎของไซน sinB

b = sinC

csin 7520

° = sin 60c

°

ดังนั้น c = 20sin60sin75

°°

= 20 0.86600.9659× = 17.93

2) 16.063) 14.93, 13.39

3. 1) a = 15, b = 20 และ C = 65°พ้ืนที่รูปสามเหลี่ยม ABC = 1

2ab sin C = 1

2 × 15 × 20 sin 65°

= 150 × 0.9063 = 135.9450 ตารางหนวย

149

2) 213.9280 ตารางหนวย3) 179.107 ตารางหนวย

4. 1)∧

A = 25° , ∧

B = 30.74 , c = 20.362)

C = 37° , a = 85.82 , b = 57.563)

B = 60° , ∧

C = 90° , c = 2 หรือ ∧

B = 120° , ∧

C = 30° , c = 14)

A = 45° , ∧

C = 75° , a = 2 3 หรือ ∧

A = 15° , ∧

C = 105° , a = 3 – 3

5)∧

A = 75° , ∧

C = 60° , a = 3.86 หรือ ∧

A = 15° , ∧

C = 120° , a = 1.035

5. ให ABCD เปนรูปสี่เหลี่ยมดานขนาน ABC∧ = 135°AB = 10 ซม. AD = 5 ซม.DAB

∧ = 180° – 135° = 45°

ใน ∆ ABD, BD2 = AD2 + AB2 – 2AD⋅AB cos 45°= 25 + 100 – 2 × 5 × 10 × 0.707 = 54.3

BD = 7.36

6. ให ABC เปนรูปสามเหลี่ยมหนาจั่ว มีฐาน BC ยาว 60 หนวยBAC

∧ = 30°ดังนั้น ABC∧ = 180 30

2° − ° = 75°

sinBACBC

= sinABCAC

AC = sin 75 60sin30

° ×°

= 0.9659 × 60 × 2 = 115.908ดังนั้น AB + AC + BC = (2 × 115.908) + 60 = 291.816 หนวย

7. ABCD เปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผา AB = 32 เซนติเมตร , BC = 24 เซนติเมตร ใน ∆ ABC, AC2 = AB2 + BC2 = 1024 + 576

D C

BA135°

A

CB 60

30°

D C

BA 32

O 24

150

AC = 40แต ABCD เปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผา ดังนั้น AC = BD = 40จะได AO = OD = 40

2 = 20

ใน ∆ AOD , cos AOD∧ = 2 2 2AO OD AD2 AO OD+ −⋅ ⋅

= 400 400 5762 20 20+ −× ×

= 0.28

จากตาราง AOD∧ = 73° 45′

8. ABCD เปนที่ดินรูปสี่เหลี่ยมของกลา ซึ่งมีAD = DC , ABC∧ = 30° , BC = 20 , AB = 40

พ้ืนที่ของ ABCD = พ้ืนที่ของ ∆ ADC + พ้ืนที่ของ ∆ ABCCE = BC sin 30° = 20 × 1

2 = 10

จะได พ้ืนที่ ∆ ABC = 12

× AB × CE = 12

× 40 × 10 = 200 ม.2

AC2 = BC2 + AB2 - 2AB⋅BC cos 30° = 2000-800 3

พ้ืนที่ ∆ ADC = 12

× AD × DC = 12

AD2

แต AC2 = AD2 + DC2 = 2 AD2

จะได AD2 = 12

AC2

ดังนั้น พ้ืนที่ ∆ ADC = 12

AD2 = 14

AC2

= 14

(2000-800 3 ) = 500 – 200 3

พ้ืนที่ ABCD = 500 – 200 3 +200 = 700 – 200 × 1.732ดังนั้น กลามีที่ดิน เทากับ 353.6 ตารางเมตร

9. ก ข ค และ จ เปนตําแหนงที่บานของแกว ขวัญ คนึงและจิต ตั้งอยูตามลําดับ

ขค = 50 เมตร, ∧

กค จ = 45° , ∧

ข จ ค = 30°∧

ค ขจ = 180° – 30° – 45° = 105°

D C

BEA30°

ก ข ค

จ30°

45°

151

ใน ∆ คขจ sin∧

ข จ คขค = sin

∧ค ข จจค

sin3050

° =

จค = 50sin 75sin 30

°°

= 50 × 2 × 0.9659 = 96.59

ใน ∆ กจค, กจ = จค sin 45° = 96.59 × 0.7071แมน้ํากวาง 68.3 เมตร

10. จงพิสูจน Hero’s Formula ที่กลาววาพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมใด ๆ = s (s a)(s b)(s c)− − − เมื่อ a, b หรือ c เปนดานทั้งสามของรูปสามเหลี่ยมและ s = a b c

2+ +

พ้ืนที่รูปสามเหลี่ยมใด ๆ = 12

bc sin Asin A = 21 cos A− และ cos A = 2 2 2b c a

2 bc+ −

ดังนั้น พ้ืนที่รูปสามเหลี่ยม = 12

bc 21 cos A− = 12

bc 2 2 22b c a1 ( )

2 bc+ −

= 12

bc 2 2 2 2 2

2

(2bc) (b c a )(2 bc)− + −

= 2 2 2 2 2 21 bc (2bc b c a )(2bc b c a )2 2 bc⋅ − − + + + −

= 2 2 2 2 2 21 a (b 2bc c (b 2bc c ) a4

− − + + + −

= 2 2 2 21 a (b c) (b c) a4

− − + −

= 1 (a b c)(a b c)(b c a)(b c a)4

− + + − + − + +

พ้ืนที่รูปสามเหลี่ยม = (a b c a b c a b c a b c( )( a)( b)( c)2 2 2 2+ + + + + + + +

− − −

กําหนดให s = a b c2

+ +

ดังนั้น พ้ืนที่รูปสามเหลี่ยมใด ๆ = s (s a)(s b)(s c)− − −

sin 105°จค

152

เฉลยแบบฝกหัด 2.11

1. BC เปนความสูงของตึก CD เปนความสูงของเสาอากาศA เปนจุดที่มองยอดตึกและยอดเสาอากาศมุมเงย BAC = 30° และมุมเงย BAD = 60°ใน ∆ ABD , BD = AB tan 60° = 18 3 เมตรใน ∆ ABC , BC = AB tan 30° = 18

3 = 6 3 เมตร

ดังนั้น DC = 18 3 – 6 3 = 12 3 เมตร

2. AB เปนประภาคารหลังหนึ่งC และ D เปนตําแหนงที่เรือสองลําจอดอยูหางกัน 60 เมตรมุมเงย ACB = 45° และมุมเงย ADB = 30°ใน ∆ ABC, BC = AB

tan 45° จะได BC = AB

ใน ∆ ABD, BD = ABtan30°

= 3 AB

เพราะวา BD – BC = CDนั่นคือ 3 AB – AB = 60 จะได AB ≈ 60

0.732

ดังนั้น เรือลําที่อยูใกลประภาคารอยูหางจากประภาคาร 81.96 เมตร

3. AB2 = AC2 + BC2 – 2 AC⋅BC cos 75° = (3.2)2 + (2.4)2 – 2 × 3.2 × 2.4 × 0.2588

= 10.24 + 5.76 – 3.98AB ≈ 3.47

ดังนั้น บึงกวาง 3.47 เมตร

4. ให EF เปนเสาอากาศของสถานีโทรทัศนแหงหนึ่งH และ G เปนจุดที่พิชัยยืนหางจากเสาอากาศ 100 และ200 เมตร ตามลําดับ

A

D

C

B 30°60°

DCB

A

30°45°

αθ

200 100F

E

GH

153

มุมเงย EHF = θ และมุมเงย EFG = αเพราะวา θ + α = 90° จะได α = 90° – θใน ∆ EHF, EF

FH = tan θ

EF = 100 tan θ …………… (1)ใน ∆ EGF, FF

FG = tan α = tan (90° – θ) = sin (90 )

cos(90 )°−θ°−θ

EF = 200 cossin

θθ

…………… (2)

(1) = (2) จะได 100 tan θ = 200tanθ

tan θ = 2

ดังนั้น เสาอากาศสูง 100 × 2 = 141.4 เมตร

5. CAB∧ = 47° – 32° = 15°

ACD∧ = 90° – 47° = 43°

BCE∧ = 90° – CBE∧ = 90° – 77° = 13°

ดังนั้น ACB∧ = ACD∧ – BCE∧ = 43° – 13° = 30°

และ ABC∧ = 180° – CAB∧ – ACB∧ = 180° – 15° – 30°

= 135°ใน ∆ ABC, sinB

AC = sinC

100

AC = 100sinBsinC

= 100sin135sin30

°°

= 100sin 45sin30

°°

ใน ∆ ACD, CD = ACsin 47sin90

°°

= 100sin 45 sin 47sin30 sin90

° °° °

= 1100 0.73121 12

× ×

× ≈ 103.36

ดังนั้น ความสูงของเนินดินจากพื้นราบ 103.36 เมตร

6. G เปนปอมยามซึ่งอยูทางทิศตะวันออกของตึกH เปนรถบรรทุกซึ่งจอดอยูทางทิศใตของปอมยามEF เปนตึกสูง 15 ชั้น EGF∧ = 60° , EHF∧ = 30°F G

E

H

60°

30°

47° 32°

10077°

A D

C

EB

154

ตึกหลังนี้สูง 15 × 4 = 60 เมตรใน ∆ EFG, GF = EF

tan60° = 20 3

ใน ∆ EFH, FH = EFtan30°

= 60 3

ใน ∆ FGH, GH2 = HF2 – FG2 = (60 3 )2 – (20 3 )2

รถบรรทุกอยูหางจากปอมยาม 40 6 เมตร

7. ให EF เปนภูเขาลูกหนึ่งG เปนจุดที่สุดายืนอยูทางทิศตะวันออกเฉียงใตของภูเขาGH เปนระยะที่สุดาเดินไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต 500 เมตรดังนั้น GF ตั้งฉากกับ GH

ใน ∆ EFH, FH = EFtan35°

= EF0.7002

ใน ∆ EFG, FG = EFtan65°

= EF2.1445

ใน ∆ FGH, GH2 = FH2 – FG2

5002 = 2EF( )0.7002

– 2EF( )2.1445

EF2 = 250000 × 0.5488 = 137200EF ≈ 370.4

ดังนั้น ภูเขาสูง 370.4 เมตร

8. ใน ∆ ABD, BD = htan (45 )°+α

ใน ∆ ABC, BC = htan (45 )°−α

CD = BC – BD= h 1 1

tan (45 ) tan (45 )

− °−α °+α

E

GH

F 65°35°

เหนือ

ตก ออก

ใต

A

B

h

DC45°+α45°–α

155

= h tan (45 ) tan (45 )tan (45 ) tan (45 )

°+ α − °−α °−α °+α

= h tan 45 tan tan 45 tan1 tan 45 tan 1 tan 45 tantan 45 tan tan 45 tan1 tan 45 tan 1 tan 45 tan

°+ α °− α − − ° α + ° α °− α °+ α × + ° α − ° α

= h (1 tan )(1 tan ) (1 tan )(1 tan )(1 tan )(1 tan )

+ α + α − − α − α + α − α

= h 2 2(1 tan ) (1 tan )(1 tan )(1 tan )

+ α − − α + α − α

= h (1 tan 1 tan )(1 tan 1 tan )(1 tan )(1 tan )

+ α+ − α + α− + α + α − α

= h 2

2 2 tan1 tan × α − α

= 2h tan 2αดังนั้น วัตถุทั้งสองหางกัน 2h tan 2α เมตร

9. A เปนจุดที่ชายคนนี้ยืนอยูBC แทนความสูงของภูเขาCD แทนหอคอยจากรูป จะได DAC∧ = 12°,BCA

∧ = 53° DCA∧ = 127° ,

CDA∧ = 41°

จากกฎของไซน sinDACDC

= sinCDAAC

จะได AC = 60sin 41sin12

°°

= 60(0.7156)0.2079

= 206.52จาก sin 37° = BC

ACBC = 206.52 (0.6018)

= 124.28ดังนั้น ชายคนนี้อยูหางจากฐานหอคอย 206.52 เมตร และ ภูเขาสูง 124.28 เมตร

60 เมตร

49° 37°

C

D

B A

156

10. จากรูป XY แทนความสูงของประภาคารเพราะวา ZXA∧ = XAB∧ = 30°

ZXB∧ = XBY∧ = 40°จะได AXB∧ = 10° , XBA∧ = 140°

จากกฎของไซน sin BXAAB

= sinXABBX

จะได sin10100

° = sin 30BX

°

BX = 100(0.5)0.1736

= 288.02

จากกฎของไซน sinXBAAX

= sin BXAAB

จะได sin140AX

° = sin10100

°

AX = 100(0.6428)0.1736

= 370.28

จากกฎของไซน sinXYBBX

= sinXBYXY

จะได sin 90288.02

° = sin 40XY

°

XY = 288.02 (0.6428)= 185.14

ดังนั้น ยอดประภาคารอยูหางจากจุด A เทากับ 370.28 เมตร ยอดประภาคารอยูหางจากจุด B เทากับ 288.02 เมตร ประภาคารสูงเทากับ 185.14 เมตร

11. จากกฎของโคไซน AB2 = OB2 + OA2 – 2(OB)(OA) cos BOA∧

จะได AB2 = 42 + 62 – 2(4)(6) cos 30° = 16 + 36 - 48 3( )

2 = 52 – 24(1.7321)

40° 30°X Z

Y AB 100 เมตร

A

B

O 6 กิโลเมตร

4 กิโลเมตร

30°

157

= 10.4296 AB = 3.23

ดังนั้น A และ B อยูหางกันประมาณ 3.23 กิโลเมตร

12. ∆ AOB, AB2 = OA2 + OB2 – 2(OA)(OB) cos AOB∧

จะได 82 = 7.52 + 7.52 – 2(7.5)(7.5) cos AOB∧

82 = 2(7.5)2(1 – cos AOB)cos AOB∧ =

2

281

2(7.5)−

= 0.4311จากการเปดตาราง cos 64° 20′ = 0.4331

cos 64° 30′ = 0.4305คาของฟงกชันโคไซนตางกัน 0.002 มุมตางกัน 10 0.002

0.0026× = 7.7′

จะได cos 64° 27.7′ = 0.4311นั่นคือ AOB

∧ = 64° 27.7′ ---------- *∆ AO′B , AB2 = O′A2 + O′B2 – 2(O′A)(O′B) cos AO E∧

จะได 82 = 62 + 62 – 2(6)(6) cos AO B∧′

cos AO E∧′ =

2

2812(6)

= 0.1111จากการเปดตาราง cos 83° 40′ = 0.1103

cos 83° 30′ = 0.1132คาของฟงกชันโคไซนตางกัน 0.0008 มุมตางกัน 10 0.0008

0.0029× = 2.8

จะได cos 83° 37.2′ = 0.1111นั่นคือ AO E

∧′ = 83° 37.2′ ---------- **

A7.5 6

O′

B

O 8

158

13. จาก AC2 = AB2 + BC2

จะได AC2 = 122 + 52

AC = 13จาก EC2 = AE2 + AC2

จะได EC2 = 62 + 132

= 205EC = 14.3

จากกฎของโคไซน AE2 = AC2 + EC2 – 2(AC)(EC) cos ACE∧

36 = 169 + 205 – 2(13)(14.3) cos ACE∧

cos ACE∧ = 0.9091จะได ACE

∧ = 24° 37.5′ ---------- *เพราะวา HF = EG = AC = DB = 13

DF = EC = 14.3จากกฎของโคไซน HF2 = HD2 + DF2 – 2(HD)(DF) cos HDF∧

169 = 36 + 205 – 2(36)(14.3) cos HDF∧

cos HDF∧ = 0.0699จะได HDF∧ = 86° ---------- **จาก ∆ HCG, HC2 = CG2 + HG2

จะได HC2 = 36 + 144= 180

HC = 13.4จากกฎของโคไซน EH2 = EC2 + HC2 – 2(EC)(HC) cos ECH∧

25 = 205 + 180 – 2(14.3)(13.4) cos ECH∧

cos ECH∧ = 0.5349จะได ECH∧ = 57° 40′ ---------- ***

A B

C

GH

E D F

56

12

top related