cba stou 4 april 2015.pptการว เคราะห ต นท...

66
การว เคราะห์ต้นทุนและประโยชน์ของโครงการ (Cost-Benefit Analysis: CBA) เรวดี จรุงรัตนาพงศ์

Upload: others

Post on 23-Jan-2020

4 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: CBA STOU 4 April 2015.pptการว เคราะห ต นท นและประโยชน ของโครงการ (Cost-Benefit Analysis: CBA) เรวด จร

การวิเคราะหต์้นทุนและประโยชน์ของโครงการ(Cost-Benefit Analysis: CBA) เรวดี จรงุรตันาพงศ์

Page 2: CBA STOU 4 April 2015.pptการว เคราะห ต นท นและประโยชน ของโครงการ (Cost-Benefit Analysis: CBA) เรวด จร

• การหาแหล่งพลงังานไฟฟ้า

- โรงไฟฟ้าพลงังานนํ้า (เขื่อน) กบั โรงไฟฟ้าพลงังานนิวเคลียร ์

• การสร้างระบบขนส่งมวลชน

- รถไฟฟ้าความเรว็สงู กบั รถไฟแบบธรรมดา

เราจะใช้เครื่องมือนี้เมื่อใด

เมื่อต้องตดัสินทางเลือกของนโยบายต่างๆ ว่านโยบายใดมี

ความคุ้มค่ามากกว่าทางเลือกอื่น

Page 3: CBA STOU 4 April 2015.pptการว เคราะห ต นท นและประโยชน ของโครงการ (Cost-Benefit Analysis: CBA) เรวด จร

• Broadman et al. (2006) ระบเุป้าหมายกว้างๆ ของการทาํ CBA ไว้ว่า

- เพื่อช่วยในการตดัสินใจของสงัคม

หรือถ้าพดูให้เฉพาะเจาะจง มีเป้าหมาย

- เป็นการวิเคราะหเ์พื่อจดัสรรทรพัยากรของสงัคมให้มี

ประสิทธิภาพมากขึน้

เป้าหมายของ CBA

Page 4: CBA STOU 4 April 2015.pptการว เคราะห ต นท นและประโยชน ของโครงการ (Cost-Benefit Analysis: CBA) เรวด จร

CBA V.S. PLA

• Cost-Benefit Analysis (CBA) หรือ Benefit-Cost Analysis เป็น

การวิเคราะหส์าํหรบัหน่วยงานรฐัต่อโครงการ

• การวิเคราะหก์าํไร-ขาดทนุ (Profit-Loss Analysis: PLA) เป็นการ

วิเคราะหส์าํหรบัภาคเอกชนในการลงทุน

• การผลิตรถยนตร์ุ่นใหม่ บริษทัจะคิดว่าจะได้กาํไรเท่าไร และคิดว่า

ต้นทนุการผลิต ได้แก่ แรงงาน วตัถดุิบ พลงังาน อปุกรณ์ลดการ

ปล่อยมลพิษ การขนส่ง เป็นเท่าใด โดยใช้ราคาตลาด

• ความต่างระหว่าง CBA กบั PLA คือ การวิเคราะหป์ระโยชน์และ

ต้นทนุจากมมุมองที่แตกต่างกนั และมลูค่าต้นทนุและประโยชน์

ครอบคลมุแตกต่างกนั

Page 5: CBA STOU 4 April 2015.pptการว เคราะห ต นท นและประโยชน ของโครงการ (Cost-Benefit Analysis: CBA) เรวด จร

CBA และ PLA

• CBA เป็นมมุมองของภาครฐั มองว่าอะไรคือประโยชน์ และต้นทนุ

ของสงัคม แต่ PLA เป็นมมุมองของผูป้ระกอบการ มองว่าอะไรคือ

ประโยชน์และต้นทนุของบริษทั

• CBA คาํนึงถึงมลูค่าที่ไม่มีราคาในตลาดด้วย เช่น มลูค่าการที่

คณุภาพสิ่งแวดล้อมดีขึน้ แต่ PLA คาํนึงถึงมลูค่าตลาดเท่านัน้

CBA และ Financial Analysis

• การวิเคราะหท์างการเงินเป็นการพิจารณาถึงผลกาํไรของโครงการ

ในแง่ของผูล้งทุน

• การวิเคราะหท์างเศรษฐศาสตร ์เป็นการวิเคราะหถ์ึงความเหมาะสม

ของโครงการของคนในสงัคมทัง้หมด

Page 6: CBA STOU 4 April 2015.pptการว เคราะห ต นท นและประโยชน ของโครงการ (Cost-Benefit Analysis: CBA) เรวด จร

Cost-Benefit Analysis

• เหตผุลที่ต้องมีการวิเคราะห ์CBA

- ทรพัยากรมีจาํกดั

- แต่ละสถานการณ์ต้องเผชิญกบัสถานการณ์ได้อย่างเสียอย่าง

(Trade off) เสมอ คือ เกิดค่าเสียโอกาสเสมอ

- ในทางเศรษฐศาสตร:์ ต้องการจดัสรรทรพัยากรในทางที่ดีที่สดุ

(the best possible way) นัน่คือ มีประสิทธิภาพสงูสดุ (Efficiency)

การวิเคราะหป์ระโยชน์-ต้นทนุ คือ เครื่องมือที่ช่วยในการตดัสินใจ

ของภาครฐัในการจดัสรรทรพัยากร ซึ่งกค็ือเป็นเครื่องมือพืน้ฐาน

ในการวิเคราะหโ์ครงการของรฐัต่างๆ เช่น การป้องกนันํ้าท่วม การ

สร้างเขื่อน การสร้างโรงเผาขยะ เป็นต้น

Page 7: CBA STOU 4 April 2015.pptการว เคราะห ต นท นและประโยชน ของโครงการ (Cost-Benefit Analysis: CBA) เรวด จร

CBA และ PLA

กาํไรทางเศรษฐศาสตรต์่อสงัคม

YES NO

กาํไรทาง

การเงินต่อ

นักลงทนุ

YES • เป็นโครงการทีด่ี

• ยอมรบัโครงการ

• เป็นโครงการทีด่ตี่อนกั

ลงทนุ แต่ไมด่ตี่อสงัคม

• ตอ้งมกีารควบคมุโดยใช้

เครือ่งมอืทาง ศศ.

NO • เป็นโครงการทีด่ตี่อสงัคม

แต่ไมด่ตี่อนกัลงทนุ

• พจิารณาใหก้ารชว่ยเหลอื

โดยใชเ้ครือ่งมอืทาง

เศรษฐศาสตร์

• เป็นโครงการทีไ่มด่ ี

• ปฎเิสธโครงการ

Page 8: CBA STOU 4 April 2015.pptการว เคราะห ต นท นและประโยชน ของโครงการ (Cost-Benefit Analysis: CBA) เรวด จร

Cost-Benefit Analysis

• เงื่อนไขในการประเมินโครงการ

“ในทางทฤษฎี กค็ือ เป็นโครงการหรือนโยบายทีเ่ป็น “public

interest” หรือเป็นโครงการหรือนโยบายทีท่าํให้สวสัดิการของสงัคม (Social welfare) ดีขึ้น”

• ถ้าโครงการหรือนโยบายใดทาํให้เกิด Pareto improvement โครงการหรือนโยบายดงักล่าวจะเป็นโครงการหรือนโยบายที่ดี

• ถ้าโครงการหรือนโยบายใดทาํให้ทกุคนแย่ลง โครงการหรือนโยบายดงักล่าวจะเป็นโครงการหรือนโยบายที่ไม่ดี

ปัญหาคือ นโยบายหรือโครงการส่วนใหญ่ ไม่สามารถ

ทาํให้ทกุคนดีขึน้พร้อมกนัได้

Page 9: CBA STOU 4 April 2015.pptการว เคราะห ต นท นและประโยชน ของโครงการ (Cost-Benefit Analysis: CBA) เรวด จร

Cost-Benefit Analysis

Potential Pareto Improvement (PPI)

• การจดัสรรทรพัยากรใหม่ที่ทาํให้เกิด Potential Pareto Improvement กต็่อเมื่อผูไ้ด้รบั (winner) สามารถชดเชยให้กบัผูส้ญูเสีย (loser) และทาํให้ผูส้ญูเสียดีขึน้ได้

“A re-allocation of resources in a Potential Pareto Improvement (PPI) if the “winner” could in principle compensate the “loser”, and still be better-off”

• การจดัสรรทรพัยากรใหม่ที่ทาํให้เกิด PPI กต็่อเมื่อประโยชน์ที่ได้รบัต้องมากกว่าต้นทุนที่เกิดขึน้

Page 10: CBA STOU 4 April 2015.pptการว เคราะห ต นท นและประโยชน ของโครงการ (Cost-Benefit Analysis: CBA) เรวด จร

ขัน้ตอนของ CBA1. การกาํหนดกลุ่มอ้างอิง (referent group)

2. กาํหนดทางเลือกที่จะดาํเนินการที่เป็นเป็นไปได้

3. กาํหนดผลกระทบ (ทัง้บวกและลบ) ทางกายภาพที่จะเกิดขึน้ของโครงการ

4. ระบสุิ่งที่จะเกิดขึน้ถ้าไม่มีโครงการดงักล่าว (without project)

5. คาดการณ์ผลกระทบเชิงปริมาณตลอดช่วงอายโุครงการ

6. แปลงผลกระทบทางกายภาพเป็นมลูค่าตวัเงิน

7. คิดลดต้นทนุและประโยชน์ของโครงการให้มาเป็นมลูค่าปัจจบุนั

8. คาํนวณมลูค่าปัจจบุนัสทุธิ (Net Present Value: NPV)

9. วิเคราะหค์วามอ่อนไหว (Sensitivity analysis)

10. เสนอแนะทางเลือกจากผลของ CBA

Page 11: CBA STOU 4 April 2015.pptการว เคราะห ต นท นและประโยชน ของโครงการ (Cost-Benefit Analysis: CBA) เรวด จร

ขั้นที่ 1

การกําหนดกลุมอางองิ (Referent group)

Page 12: CBA STOU 4 April 2015.pptการว เคราะห ต นท นและประโยชน ของโครงการ (Cost-Benefit Analysis: CBA) เรวด จร

ขัน้ที่ 1 การกาํหนดกลุ่มอ้างอิง

• ใครเป็นกลุ่มคนที่จะอยู่ในการวิเคราะห ์หรือใครเป็นผูม้ีส่วนได้

ส่วนเสียของโครงการ

• เป็นการวิเคราะหร์ะดบัท้องถิ่น หรือระดบัประเทศ หรือระดบั

ภมูิภาค หรือระดบัโลก

- ต้องกาํหนดขอบเขตว่าการวิเคราะหค์รอบคลมุถึงพืน้ที่ใด

(Geographical scoping)

- ใครได้ประโยชน์จากโครงการ และใครเสียประโยชน์จากโครงการ

(Stakeholders scoping)

Page 13: CBA STOU 4 April 2015.pptการว เคราะห ต นท นและประโยชน ของโครงการ (Cost-Benefit Analysis: CBA) เรวด จร

ขัน้ที่ 1 การกาํหนดกลุ่มอ้างอิง

• โครงการผนันํ้าจากประเทศหนึ่งไปอีกประเทศหนึ่ง

• โครงการแก้ปัญหาหมอกควนัในภาคเหนือ

• โครงการเขื่อนสามผา (Three George Dam) ของจีนที่ส่งผลกระทบ

ต่อปริมาณนํ้าในแม่นํ้าโขง

การกาํหนดขอบเขตทางกายภาพ (Geographical scoping)

Page 14: CBA STOU 4 April 2015.pptการว เคราะห ต นท นและประโยชน ของโครงการ (Cost-Benefit Analysis: CBA) เรวด จร

ขัน้ที่ 1 การกาํหนดกลุ่มอ้างอิง

ชมุชน

เดียวชมุชนอืน่

ภายใน

จงัหวดั จงัหวดัอืน่

ภายในประเทศ

ประเทศอืน่

การกาํหนดผูม้ีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholder scoping)

Page 15: CBA STOU 4 April 2015.pptการว เคราะห ต นท นและประโยชน ของโครงการ (Cost-Benefit Analysis: CBA) เรวด จร

ขัน้ที่ 1 การกาํหนดกลุ่มอ้างอิง

• การกาํหนดขอบเขตทางกายภาพที่ผิดพลาดอาจทาํให้เกิดการ

ประเมินค่าประโยชน์และต้นทนุที่ตํา่เกินความเป็นจริง

• ไม่มีกฎหรือเงื่อนไขง่ายๆ ที่จะบอกว่าเราควรกาํหนดขอบเขตทาง

ภายภาพที่ถกูต้องอย่างไร

• การวิเคราะหท์ี่ดีต้องครอบคลมุถึงผลกระทบสาํคญัทัง้หมดของ

โครงการ โดยไม่พิจารณาตามขอบเขตการปกครอง

Page 16: CBA STOU 4 April 2015.pptการว เคราะห ต นท นและประโยชน ของโครงการ (Cost-Benefit Analysis: CBA) เรวด จร

ขั้นที่ 2

กําหนดทางเลอืกที่เปนเปนไปได

Page 17: CBA STOU 4 April 2015.pptการว เคราะห ต นท นและประโยชน ของโครงการ (Cost-Benefit Analysis: CBA) เรวด จร

ขัน้ที่ 2 กาํหนดทางเลือกที่เป็นไปได้

ปัญหา: การกดัเซาะชายฝัง่บริเวณอ่าวไทย

เขื่อนกนัคลื่น (Breakwater) กาํแพงกนัคลื่น (Seawall)สถานการณ์ปัจจบุนั (status quo)

Page 18: CBA STOU 4 April 2015.pptการว เคราะห ต นท นและประโยชน ของโครงการ (Cost-Benefit Analysis: CBA) เรวด จร

ขัน้ที่ 2 กาํหนดทางเลือกที่เป็นไปได้

ปัญหา: การจดัการขยะมลูฝอย

การฝังกลบ เตาเผาขยะ

สถานการณ์ปัจจบุนั (status quo)

Page 19: CBA STOU 4 April 2015.pptการว เคราะห ต นท นและประโยชน ของโครงการ (Cost-Benefit Analysis: CBA) เรวด จร

• บางครัง้คงเป็นไปได้ยากที่จะระบทุางเลือกที่เป็นไปได้ทัง้หมด

ขัน้ที่ 2 กาํหนดทางเลือกที่เป็นไปได้

ความยาก

ในทางปฏิบตัิ

• ปกติจะวิเคราะห ์CBA ทีละโครงการ แล้วดวู่าทางเลือกดงักล่าว

ก่อให้เกิดการเพิ่มประสิทธิภาพแบบ พาเรโต (Pareto Improvement)

PI เป็นสภาพที่เกิดขึ้นแลว้ไมส่ามารถที่จะจดัสรรทรพัยากรใหมอ่ีกครัง้ และ

จะทําใหค้นอยา่งนอ้ย 1 คนดีขึ้น แต่ไมท่ําใหใ้ครในสงัคมแยล่ง

• ทางเลือกของโครงการที่จะวิเคราะหก์ค็วรมีจาํนวนไม่มาก

• กาํหนดอายโุครงการที่จะใช้วิเคราะห์

Page 20: CBA STOU 4 April 2015.pptการว เคราะห ต นท นและประโยชน ของโครงการ (Cost-Benefit Analysis: CBA) เรวด จร

ขั้นที่ 3กําหนดผลกระทบ (ทั้งบวกและลบ) ทาง

กายภาพทีจ่ะเกิดขึ้นของโครงการ

อาจเรยีกไดว้า่เป็นขัน้ตอนทีส่ําคญัทีส่ดุและเป็นขัน้ตอนทีจ่ะทาํให้เกดิข้อผดิพลาดไดม้ากทีส่ดุ

Page 21: CBA STOU 4 April 2015.pptการว เคราะห ต นท นและประโยชน ของโครงการ (Cost-Benefit Analysis: CBA) เรวด จร

• ระบผุลกระทบทางกายภาพทัง้หมด ซึ่งรวมถึงปัจจยัการผลิต

(แรงงาน ทนุ ฯลฯ) และผลผลิตที่ได้ของโครงการ

ขัน้ที่ 3 กาํหนดผลกระทบทางกายภาพที่จะเกิดขึน้

ความยาก

• เราไม่รู้ว่าจะเกิดผลกระทบบางอย่าง

• ความรู้ทางวิทยาศาสตรใ์นบางเรื่องยงัไม่มีความสมบรูณ์ และ

บอ่ยครัง้ที่ขดัแย้งกนัเอง

Page 22: CBA STOU 4 April 2015.pptการว เคราะห ต นท นและประโยชน ของโครงการ (Cost-Benefit Analysis: CBA) เรวด จร

โครงการสร้างถนนเส้นใหม่ที่จะก่อให้เกิดอบุตัิเหตลุดลง

ขัน้ที่ 3 กาํหนดผลกระทบทางกายภาพที่จะเกิดขึน้

ประเภทตนทนุ 0 1 2 3 4 5 6 7 81. ตนทุนกอสราง 100 100 50 50 50 - - - -2. ตนทุนดูแลรักษา - - 10 10 10 10 10 10 103. ตนทุนที่ทําให จราจรติดขัดขณะ กอสราง

10 8 8 5 5 - - - -

4. คาเสียโอกาสที่ดิน ที่นํามาสรางถนน

2 2 2 2 2 2 2 2 2

Page 23: CBA STOU 4 April 2015.pptการว เคราะห ต นท นและประโยชน ของโครงการ (Cost-Benefit Analysis: CBA) เรวด จร

โครงการสร้างถนนเส้นใหม่ที่จะก่อให้เกิดอบุตัิเหตลุดลง

ขัน้ที่ 3 กาํหนดผลกระทบทางกายภาพที่จะเกิดขึน้

ประเภทประโยชน 0 1 2 3 4 5 6 7 81. จํานวนผูเสียชีวิตที่

ลดลง- - - - - 20 20 20 20

2. ตนทุนคารักษา พยาบาลที่ลดลง

- - - - - 5 5 5 5

3. เวลาการเดินทางที่ ประหยัดได

- - - - - 8 8 8 8

4. คาใชจายบํารุง รักษารถยนตที่ ประหยัดได

- - - - - 2 2 2 2

5. มลพิษลดลงจากที่ รถติดนอยลง

- - - - - 5 5 5 5

Page 24: CBA STOU 4 April 2015.pptการว เคราะห ต นท นและประโยชน ของโครงการ (Cost-Benefit Analysis: CBA) เรวด จร

ขั้นที่ 4ระบุสิ่งทีจ่ะเกิดขึ้นถาไมมโีครงการดังกลาว

(without project)

Page 25: CBA STOU 4 April 2015.pptการว เคราะห ต นท นและประโยชน ของโครงการ (Cost-Benefit Analysis: CBA) เรวด จร

ขัน้ที่ 4 ระบสุิ่งที่จะเกิดขึน้ถ้าไม่มีโครงการดงักล่าว

2540 2545 2550

โครงการควบคมุมลพิษ

ก่อนมีโครงการ:

ปริมาณมลพิษทัง้หมด = 100 ตนั

ประเมินโครงการ

หลงัมีโครงการ:

ปริมาณมลพิษทัง้หมด = 150 ตนั

ปริมาณมลพิษทัง้ถ้าไม่มีโครงการ

อาจเป็น 200 ตนั

กรณีที่ไมมีโครงการ ก็คือ กรณีสถานการณปจจบุนั (Status quo)

Page 26: CBA STOU 4 April 2015.pptการว เคราะห ต นท นและประโยชน ของโครงการ (Cost-Benefit Analysis: CBA) เรวด จร

• เป้าหมาย: ต้องการเพิ่มจาํนวนนักท่องเที่ยวในเกาะเสมด็

- คาดว่าการสร้างท่าเทียบเรือจะทาํให้จาํนวนนักท่องเที่ยวเพิ่มขึน้

• ท่าเทียบเรือไม้ที่มีอยู่ไม่แขง็แรง อาจก่อให้เกิดอนัตรายได้

ขัน้ที่ 4 ระบสุิ่งที่จะเกิดขึน้ถ้าไม่มีโครงการดงักล่าว

โครงการสร้างท่าเทียบเรือเพื่อการท่องเที่ยว

Page 27: CBA STOU 4 April 2015.pptการว เคราะห ต นท นและประโยชน ของโครงการ (Cost-Benefit Analysis: CBA) เรวด จร

• รายได้ของจงัหวดัไม่เพิ่มขึน้

• มลพิษทางเสียงยงัอยู่ในระดบัเท่าเดิม

• มลพิษทางอากาศยงัอยู่ในระดบัเท่าเดิม

• คณุภาพนํ้าทะเลยงัอยู่ในระดบัเท่าเดิม

• มลูค่าความสวยงามทางธรรมชาติกย็งัอยู่ในระดบัเดิม

• ระบบเศรษฐกิจและสงัคมกย็งัอยู่ในระดบัเดิม

ขัน้ที่ 4 ระบสุิ่งที่จะเกิดขึน้ถ้าไม่มีโครงการดงักล่าว

กรณีไม่มีโครงการท่าเทียบเรือใหม่

Page 28: CBA STOU 4 April 2015.pptการว เคราะห ต นท นและประโยชน ของโครงการ (Cost-Benefit Analysis: CBA) เรวด จร

ขัน้ที่ 4 ระบสุิ่งที่จะเกิดขึน้ถ้าไม่มีโครงการดงักล่าว

จาํนวนนักท่องเทีย่ว

2540 2541 2542 2543 2544 2545 2546 2547

จาํนวนนักท่องเทีย่วใน

อนาคต

ปีทีส่ร้างท่าเทียบเรือเสรจ็

2500 จาํนวน

นักท่องเทีย่ว

ในปัจจบุนัจาํนวนนักท่องเทีย่ว

ในปัจจบุนั

ผลกระทบจาก

โครงการ

2548

ถกูต้องหรือไม่

Page 29: CBA STOU 4 April 2015.pptการว เคราะห ต นท นและประโยชน ของโครงการ (Cost-Benefit Analysis: CBA) เรวด จร

ขัน้ที่ 4 ระบสุิ่งที่จะเกิดขึน้ถ้าไม่มีโครงการดงักล่าว

2540 2541 2542 2543 2544 2545 2546 2547 2548

ทีถ่กูต้องคือ ....

จาํนวนนักท่องเทีย่ว ปีทีส่ร้างท่าเทียบเรือเสรจ็จาํนวนนักท่องเทีย่วในอนาคต

เมือ่มีโครงการ

ผลกระทบจาก

โครงการ

2500

จาํนวนนักท่องเทีย่ว

เมือ่ไม่มีโครงการ

จาํนวน

นักท่องเทีย่ว

ในปัจจบุนัไม่ใช่จาํนวนนักท่องเทีย่ว

ในกรณีไม่มีโครงการ

Page 30: CBA STOU 4 April 2015.pptการว เคราะห ต นท นและประโยชน ของโครงการ (Cost-Benefit Analysis: CBA) เรวด จร

ขั้นที่ 5คาดการณผลกระทบเชิงปรมิาณ

ตลอดชวงอายโุครงการ

Page 31: CBA STOU 4 April 2015.pptการว เคราะห ต นท นและประโยชน ของโครงการ (Cost-Benefit Analysis: CBA) เรวด จร

ขัน้ที่ 5 คาดการณ์ผลกระทบเชิงปริมาณ

โครงการสร้างถนนเลียบเมือง

ประเดน็ การคาดการณ์ผลกระทบเชิงปริมาณ

เส้นทางเลียบเมือง เป็นระยะทางเท่าใด มีพืน้ที่เท่าใด

การเวนคืนที่ดิน จาํนวนครวัเรือนที่ต้องอพยพ

การจราจร ลดความหนาแน่นจาํนวนรถยนตใ์นเมืองได้เท่าใด

พลงังานที่ประหยดัได้ ปริมาณพลงังานที่ประหยดัได้จากการลดลงของ

ความหนาแน่นของรถยนตใ์นเมือง

มลพิษทางอากาศที่ลดลง ปริมาณมลพิษทางอากาศที่จากการลดลงของ

ความหนาแน่นของรถยนตใ์นเมือง

Page 32: CBA STOU 4 April 2015.pptการว เคราะห ต นท นและประโยชน ของโครงการ (Cost-Benefit Analysis: CBA) เรวด จร

ขัน้ที่ 5 คาดการณ์ผลกระทบเชิงปริมาณ

ความยาก

ในการคาดการณ์มกัต้องมี

การกาํหนดข้อสมมติเสมอ

และมกัต้องคาดการณ์จาก

มลูค่าของกรณีอื่น

ในขัน้ตอนนี้ไม่ใช่งานของ

นักเศรษฐศาสตร์

โชคดีสุด คือ ขอมูลที่มีอยูไมสมบูรณ

ถาโชครายสุด คือ ไมมีขอมูลใหวิเคราะหเลย

Page 33: CBA STOU 4 April 2015.pptการว เคราะห ต นท นและประโยชน ของโครงการ (Cost-Benefit Analysis: CBA) เรวด จร

ขัน้ตอนของ CBA

1. การกาํหนดกลุ่มอ้างอิง2. กาํหนดทางเลือกที่จะดาํเนินการที่เป็นเป็นไปได้3. กาํหนดผลกระทบทางกายภาพที่จะเกิดขึน้4. ระบสุิ่งที่จะเกิดขึน้ถ้าไม่มีโครงการดงักล่าว5. คาดการณ์ผลกระทบเชิงปริมาณตลอดช่วงอายโุครงการ

6. แปลงผลกระทบทางกายภาพเป็นมลูค่าตวัเงิน7. คิดลดต้นทนุและประโยชน์ของโครงการให้เป็นมลูค่าปัจจบุนั8. คาํนวณมลูค่าปัจจบุนัสทุธิ (Net Present Value: NPV)9. วิเคราะหค์วามอ่อนไหว (Sensitivity analysis)10. เสนอแนะทางเลือกจากผลของ CBA

ส่วนที่ไม่ใช่งานของนักเศรษฐศาสตร์

งานของนักเศรษฐศาสตร์

ต้องใช้ทมีงานทีม่คีวามรู้เป็นสหวทิยาการ

Page 34: CBA STOU 4 April 2015.pptการว เคราะห ต นท นและประโยชน ของโครงการ (Cost-Benefit Analysis: CBA) เรวด จร

ขั้นที่ 6แปลงผลกระทบทางกายภาพเปนมลูคาเงนิ

Page 35: CBA STOU 4 April 2015.pptการว เคราะห ต นท นและประโยชน ของโครงการ (Cost-Benefit Analysis: CBA) เรวด จร

ขัน้ที่ 6 แปลงผลกระทบทางกายภาพเป็นมลูค่าเงิน

ประเภทของเครื่องมือในการแปลงผลกระทบเป็นมลูค่าเงิน

1. วิธีการใช้มลูค่าตลาดที่เกิดจากการใช้โดยตรง

2. วิธีการวดัความพึงพอใจเปิดเผย (Revealed Preference Method) เช่น

- การวดัต้นทนุพฤติกรรมการหลีกเลี่ยง (Averting Behavior Method)

- การวดัต้นทนุการทดแทน (Replacement Cost Method)

- การวดัต้นทนุการเดินทาง (Travel Cost Method)

3. วิธีการประเมินทางตรง (Stated Preference Method) เช่น

- วิธีการประเมินค่าโดยการสมัภาษณ์ประชาชนโดยตรง (Contingent Valuation Method: CVM)

Page 36: CBA STOU 4 April 2015.pptการว เคราะห ต นท นและประโยชน ของโครงการ (Cost-Benefit Analysis: CBA) เรวด จร

ขั้นที่ 7คิดลดตนทุนและประโยชนของโครงการ

ใหเปนมลูคาปจจบุัน

Page 37: CBA STOU 4 April 2015.pptการว เคราะห ต นท นและประโยชน ของโครงการ (Cost-Benefit Analysis: CBA) เรวด จร

ขัน้ที่ 7 คิดลดต้นทนุ/ประโยชน์ให้เป็นมลูค่าปัจจบุนั

มลูค่าเงินในเวลาที่ต่างกนัมีมลูค่าไม่เท่ากนั

100 110 121

ปีที่ 0 ปีที่ 1 ปีที่ 2

คิดลดเพื่อหามลูค่าปัจจบุนั

สมมติให้การลงทนุมีผลตอบแทนร้อยละ 10 ต่อปี

Page 38: CBA STOU 4 April 2015.pptการว เคราะห ต นท นและประโยชน ของโครงการ (Cost-Benefit Analysis: CBA) เรวด จร

ขัน้ที่ 7 คิดลดต้นทนุ/ประโยชน์ให้เป็นมลูค่าปัจจบุนั

การคิดลดเป็นเทคนิคที่ปรบัค่าต้นทุนและประโยชน์ในช่วงเวลาที่

ต่างกนัให้มาอยู่ในหน่วยวดัที่สามารถเปรียบเทียบกนัได้

ต้นทุน

ประโยชน์

C1 C2 C3 C4 C5 C6 C7 C8

0 0 0 B4 B5 B6 B7 B8

ค่าใช้จ่ายในการลงทุน ค่าใช้จ่ายในการดาํเนินการมลูค่าปัจจบุนั

ของต้นทนุ

มลูค่าปัจจบุนั

ของประโยชน์

Page 39: CBA STOU 4 April 2015.pptการว เคราะห ต นท นและประโยชน ของโครงการ (Cost-Benefit Analysis: CBA) เรวด จร

ความหมายของอตัราคิดลด (Discount rate) มีอยู่ 2 แนวคิด คือ

1) อตัราชดเชยการบริโภคต่างเวลาของสงัคม (Social rate of time preference: SRTP) คือ อตัราเปรียบเทียบความพอใจในการบริโภคของสงัคมในอนาคตกบัการบริโภคในปัจจบุนั

2) อตัราค่าเสียโอกาสของสงัคม (Social opportunity cost rate: SOCR) หมายถึง ต้นทุนค่าเสียโอกาสของสงัคมในการใช้ทรพัยากรเพื่อโครงการนัน้ๆ

ขัน้ที่ 7 คิดลดต้นทนุ/ประโยชน์ให้เป็นมลูค่าปัจจบุนั

Page 40: CBA STOU 4 April 2015.pptการว เคราะห ต นท นและประโยชน ของโครงการ (Cost-Benefit Analysis: CBA) เรวด จร

อตัราคิดลด: อตัราชดเชยการบริโภคต่างเวลาของสงัคม

• สงัคมหนึ่งมีความพอใจ U1 ในการบริโภคสินค้าและบริการมลูค่า 100 บาทในวนันี้

• ถ้าให้สงัคมเลื่อนการบริโภคออกไปอีก 1 ปี ปริมาณสินค้าและบริการที่จะให้สงัคมได้รบัความพอใจ U1 ต้อง > 100 บาท

• สมมติว่าเป็น 110 บาทถึงจะได้ระดบัความพอใจ U1 เท่าเดิม

• เงิน 10 บาทเป็นค่าชดเชยให้สงัคมเลื่อนการบริโภคออกไป 1 ปี

• เงิน 10 บาทนี้เป็นค่าชดเชยให้กบัการรอคอย ไม่ใช่เงินเฟ้อ

• มลูค่าดงักล่าวต่างกนัอยู่รอ้ยละ 10 ดงันัน้อตัราคิดลดของสงัคมจึงเท่ากบัรอ้ยละ 10

Page 41: CBA STOU 4 April 2015.pptการว เคราะห ต นท นและประโยชน ของโครงการ (Cost-Benefit Analysis: CBA) เรวด จร

อตัราคิดลด: ค่าเสียโอกาสของสงัคม

• แนวคิดนี้มีความคิดพืน้ฐานว่า ทรพัยากรมีจาํกดั ไม่เพียงพอกบัความต้องการของคนในสงัคม

• ดงันัน้ การนําทรพัยากรส่วนหนึ่งมาใช้จึงเกิดต้นทุนค่าเสียโอกาสขึน้กบัสงัคม

• ถ้าไม่ทาํโครงการนี้กส็ามารถนําทรพัยากรดงักล่าวไปทาํอีกโครงการหนึ่ง

• อตัราค่าเสียโอกาสของสงัคมจึงควรเท่ากบัอตัราผลตอบแทนจากการลงทุนส่วนเพิ่ม (marginal project) ของโครงการ

Page 42: CBA STOU 4 April 2015.pptการว เคราะห ต นท นและประโยชน ของโครงการ (Cost-Benefit Analysis: CBA) เรวด จร

วิธีกาํหนดอตัราคิดลดของสงัคมในทางปฏิบตัิ

1) อตัราชดเชยของการบริโภคต่างเวลาของสงัคม (SRTP)

• อตัราที่นิยมใช้คือ อตัราดอกเบีย้พนัธบตัรรฐับาลระยะยาว

• การที่คนในสงัคมกลุ่มหนึ่งยอมถือพนัธบตัรฯ ทัง้ๆ ที่ให้ผลตอบแทนตํา่ แสดงว่า

SRTP ของคนกลุ่มนี้ ≤ อตัราผลตอบแทนพนัธบตัรรฐับาลSRTP ของคนกลุ่มนี้ ≤ อตัราผลตอบแทนพนัธบตัรรฐับาล

2) อตัราค่าเสียโอกาสของสงัคม (SOCR)

• อตัราที่นิยมใช้คือ อตัราผลตอบแทนของหน่วยลงทุนสดุท้ายในภาคเอกชนก่อนหกัภาษี หรืออตัราดอกเบีย้เงินกู้ตํา่สดุ (ลกูค้าชัน้ดีที่มีความเสี่ยงตํา่) ที่หกัเงินเฟ้อแล้ว

Page 43: CBA STOU 4 April 2015.pptการว เคราะห ต นท นและประโยชน ของโครงการ (Cost-Benefit Analysis: CBA) เรวด จร

อตัราคิดลดควรเป็นเท่าใด

• อตัราคิดลดไม่ใช่อตัราดอกเบีย้ที่เป็นตวัเงิน (nominal interest rate)

• โครงการรฐัควรใช้อตัราคิดลดที่เท่ากนั เพื่อเปรียบเทียบกนัได้

• งานศึกษาที่เป็นโครงการของรฐัใช้อตัราคิดลดระหว่าง 3% - 8 %

ขัน้ที่ 7 คิดลดต้นทนุ/ประโยชน์ให้เป็นมลูค่าปัจจบุนั

อตัราคิดลด

(r)

ปี (ล้านบาท)

0 1 2 3 4

3% 100.0 97.1 94.3 91.5 88.8

5% 100.0 95.2 90.7 86.4 82.3

8% 100.0 92.6 85.7 79.4 73.5

10% 100.0 90.9 82.6 75.1 68.3

Page 44: CBA STOU 4 April 2015.pptการว เคราะห ต นท นและประโยชน ของโครงการ (Cost-Benefit Analysis: CBA) เรวด จร

ขั้นที่ 8คํานวณมลูคาปจจบุันสุทธ ิ

(Net Present Value: NPV)

Page 45: CBA STOU 4 April 2015.pptการว เคราะห ต นท นและประโยชน ของโครงการ (Cost-Benefit Analysis: CBA) เรวด จร

ขัน้ที่ 8 คาํนวณมลูค่าปัจจบุนัสทุธิ

• ทาํไมต้องคิดลดมลูค่า NPV?

• เราจะเปรียบเทียบต้นทุนบาํบดัของการลงทุนในปีแรก (ปีที่ 0) กบัต้นทนุการบาํรงุรกัษาในระยะยาวได้อย่างไร?

• ปัญหาโลกร้อน ในการลด CO2 ประโยชน์ที่เกิดจากการลดไม่ได้เกิดภายใน 1-2 ปี แต่เกิดขึน้ในระยะยาว

• สมมติมีโครงการ 2 โครงการ โครงการแรกมีประโยชน์สทุธิสงูแต่ให้ผลในอีกหลายปีข้างหน้า โครงการสองให้ประโยชน์สทุธิน้อย แต่ให้ผลในอีกไม่กี่ปีข้างหน้า เราจะเทียบ 2 โครงการนี้อย่างไร

ด้วยการใช้อตัราคิดลด (Discount rate)ด้วยการใช้อตัราคิดลด (Discount rate)

Page 46: CBA STOU 4 April 2015.pptการว เคราะห ต นท นและประโยชน ของโครงการ (Cost-Benefit Analysis: CBA) เรวด จร

มลูค่าปัจจบุนัสทุธิ

มลูค่าปัจจบุนัสทุธิ = มลูค่าปัจจบุนัของประโยชน์สทุธิ - มลูค่าปัจจบุนัของต้นทุนสทุธิ

=

=

ขัน้ที่ 8 คาํนวณมลูค่าปัจจบุนัสทุธิ

n

t

n

tt

tt

t

rC

rB

0 0 )1()1(

n

tttt

rCB

0 )1()(

หลกัการตดัสินใจ เลือกโครงการที่ NPV เป็นบวก หรือ

เลือกโครงการที่มี NPV สงูที่สดุ

Page 47: CBA STOU 4 April 2015.pptการว เคราะห ต นท นและประโยชน ของโครงการ (Cost-Benefit Analysis: CBA) เรวด จร

Cost-Benefit Analysis: หลกัเกณฑใ์นการเลือกโครงการ

1) มลูค่าประโยชน์สทุธิ (Net Present Value: NPV) ถ้า NPV > 0 ยอมรบัโครงการ และถ้า NPV < 0 ปฎิเสธโครงการ

2) อตัราผลตอบแทนภายใน (Internal rate of return: IRR)

คือ อตัราคิดลดที่ทาํให้

NPV

IRR =

NPVถ้า IRR > r เป็นโครงการที่ดี

ถ้า IRR < r เป็นโครงการไม่ดี

r = ค่าเสียโอกาสของทรพัยากร

ที่นํามาใช้ในโครงการ

Page 48: CBA STOU 4 April 2015.pptการว เคราะห ต นท นและประโยชน ของโครงการ (Cost-Benefit Analysis: CBA) เรวด จร

Cost-Benefit Analysis: ปัญหาในการใช้ IRR

ปัญหาที ่1: ความแตกต่างของ IRR ของ 2 โครงการต่างกนั

เมือ่ discount rate เปลีย่นไป ควรเลอืกโครงการ A หรอื B?

ปัญหาที ่1: ความแตกต่างของ IRR ของ 2 โครงการต่างกนั

เมือ่ discount rate เปลีย่นไป ควรเลอืกโครงการ A หรอื B?

NPV

Discount rate

NPVBNPVA

IRRAIRRBIRR0

• IRR > IRR0 เลือกโครงการ A : NPVA> NPVB

• IRR < IRR0 เลือกโครงการ B : NPVB> NPVA

• แล้วจะเลือกโครงการใด?

• IRR > IRR0 เลือกโครงการ A : NPVA> NPVB

• IRR < IRR0 เลือกโครงการ B : NPVB> NPVA

• แล้วจะเลือกโครงการใด?

Page 49: CBA STOU 4 April 2015.pptการว เคราะห ต นท นและประโยชน ของโครงการ (Cost-Benefit Analysis: CBA) เรวด จร

Cost-Benefit Analysis: ปัญหาในการใช้ IRR

ปัญหาที่ 2: เมื่อ IRR มีค่ามากกว่า 1 ค่า ควรใช้ค่าใด?ปัญหาที่ 2: เมื่อ IRR มีค่ามากกว่า 1 ค่า ควรใช้ค่าใด?

0 1 2 3 T

NB0 NB1 NB2 NB3 … NBT

- - + + … -

IRR1IRR2

NPV

Discount rate (r)

โครงการที่ดี: IRR > r โครงการที่ไม่ดี: IRR < r

ตอบไม่ได้: IRR1 < r < IRR2

rr

r

Page 50: CBA STOU 4 April 2015.pptการว เคราะห ต นท นและประโยชน ของโครงการ (Cost-Benefit Analysis: CBA) เรวด จร

Cost-Benefit Analysis: การใช้ B/C ratio

B/C ratio =

ถ้า B/C > 1 เป็นโครงการที่ดี

ถ้า B/C < 1 ปฏิเสธโครงการ

โครงการ Benefit Cost B/C NPV

โครงการ A 100 50 2 50

โครงการ B 200 120 1.67 80

• ถ้าใช้ B/C ratio เลือกโครงการ A แต่โครงการ B ให้ NPV มากกว่า

• ควรจะเลือกโครงการที่ให้ประโยชน์กบัสงัคมสงูกว่า คือ โครงการ B

• ถ้าใช้ B/C ratio เลือกโครงการ A แต่โครงการ B ให้ NPV มากกว่า

• ควรจะเลือกโครงการที่ให้ประโยชน์กบัสงัคมสงูกว่า คือ โครงการ B

Page 51: CBA STOU 4 April 2015.pptการว เคราะห ต นท นและประโยชน ของโครงการ (Cost-Benefit Analysis: CBA) เรวด จร

ขั้นที่ 9วิเคราะหความออนไหว (Sensitivity analysis)

Page 52: CBA STOU 4 April 2015.pptการว เคราะห ต นท นและประโยชน ของโครงการ (Cost-Benefit Analysis: CBA) เรวด จร

หลกัการ

• เพื่อทดสอบความอ่อนไหวของผลการศึกษาเมื่อค่าของตวัแปรที่ใช้ในการวิเคราะหเ์ปลี่ยนไป

• ใช้เมื่อกรณีเราไม่แน่ใจว่าข้อมลูที่มีอยู่มีความแม่นยาํเพียงใด

• เช่น ทดสอบด้วยการแทนค่ากรณีดีที่สดุ (Best case scenario) หรือกรณีเลวร้ายสดุ (Worst case scenario)

ขัน้ที่ 9 วิเคราะหค์วามอ่อนไหว

Page 53: CBA STOU 4 April 2015.pptการว เคราะห ต นท นและประโยชน ของโครงการ (Cost-Benefit Analysis: CBA) เรวด จร

ตวัอย่างโครงการสร้างถนนเลียบเมือง

• ต้องคาดการณ์ปริมาณรถยนตท์ี่จะใช้ถนนเส้นนี้ ต้องมีข้อสมมติว่าจะมีปริมาณรถยนตเ์ท่าใด และเพิ่มเท่าใดในแต่ละปี เช่น ปีแรกเพิ่ม 10% ปีที่ 2 เพิ่ม 15% เป็นต้น

• ต้องคาดการณ์ประโยชน์จากการที่มีจาํนวนอบุตัิเหตลุดลง เพราะสามารถบรรเทาความหนาแน่นของถนนสายหลกั ว่าจะลดจาํนวนอบุตัิเหตไุด้เท่าใดในแต่ละปี

• เราสามารถเปลี่ยนข้อสมมตินี้เพื่อทดสอบว่าผลของ CBA มีความน่าเชื่อถือหรือไม่

ข ัน้ที่ 9 วิเคราะหค์วามอ่อนไหว

Page 54: CBA STOU 4 April 2015.pptการว เคราะห ต นท นและประโยชน ของโครงการ (Cost-Benefit Analysis: CBA) เรวด จร

การเลือกใช้อตัราคิดลด (Discount rate)

ขัน้ที่ 9 วิเคราะหค์วามอ่อนไหว

• การใช้อตัราคิดลดที่แตกต่างกนัมีผลต่อมลูค่าในปัจจบุนั (Present values)

อตัราคิดลด

(r)

ปี (ล้านบาท)

0 1 2 3 4

3% 100.0 97.1 94.3 91.5 88.8

5% 100.0 95.2 90.7 86.4 82.3

8% 100.0 92.6 85.7 79.4 73.5

10% 100.0 90.9 82.6 75.1 68.3

Page 55: CBA STOU 4 April 2015.pptการว เคราะห ต นท นและประโยชน ของโครงการ (Cost-Benefit Analysis: CBA) เรวด จร

ขั้นที่ 10เสนอแนะทางเลอืกจากผลของ CBA

Page 56: CBA STOU 4 April 2015.pptการว เคราะห ต นท นและประโยชน ของโครงการ (Cost-Benefit Analysis: CBA) เรวด จร

ส่วนแรก

• นําเสนอผลการวิเคราะหว์่าโครงการดงักล่าวดี (NPV > 0) หรือไม่ดี(NPV < 0)

ขัน้ที่ 10 เสนอแนะทางเลือกจากผลของ CBA

ส่วนที่ 2

• อภิปรายถึงประเดน็ที่อาจก่อให้เกิดความไม่แน่นอน (uncertainty) ของผลการศึกษา ซึ่งอาจมาจากการขาดข้อมลูบางส่วน

• อภิปรายว่าการวิเคราะหท์างเศรษฐศาสตรไ์ม่ได้ครอบคลมุผลกระทบทกุด้าน แต่ในการตดัสินใจเชิงนโยบายต้องนําผลกระทบเหล่านัน้มาพิจารณาด้วย

• ประเดน็ความเป็นธรรม: ใครได้ประโยชน์ ใครเสียประโยชน์

Page 57: CBA STOU 4 April 2015.pptการว เคราะห ต นท นและประโยชน ของโครงการ (Cost-Benefit Analysis: CBA) เรวด จร

การวเิคราะหตนทุนต่าํสดุ(Cost-Effectiveness Analysis: CEA)

Page 58: CBA STOU 4 April 2015.pptการว เคราะห ต นท นและประโยชน ของโครงการ (Cost-Benefit Analysis: CBA) เรวด จร

• การวิเคราะหต์้นทนุตํา่สดุ (CEA) เป็นทางเลือกในการวิเคราะหก์รณีที่

ทาํ CBA ไม่ได้

• ข้อจาํกดัที่ทาํให้ใช้ CBA ไม่ได้ ได้แก่

• 1. ประโยชน์ของโครงการที่สาํคญับางอย่างไม่สามารถตีออกมาเป็น

มลูค่าได้ เช่น โครงการด้านสขุภาพที่สามารถช่วยชีวิตคนได้ แต่

นักวิจยัไม่อยากจะตีค่าชีวิตคน เป็นต้น

2. การใช้ตวัชี้วดัประสิทธิภาพ (Effectiveness indicator) สามารถเป็น

ตวัแทนประโยชน์ต่อสงัคมที่เกิดขึน้ได้ เพื่อหลีกเลี่ยงการตีค่า

ประโยชน์บางอย่างที่ทาํได้ยาก

การวิเคราะหต์้นทนุตํา่สดุ

Page 59: CBA STOU 4 April 2015.pptการว เคราะห ต นท นและประโยชน ของโครงการ (Cost-Benefit Analysis: CBA) เรวด จร

• CEA เป็นการวดัต้นทนุของทางเลือกต่อประสิทธิภาพ (Effectiveness)

ของทางเลือกนัน้ที่อยู่ในรปูตวัชี้วดัที่เป็นกายภาพ (Physical indicator)

• ต้นทนุวคัซีนโรคอีโบลาต่อคนที่ได้รบัวคัซีน 1 คน

ต้นทนุอนุรกัษ์แหล่งที่อยู่อาศยัของสตัวต์่อการอยู่รอดของช้างป่า 1 ตวั

ต้นทนุในการกาํจดักา๊ซเรือนกระจกต่อ CO2 ที่ลดลง 1 ตนัคารบ์อน

เมื่อ = Cost-effectiveness ratio

= ต้นทนุของทางเลือก i

= ตวัชี้วดัประสิทธิภาพของทางเลือก i

การวิเคราะหต์้นทนุตํา่สดุ

Page 60: CBA STOU 4 April 2015.pptการว เคราะห ต นท นและประโยชน ของโครงการ (Cost-Benefit Analysis: CBA) เรวด จร

• CE ratio คือต้นทนุเฉลี่ยต่อหน่วยประสิทธิภาพของทางเลือกนัน้

• ทางเลือกที่เหมาะสมที่สดุ คือ ทางเลือกที่มีต้นทุนต่อหน่วย

ประสิทธิภาพตํา่สดุ

• ข้อเสนอแนะในการดาํเนินโครงการกค็วรจะเรียงจากโครงการที่มี

CE ratio ตํา่สดุไปหาโครงการที่มี CE ratio สงูสดุ

• ส่วนใหญ่ต้นทนุและตวัชี้วดัประสิทธิภาพจะมีค่าเป็นบวก

• ในบางกรณีที่ทางเลือกใหม่ก่อให้เกิดการประหยดัต้นทุนทาํให้ต้นทุน

ของสถานการณ์ปัจจบุนั (status quo) ลดลง

การวิเคราะหต์้นทนุตํา่สดุ

Page 61: CBA STOU 4 April 2015.pptการว เคราะห ต นท นและประโยชน ของโครงการ (Cost-Benefit Analysis: CBA) เรวด จร

• เช่น การออกกฎให้ใส่หมวกกนัน๊อคทาํให้ต้นทุนอบุตัิเหตลุดลง (ทาํให้คนเสียชีวิตลดลง) ต้นทนุของรฐัลดลง (ประหยดังบประมาณที่ใช้อดุหนุนโรงพยาบาล) สถานการณ์เช่นนี้ CE ratio กจ็ะติดลบ

• สถานการณ์ที่ CE ratio มีค่าเป็นลบกค็วรเรียบลาํดบัโครงการจากที่ติดลบน้อยที่สดุไปหาโครงการที่ติดลบมากที่สดุ

• การคาํนวณต้นทนุควรจะคาํนวณต้นทุนของสงัคม

• เช่น การวิเคราะหท์างเลือกในการรกัษาโรค ต้นทนุจะประกอบด้วย ต้นทนุค่ารกัษาพยาบาล (ค่ายา ค่าบคุลากรทางการแพทย ์ค่าเครื่องมืออปุกรณ์ทางการแพทย ์ฯลฯ)

การวิเคราะหต์้นทนุตํา่สดุ

Page 62: CBA STOU 4 April 2015.pptการว เคราะห ต นท นและประโยชน ของโครงการ (Cost-Benefit Analysis: CBA) เรวด จร

• เช่น ทางเลือกในการรกัษาที่ 1 อาจมีต้นทนุค่ายาแพงกว่าแต่ลดเวลาที่แพทยจ์ะไปดแูล

• ทางเลือกในการรกัษาที่ 2 เวลาที่แพทยจ์ะไปดแูลมากกว่าทางเลือกที่ 1 แต่ค่ายาถกูกว่า

• ทางเลือกที่ 1 มีต้นทนุค่ายาสงูกว่าทางเลือกที่ 2 แต่ทางเลือกที่ 2 มีต้นทนุค่าเสียโอกาสของแพทยส์งูกว่าทางเลือกที่ 1

• ลกัษณะเหล่านี้มีผลต่อการคาํนวณต้นทุนในแต่ละทางเลือก

• แม้ว่าเราควรรวมต้นทนุทางสงัคมทัง้หมด (รวมต้นทนุค่าเสียโอกาส) แต่ถ้ามีต้นทนุบางอย่างที่มีค่าเท่ากนัในทุกทางเลือก เราไม่จาํเป็นต้องรวมต้นทนุดงักล่าว เพราะไม่มีผลต่อการจดัอนัดบัทางเลือกต่างๆ

การวิเคราะหต์้นทนุตํา่สดุ

Page 63: CBA STOU 4 April 2015.pptการว เคราะห ต นท นและประโยชน ของโครงการ (Cost-Benefit Analysis: CBA) เรวด จร

การวิเคราะหต์้นทนุตํา่สดุ

• สมมติว่าแหล่งนํ้าที่ผลิตนํ้าประปาเกิดปนเปื้อนสารเคมี และต้องเปลี่ยนไปหาแหล่งนํ้าใหม่ มีทางเลือกคือ

1) ขดุหานํ้าบาดาลแหล่งใหม่

2) หาทางเชื่อมต่อแหล่งนํ้าจากจงัหวดัใกล้เคียง

3) ขดุอ่างเกบ็นํ้าแหล่งใหม่

• ใช้ CEA ในการตอบคาํถามว่า “ทางเลือกใดมีต้นทนุตํา่สดุ” หรืออาจพดูว่าเราจะคาํนวณหา “ต้นทนุการหาแหล่งนํ้า ต่อนํ้า 1 ลิตร”

Page 64: CBA STOU 4 April 2015.pptการว เคราะห ต นท นและประโยชน ของโครงการ (Cost-Benefit Analysis: CBA) เรวด จร

การวิเคราะหต์้นทนุตํา่สดุ

ตนทุนและตัวชี้วัดประสิทธภิาพ

ทางเลือกA B C

ตนทุน (ลานบาท) 10 10 10ตัวชี้วัดประสิทธิภาพ (จํานวนผูรอดชีวิต: คน)

5 10 15

CE ratio (ตนทุนตอราย) 2 ลานบาท 1 ลานบาท 0.67 ลานบาท

กรณีมีงบประมาณจาํกดั (ตนทนุแตละทางเลอืกเทากนั)

กรณีมีผลลพัธทีไ่ดของแตละทางเลอืกเทากนัหมด (ตัวชี้วดัประสิทธภิาพเทากนัทุกทางเลอืก)

ตนทุนและตัวชี้วัดประสิทธภิาพ

ทางเลือกA B C

ตนทุน (ลานบาท) 5 10 15ตัวชี้วัดประสิทธิภาพ (จํานวนผูรอดชีวิต: คน)

10 10 10

CE ratio (ตนทุนตอราย) 0.5 ลานบาท 1 ลานบาท 1.5 ลานบาท

Page 65: CBA STOU 4 April 2015.pptการว เคราะห ต นท นและประโยชน ของโครงการ (Cost-Benefit Analysis: CBA) เรวด จร

บทส่งท้าย

• การวิเคราะหท์างเศรษฐศาสตรไ์ม่สามารถตอบคาํถามทัง้หมดได้

• ผลของ CBA เป็นเพียงเครื่องมือหนึ่งในการตดัสินใจในเชิงนโยบาย

• นักเศรษฐศาสตรท์าํหน้าที่ให้ข้อมลูกบัผูต้ดัสินใจในเชิงนโยบาย

Page 66: CBA STOU 4 April 2015.pptการว เคราะห ต นท นและประโยชน ของโครงการ (Cost-Benefit Analysis: CBA) เรวด จร

© 2007 Your company name