ch01 lecture

30
บทที1 ลักษณะโดยทั่วไปของการบัญชี (Introduction) หัวขอเรื่อง ประวัติของการบัญชี กิจกรรมทางธุรกิจ บทบาทของการบัญชี ความหมายของการบัญชี กระบวนการบัญชี นักบัญชีและผูทําบัญชี ผู ใชและประโยชนของขอมูลทางการบัญชี ประเภทของการบัญชี หนาที่ของงานบัญชีในองคการ ขอแตกตางระหวางบัญชีการเงินและบัญชีบริหาร ประเภทของธุรกิจ รูปแบบของธุรกิจ แมบทการบัญชีและหลักการบัญชี งบการเงิน

Upload: paka10011

Post on 20-Jun-2015

158 views

Category:

Education


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: Ch01 lecture

บทที่ 1ลักษณะโดยท่ัวไปของการบัญชี

(Introduction)

หัวขอเร่ือง

• ประวัติของการบัญชี• กิจกรรมทางธุรกิจ• บทบาทของการบัญชี• ความหมายของการบัญชี• กระบวนการบัญชี• นักบัญชีและผูทํ าบัญชี• ผูใชและประโยชนของขอมูลทางการบัญชี• ประเภทของการบัญชี• หนาที่ของงานบัญชีในองคการ• ขอแตกตางระหวางบัญชีการเงินและบัญชีบริหาร• ประเภทของธุรกิจ• รูปแบบของธุรกิจ• แมบทการบัญชีและหลักการบัญชี• งบการเงิน

Page 2: Ch01 lecture

1-2

ประวัติของการบัญชียคุอุตสาหกรรม (Industrial age) เริม่ข้ึนในศตวรรษที่

19 เปนตนมา บริษัทขนาดใหญ เกิดข้ึนเปนจํ านวนมาก การดํ าเนินงานเริ่มที่จะแยกความเปนเจาของออกจากฝายบริหาร จึงทํ าใหความตองการในการจัดทํ ารายงานสถานะของธุรกิจมีความสํ าคัญมากข้ึน ทั้งนี้เพ่ือสรางความมั่นใจวาผูบริหารไดดํ าเนินกิจกรรมตามวัตถุประสงคของเจาของ

ยคุของขาวสารขอมูล (Information age) �ผลิตภัณฑ� คือการใหบริการทางดานขอมูล คอมพิวเตอรในฐานะที่เปนอุปกรณในการจัดการขอมูลจึงเปนส่ิงสํ าคัญสํ าหรับโลกยุคขอมูลขาวสารน้ี

Page 3: Ch01 lecture

1-3กิจกรรมทางธุรกิจ

กิจกรรมของธุรกิจวามี 4 ประการหลักดวยกันคือ

• การกํ าหนดวัตถุประสงคและกลยุทธ• การจัดหาแหลงเงินทุน• การลงทุน• การดํ าเนินงาน

การกํ าหนดวัตถุประสงคและกลยุทธ (Establishing corporate goals and strategies) วัตถุประสงค (Goals) ของธุรกิจหมายถึงเปาหมายหรือผลลัพธที่ตองการเมื่อดํ าเนินงานตามแผนกลยุทธ กลยุทธ (Strategies) ของธุรกิจหมายถึงแผนที่กํ าหนดข้ึนเพ่ือใหบรรลุวัตถุประสงคที่ต้ังไว

การจัดหาแหลงเงินทุน (Obtaining financing) กอนที่กิจการจะดํ าเนินงานไดนั้น กิจการจะตองมีเงินทุนในการดํ าเนินงานเสียกอน กิจกรรมจัดหาทุนจึงเก่ียวของกับการไดรับเงินทนุจากแหลงใหญ 2 แหลงคือเจาของและเจาหนี้

การตัดสินใจลงทุน (Making investments) เมื่อกิจการไดรับเงินทุนมาแลวก็ตองตัดสินใจลงทุนเพ่ือใหกิจกรรมทางธุรกิจสามารถดํ าเนินงานไปได

Page 4: Ch01 lecture

1-4การดํ าเนินงาน (Carry out operations) เมื่อกิจการได

รบัเงินทุนก็จะนํ าเงินไปลงทุนซื้อทรัพยากรตาง ๆ เพ่ือใชในการดํ าเนินงานและสรางกํ าไรใหกับกิจการ

บทบาทของการบัญชี

การบัญชีเปนงานบริการอยางหนึ่ง มีหนาที่ใหขอมูลเปนตัวเลขทางการเงินเก่ียวกับกิจการ โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือใชในการตัดสินใจทางเศรษฐกิจ

ความหมายของการบัญชี

สมาคมนักบัญชีและผู ตรวจสอบบัญชีรับอนุญาตแหงประเทศสหรัฐอเมริกา ไดใหคํ าจํ ากัดความของคํ าวา การบัญชีไวดังนี้

�การบัญชีหมายถึง การจดบันทึก การจํ าแนก การสรุปผลและรายงานเหตุการณตาง ๆ เก่ียวกับการเงิน โดยใชหนวยเปนเงินตรา รวมทั้งการแปลความหมายของผลการปฏิบัติงานดวย�

สมาคมนักบัญชีและผู สอบบัญชีรับอนุญาตแหงประเทศไทย ไดใหคํ านิยามของ การบัญชี ไววา

�การบัญชี หมายถึง ศิลปะของการเก็บรวบรวม บันทึก จํ าแนก และทํ าสรุปขอมูลอันเก่ียวกับเหตุการณทางเศรษฐกิจใน

Page 5: Ch01 lecture

1-5รปูตัวเงิน ผลงานช้ินสุดทายของการบัญชีก็คือ การใหขอมูลทางการเงิน ซึ่งเปนประโยชนแกบุคคลหลายฝาย และผูที่สนใจในกิจกรรมของกิจการ�

กระบวนการบัญชี

• การรวบรวมขอมูล (Data gathering)• จดบันทึก (Recording)• สรุป (Summarizing)• ส่ือสาร (Communicating)

ผูใชและประโยชนของขอมูลทางการบัญชี

ผูใชขอมูลทางการบัญชีจะแบงออกเปน 2 ประเภทคือ

• บคุคลภายในกิจการ (Internal Users) ไดแก ผูบริหารหรือฝายจัดการ

• บคุคลภายนอกกิจการ (External Users)! ผูถือหุนหรือผูที่สนใจจะลงทุน! ผูขายสินคาหรือเจาหนี้อื่น! สถาบันการเงินหรือบุคคลที่ใหกิจการกูยืม! ลูกคา! หนวยงานรัฐบาล

Page 6: Ch01 lecture

1-6! สาธารณชน ! ลูกจาง

ประเภทของการบัญชี

การบัญชีสามารถแยกเปน 2 ประเภทใหญ คือ1. การบัญชีของสวนรวม (Macro Accounting) หมาย

ถงึ ระบบบัญชีที่จัดทํ าข้ึนเพ่ือบันทึก รวบรวม วิเคราะหและตีความขอมูลที่เก่ียวของกับระบบเศรษฐกิจของชาติเปนสวนรวม ซึ่งนักเศรษฐศาสตรจะมีหนาที่จัดทํ าการบัญชีของสวนรวม

2. การบัญชีของสวนยอย (Micro Accounting) หมายถงึ ระบบการบัญชีที่จัดทํ าข้ึนเพ่ือบันทึก รวบรวม วิเคราะหและตีความขอมูลเชิงเศรษฐกิจของแตละหนวยงาน หรือแตละบุคคล

หนาท่ีของงานบัญชีในองคการ

! การบัญชีการเงิน (Financial Accounting) เก่ียวของกับข้ันตอนและหลักปฏิบัติที่นํ ามาใชในการบันทึกบัญชี ผูรับผิดชอบเรียกวา นักบัญชีการเงิน (Financial Accountants) มีหนาที่จัดทํ ารายงานทางการเงินเสนอแกบุคคลภายนอกกิจการ รายงานที่จัดทํ าตองเปนไปตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไป

Page 7: Ch01 lecture

1-7! การบัญชีบริหาร (Managerial Accounting) เนนการนํ าเสนอขอมูลเพ่ือการตัดสินใจแกบุคลากรภายในหนวยงาน ดังนั้นจึงไมจํ าเปนตองทํ าตามรูปแบบหรือกฎเกณฑตายตัวเหมือนการบัญชีการเงิน

! การตรวจสอบภายใน (Internal Auditing) เปนหนาที่ของผูตรวจสอบบัญชีภายใน (Internal Auditor) ที่จะทํ าหนาที่สอบทานการปฏิบัติงานของฝายตาง ๆ เพ่ือใหแนใจวาปฏิบัติงานของแผนกตาง ๆ บรรลุเปาหมายและตรงตามวัตถุประสงคขององคการ

! การบัญชีภาษีอากร (Tax Accounting) จะมีผูเช่ียวชาญดานภาษี (Tax Specialists) ทํ าหนาที่ดูแลและบริหารงานดานภาษีอากรที่กิจการจะตองชํ าระใหเปนไปดวยความถูกตองและเหมาะสม

Page 8: Ch01 lecture

1-8ขอแตกตางระหวางการบัญชีการเงินและการบัญชีบริหาร

การบัญชีการเงิน การบัญชีบริหารการนํ าเสนอขอมูล " รายงานเสนอตอ

บุคคลภายนอกองคการ

" รายงานเสนอตอบุคคลภายในองคการ

ระยะเวลา " อดีต � ขอมูลทางก า ร เ งิ น ข อ ง กิ จกรรมท่ีผานมาแลว

" ป จ จุบันและอนาคต เนนการตัดสินใจที่จะมีผลตออนาคต

ลักษณะของรายงาน

" จัดทํ ารายงานทางการเงินของท้ังองคการ

" จัดทํ ารายงานทางการเงินแยกตามสวนงาน

ความถี่และความทันตอเวลาของรายงาน

" รายงานทางการเงินตามปกติเผยแพรทุกเดือน ทุกไตรมาสหรือทุกป

" รายงานทางการเงินมีความถี่มากกวา เชน ทุกสัปดาห และมีความทันตอเวลามากกวา

ระดับความถูกตองของขอมูล

" ตองการขอมูลท่ีมีความถูกตองสูงมีความเ ท่ียงธรรมและพิสูจนได

" ตองการขอมูลท่ีมีความถูกตองเทาท่ีมีเหตุผลอธิบายได

มาตรฐานการจัดทํ ารายงาน

" ปฏิ บั ติ ต ามหลั กการบัญชีท่ีรับรองท่ัวไป

" ไม จํ าเป นต องปฏิบัติตามหลักการบัญชีท่ีรับรองท่ัวไป

Page 9: Ch01 lecture

1-9ประเภทของธุรกิจ

ประเภทของธุรกิจสามารถแบงตามลักษณะของกิจกรรม ได 3 ประเภทใหญ ๆ คือ

1. ธรุกิจบริการ (Service Business)2. ธรุกิจพาณิชยกรรม (Merchandising Business)3. ธรุกิจอุตสาหกรรม (Manufacturing Business)

รูปแบบของธุรกิจ

การบันทึกรายการทางบัญชีจะแตกตางกันไปตามประเภทของธุรกิจ ไมวาธุรกิจจะมีลักษณะของการประกอบเปนแบบใด เชน ใหบริการหรือจํ าหนายสินคา ธุรกิจนั้นสามารถดํ าเนินการโดยต้ังองคการในรูปแบบที่มีลักษณะแตกตางตามประเภทของการเปนเจาของ (By ownership) ซึ่งจํ าแนกได 3 ประเภท คือ

1. เจาของคนเดียว (Single Proprietorship)2. หางหุนสวน (Partnership)3. บริษัทจํ ากัด (Corporation)

แมบทการบัญชีและหลักการบัญชี

แมบทการบัญชี (Accounting Framework) เปนหลักเกณฑสํ าคัญในการจัดทํ าและนํ าเสนองบการเงินซึ่งผูใชงบการเงินควรรับทราบและเขาใจเหตุผลในการจดบันทึกรายการตาง

Page 10: Ch01 lecture

1-10ๆ ทางการบัญชีและในการเสนอขอมูลเหลานั้นในรูปของงบการเงิน

ขอมูลทางการบัญชีที่นํ าเสนอตอบุคคลภายนอก และผูบรหิารของกิจการจะตองเปน รายงานที่เช่ือถือไดและเปนธรรมตอทุกฝาย ดังนั้นนักบัญชีจึงตองจัดทํ างบการเงินตาม �หลักการบญัชีที่รับรองทั่วไป (Generally Accepted Accounting Principles หรือ GAAP)� ซึง่หมายถึงแนวทางที่ไดรับการรับรองและยอมรับเปนสวนใหญจากผูมีอํ านาจหนาที่ในวิชาชีพการบัญชี เพ่ือใหนักบัญชีใชยึดถือเปนหลักปฏิบัติในการรวบรวม จดบันทึก จํ าแนก สรุปผลและจัดงบการเงินอยางมีหลักเกณฑ มีมาตรฐานโดยกระทํ าข้ึนอยางสมํ่ าเสมอและสามารถเขาใจไดงาย

แมบทการบัญชีไดอธิบายเก่ียวของกับเรื่องตาง ๆ ดังนี้• วัตถุประสงคของงบการเงิน• ลักษณะเชิงคุณภาพที่กํ าหนดวาขอมูลในงบการเงินมีประโยชน

• องคประกอบและการวัดมูลคาของงบการเงิน• แนวความคิดเก่ียวกับทุนและการรักษาระดับทุน

Page 11: Ch01 lecture

1-11วัตถุประสงคของงบการเงิน

งบการเงินจัดทํ าข้ึนโดยมีวัตถุประสงคเพ่ือใหขอมูลเก่ียวกับฐานะการเงิน ผลการดํ าเนินงาน และการเปลี่ยนแปลงฐานะการเงินของกิจการ ขอมูลในงบการเงินจะเปนประโยชนตอผูใชงบการเงินทั้งภายในและภายนอกกิจการเนื่องจากจะนํ าไปใชในการตัดสินใจทางเศรษฐกิจ

ขอสมมติ

เกณฑคงคาง

หลักเงินคางเปนวิธีการบัญชีที่ใชหลักในการปนสวนรายไดและคาใชจายใหอยูในงวดบัญชีนั้น ๆ เพ่ือใหแสดงผลการดํ าเนินงานของแตละงวดอยางเหมาะสม โดยไมตองคํ านึงวารายรับนั้นไดเงินสดมาแลวหรือยัง และคาใชจายไดจายเปนเงินสดไปแลวหรือยัง

การดํ าเนินงานตอเน่ืองกิจการที่จัดต้ึงข้ึนมายอมมีวัตถุประสงคที่จะดํ าเนินงานอยู

ตอไปโดยไมมีกํ าหนดเวลาลมเลิก กิจการที่ต้ังข้ึนมายอมจะดํ าเนินงานตอเนื่องกันไปอยางนอยก็นานพอที่จะดํ าเนินงานตามแผน และขอผูกพันที่ทํ าไวจนสํ าเร็จ นักบัญชีจึงมีขอสมมุติวา กิจการไมต้ังใจที่จะเลิกดํ าเนินงาน

Page 12: Ch01 lecture

1-12ลักษณะเชิงคุณภาพของงบการเงิน

หมายถึงลักษณะที่ทํ าใหขอมูลในงบการเงินมีประโยชนตอผูใชงบการเงิน มี 4 ประการคือ เขาใจได เก่ียวของกับการตัดสินใจ เช่ือถอืไดและเปรียบเทียบกันได

เขาใจไดขัอมูลในงบการเงินตองสามารถเขาใจไดทันทีที่ผูใชงบการ

เงินใชขอมูล

เกีย่วของกับการตัดสินใจขอมลูที่มีประโยชนตอการตัดสินใจของผูใชงบ จะตองเปน

ขอมูลที่ช วยใหผู ใช งบสามารถประเมินเหตุการณในอดีต ปจจุบันและอนาคต

เชื่อถือไดขอมูลที่เปนประโยชนตองเช่ือถือได ขอมูลจะมีคุณสมบัติ

ของความเชื่อถือไดเมื่อปราศจากความผิดพลาดที่มีนัยสํ าคัญและความลํ าเอียง และผูใชขอมูลสามารถเชื่อถือไดวาขอมูลนั้นเปนตัวแทนอันเที่ยงธรรมของขอมูลที่ตองการใหแสดง

Page 13: Ch01 lecture

1-13ลักษณะของขอมูลที่เช่ือถือได คือ เปนตัวแทนอันเที่ยง

ธรรม เนื้อหาสํ าคัญกวารูปแบบ มีความเปนกลาง มีความระมดัระวังและมีความครบถวน

∗ การเปนตัวแทนอันเที่ยงธรรมงบดุลควรแสดงรายการและเหตุการณทางบัญชีที่เข า

เกณฑการรับรูใหเปนสินทรัพย หนี้สิน และสวนของเจาของ ณ วันที่รายงาน

∗ เน้ือหาสํ าคัญกวารูปแบบขอมูลนั้นตองบันทึกและแสดงตามเนื้อหาและความจริงเชิง

เศรษฐกิจ มใิชตามรูปแบบทางกฎหมายเพียงอยางเดียว เนื้อหาของรายการและเหตุการณทางบัญชีอาจไมตรงกับรูปแบบทางกฏหมายหรือรูปแบบที่ทํ าข้ึน

∗ ความเปนกลาง

ขอมูลมีความนาเช่ือถือเมื่อขอมูลที่แสดงอยูในงบการเงินมีความเปนกลางหรือปราศจากความลํ าเอียง งบการเงินจะขาดความเปนกลางหากการเลือกหรือการแสดงขอมูลในงบการเงินนั้นมีผลทํ าใหผูใชงบการเงินตัดสินใจหรือใชดุลพินิจตามที่กิจการตองการ

Page 14: Ch01 lecture

1-14∗ ความระมัดระวังการดํ าเนินธุรกิจมักมีความไมแนนอนเกิดข้ึนเสมอ การจัด

ทํ างบการเงินจึงจํ าเปนตองใชความระมัดระวัง รับรูเรื่องความไมแนนอนนี้ไวดวย

∗ ความครบถวนขอมูลในงบการเงินที่เช่ือถือไดตองครบถวนภายใตขอ

จํ ากัดของความมีนัยสํ าคัญและตนทุนการจัดทํ ารายการ

เปรยีบเทียบกันไดผูใชงบการเงินตองสามารถเปรียบเทียบงบการเงินของกิจ

การในรอบระยะเวลาตางกันเพ่ือคาดะเนถึงแนวโนมของฐานะการเงินและผลการดํ าเนินงานของกิจการนั้น

ขอจํ ากัดสํ าหรับขอมูลที่มีความเกี่ยวของกับการตัดสินใจและความเชื่อถือได

ทนัตอเวลาการรายงานขอมูลลาชาอาจทํ าใหขอมูลสูญเสียความเก่ียว

ของกับการตัดสินใจ ฝายบริหารตองพิจารณาเปรียบเทียบระหวางประโยชนที่ไดรับจากการรายงานที่ทันตอเวลากับความเช่ือถือไดของรายงาน

Page 15: Ch01 lecture

1-15ความสมดุลระหวางประโยชนที่ไดรับกับตนทุนที่เสียไปนักบัญชีตองใชดุลยพินิจในการพิจารณาระหวางประโยชน

ทีไ่ดรับกับตนทุนที่เสียไปในการจัดหาขอมูลนั้นความสมดุลของลักษณะเชิงคุณภาพผูจัดทํ างบการเงินตองหาความสมดุลของลักษณะเชิงคุณ

ภาพตาง ๆ นักบัญชีจึงตองใชดุลยพินิจในการตัดสินใจการแสดงขอมูลที่ถูกตองตามควรการนํ าลักษณะเชิงคุณภาพและมาตรฐานการบัญชีที่เหมาะ

สมมาใชปฏิบัติจะสงผลใหงบการเงินแสดงขอมูลที่ถูกตองและยติุธรรม หรืออีกนัยหนึ่ง งบการเงินนั้นใหขอมูลที่ถูกตองตามควรนั่นเอง

องคประกอบของงบการเงิน

องคประกอบซึ่งเก่ียวของกับการวัดฐานะการเงินในงบดุล ไดแก สินทรัพย หนี้สินและสวนของเจาของ องคประกอบซึ่งเก่ียวของกับการวัดผลการดํ าเนินงานในงบกํ าไรขาดทุนไดแก รายไดและคาใชจาย

ฐานะการเงิน องคประกอบที่เก่ียวของโดยตรงกับการวัดฐานะการเงินไดแก สินทรัพย หนี้สินและสวนของเจาของ

Page 16: Ch01 lecture

1-16∗ สนิทรัพย หมายถึง ทรัพยากรที่อยูในการควบคุมของกิจการ ทรัพยากรดังกลาวเปนผลของเหตุการณในอดีตซึ่งกิจการคาดวาจะไดรับประโยชนจากทรัพยากรนั้นในอนาคต

∗ หน้ีสิน หมายถึง ภาระผูกพันในปจจุบันของกิจการ ซึ่งเปนผลของเหตุการณในอดีตซึ่งภาระผูกพันนี้จะสงผลใหกิจการสูญเสียทรัพยากรในอนาคต

∗ สวนของเจาของ หมายถึง สวนไดเสียคงเหลือในสินทรพัยของกิจการหลังจากหักหนี้สินทั้งหมดออกแลว

ผลการดํ าเนินงาน องคประกอบที่เก่ียวของโดยตรงกับการวัดผลการดํ าเนินงานไดแก รายไดและคาใชจาย คํ านิยามขององคประกอบตาง ๆ มีดังนี้

∗ รายได หมายถึง การเพ่ิมข้ึนของประโยชนเชิงเศรษฐกิจในรอบระยะเวลาบัญชีในรูปกระแสเขาหรือการเพ่ิมคาของสินทรัพยหรือการลดลงของหนี้สิน ซึ่งมีผลใหสวนของเจาของเพ่ิมข้ึน

∗ คาใชจาย หมายถึง การลดลงของประโยชนเชิงเศรษฐกิจในรอบระยะเวลาบัญชีในรูปกระแสออกหรือการลดคาของสินทรัพย

Page 17: Ch01 lecture

1-17การรบัรูองคประกอบของงบการเงิน

การรับรูรายการ หมายถึง การรวมรายการเขาเปนสวนหนึ่งของงบดุลและงบกํ าไรขาดทุนดวยตัวอักษรและจํ านวนเงิน การรบัรูสินทรัพย หนี้สิน รายไดและคาใชจายจะเกิดข้ึนเมื่อเขาเง่ือนไขทุกขอ ดังตอไปนี้1. มีความเปนไปไดคอนขางแนที่ประโยชนเชิงเศรษฐกิจในอนาคตของรายการดังกลาวจะเขาหรือออกจากกิจการ

2. รายการดังกลาวมีราคาทุนหรือมูลคาที่สามารถวัดไดอยางนาเชื่อถือ

การวัดมูลคาองคประกอบของงบการเงิน

การวัดมูลคา คือ การกํ าหนดจํ านวนที่เปนตัวเงินเพ่ือรับรูองคประกอบของงบการเงินในงบดุลและงบกํ าไรขาดทุน เกณฑที่ใชวัดคาตางๆ มีดังนี้

1. ราคาทุนเดิม หมายถึง การบันทึกสินทรัพยดวยจํ านวนเงินสดหรือรายการเทียบเทาเงินสดที่จายไปหรือบันทึกดวยมูลคายุติธรรมของสิ่งที่นํ าไปแลกสินทรพัย ณ เวลาที่ไดสินทรัพยนั้น และการบันทึกหนี้สินดวยจํ านวนเงินที่ไดรับจากการกอภาระผูกพัน

Page 18: Ch01 lecture

1-182. ราคาทุนปจจุบัน หมายถึงการแสดงสินทรัพยดวยจํ านวนเงินสดหรือรายการเทียบเทาเงินสดที่ตองจายในขณะนั้นเพ่ือใหไดมาซึ่งสินทรัพยชนิดเดียวกันหรือสินทรัพยที่เทาเทียมกัน และการแสดงหนี้สินดวยจํ านวนเงินสดหรือรายการเทียบเทาเงินสดที่ตองใชชํ าระภาระผูกพันในขณะนั้น

3. มูลคาที่จะไดรับ หมายถึงการแสดงสินทรัพยดวยจํ านวนเงินสดหรือรายการเทียบเทาเงินสดที่อาจไดมาในขณะนั้นการแสดงหนี้สินดวยมูลคาที่ตองจายคืน

4. มูลคาปจจุบัน หมายถึงการแสดงสินทรัพยดวยมูลคาปจจุบันของกระแสเงินสดรับสุทธิในอนาคตแสดงหนี้สินดวยมูลคาปจจุบันของกระแสเงินสดจายสุทธิ

แนวคิดเกี่ยวกับทุนและการรักษาระดับทุนแนวคิดเกี่ยวกับทุน แนวคิดทางการเงินที่เก่ียวกับทุนมา

ใชในการจัดทํ างบการเงิน แบงออกเปน 2 แนวคิดคือ∗ แนวคิดเก่ียวกับทุนทางการเงินซึ่งรวมถึงเงินที่ลงทุนหรอืสินทรัพยสุทธิหรือสวนของเจาของ

∗ แนวคิดเก่ียวกับทนุทางการผลิต หมายถึงทุนที่อยูในรูปของกํ าลังการผลิตที่สามารถใชในการผลิตหรือที่ใชผลิตจริงและสามารถวัดไดในรูปของผลผลิต

Page 19: Ch01 lecture

1-19งบการเงิน

งบการเงิน (Financial Statements) คือรายงานทางการเงินที่จัดทํ าข้ึนเพ่ือวัดผลการดํ าเนินงานของกิจการภายหลังไดดํ าเนินงานมาเปนระยะเวลาหนึ่ง งบการเงินที่สมบูรณประกอบดวย งบดุล งบกํ าไรขาดทุน งบแสดงการเปลี่ยนแปลงฐานะการเงิน

สวนประกอบของงบการเงิน

งบการเงินที่สมบูรณของกิจการ ประกอบดวย1. งบกํ าไรขาดทุน (Profit and Loss Statement)2. งบดุล (Balance Sheet)3. งบใดงบหนึ่งดังตอไปนี้

3.1 งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของเจาของ หรือ

3.2 งบกํ าไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ (ComprehensiveIncome Statement)

4. งบกระแสเงินสด (Cash Flow Statement)5. หมายเหตุประกอบงบการเงิน

5.1 นโยบายการบัญชี5.2 ขอมูลเพ่ิมเติม

Page 20: Ch01 lecture

1-20งบกํ าไรขาดทุน คืองบการเงินที่แสดงผลการดํ าเนินงาน

สํ าหรับงวดบัญชีหนึ่งวากิจการมีรายไดและคาใชจายจํ านวนเทาใด หากกิจการมีรายไดสูงกวาคาใชจายแสดงวาในงวดบัญชีนั้นมีกํ าไรงบดุล คอืงบการเงินที่แสดงฐานะการเงินของกิจการวา ณ

วันที่ระบุในงบดุลนั้น กิจการมีฐานะการเงินเปนอยางไร มีสินทรพัย หนี้สินและสวนของเจาของเทากับเทาใด

การเปล่ียนแปลงในสวนของเจาของ แสดงได 2 ลักษณะคือ

∗ งบแสดงการเปล่ียนแปลงในสวนของเจาของ∗ งบกํ าไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ

งบกระแสเงินสด คอื งบการเงินที่ใหขอมูลเก่ียวกับการเปล่ียนแปลงที่เกิดข้ึนของเงินสดและรายการที่เทียบเทาเงินสดของกจิการ งบกระแสเงินสดจะแสดงเงินสดที่ไดรับและเงินสดที่จายออกไป ในงวดบัญชีหนึ่งที่เกิดข้ึนจาก 3 กิจกรรม คือ กิจกรรมดํ าเนินงาน กิจกรรมลงทุนและกิจกรรมจัดหาเงิน

หมายเหตุประกอบงบการเงิน คอืการเปดเผยรายการที่ไมไดแสดงอยูในงบการเงินแตเปนขอมูลที่จํ าเปน เพ่ือใหงบการเงินมีความถูกตองตามที่ควร หมายเหตุประกอบงบการเงินตองแสดงขอมูลเก่ียวของกับเกณฑการจัดทํ างบการเงิน

Page 21: Ch01 lecture

ใหขอมูลที่มีประโยชนตอการตัดสินใจในเชิงเศรษฐกิจ

เกณฑคงคาง การดํ าเนินงานตอเนื่อง

ทันตอเวลาความสมดุลระหวางประโยชนที่ไดรับกับตนทุนที่เสียไป ความสมดุลของ

ลักษณะเชิงคุณภาพ

ถูกตองและยุติธรรมหรือถูกตองตาม

เชื่อถือได เปรียบเทียบกันไดเกี่ยวของกับการตัดสินใจ

นัยสํ าคัญ

ความเปนกลาง ความระมัดระวังเนื้อหาสํ าคัญกวารูปแบบตัวแทนอันเที่ยงธรรม ความครบถวน

ลักษณะของงบการเงิน

ภาพที่ 1-1 แมบทการบญัชีสํ าหรับการจัดทํ าและนํ าเสนองบการเงิน 1-20

เขาใจได

วัตถุประสงค

ขอสมมติ

ลักษณะเชิงคุณภาพ

ลักษณะแรก

ขัอจํ ากัด

ลักษณะรอง

Page 22: Ch01 lecture

ตัวอยางของงบการเงิน

งบกํ าไรขาดทุนซึ่งจํ าแนกคาใชจายตามหนาที่แสดงแบบข้ันเดียว (Single step)

บริษัทตัวอยาง จํ ากัดงบกํ าไรขาดทุน

สํ าหรับปส้ินสุด 31 ธันวาคม พ.ศ. 25+2 และ 25+1หมาย 25+2 25+1เหตุ บาท บาท

รายไดจากการดํ าเนินงาน รายไดจากการขาย xx xx รายไดจากการดํ าเนินงานอื่น xx xx รายไดอื่น xx xx รวมรายได xx xxคาใชจายจากการดํ าเนินงาน ตนทุนขาย xx xx คาใชจายในการขายและบริหาร xx xx คาใชจายจากการดํ าเนินงานอื่น xx xx รวมคาใชจาย xx xx

กํ าไร (ขาดทุน) กอนดอกเบี้ยจายและภาษีเงินได xx xx

ดอกเบ้ียจาย (xx) (xx)

Page 23: Ch01 lecture

1-22ภาษีเงินได (xx) (xx)กํ าไร (ขาดทุน) จากกิจกรรมตามปกติ xx xx

รายการพิเศษ-สุทธิจากภาษีเงินได (xx) (xx)กํ าไร (ขาดทุน) สุทธิ xx xx

งบกํ าไรขาดทุนซึ่งจํ าแนกคาใชจายตามหนาที่แสดงแบบหลายข้ัน (Multiple step)

บริษัทตัวอยาง จํ ากัดงบกํ าไรขาดทุน

สํ าหรับปส้ินสุด 31 ธันวาคม พ.ศ. 25+2 และ 25+1หมาย 25+2 25+1เหตุ บาท บาท

รายไดจากการขาย xx xxหัก ตนทุนสินคาขาย xx xxกํ าไรข้ันตน xx xxหัก คาใชจายในการขายและบริหาร xx xxกํ าไร (ขาดทุน) จากการขาย xx xxรายไดจากการดํ าเนินงานอื่น xx xxหัก คาใชจายในการดํ าเนินงานอื่น xx xxกํ าไร (ขาดทุน) จากการดํ าเนินงาน xx xxรายไดอื่น xx xx

Page 24: Ch01 lecture

1-23หัก รายการขาดทุนจากการดอยคาของสินทรัพย xx xxกํ าไร (ขาดทุน) กอนดอกเบ้ียจายและภาษีเงินได xx xxหัก ดอกเบ้ียจาย xx xx ภาษีเงินได xx xxกํ าไร (ขาดทุน) จากกิจกรรมตามปกติ xx xxหัก รายการพิเศษ � สุทธิจากภาษีเงินได xx xxกํ าไร (ขาดทุน) สุทธิ xx xx

บริษัทตัวอยาง จํ ากัดงบแสดงการเปลี่ยนแปลงในสวนของผูถือหุนณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 25+2 (บาท)

ทุนเรือนหุน

สวนเกินมูลคาหุน

สวนเกิน(สวนตํ่ ากวา)ทุนอ่ืน

ผลตางจากการแปลงคางบการเงิน

กํ าไรสะสม

รวม

ยอดคงเหลือ ณ วันที่31 ธค. 25+0 x x x (x) x xผลสะสมจากการแกไขขอผิดพลาด (x) (x)

Page 25: Ch01 lecture

1-24ยอดคงเหลือที่ปรับปรุงแลว x x x (x) x xสวนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย x xสวนตํ่ ากวาทุนจากการดอยคาของเงินลงทุน (x) (x)ผลตางจากการแปลงคางบการเงิน

(x) (x)

รายการที่ยังไมรับรูในงบกํ าไรขาดทุน

(x) (x) (x)

กํ าไรสุทธิประจํ างวด x xเงินปนผลจาย (x) (x)หุนทุนที่ออกจํ าหนาย x x xยอดคงเหลือ ณ 31ธค. 25+1 x x x (x) x xสวนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย x xสวนตํ่ ากวาทุนจากการดอยคาของเงินลงทุน (x) (x)ผลตางจากการแปลงคางบการเงิน (x) (x)รายการที่ยังไมรับรูในงบกํ าไรขาดทุน x (x) x

Page 26: Ch01 lecture

1-25กํ าไรสุทธิประจํ างวด x xเงินปนผลจาย (x) (x)หุนทุนที่ออกจํ าหนาย x x xยอดคงเหลือ ณ 31ธค. 25+2 x x x (x) x x

บริษัทตัวอยาง จํ ากัดงบกํ าไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ

สํ าหรับป ส้ินสุด 31 ธันวาคม 25+2 และ 25+125+2 25+1

รายการที่ไมรับรูในงบกํ าไรขาดทุน บาท บาท สวนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย xx xx สวนตํ่ ากวาจากการดอยคาของเงินลงทุน xx xx ผลตางจากการแปลงคางบการเงิน xx xxรวมรายการที่ไมรับรูในงบกํ าไรขาดทุน xx xxกํ าไร (ขาดทุน) สุทธิสํ าหรับงวด xx xxกํ าไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จกอนปรับปรุง xx xxผลสะสมจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี - xxกํ าไรเบ็ดเสร็จหลังปรับปรุง xx xx

Page 27: Ch01 lecture

1-26บริษัทตัวอยาง จํ ากัด

งบดุลณ วันที่ 31 ธันวาคม 25+2 และ 25+1

หมายเหตุ 25+2 25+1บาท บาท

สินทรัพยสินทรัพยหมุนเวียน xx xx เงินสดและเงินฝากธนาคาร xx Xx เงินลงทุนระยะส้ัน xx xx ลูกหน้ีและตั๋วเงินรับการคา � สุทธิ xx xx เงินใหกูยืมระยะส้ันแกกิจการที่เกี่ยวของกัน xx xx สินทรัพยหมุนเวียนอื่น xx xx รวมสินทรัพยหมุนเวียน xx xxเงินใหกูยืมระยะยาวแกกิจการที่เกี่ยวของกัน xx xxเงินลงทุนระยะยาว xx xxที่ดิน อาคารและอุปกรณ-สุทธิ xx xxสินทรัพยที่ไมมีตัวตน xx xxสินทรัพยอื่น xx xxรวมสินทรัพย xx xx

Page 28: Ch01 lecture

1-27บริษัทตัวอยาง จํ ากัด

งบดุลณ วันที่ 31 ธันวาคม 25+2 และ 25+1

หมายเหตุ 25+2 25+1บาท บาท

หน้ีสินและสวนของผูถือหุนหน้ีสินหมุนเวียน เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูยืมจาก สถาบันการเงิน xx xx เจาหน้ีและตั๋วเงินจายการคา xx xx สวนเกินของเงินกูระยะยาวที่ถึงกํ าหนดชํ าระ ภายในหนึ่งป xx xx เงินกูยืมระยะส้ันจากกิจการที่เกี่ยวของกัน xx xx หน้ีสินหมุนเวียนอื่น xx xx รวมหน้ีสินหมุนเวียน xx xxเงินกูยืมระยะยาวจากกิจการที่เกี่ยวของกัน xx xxเงินกูยืมระยะยาว xx xxหน้ีสินอื่น xx xx รวมหน้ีสิน xx xx

สวนของผูถือหุน ทุนเรือนหุน xx xx สวนเกินมูลคาหุน xx xx

Page 29: Ch01 lecture

1-28 กํ าไรสะสม: xx xx กํ าไรสะสมตนงวด บวก กํ าไรสุทธิ xx xx หัก เงินปนผลจาย (xx) (xx) กํ าไรสะสมปลายงวด xx xx สวนเกินทุนจากการปรับมูลคาทรัพยสินเพิ่ม xx xx รวมสวนของผูถือหุน xx xx

รวมหน้ีสินและสวนของผูถือหุน xx xx

บริษัทตัวอยาง จํ ากัดงบกระแสเงินสด

สํ าหรับปส้ินสุดวันที่ 31 ธันวาคม 25+2 (บาท)กระแสเงินสดจากกิจกรรมดํ าเนินงาน :กํ าไรสุทธิปรับปรุงดวย xxบวก : คาเส่ือมราคา-รถยนต คาเส่ือมราคา- อาคาร เงินเดือนพนักงานคางจายเพิ่ม ตั๋วเงินจายเพิ่มข้ึน

xxxxxxxx

Page 30: Ch01 lecture

1-29(ตอ)

หัก : ลูกหน้ีการคาเพิ่มข้ึน คาประกันภัยจายลวงหนาเพิ่มข้ึน เจาหน้ีการคาลดลง

(xx)(xx)(xx)

เงินสดสุทธิจากกิจกรรมดํ าเนินงาน xxกระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน :ขายท่ีดินซ้ือรถยนตซ้ืออาคารเงินสดสุทธิที่ใชไปในกิจกรรมลงทุน

xx(xx)(xx)

(xx)กระแสเงินสดจากการจัดหาเงิน :ออกหุนสามัญเพิ่มเติมจายเงินปนผลเงินสดสุทธิที่ไดจากกิจกรรมจัดหาเงิน

xx(xx)

xxเงินสดเพิ่มข้ึนสุทธิ xxเงินสด ณ วันตนงวด xxเงินสด ณ วันส้ินงวด xx