ch11 em6 magneticfield - rmutphysics · 3 แม เหล กธรรมดา (หร อแม...

33
1 6. สนามแม่เหล็ก สนามแม่เหล็ก ในหัวข้อที่ผ านมาเราได้ศึกษาเก ยวก บสนามไฟฟ้าสําหรับประจุไฟฟ้าที่ไม เคลื่อนทีแต สําหรับบริเวณรอบๆ ประจุไฟฟ้าที่มีการเคลื่อนที่จะมีสนามแม เหล็กเข้ามา เก ยวข้องด้วย ถ้าให้ แทนสนามแม เหล็ก ทิศของสนามแม เหล็กชี ในทิศ ขั วเหนือดังรูป ซึ ่งแสดง สนามแม เหล็กของแท แม เหล็กโดยใช้เข็มทิศโดยเส้น สนามแม เหล็กจะชี จากขั เหนือไปยังขั วใต้ รูปเข็มของเข็มทิศสามารถใช้ในการหาทิศของสนามแม เหล็ก N S B

Upload: others

Post on 23-Oct-2020

7 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

  • 1

    6. สนามแม่เหลก็สนามแม่เหลก็

    ในหวัขอ้ที่ผา่นมาเราไดศ้ึกษาเกี่ยวกบัสนามไฟฟ้าสาํหรับประจุไฟฟ้าที่ไม่เคลื่อนที่ แต่สาํหรับบริเวณรอบๆ ประจุไฟฟ้าที่มีการเคลื่อนที่จะมีสนามแม่เหล็กเขา้มาเกี่ยวขอ้งดว้ย

    ถา้ให้ แทนสนามแม่เหลก็ทิศของสนามแม่เหล็กชี้ในทิศขั้วเหนือดงัรูป ซึ่งแสดงส น า ม แ ม่ เ ห ล็ ก ข อ ง แ ท่ งแม่เหลก็โดยใชเ้ขม็ทิศโดยเส้นสนามแม่ เหล็กจะ ชี้จากขั้ วเหนือไปยงัขั้วใต้

    รูปเขม็ของเขม็ทิศสามารถใชใ้นการหาทิศของสนามแม่เหลก็

    N S

    B

  • 2

    รูปแสดงการจดัเรียงตวัของสนามแม่เหลก็โดยใชผ้งเหลก็(a) รูปแบบของสนามแม่เหลก็รอบแท่งแม่เหลก็(b) รูปแบบของสนามแม่เหลก็เนื่องจากขั้วแม่เหลก็ต่างชนิดกนั(c) รูปแบบของสนามแม่เหลก็เนื่องจากขั้วแม่เหลก็ชนิดเดียวกนั

    (a) (b) (c)

    N

    N

    N

    SN

    S

  • 3

    แม่เหลก็ธรรมดา (หรือ แม่เหลก็ถาวร)

    • แม่เหลก็ทุกชนิดมีขั้ว 2 ขั้ว ขั้วหนึ่งคือ ขั้วเหนือ อีกขั้วเป็นขั้วใต้

    • แม่เหลก็ขั้วเหมือนกนัเขา้ใกลก้นัมนัจะผลกักนั และขั้วต่างกนัมนัจะดูดกนั

    • แม่เหลก็ไฟฟ้ามีหลกัการพื้นฐานเหมือนกนั เพียงแต่วา่โลหะจะเป็นแม่เหลก็ได้

    กต็่อเมื่อใส่กระแสไฟฟ้าเขา้ไปเท่านั้น

    แม่เหลก็ไฟฟ้า

    แม่เหลก็ไฟฟ้าใชไ้ฟจากแบตเตอรี่เป็นแหล่งจ่ายกระแสไฟฟ้า ถา้เราต่อสายไฟใหค้รบวงจรโดยต่อสายไฟจากขั้วบวกไปที่ขั้วลบโดยตรง อิเลก็ตรอนซึ่งเป็นประจุลบจะเคลื่อนที่จากขั้วลบไปที่ขั้วบวกของแบตเตอรี่

    • อิเลก็ตรอนไหลจากขั้วลบไปที่ขั้วบวกอยา่งรวดเร็ว

    • พลงังานภายในแบตเตอรี่จะหมดอยา่งรวดเร็วดงันั้นไม่ควรต่อสายไฟตรง ควรใชส้วทิซ์

    หรือต่อตวัตา้นทานหรือภาระ (เช่น มอเตอร์ หลอดไฟ วทิย)ุใหก้บัแบตเตอรี่ดว้ย

    • สนามแม่เหลก็จะเกิดขึ้นรอบสายไฟเมื่อมีกระแสไฟฟ้าไหล สนามแม่เหลก็ที่เกิดขี้นนี้จะ

    นาํเราไปสู่ การสร้างแม่เหลก็ไฟฟ้า

  • 4

    แม่เหลก็ เป็นสารประกอบของเหลก็และออกซิเจน เป็นวตัถุที่สามารถดูดสารแม่เหลก็บางชนิดได้

    คุณสมบัตขิองเส้นแรงแม่เหลก็

    1. มีทิศออกจากขั้วเหนือเขา้สู่ขั้วใต้

    2. ถา้มีเส้นแรงแม่เหลก็ปริมาณมาก

    เส้นแรงแม่เหล็กจะรวมกนัหรือตา้น

    กนัออกไป ทาํให้เกิดจุดสะเทินซึ่ง

    เป็นจุดที่มีค่าความเขม้สนามแม่เหลก็

    เป็นศูนย์

    สนามแม่เหลก็ คือบริเวณหรือขอบเขตที่แม่เหลก็ส่งเส้นแรงแม่ เหลก็ที่มีอาํนาจการดึงดูดออกไปไดถ้ึง

    ฟลกัซ์แม่เหลก็ คือ ปริมาณเส้นแรงแม่เหล็ก หรือจาํนวนของเส้นแรงแม่เหลก็

    ความเข้มสนามแม่เหลก็ B หมายถึงจาํนวนเส้นแรงแม่เหลก็ต่อ หน่วยพื้นที่ที่เสน้แรงแม่เหลก็ตกตั้งฉาก

    B = ความเขม้ของสนามแม่เหลก็

    (T หรือ Wb/m2 )

    = ฟลกัซ์แม่เหลก็ (Wb)

    A = พื้นที่ที่ตั้งฉาก (m2) B B A

    B

    B

  • 5

    ต่อสายไฟไว้กับแบตเตอรี่โดยผ่านสวิทซ์หนึ่งอนัดงัรูปวางเข็มทิศไวบ้นสายไฟขณะที่ยงัไม่มีการปิดสวทิซ์ เขม็ทิศจะชี้ไปยงัทิศเหนือตลอดและนิ่งอยู่อย่างนั้น แต่เมื่อเราปิดและเปิดสวิทซ์เป็นจงัหวะเข็มทิศจะสวิงไปมา เพราะกระแสไฟฟ้าทาํให้เกิดสนามแม่เหล็กและผลกัเขม็ทิศออกไปถา้เรากลบัขั้วของแบตเตอรี่และทดลองซํ้ า เขม็ทิศจะถูกผลกัไปอีกดา้นหนึ่ง

    สนามแม่เหลก็ที่เกิดขึ้นรอบเสน้ลวด สนามแม่เหลก็เกิดรอบวงของเส้นลวด

    แม่เหลก็ไฟฟ้าแบบง่ายๆ

    แม่เหลก็ไฟฟ้าเกิดขึ้นไดก้ต็่อเมื่อมีกระแสไฟฟ้าไหลผา่นดงันั้นถา้เกิดไม่มีกระแสไฟฟ้าอาํนาจของสนามแม่เหลก็จะหมดไป

    เพราะวา่สนามแม่เหลก็รอบเส้นลวดเป็นวงกลมและมีทิศตั้งฉากกบัเส้นลวด เราจึงสามารถเพิ่มความเขม้ของสนามแม่เหล็กได้โดยขดเสน้ลวดใหเ้ป็นวง

    ถา้เราเพิ่มขดลวดขึ้นอีกวง สนาม

    แม่เหลก็จะเพิ่มความเขม้ขึ้น ยิง่มีวง

    ขดมากสนามแม่เหลก็ยิง่มากตาม

    สนามแม่เหล็กที่เกิดขึ้น

    เป็นรูปวงกลมล้อมรอบ

    เส้นลวด สนามแม่เหลก็

    จะอ่อนลงเมื่ออยู่ห่างจาก

    เ ส้ น ล วด ทิ ศท า ง ขอ ง

    สนามแม่เหลก็มีทิศทางตั้ง

    ฉากกบัเสน้ลวดเสมอ

  • 6

    เราสามารถใหน้ิยามสนามแม่เหลก็ ที่จุดหนึ่งๆไดใ้นเทอมของแรงแม่เหลก็ ซึ่ง

    สนามกระทาํต่ออนุภาคประจุ q ซึ่งเคลื่อนที่ดว้ยความเร็ว โดยในเวลาเริ่มตน้สมมติวา่

    ไม่มีสนามไฟฟ้าและสนามแรงโนม้ถ่วง

    -• ขนาดของแรงแม่เหลก็ ที่กระทาํต่ออนุภาคเป็นสดัส่วนตรงกบัประจุ q และความเร็ว v ของอนุภาค

    • ขนาดและทิศทางของ ขึ้นอยูก่บัความเร็วของอนุภาคและขนาดและทิศทางของสนามแม่เหลก็

    • เมื่ออนุภาคมีประจุเคลื่อนที่ขนานกบัเวกเตอร์สนามแม่เหลก็แรงแม่เหลก็ที่กระทาํต่ออนุภาคเป็นศูนย์

    • เมื่อเวกเตอร์ความเร็วของอนุภาคทาํมุม กบัสนามแม่เหลก็ แรงแม่เหลก็จะกระทาํในทิศทางที่

    ตั้งฉากกบั และ นัน่คือ จะตั้งฉากกบัระนาบที่เกิดจาก และ

    • แรงแม่เหลก็ที่กระทาํต่อประจุบวกมีทิศตรงขา้มกบัแรงแม่เหลก็ที่กระทาํต่อประจุลบ ซึ่งเคลื่อนที่ใน

    ทิศเดียวกนั

    • ขนาดของแรงแม่เหลก็ที่กระทาํต่ออนุภาคที่เคลื่อนที่เป็นสดัส่วนตรงกบั

    เมื่อ เป็นมุมที่เวกเตอร์ความเร็ว v ของอนุภาคกระทาํต่อทิศของ B

    -

    การทดลองกบัประจุทดสอบที่เคลื่อนที่ในสนามแม่เหลก็ใหผ้ลดงันี้

    BF

    B

    sin

    0

    BF

    BF

    B

    B

    v

    vv B

    BF

  • 7

    ดงันั้น สามารถเขียนแรงแม่เหลก็ไดด้งันี้ BvqF B

    เมื่อทิศของ FBอยูใ่นทิศของ ถา้ q เป็นบวกและและจะมีทิศตรงขา้ม ถา้ q เป็นลบ

    ทิศของ FB จะตั้งฉากกบั v และ B

    Bv

    ใชก้ฎมือขวาหาทิศของ โดยการชี้นิ้วทั้งสี่ของมือขวาไปในทิศของ v แลว้วนไปตามทิศของ B

    ทิศของนิ้วหวัแม่มือคือทิศของ

    Bv

    Bv

    จากสูตร F จะมีค่าเป็นศูนยเ์มื่อ v ขนานกบั B ( = 0o หรือ 180o ) และมีค่าสูงสุดเป็น qvB เมื่อ v ตั้งฉากกบั B ( = 90o )

    รูป (a) กฏมือขวาสาํหรับกาํหนดทิศของแรงแม่เหลก็

    ที่กระทาํต่ออนุภาคที่มีประจุ q เคลื่อนที่ดว้ยความเร็ว ใน

    สนามแม่เหลก็ ทิศของ มีทิศตามนิ้วหวัแม่มือ

    (b) ถา้ q เป็นบวก ชี้ขึ้น (c) ถา้ q เป็นลบ ชี้ลง

    Bv

    v

    B

    BF

    BF

    รูปทิศของแรงแม่เหลก็ ซึ่งกระทาํต่ออนุภาคมีประจุที่เคลื่อนที่ดว้ยความเร็ว v ในสนามแม่เหลก็ B (a) แรงแม่เหลก็ตั้งฉากกบั และ (b) แรงทางแม่เหลก็ ซึ่งมีทิศตรงขา้มกนักระทาํต่ออนุภาคมีประจุซึ่งมีประจุตรงขา้มกนั โดยอนุภาคทั้งสองเคลื่อนที่ดว้ยความเร็วเดียวกนัในสนามแม่เหลก็

    BF

    BF B

    v

    BvqF B

    BF

    q

    B

    v

    +-

    B

    BF

    BF

    vv

    (a) (b)

  • 8

    ขอ้แตกต่างที่สาํคญัระหวา่งแรงไฟฟ้าและแรงแม่เหลก็มีดงันี้

    แรงไฟฟ้า แรงแม่เหลก็

    1. แรงไฟฟ้าอยูใ่นทิศของ

    สนามไฟฟ้าเสมอ

    2. แรงไฟฟ้าที่กระทาํต่ออนุภาค

    ไฟฟ้าไม่ขึ้นกบัความเร็วของ

    อนุภาค

    3. แรงไฟฟ้าทาํใหเ้กิดงานใน

    การยา้ยประจุไฟฟ้า

    )EqF( E

    1. แรงแม่เหลก็ตั้งฉากกบั

    สนามแม่เหลก็เสมอ

    2. แรงแม่เหลก็ที่กระทาํต่อ

    อนุภาคไฟฟ้าจะเกิดขึ้นได้

    เมื่ออนุภาคเคลื่อนที่

    3. แรงแม่เหลก็ไม่ก่อใหเ้กิด

    งานเมื่ออนุภาคไฟฟ้ายา้ยที่

    )B x vqF( B

  • 9

    qBmvr

    • ถา้อนุภาคไฟฟ้ามวล m ที่มีประจุ q เคลื่อนที่ในสนามแม่เหลก็ที่

    สมํ่าเสมอ B และความเร็วตน้ v มีทิศตั้งฉากกบัสนามแม่เหลก็

    แลว้อนุภาคจะเคลื่อนที่เป็นวงกลมโดยระนาบการเคลื่อนที่จะ

    ตั้งฉากกบัทิศของสนามแม่เหลก็ โดยวงโคจรมีรัศมี r ตามสมการ

    ความถี่เชิงมุมของการหมุนของอนุภาคนี้จะได้

    v qB r m

    2mvqvB r

  • 10

    ตวัอยา่ง An electron moving in a magnetic fieldอิเลก็ตรอนในหลอดภาพโทรทศัน์เคลื่อนที่ไปยงัดา้นหนา้ของหลอด ดว้ยความเร็ว8x106 m/s ตามแนวแกน x ดงัรูป รอบๆ คอหลอดภาพเป็นขดลวดซึ่งทาํใหเ้กิดสนามแม่เหลก็ขนาด 0.025 T มีทิศทาํมุม 60o กบัแกน x และวางตวัอยูใ่นระนาบ xy จงคาํนวณหาแรงแม่เหลก็ที่กระทาํต่ออิเลก็ตรอนและความเร่งของอิเลก็ตรอน

    วธิีทาํ

    ขนาดของแรงแม่เหลก็

    sinvBqFB

    N108.2)60)(sin025.0)(108)(106.1(

    14

    o619

    เพราะวา่ v x B มีทิศตามแนวแกน z (จากกฎมือขวา) และประจุมีค่าเป็นลบ ดงันั้น FB อยู่ในทิศแกน –z

    ความเร่งของอิเลก็ตรอนคือ มีทิศตามแนวแกน -z2163114

    B s/m101.31011.9108.2

    mFa

  • 11

    แรงแม่เหลก็กระทาํต่อตวันาํที่มีกระแสไหล

    ลวดตวันาํที่มีกระแสไฟฟ้าไหลอยู่ในบริเวณที่มีสนามแม่เหล็กจะไดร้ับแรงแม่เหล็กดว้ย เพราะว่ากระแสไฟฟ้าคือกลุ่มอนุภาคที่มีประจุที่เคลื่อนที่ ดงันั้นแรงลพัธ์ที่กระทาํโดยสนามแม่เหลก็ต่อลวดตวันาํคือผลรวมแบบเวกเตอร์ของแรงแต่ละแรงที่กระทาํต่ออนุภาคที่มีประจุ ทาํใหเ้กิดกระแสไฟฟ้า แรงที่

    กระทาํต่ออนุภาคจะส่งถ่ายใหก้บัเสน้ลวดเมื่ออนุภาคชนกบัอะตอมของเสน้ลวด

    เราสามารถทาํการทดลองให้เห็นว่าแรงทางแม่เหล็กกระทาํต่อลวดตวันาํที่มีกระแสไหลไดโ้ดยการแขวนลวดระหว่างขั้วของแม่เหลก็ดงัรูป สนามแม่เหลก็พุ่งเขา้หาหนา้กระดาษในบริเวณพื้นที่วงกลมเมื่อกระแสในเสน้ลวดเป็นศูนยเ์สน้ลวดจะวางตวัอยูใ่นแนวดิ่ง ดงัรูป (a) เมื่อมีกระแสไหลขึ้นในแนวดิ่งดงัรูป ( b) เส้นลวดจะถูกผลกัไปทางดา้นซา้ยถา้ทาํการกลบัทิศกระแสดงัรูป (c) ลวดจะถูกผลกัไปทางดา้นขวา

    รูปเสน้ลวดแขวนในแนวดิ่งขนานกบัหนา้ของแท่งแม่เหลก็ B ที่มีทิศพุง่เขา้หาแผน่กระดาษ(a) ไม่มีกระแส ( I = 0 ) (b) กระแส I ไหลขึ้น เสน้ลวดจะถูกผลกัไปทางดา้นซา้ยมือ(c ) กระแส I ไหลลง เสน้ลวดจะถูกผลกัไปทางดา้นขวามือ

  • 12

    รูปส่วนของลวดตวันาํที่มีกระแสไหล

    วางตวัอยูใ่นสนามแม่เหลก็ B

    เราสามารถอธิบายไดโ้ดยพิจารณาส่วนของลวดความยาว L มีพื้นที่หนา้ตดั A มีกระแส I วางตวัอยูใ่นสนามแม่เหลก็สมํ่าเสมอ B ดงัรูป แรงแม่เหลก็ที่กระทาํต่อประจุq ที่เคลื่อนที่ดว้ยความเร็ว v คือ qv x B ในการหาแรงรวมที่กระทาํต่อเส้นลวดทาํได้โดยคูณแรงที่กระทาํต่อประจุ qv x B กบัจาํนวนประจุในส่วนของเส้นลวดนั้นๆเนื่องจากปริมาตรของส่วนของเส้นลวดเป็น AL จาํนวนของประจุในแต่ละส่วนเลก็ๆนี้คือ nAL เมื่อ n คือจาํนวนประจุต่อหนึ่งหน่วยปริมาตร ดงันั้นแรงแม่เหลก็รวมที่

    กระทาํต่อเสน้ลวดยาว L คือ nAL )Bv(qF B

    เมื่อ L คือเวกเตอร์ที่ชี้ในทิศการไหลของกระแส I มีขนาดเท่ากบัความยาว L ของเส้นลวดแต่สูตรนี้ใช้ได้กับส่วนของเส้นลวดตรงที่วางตัวอยู่ในสนามแม่เหล็กสมํ่าเสมอเท่านั้น

    เมื่อกระแสในเส้นลวดคือ I = nqvA ดงันั้น B x LI F B

  • 13

    รูปส่วนของเส้นลวดรูปทรงใดๆ มี

    กระแส I อยูใ่นสนามแม่เหลก็ แรง

    แม่เหลก็ที่กระทาํบนส่วน ใดๆ คือ

    ทิศพุง่ออกจากกระดาษBsId

    B

    sd

    ต่อไปจะพิจารณาส่วนของเส้นลวดที่มีลกัษณะใดๆ ที่มีภาคตดัขวาง

    สมํ่าเสมอวางตวัอยูใ่นสนามแม่เหลก็ ดงัรูป สนามแม่เหลก็ ที่

    กระทาํต่อส่วนของเสน้ลวด ในกระบวนการเป็นไปดงัสมการ

    โดยสมมติให ้ มีทิศทางพุง่ออกจากกระดาษดงัรูป

    BsIdFd B

    B

    sd

    BFd

    B

    sdI

  • 14

    แรงจะมีค่าสูงสุดเมื่อ ตั้งฉากกบักระแส และ

    แรงจะมีค่าเป็นศูนยเ์มื่อ ขนานกบักระแส

    แรงทั้งหมดที่กระทาํต่อเส้นลวด หาไดจ้ากการอินทิเกรทสมการนี้

    ตลอดความยาวลวด

    เมื่อ a และ b แสดงตาํแหน่งปลายของเส้นลวด ผลที่ไดจ้ากการ

    อินทิเกท คือขนาดของสนามแม่เหลก็และทิศทางของสนามที่กระทาํ

    ต่อ

    Bsd IF b

    aB

    B

    B

    sd

  • 15

    พจิารณา 2 กรณพีเิศษซึ่งมสีนามแม่เหลก็ทีค่งทีท่ั้งขนาดและทศิ

    b

    a

    sd เนื่องจากปริมาณ แสดงถึงผลรวมแบบเวกเตอร์ของทุกๆ ความยาว

    ในช่วง a ถึง b ถา้ใหผ้ลรวมที่ไดเ้ป็นเวกเตอร์ มีทิศชี้จาก a ไปยงั b

    สมการนี้จะกลายเป็น

    L

    B L I F B

    รูป เส้นลวดโคง้มีกระแส I ในสนามแม่เหลก็สมํ่าเสมอ

    แรงแม่เหล็กสุทธิที่กระทาํต่อเส้นลวดโคง้เทียบเท่ากบั

    แรงที่กระทาํกบัเส้นลวดตรง L/ ที่เชื่อมระหวา่งปลาย

    ของเส้นลวดโคง้

    กรณทีี ่1 เส้นลวดโคง้มีกระแส I ไหลผา่นวางอยู่ในสนามแม่เหล็กสมํ่าเสมอ แรงสุทธิ

    ที่กระทาํต่อเส้นลวดโคง้เทียบเท่ากบัแรง

    ที่กระทาํกบัเส้นลวดตรง ที่เชื่อม

    ระหว่างปลายของเส้นลวดโค้ง ดังรูป

    เนื่องจากสนามไฟฟ้ามีค่าคงที่สามารถดึง

    ออกจากเครื่องหมายอินทิเกรตออก

    จากสมการได ้ Bsd IFb

    aB

    L

    B

    B

    B

    L

    aI

    bsd

  • 16

    กรณทีี ่2

    0 Bsd IF B ดงันั้น สรุปไดว้า่

    เสน้ลวดโคง้เชื่อมต่อกนัเป็นลูปปิดมีกระแสไฟฟ้า I ไหลผา่นและว า ง ตั ว อ ยู่ ใ นสน ามแ ม่ เ ห ล็ กสมํ่าเสมอ ดงัรูป จะไดว้า่

    แรงแม่ เหล็ก สุท ธิจะ เ ป็น ศูนย ์เ นื่องจากผลรวมแบบเวกเตอร์ตลอดเสน้ทางปิดจะมีค่าเป็นศูนย ์

    B

    I

    sd

  • 17

    ตวัอยา่ง Force on a semicircular conductor เส้นลวดโคง้เป็นครึ่งวงกลมปิด รัศมี R มีกระแสไฟฟ้า I ไหลผา่นและวางตวัอยูส่นามแม่เหลก็สมํ่าเสมอในระนาบ xy โดยสนามแม่เหลก็มีทิศในแกนบวก y ดงัรูป จงหาขนาดและทิศทางของแรงแม่เหลก็ที่กระทาํต่อเสน้ลวดในส่วนที่เป็นเส้นตรง และในส่วนที่เป็นเส้นโคง้

    วธิีทาํ

    แรง กระทาํต่อเส้นลวดที่เป็นเส้นตรง

    มีขนาด F1= ILB = 2IRB เพราะวา่

    L = 2R เนื่องจากเส้นลวดตั้งฉากกบั

    สนาม ทิศทางของ จะพุง่ออกจาก

    กระดาษ เพราะว่า มีทิศตามแกน

    บวก z ซึ่งพุง่ออกจากกระดาษดงัรูป

    BL

    1F

    B

    1F

    B

    R

    I

    d

    sd

    รูปแรงสุทธิที่กระทาํต่อเส้นลวดรูปครึ่ง

    วงกลมปิดซึ่งมีกระแส I มีค่าเป็นศูนย์

  • 18

    ในการหาแรงรวม F2 ที่กระทาํต่อส่วนโคง้ทาํไดโ้ดยการอินทิเกรตสมการดา้นบนเพื่อทาํการรวมส่วนของความยาวเลก็ๆ ds โดยที่ทิศทางของแรงที่กระทาํต่อส่วนต่างของของลวดมีทิศพุ่งเขา้ไปในกระดาษ ดงันั้นแรงลพัธ์ F2 บนเส้นลวดมีทิศพุ่งเขา้ไปในกระดาษเช่นกนั ทาํการอินทิเกรต dF2 ในช่วง ถึง จะไดว้า่

    00

    2 cos IRBd sinIRBF

    2IRB1)1( IRB0) cos π(cos IRB

    เนื่องจาก F2 ซึ่งมีขนาดเป็น 2IRB มีทิศพุง่ออกและF1 ซึ่งมีขนาดเป็น 2IRB มีทิศพุง่เขา้ ดงันั้นแรงสุทธิที่กระทาํต่อลูปปิด (close loop) เป็นศูนย์

    ในการหาแรง F2 ที่กระทาํต่อส่วนโคง้ ทาํไดโ้ดยแสดง dF2 ในรูปของส่วนของความยาว ds ดงัรูป ถา้ คือมุมระหวา่ง B และ ds ขนาดของ dF2 คือ

    dssinIBsd IdF2 B

    เนื่องจาก s = R จะไดว้า่ ds = Rd ทาํการอินทิเกรตจะไดว้า่

    d sinIRBdF2

    0

  • 19

    ทอร์คในวงปิดซึ่งวางตวัอยูใ่นสนามแม่เหลก็สมํ่าเสมอ

    พิจารณาวงปิดรูปสี่เหลี่ยมมีกระแส I วางตวัในสนามแม่เหล็กสมํ่ าเสมอซึ่งมีทิศขนานไปกับระนาบของวงปิด ดงัรูป (a) พบว่าไม่มีแรงแม่เหล็กกระทาํต่อเส้นลวดดา้น 1 และ 3 เพระว่าเสน้ลวดจะขนานไปกบัสนามดงันั้น 0BL

    อยา่งไรกต็ามมีแรงแม่เหลก็กระทาํต่อดา้นที่ 2 และ 4 เพราะวา่ดา้นนี้วางตวัตั้งฉากกบัสนามแม่เหลก็ แรงแม่เหลก็มีขนาดเป็น IaBFF 42

    รูป (a) overhead view ของลูปกระแสสี่เหลี่ยมในสนามแม่เหลก็สมํ่าเสมอ ไม่มีแรงกระทาํต่อดา้นที่ 1 และ 3 เพราะวา่ดา้นเหล่านี้ขนานกบั B แรงกระทาํต่อดา้น 2 และ 4 (b) Edge view ของลูปแสดงทิศ F

    1และ F

    1ชี้ลง แรงเหล่านี้ทาํ

    ใหเ้กิดทอร์คซึ่งทาํใหลู้ปหมุนตามเขม็นาฬิกา

    1

    2

    3

    4

    B

    I

    a

    b

    (a)

    2 4• x•

    (b)

    B 0

    b/22F

    4F

  • 20

    ทิศทางของ F2

    ซึ่งเป็นแรงที่กระทาํต่อเส้นลวด 2 พุ่งออกจาก

    หนา้กระดาษ แรง F4

    ที่กระทาํต่อเส้นลวด 4 มีทิศพุง่เขา้ไปในกระดาษ

    ดงัรูป (a) ดงันั้นสามารถเขียนรูปแบบของแรง F2 และ F4 ไดด้งัรูป

    (b) ถา้วงปิดมีจุดหมุนที่ O วงปิดสามารถหมุนรอบ O แบบตามเขม็

    นาฬิกา (มองจากดา้นที่ 3 ) โดยมีขนาดของทอร์คสูงสุดเป็น max

    max 2 4b b b b F F (IaB) (IaB) IabB 2 2 2 2

    เมื่อแขนโมเมนตมัรอบจุด O เป็น b/2 สาํหรับแรงแต่ละแรงและ

    เนื่องจากพื้นที่ที่ปิดลอ้มวงปิดเป็น A = ab

    ดงันั้น ทอร์คสูงสุด คือ IAB max

  • 21

    รูป ลูปกระแสสี่เหลี่ยมในสนามแม่เหลก็สมํ่าเสมอ (a) เวกเตอร์พื้นผวิ A ตั้ง

    ฉากกบัระนาบของลูปทาํมุม กบัสนาม แรงแม่เหลก็ที่กระทาํต่อดา้น 2

    และ 4 หกัลา้งกนั แรงที่กระทาํต่อดา้น 1 และ 3 ทาํใหเ้กิดทอร์คต่อลูป

    (b) Edge view ของลูป

    (a) (b)

    1

    23

    4

    2F

    4F

    B

    A1F

    3F

    0a

    b

    1F

    3F

    1

    3x

    B

    A

    2a

    sin2a 0

  • 22

    ค่าทอร์คสุทธิ์ที่สูงที่สุดจะเกิดขึ้นเมื่อสนามแม่เหล็กขนานกบัระนาบของวงปิดต่อไป

    สมมติวา่สนามแม่เหลก็สมํ่าเสมอทาํมุม < 90° กบัเส้นที่ตั้งฉากกบัระนาบของวงปิด

    (A) ดงัรูป (a) เพื่อความสะดวกสมมติให้ B ตั้งฉากกบัดา้น 1 และ 3 จะเห็นวา่แรง F2และ F

    4ที่กระทาํต่อดา้นที่ 2 และ 4 หกัลา้งกนัเนื่องจากผา่นจุดกาํเนิดไม่ทาํใหเ้กิดทอร์ค

    แรง F1และ F

    3ทาํใหเ้กิดทอร์ค

    จากรูป (b) พบวา่แขนโมเมนตร์อบจุด O ของแรง F1และ F

    3คือ (a/2) sin เนื่องจากวา่

    ดงันั้นทอร์คสุทธิ์รอบจุด O มีขนาด IbBFF 31 sin

    2

    aFsin

    2

    aF 31

    sinIAB

    sinIabBsin2

    aIbBsin

    2

    aIbB

    เมื่อ A = ab คือพื้นที่วงปิด ผลที่ไดแ้สดงใหเ้ห็นวา่ทอร์คสูงสุดมีค่าเป็น IAB เมื่อสนามตั้งฉากกบั

    เส้นปรกติ(เส้นที่ตั้งฉากกบัระนาบของวงปิด) ( = 900) และจะมีค่าเป็นศูนยเ์มื่อสนามเส้นปกติที่ตั้งฉากกบัระนาบ ( = 00)

  • 23

    สูตรที่ใชแ้สดงทอร์คที่กระทาํต่อวงปิดที่วางตวัอยูใ่นสนามแม่เหลก็สมํ่าเสมอ B คือ

    BAI

    เมื่อ A คือเวกเตอร์ที่ตั้งฉากกบัระนาบของวงปิดมีขนาดเท่ากบัพื้นที่ของวงปิด

    โดยสามารถหาทิศของ A ไดโ้ดยใชก้ฎมือขวาโดยทาํการวนนิ้วทั้งสี่ไปตาม

    ทิศของกระแสในวงปิด นิ้วหวัแม่มือจะชี้ในทิศของ A

    ผลคูณ IA นิยามวา่เป็นไดโพลโมเมนตแ์ม่เหลก็ (magnetic dipole moment )

    หรือเรียกสั้นๆ วา่ magnetic moment ของวงปิด IA

    หน่วย SI ของไดโพลแม่เหลก็คือ ampere-meter2 (A.m2) ดงันั้น ทอร์คที่กระทาํ

    กบัวงปิดซึ่งมีกระแสไหลผา่นซึ่งวางตวัอยูใ่นสนามแม่เหลก็ B คือ

    B

  • 24

    ถา้ขดลวดประกอบดว้ยลวด N เส้น แต่ละเส้นมีกระแสและพื้นที่เท่ากนั

    ไดโพลโมเมนตแ์ม่เหลก็รวม (the total magnetic dipole moment) คือ

    BB coilloop NNจากความรู้ที่ผ่านมาพบว่าพลังงานศักย์ของไดโพลไฟฟ้าใน

    สนามไฟฟ้ามีค่าเป็น U = -P.E ดงันั้น พลงังานศกัยข์องไดโพล

    แม่เหลก็ที่วางตวัในสนามแม่เหลก็มีลกัษณะที่คลา้ยกนัคือ

    U B

    จากสูตรพบวา่ไดโพลแม่เหลก็มีพลงังานตํ่าสุดเป็น เมื่อ

    ชี้ไปในทิศทางเดียวกบั B และจะมีค่าสูงสุดเป็น เมื่อ

    ชี้ไปในทิศทางตรงขา้มกบั B

    minU B

    maxU B

  • 25

    ตวัอย่าง The magnetic dipole moment of a coil

    (a) จงคาํนวณหาขนาดของโมเมนตไ์ดโพลแม่เหลก็(b) จงหาขนาดของทอร์คที่กระทาํต่อขดลวด

    ขดลวดสี่เหลี่ยมขนาด 5.4 cm 8.5 cm มีจาํนวนขดลวด 25 ขด และมีกระแสไฟฟ้าขนาด 15 mA ไหลผา่น ใหส้นามแม่เหลก็ขนาด 0.35 T ในทิศทางที่ขนานกบัระนาบของขดลวด

    วธิีทาํ

    3 3 2coil NIA 25 15 10 (0.054) (0.085) 1.72x10 A m

    เพราะวา่ ตั้งฉากกบั จะไดว้า่

    (a) ขนาดของโมเมนตไ์ดโพลแม่เหลก็

    (b) ขนาดของทอร์คที่กระทาํต่อขดลวด

    mN10 x 02.6)35.0)(1072.1(B 43coil

    แบบฝึกหดั จงคาํนวณขนาดของทอร์คที่กระทาํต่อขดลวดซึ่งทาํมุม (a) 60o (b) 00 กบั

    ตอบ (a) (b) 0m.N1021.5 4

    coil

    B

  • 26

    ตวัอย่าง Satellite attitude control

    ดาวเทียมส่วนใหญ่จะใชข้ดลวดที่เรียกว่า torquersในการปรับวงโคจรโดย

    อุปกรณ์นี้จะเกิดอนัตรกิริยากบัสนามแม่เหลก็โลกทาํใหเ้กิดทอร์คต่อดาวเทียม

    ในทิศแกน x y และ z ในการใชป้ระโยชน์ของระบบ attitude control โดยใช้

    ไฟฟ้าที่ผลิตจากเซลแสงอาทิตย์ ถา้เครื่องมือมีไดโพลโมเมนตแ์ม่เหลก็เป็น

    250 A.m2 จงหาค่าทอร์คที่มากที่สุดที่ใหก้บัดาวเทียม เมื่อ torquers ทาํงาน

    ขณะที่สนามแม่เหลก็โลกมีขนาด 3.0x10-5 T

    วธิีทาํ

    ทอร์คสูงสุดเมื่อโมเมนตไ์ดโพลแม่เหลก็ของ torquer

    ตั้งฉากกบัสนามแม่เหลก็โลก

    mN10x5.7)100.3)(250(B 35max

  • 27

    • เมื่อกระแสไฟฟ้าไหลผ่านตวันาํที่มีลกัษณะเป็นแผ่นแบนราบที่วางอยู่ใน

    สนามแม่เหลก็ B จะเกิด ปรากฏการณ์ฮอล (Hall Effect) และวดัความต่างศกัย์

    ตามขวางในแถบตวันาํซึ่งเรียกวา่ ศกัยไ์ฟฟ้าของฮอล (Hall Voltage) ไดเ้ป็น

    VH = vdBd

    ให ้ n เป็นจาํนวนพาหะไฟฟ้าต่อหนึ่งหน่วยปริมาตร และ A เป็นพื้นที่หนา้ตดัของแถบตวันาํแลว้จะได้

    nqAIBdV H

    เมื่อใหพ้ื้นที่ A = td เมื่อ t เป็นความหนา และ d เป็นความกวา้งของแถบตวันาํแบน แลว้จะได้

    nqtIBV H

    และสมัประสิทธิ์ของฮอล (Hall Coefficient) จะได้ BtV

    nqIR HH

    (เพิ่มเติม)

  • 28

    สรุป

    BF qv x B

    ขนาดของแรงนี้คือ FB = qvB sin

    • แรงแม่เหลก็ที่กระทาํบนประจุ q ที่เคลื่อนที่ดว้ยความเร็ว ในสนามแม่เหลก็ คือv B

    เมื่อ เป็นมุมระหวา่ง และ v B

    B มีหน่วยเป็น Wb/m2 เรียกวา่เทสลา (tesla; T) T = Wb/m2 = N/A.m

    • ในกรณีที่อนุภาคประจุไฟฟ้า q เคลื่อนที่ด้วยความเร็ว เข้าไปในบริเวณที่มี ทั้ งสนามไฟฟ้า และสนามแม่เหล็ก แรงลัพธ์ ที่กระทาํบนประจุ q หา ไดต้ามสมการลอเรนซ์ คือ

    vB

    FE

    E BF F + F

    6. สนามแม่เหลก็

    F qE qv x B

  • 29

    B F I L x B

    • ตวันาํยาว L ที่มีกระแสไฟฟ้าไหล I และวางอยูใ่นสนามแม่เหลก็ที่ สมํ่าเสมอ ตวันาํนี้จะถูกสนามแม่เหลก็กระทาํดว้ยแรง B

    BdF I ds x B

    • สาํหรับตวันาํเส้นลวดใดๆ ที่มีกระแส I ไหลผา่นและวางอยูใ่นสนาม แม่เหลก็ที่สมํ่าเสมอ แรงแม่เหลก็ที่กระทาํต่อความยาวนอ้ยๆ

    ของลวดตวันาํ คือ

    B

    เมื่อ คือเวกเตอร์ที่ชี้ในทิศการไหลของกระแสไฟฟ้า I

    มีขนาดเท่ากบัความยาว L ของตวันาํ

    L

    sd

    และแรงลพัธ์ ที่สนามแม่เหลก็ กระทาํบนลวดตวันาํทั้งหมด คือB

    BF

    b

    Ba

    F I ds x B Note ถา้เป็นเสน้ลวดโคง้เชื่องต่อกนั

    เป็นลูปปิด แรงแม่เหลก็จะเป็นศูนย์

    B F I ( ds) x B = 0

  • 30

    • โมเมนตแ์ม่เหลก็ ของวงกระแส คือ มีหน่วยเป็น A.m2

    เมื่อ คือพื้นที่ของวงกระแสและมีทิศตั้งฉากกบัระนาบของวงกระแส

    μ AI μ

    A

    • ทอร์ก ที่กระทาํบนวงกระแส เมื่อวงกระแสวางอยูใ่นสนามแม่เหลก็ที่

    สมํ่าเสมอ เป็น

    B x B

    qBmvr

    • ถา้อนุภาคไฟฟ้ามวล m ที่มีประจุ q เคลื่อนที่ในสนามแม่เหล็กที่

    สมํ่าเสมอ B และความเร็วตน้ v มีทิศตั้งฉากกบัสนามแม่เหลก็แลว้

    อนุภาคจะเคลื่อนที่เป็นวงกลม โดยระนาบการเคลื่อนที่จะตั้งฉากกบัทิศ

    ของสนามแม่เหลก็ โดยวงโคจรมีรัศมี r เป็น

    ความถี่เชิงมุมของการหมุนของอนุภาคนี้จะได้ rv

    mqB

  • 31

    • เมื่อกระแสไฟฟ้าไหลผ่านตวันาํที่มีลกัษณะเป็นแผ่นแบนราบที่วางอยู่ใน

    สนามแม่เหลก็ B จะเกิด ปรากฏการณ์ฮอล (Hall Effect) และวดัความต่างศกัย์

    ตามขวางในแถบตวันาํซึ่งเรียกวา่ ศกัยไ์ฟฟ้าของฮอล (Hall Voltage) ไดเ้ป็น

    VH = vdBd

    ให ้ n เป็นจาํนวนพาหะไฟฟ้าต่อหนึ่งหน่วยปริมาตร และ A เป็นพื้นที่หนา้ตดัของแถบตวันาํแลว้จะได้

    nqAIBdV H

    เมื่อใหพ้ื้นที่ A = td เมื่อ t เป็นความหนา และ d เป็นความกวา้งของแถบตวันาํแบน แลว้จะได้

    nqtIBV H

    และสมัประสิทธิ์ของฮอล (Hall Coefficient) จะได้ BtV

    nqIR HH

  • 32

    แบบฝึกหัด

    http://www.physics.sci.rit.ac.th/charud/oldnews/48/magnetic/OnlineTest_V4/index.asp

    1. โปรตอนตวัหนึ่งเคลื่อนที่ดว้ยความเร็วขนาด 4x106 m/s ผา่นสนามแม่เหลก็

    ซึ่งมีความเขม้ 1.7 T เกิดแรงแม่เหลก็กระทาํต่อโปรตอนขนาด 8.2x10-13 N

    จงหามุมระหวา่งความเร็วของโปรตอนและสนามแม่เหลก็

    2. ลูกบอลโลหะมีประจุสุทธิ 5 C ถูกปาออกไปทางหนา้ต่างในแนวระดบัดว้ยอตัราเร็ว 20 m/s เมื่อหนา้ต่างมีความสูงเหนือพื้นดิน 20 m สนามแม่เหลก็มี

    ความเขม้สมํ่าเสมอ 0.01 T ในทิศตั้งฉากกบัระนาบของทางเดินลูกบอลโลหะ

    จงหาขนาดของแรงแม่เหลก็ที่กระทาํต่อลูกบอลโลหะก่อนกระทบพื้นดิน

    3. เป็ดตวัหนึ่งบินไปทางทิศเหนือดว้ยความเร็ว 15 m/s ผา่นเมืองแอตแลนตา

    ซึ่งมีความเขม้สนามแม่เหลก็โลก 5x10-5 T ในทิศทาํมุม 60o ใตเ้ส้นระดบั

    เหนือใต ้ ถา้ตวัเป็ดมีประจุไฟฟ้าสุทธิ 0.04 C แรงแม่เหลก็โลกที่กระทาํต่อตวัเป็ดเป็นเท่าไร

  • 33

    เอกสารประกอบการค้นคว้า

    ภาควชิาฟิสิกส์. เอกสารประกอบการสอนฟิสิกส์เบื้องตน้, คณะวทิยาศาสตร์ มหาวทิยาลยันเรศวรภาควชิาฟิสิกส์. ฟิสิกส์2, คณะวทิยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวทิยาลยัD.C. Giancoli. Physics Principles with Applications, 3rded., Prentic-Hall,

    ISBN: 0-13-666769-4, 1991.D. Halliday, R.Resnick and K.S. Krane. Volume Two extended Version Physics, 4th ed.,

    John Wiley & Sons, 1992.R.A.Serway, Physics for Scientists & Engineers with Modern Physics, 4th ed., 1996.http://www.physics.sci.rit.ac.th/charud/howstuffwork/electro-mag/electro-magthai1.htmhttp://www.skn.ac.th/skl/skn422/file/field.htmhttp://www.physics.uoguelph.ca/tutorials/tutorials.htmlhttp://www.thinkquest.org/library/site_sum.html?tname=10796&url=10796/index.htmlhttp://www.launc.tased.edu.au/online/sciences/physics/tutes1.htmlhttp://www.colorado.edu/physics/2000/index.plhttp://www.dctech.com/physics/tutorials.phphttp://www.physics.sci.rit.ac.th