chapter1 introduction

37
บทที1 บทนํา (Introduction) 1.1 บทนำ (Introduction) เนื่องจากความตองการที่เพิ่มสูงขึ้นอยางตอเนื่องของการใชพลังงานน้ำมันและกาซธรรมชาติทั่วโลก ทำใหการคนหาและการสำรวจน้ำมันมีปริมาณเพิ่มขึ้นโดยเฉพาะอยางยิ่งนอกชายฝงทะเลลึก (Deep ocean) ซึ่งจากขอมูลปจจุบัน (คศ. 2011) ของ U.S. Energy Information Administration ได รายงานและประเมินแนวโนมการบริโภคพลังงานของโลกตั้งแตชวงป .. 1990 จนถึงป .. 2035 1 ไว วาปริมาณการบริโภคพลังงานทั้งหมดของโลก ในป .. 2035 จะอยูที่ประมาณ 800 quadrillion Btu หรือประมาณ 137,600 million barrels of oil equivalent [1 quadrillion Btu = approximately 172 million barrels of oil equivalent (MMBOE)] ซึ่งจะเพิ่มขึ้นประมาณ 53 เปอรเซ็นตจากปจจุบัน (การบริโภคพลังงานทั่วโลกในป .. 2011 ประมาณ 500 quadrillion Btu) โดยประเทศจีนจะเปน ประเทศที่ตองการพลังงานมากที่สุด ซึ่งแมวาจะมีการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อจัดหาแหลงพลังงานใหม พลังงานทดแทน และพลังงานที่สามารถนำกลับมาใชใหมได (Renewable energy) กันอยางตอเนื่อง ตลอดมา แตพลังงานน้ำมันและกาซธรรมชาติก็ยังเปนพลังงานหลักที่สำคัญสำหรับภาคการผลิต ภาคการ ขนสงและภาคครัวเรือน เนื่องจากมนุษยมีการพัฒนาเทคโนโลยีในการผลิตน้ำมันดิบมาตั้งแตอดีตทำให ตนทุนในการผลิตน้ำมันดิบและกาซธรรมชาติเมื่อเทียบกับพลังงานอื่น ไมสูงมากนัก รวมถึงสามารถคน พบแหลงน้ำมันดิบสำรองไดเพิ่มขึ้น ดังนั้นมนุษยจึงไดมีความพยายามอยางมากที่จะคิดคนและพัฒนาเทคโนโลยีดานการสำรวจและการผลิต น้ำมันโดยพัฒนาแนวความคิด รูปแบบของโครงสรางนอกฝรวมถึงวัสดุเพื่อใหสามารถนำน้ำมันดิบเหลา นั้นขึ้นมาใชไดอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากที่สุด โดยเฉพาะอยางยิ่งน้ำมันดิบสำรองที่อยูใต พื้นทะเลลึก แมวาในประเทศไทยเราไมไดเปนประเทศผูผลิตน้ำมันที่สำคัญของโลก แตเปนที่ทราบกันดี วาพื้นที่บริเวณอาวไทย นำโดยบริษัท ปตท. สำรวจและผลิตปโตรเลียม จำกัด (มหาชน) เปนผูที่ไดรับ วิศวกรรมนอกฝั่ง (Offshore Engineering) 1 _________________ .ดร.พูลพงษ พงษวิทยภานุ วิทยาลัยพาณิชยนาวีนานาชาติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตศรีราชา 1 Annual Energy Outlook 2011 with Projections to 2035, DOE/EIA-0383(2011), April 2011, U.S. Energy Information Administration (EIA), U.S. Department of Energy, Washington, U.S.A.

Upload: ojooreo

Post on 27-Oct-2014

87 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: Chapter1 Introduction

บทท่ี 1บทนํา

(Introduction)

1.1 บทนำ (Introduction)

เนื่องจากความตองการที่เพิ่มสูงขึ้นอยางตอเนื่องของการใชพลังงานน้ำมันและกาซธรรมชาติทั่วโลก

ทำใหการคนหาและการสำรวจน้ำมันมีปริมาณเพิ่มขึ้นโดยเฉพาะอยางยิ่งนอกชายฝงทะเลลึก (Deep

ocean) ซึ่งจากขอมูลปจจุบัน (ป คศ. 2011) ของ U.S. Energy Information Administration ไดรายงานและประเมินแนวโนมการบริโภคพลังงานของโลกตั้งแตชวงป ค.ศ. 1990 จนถึงป ค.ศ. 20351 ไว

วาปริมาณการบริโภคพลังงานทั้งหมดของโลก ในป ค.ศ. 2035 จะอยูที่ประมาณ 800 quadrillion Btu

หรือประมาณ 137,600 million barrels of oil equivalent [1 quadrillion Btu = approximately

172 million barrels of oil equivalent (MMBOE)] ซึ่งจะเพิ่มขึ้นประมาณ 53 เปอรเซ็นตจากปจจุบัน

(การบริโภคพลังงานทั่วโลกในป ค.ศ. 2011 ประมาณ 500 quadrillion Btu) โดยประเทศจีนจะเปนประเทศที่ตองการพลังงานมากที่สุด ซึ่งแมวาจะมีการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อจัดหาแหลงพลังงานใหม

พลังงานทดแทน และพลังงานที่สามารถนำกลับมาใชใหมได (Renewable energy) กันอยางตอเนื่อง

ตลอดมา แตพลังงานน้ำมันและกาซธรรมชาติก็ยังเปนพลังงานหลักที่สำคัญสำหรับภาคการผลิต ภาคการ

ขนสงและภาคครัวเรือน เนื่องจากมนุษยมีการพัฒนาเทคโนโลยีในการผลิตน้ำมันดิบมาตั้งแตอดีตทำให

ตนทุนในการผลิตน้ำมันดิบและกาซธรรมชาติเมื่อเทียบกับพลังงานอื่น ๆ ไมสูงมากนัก รวมถึงสามารถคนพบแหลงน้ำมันดิบสำรองไดเพิ่มขึ้น

ดังนั้นมนุษยจึงไดมีความพยายามอยางมากที่จะคิดคนและพัฒนาเทคโนโลยีดานการสำรวจและการผลิตน้ำมันโดยพัฒนาแนวความคิด รูปแบบของโครงสรางนอกฝง รวมถึงวัสดุเพื่อใหสามารถนำน้ำมันดิบเหลา

นั้นขึ้นมาใชไดอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากที่สุด โดยเฉพาะอยางยิ่งน้ำมันดิบสำรองที่อยูใต

พื้นทะเลลึก แมวาในประเทศไทยเราไมไดเปนประเทศผูผลิตน้ำมันที่สำคัญของโลก แตเปนที่ทราบกันดี

วาพื้นที่บริเวณอาวไทย นำโดยบริษัท ปตท. สำรวจและผลิตปโตรเลียม จำกัด (มหาชน) เปนผูที่ไดรับ

วิศวกรรมนอกฝั่ง(Offshore Engineering)

1

_________________อ.ดร.พูลพงษ พงษวิทยภานุ

วิทยาลัยพาณิชยนาวีนานาชาติมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตศรีราชา

1 Annual Energy Outlook 2011 with Projections to 2035, DOE/EIA-0383(2011), April 2011, U.S. Energy Information Administration (EIA), U.S. Department of Energy, Washington, U.S.A.

Page 2: Chapter1 Introduction

สัมปทานในการสำรวจและผลิตปโตรเลียมไดมีการคนพบแหลงน้ำมันดิบและกาซธรรมชาติอยางตอเนื่อง

จากขอมูลของ ปตท.สผ (2011) ไดระบุไววา ปริมาณน้ำมันสำรองของประเทศไทย ณ ป 2552 อยูที่

ประมาณ 1,099 ลานบารเรลเทียบเทาน้ำมันดิบ (Million Barrels of Oil Equivalents, MMBOE) รวมถึงการไดรับสัมปทานในการสำรวจและผลิตปโตรเลียมในตางประเทศ เชน ประเทศกัมพูชา นิวซีแลนด

พมา อียิปต บารเรน เปนตน ซึ่งจากขอมูลดังกลาวขางตนจะเห็นไดวาการศึกษาความรูสำหรับงานทาง

ดานวิศวกรรมนอกฝงจะเปนพื้นฐานที่สำคัญสำหรับการพัฒนาประเทศในภาคอุตสาหกรรมและภาค

เศรษฐกิจไดเปนอยางมาก ซึ่งปจจุบันความรูทางวิชาการเบื้องตนสำหรับวิศวกรรมนอกฝงของประเทศยัง

มีอยูนอยมาก และถูกจำกัดอยูในบริษัทหรือหนวยงานที่ทำงานในดานวิศวกรรมนอกฝงเพียงเทานั้น ดังนั้นเนื้อหาของการเอกสารฉบับนี้จึงมุงเนนใหนิสิตและผูที่สนใจไดมีพื้นฐานความรูทางดานวิศวกรรมนอก

ฝงที่จำเปนในการทำงานหรือเพื่อใชสำหรับการศึกษาและคนควาเพื่อหาความรูเพิ่มเติมไดตอไป

1.2 อุตสาหกรรมการผลิตน้ำมันดิบและกาซธรรมชาติ (Overview of Oil and Gas Industry)

น้ำมันไดถูกใชเปนแหลงพลังงานสำหรับการผลิตแสงสวางใหกับมนุษยกวาหลายพันปลวงมาแลว โดยเฉพาะอยางยิ่งในพื้นที่ที่บอน้ำมันที่อยูไมลึกจากผิวดิน (Shallow reservoirs) มากเทาใดนัก การไหลซึม

ของน้ำมันดิบ (Crude oil) หรือการระเหยของกาซธรรมชาติ (Natural gas) ขึ้นสูผิวดินไดเกิดขึ้นตาม

ปรากฎการณธรรมชาติโดยทั่วไปในแหลงสะสมเหลานั้น จากบันทึกทางประวัติศาสตรเราอาจจะเคย

ไดยินถึงเรื่องเลาหรือนิยายของไฟอมตะ (The tales of eternal fires) ที่ถูกจุดประกายอยูตลอดเวลา

จากการไหลซึมของน้ำมันจากบอน้ำมันและกาซจากการระเหยจากแหลงกาซธรรมชาติใตผิวดิน โดยจากบันทึกในพระคัมภีรอันมีชื่อเสียง The Oracle of Delphi ที่ไดถูกสรางขึ้นเมื่อกวา 1,000 ปกอนคริสต

ศักราช ไดมีการบันทึกไววาชาวจีนไดมีการใชกาซธรรมชาติในการตมน้ำใหเดือดไวในพระคัมภีรเมื่อกวา

500 ปกอนคริสตศักราช

แตอยางไรก็ตามการผลิตน้ำมันจากบอน้ำมัน (Oil well) อยางเปนทางการในครั้งแรกนั้นเกิดขึ้นในป

ค.ศ. 1859 นำโดยผูพัน (Colonel) Edwin Drake ซึ่งกลายเปนบุคคลแรกที่ไดขุดเจาะน้ำมันขึ้นจาก

บอน้ำมันใตดินไดสำเร็จเปนครั้งแรกในโลก โดยเปนการเจาะน้ำมันดิบที่เกิดขึ้นอยางตั้งใจเพื่อนำน้ำมันขึ้นมาใชงานและเปนการเริ่มการสำรวจแหลงบอน้ำมันเพื่อการผลิตในเชิงอุตสาหกรรมดวยเชนกัน โดยบอน้ำ

มันที่ไดถูกเจาะขึ้นนี ้ (ภายหลังถูกเรียกวา Drake Well) ตั้งอยูในบริเวณฟารมในชนบททางตะวันตกเฉียง

เหนือของเมืองเพนซิลวาเนีย (North-western Pennsylvania) ซึ่งหลังจากความสำเร็จนี้ทำใหทั่วโลกได

เริ่มทำการขุดเจาะหาน้ำมันในบอน้ำมันทั่วโลกกันอยางกวางขวางเพื่อใชในธุรกิจและอุตสาหกรรมดาน

ตาง ๆ

วิศวกรรมนอกฝั่ง(Offshore Engineering)

2

_________________อ.ดร.พูลพงษ พงษวิทยภานุ

วิทยาลัยพาณิชยนาวีนานาชาติมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตศรีราชา

Page 3: Chapter1 Introduction

บอน้ำมันที่ถูกเจาะในชวงเวลาเริ่มแรกนั้นมีความลึกที่ไมมากนักหากเทียบกับมาตรฐานของความลึกของ

บอน้ำมันที่ขุดไดตามมาตรฐานปจจุบันโดยมีความลึกอยูที่ประมาณนอยกวา 50 เมตรจากระดับผิวดิน

แตอยางไรก็ตามสามารถผลิตน้ำมันไดคอนขางมาก รูปที่ 1.1 แสดงตัวอยางของหลุมเจาะน้ำมันจากบอน้ำมันใตพื้นดินในประเทศสหรัฐอเมริกาใน Tarr Farm โดยทางขวามือของรูปเปนบอน้ำมัน Phillips

สามารถผลิตน้ำมันได 4,000 บารเรลตอวันในชวงเดือนตุลาคมของป ค.ศ. 1861 และทางซายมือของรูป

เปนบอน้ำมัน Woodford สามารถผลิตน้ำมันได 1,500 บารเรลตอวันในชวงเดือนกรกฎาคมของป ค.ศ.

1862 โดยน้ำมันที่ไดนั้นจะถูกเก็บในถังน้ำมันที่ทำจากไม (Wooden tank) และจากรูปดานหลังจะเห็น

ไดวามีภาชนะรูปทรงกระบอก (Barrels) หลากหลายความจุวางเรียงรายอยู ซึ่งในเวลานั้นการใชหนวยวัดของปริมาณน้ำมันดวยหนวยบารเรล2 ยังไมไดถูกใชเปนมาตรฐาน ทำใหการซื้อขายน้ำมันในเวลานั้นอาจ

จะเกิดความสับสนเนื่องจากไมมีหนวยวัดที่เปนมาตรฐานตรงกัน และเปนไปตามหลักการของวิชา

เศรษฐศาสตรโดยทั่วไปวาการผลิตสินคาไมควรเกินปริมาณความตองการของตลาดซึ่งจะเปนเหตุใหราคา

ขายของสินคาต่ำลงตามทฤษฎีของอุปสงคและอุปทาน และในธุรกิจน้ำมันก็เชนเดียวกัน ในเดือน

กันยายนของป ค.ศ. 1861 เมื่อการขุดเจาะบอน้ำมัน Empire ไดเริ่มการผลิตขึ้นทำใหสามารถผลิตน้ำมันไดกวาวันละ 3,000 บารเรล ทำใหปริมาณอุปทานของน้ำมันมากกวาปริมาณอุปสงค เปนผลใหราคา

น้ำมันในขณะนั้นต่ำลงสูประมาณ 10 เซนตตอบารเรล

5

1 Introduction Oil has been used for lighting purposes for many thousands of years. In areas where oil is found in shallow reservoirs, seeps of crude oil or gas may naturally develop, and some oil could simply be collected from seepage or tar ponds. Historically, we know of the tales of eternal fires where oil and gas seeps would ignite and burn. One example from is the site where the famous oracle of Delphi was built around 1000 B.C. Written sources from 500 B.C. describe how the Chinese used natural gas to boil water. But it was not until 1859 that "Colonel" Edwin Drake drilled the first successful oil well, with the sole purpose of finding oil. The Drake Well was located in the middle of quiet farm country in north-western Pennsylvania, and began the international search for an industrial use of petroleum.

Photo: Drake Well Museum Collection, Titusville, PA These wells were shallow by modern standards, often less than 50 meters deep, but produced large quantities of oil. In the picture from the Tarr Farm, Oil Creek Valley, The Phillips well on the right initially produced 4000 barrels

รูปที่ 1.1 แสดงการขุดเจาะน้ำมันจากบอน้ำมัน (Oil wells)ในบอน้ำมันของ Woodford and Phillips ใน Tarr Farm ป ค.ศ. 1861

[Devold, 2009]

หลังจากนั้นน้ำมันก็กลายเปนแหลงพลังงานสำหรับยานยนตในการขนสง โดยในชวงปลายศตวรรษที่ 19

อุตสาหกรรมยานยนตไดพัฒนาใหรถยนตและเครื่องยนตตาง ๆ เริ่มใชน้ำมันเปนเชื้อเพลิง โดยเครื่องยนต

แกสโซลีน (Gasoline engines) หรือเครื่องยนตเบนซินไดถูกใชในเครื่องบิน และในสวนของเครื่องยนต

วิศวกรรมนอกฝั่ง(Offshore Engineering)

3

_________________อ.ดร.พูลพงษ พงษวิทยภานุ

วิทยาลัยพาณิชยนาวีนานาชาติมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตศรีราชา

2 1 Barrel of oil (Bl) = 42 Gallons = 159 liters and equivalent to 147 m3 of gas

Page 4: Chapter1 Introduction

เรือ การใชน้ำมันเปนเชื้อเพลิงทำใหความเร็วในการแลนเรือเพิ่มขึ้นกวาสองเทาหากเทียบกับการใชเชื้อ

เพลิงจากถานหิน (Coal) ซึ่งเปนประโยชนอยางมากในทางการทหาร

อุตสาหกรรมการผลิตน้ำมันและกาซธรรมชาติก็เหมือนกันกับธุรกิจอื่น ๆ โดยทั่วไป คือ เปนธุรกิจที่มีวัฎ

จักรทั้งขาขึ้น (Booms) และ ขาลง (Busts) โดยในชวงป ค.ศ. 1970 - 1979 เปนชวงระยะเวลาเริ่มตน

ของวัฎจักรภาวะความเจริญรุงเรืองและภาวะถดถอยของประวัติศาสตรธุรกิจอุตสาหกรรมน้ำมัน ราคา

น้ำมันเฉลี่ยทั่วโลกตั้งแตป ค.ศ. 1970 ไดปรับเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องจากประมาณ 2 ดอลลารสหรัฐตอ

บารเรล (U.S. Dollars per Barrel) จนเกือบถึง 40 ดอลลารสหรัฐตอบารเรล แตอยางไรก็ตามในชวงกลางทศวรรษ 1980s อุตสาหกรรมน้ำมันไดเริ่มเกิิดภาวะถดถอยอยางรุนแรง (Worst depression) โดย

มีการรายงานไววามีผูตกงานมากกวา 500,000 คนในชวงเวลานั้น โดยราคาน้ำมันดิบเฉลี่ยอยูที่ประมาณ

15 ดอลลารสหรัฐตอหนึ่งบารเรล ซึ่งภาวะถดถอยที่เกิดขึ้นนี้ไดเกิดขึ้นอยางตอเนื่องจนกระทั่งป ค.ศ.

2002 ที่ราคาน้ำมันดิบเริ่มสูงขึ้นตามลำดับ และในป ค.ศ. 2007 ที่ไดอุตสาหกรรมน้ำมันและกาซรวมถึง

อุตสาหกรรมที่เกี่ยวของกับพลังงานไดเริ่มสูสภาวะรุงเรืองขึ้นอีกครั้งโดยชวงที่น้ำมันดิบมีราคาสูงที่สุดมีราคาสูงถึงกวา 90 ดอลลารสหรัฐตอหนึ่งบารเรลและในชวงเดือนพฤษภาคม ป ค.ศ. 2008 ราคาน้ำมัน

ดิบเฉลี่ยทั่วโลกมีราคาสูงถึงเกือบ 100 ดอลลารสหรัฐตอหนึ่งบารเรล และมีราคาที่ผันผวนทั้งเพิ่มขึ้นและ

ลดลงมาโดยตลอดถึงปจจุบันดังรูปที ่ 1.2 ซึ่งแสดงกราฟราคาน้ำมันดิบเฉลี่ยทั่วโลกตั้งแตป ค.ศ. 1861

ถึงป ค.ศ. 2010 โดยมีการแสดงเปนราคาเฉลี่ยตามคาเงินจริงในชวงเวลานั้น ๆ (Average nominal)

และราคาตามการปรับแกคาตามภาวะเงินเฟอ (Adjusted for inflation) ซึ่งแนนอนวาสวนหนึ่งของการเติบโตทางพลังงานทั้งปริมาณและราคานั้นเปนผลโดยตรงที่เกิดขึ้นจากความเจริญทางสังคม เศรษฐกิจ

และวัฒนธรรม โดยความเจริญของมนุษยนั้นถูกผูกติดอยูกับการใชประโยชนจากแหลงทรัพยากรทาง

ธรรมชาติเพื่อผลิตพลังงานอยางหลีกเลี่ยงไมได และเปนเวลามากกวา 100 ปมาแลวที่แหลงพลังงานหลัก

ของมนุษยนั้นมาจากไฮโดรคารบอน (Hydrocarbons) หรือจากน้ำมันและกาซธรรมชาต ิ ซึ่งทำให

คุณภาพชีวิตของเราดีขึ้นอยางมากในชวงระยะเวลาที่ผานมาอยางเปนประวัติการณ นอกจากนี้ความรุงเรืองทางเศรษฐกิจก็จะทำใหการบริโภคน้ำมันมีมากขึ้นดวยเชนกัน

ประเทศสหรัฐอเมริกาไดชื่อวาเปนหนึ่งในประเทศที่มีการใชพลังงานน้ำมันมากที่สุดประเทศหนึ่งของโลก

โดยในป ค.ศ. 2006 ประเทศสหรัฐอเมริกามีจำนวนประชากรทั้งสิ้น 300 ลานคนหรือคิดเปนประมาณ 4.5 % ของจำนวนประชากรทั้งหมดของโลกที่อยูที่ประมาณ 6,000 ลานคน มีการบริโภคน้ำมันภายใน

ประเทศคิดเปนประมาณ 25% ของการบริโภคน้ำมันทั่วโลกโดยการบริโภคน้ำมันทั่วโลกอยูที่ประมาณ

83 ลานบารเรล (3.5 พันลานแกลลอน) ตอวัน ดังนั้นอัตราเฉลี่ยของการบริโภคน้ำมันตอประชากรหนึ่ง

คนของสหรัฐอเมริกาอยูที่ประมาณ 3 แกลลอนตอวันหรือประมาณ 12 ลิตรตอวัน3 แคนาดาอยูที่

ประมาณ 2.6 แกลลอนตอวัน ออสเตรเลีย 2.2 แกลลอนตอวัน โดยอัตราการบริโภคน้ำมันตอประชากร

วิศวกรรมนอกฝั่ง(Offshore Engineering)

4

_________________อ.ดร.พูลพงษ พงษวิทยภานุ

วิทยาลัยพาณิชยนาวีนานาชาติมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตศรีราชา

3 1 US gallon = 3.78541178 liters

Page 5: Chapter1 Introduction

หนึ่งคนของประเทศอื่นที่เหลือในโลก (ยกเวนสหรัฐอเมริกา) จะเฉลี่ยอยูที่ประมาณนอยกวาครึ่งแกลลอน

ตอวันหรือนอยกวา 2 ลิตรตอวัน

รูปที่ 1.2 แสดงกราฟราคาน้ำมันดิบเฉลี่ยทั่วโลก (หนวย: ดอลลารสหรัฐตอหนึ่งบารเรล) ตั้งแตป ค.ศ. 1861 ถึงป 2010 โดยกราฟเสนลางเปนราคาเฉลี่ยตามคาเงินจริงในชวงเวลานั้น ๆ (Average nominal) สวนกราฟเสนบนเปนการปรับแกคาตามภาวะเงินเฟอ (Adjusted for inflation)

[BP, 2011]

British Petroleum (BP, 2011) ไดรายงานขอมูลการใชพลังงานของประเทศทั่วโลกวาการบริโภค

พลังงานของโลกในป 2010 นั้นไดกลับมาเพิ่มขึ้นจากการที่หลายประเทศทั่วโลกไดเริ่มมีภาวะฟนตัวทาง

สภาพเศรษฐกิจอยางมีนัยสำคัญ โดยอัตราการเพิ่มขึ้นของการใชพลังงานนี้มีปจจัยที่สำคัญจากภาวะการ

ฟนตัวทางเศรษฐกิจทั้งในประเทศกลุม Organisation for Economic Co-operation and Development (OECD4) และประเทศที่ไมไดเปนสมาชิกในกลุม OECD (Non-OECD) โดยอัตราการ

เติบโตทางเศรษฐกิจทั่วโลกมีอัตราที่สูงกวาคาเฉลี่ยที่ประมาณการไว ซึ่งแนนอนวาการเติบโตทาง

เศรษฐกิจเป นเหต ุให การใช พล ังงานจากเช ื ้อเพล ิงฟอสซิลเพ ิ ่มมากข ึ ้นทำให การปลอยก าซ

คารบอนไดออกไซด (CO2) สูสภาวะแวดลอมเพิ่มมากขึ้นดวยเชนกัน โดยปริมาณการปลอย CO2 จาก

การใชพลังงานนี้มีอัตราการเติบโตที่เร็วที่สุดนับตั้งแตป ค.ศ. 1969 เปนตนมา ประเทศในกลุม OECD มีการบริโภคพลังงานเพิ่มขึ้น 3.5% จากปกอน ซึ่งเปนอัตราการใชที่เพิ่มขึ้นมากที่สุดนับแตป ค.ศ. 1984

วิศวกรรมนอกฝั่ง(Offshore Engineering)

5

_________________อ.ดร.พูลพงษ พงษวิทยภานุ

วิทยาลัยพาณิชยนาวีนานาชาติมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตศรีราชา

4 Organisation for Economic Co-operation and Development หรือ OECD เปนการรวมมือของรัฐบาลประเทศตาง ๆ กวา 34 ประเทศทั่วโลก มีหนาที่หลักเพื่อชวยพัฒนาและสงเสริมความรุงเรืองทางเศรษฐกิจและชวยขจัดความยากจนเพื่อทำใหเศรษฐกิจของโลกเติบโตและมีการพัฒนาอยางยั่งยืน

Page 6: Chapter1 Introduction

ในสวนของประเทศนอกกลุม OECD มีการบริโภคพลังงานเพิ่มขึ้น 7.5% จากป 2009 โดยหากเทียบกับ

ป ค.ศ. 2000 อัตราการใชพลังงานจะเพิ่มมากขึ้นกวา 63% โดยทุกกลุมประเทศทั่วโลกมีอัตราใชพลังงาน

โดยเฉลี่ยสูงขึ้นเกือบทั้งหมด และประเทศจีนกลายเปนประเทศที่มีการใชพลังงานที่สูงที่สุดในโลกแซงหนาประเทศสหรัฐอเมริกาที่มีการบริโภคพลังงานสูงที่สุดมาโดยตลอด โดยประเทศจีนมีการบริโภค

พลังงานเพิ่มมากขึ้นกวา 11.2% เมื่อเทียบกับป 2009 และแนนอนวาพลังงานที่ใชโดยสวนใหญไดมาจาก

น้ำมันดิบโดยมีอัตราสวนการใชน้ำมันเพื่อแปรเปลี่ยนเปนพลังงานถึง 33.6% ของอัตราการใชพลังงาน

จากแหลงตาง ๆ แมวาอัตราสวนแบงดังกลาวจะเริ่มลดลงติดตอกันมากวา 10 ปแลวก็ตามเนื่องจากการ

ที่โลกเริ่มหันมาใหความสนใจกับพลังงานทดแทนในรูปแบบอื่น ๆ มากขึ้นนั่นเอง แตพลังงานจากน้ำมันและเชื้อเพลิงฟอสซิลก็ยังถือวาเปนแหลงพลังงานหลักสำหรับโลกมนุษยอยางหลีกเลี่ยงไมได โดยถานหิน

(Coal) และกาซธรรมชาต ิ (Natural gas) มีอัตราสวนแบงในการใชเพื่อการผลิตพลังงานเพิ่มมากขึ้น

อยางเห็นไดชัดรองลงมาจากน้ำมันดิบ รูปที่ 1.3 แสดงการบริโภคพลังงานทั่วโลก (หนวยเปน Million

tonnes of oil equivalent, mtoe) จากแหลงพลังงานตาง ๆ เชน ถานหิน พลังงานทดแทน

(Renewables) พลังงานน้ำ (Hydroelectricity) พลังงานนิวเคลียร (Nuclear) กาซธรรมชาต ิ และน้ำมัน และรูปที ่ 1.4 แสดงประเภทของแหลงพลังงานที่ใชในภูมิภาคตาง ๆ ทั่วโลก รูปที ่ 1.5 เปนการ

แสดงการบริโภคน้ำมันจากแหลงพลังงานประเภทตาง ๆและการใชพลังงานในภาคสวนตาง ๆ เชน ภาค

การขนสง ภาคอุตสาหกรรม ภาคครัวเรือนและธุรกิจ รวมถึงการใชผลิตพลังงานกระแสไฟฟาของ

ประเทศสหรัฐอเมริกาในป 2010 (EIA, 2011) ซึ่งหากเปรียบเทียบกับการประเมินของ British

Petroleum (BP, 2011) ในรูปที ่ 1.4 ในสวนของภูมิภาคอเมริการเหนือ (North America) จะพบวามีคาใกลเคียงกัน โดยพลังงานที่ใชสวนใหญนั้นมาจากน้ำมันประมาณ 37% ที่ใกลเคียงกับเปอรเซ็นตการใช

ทั่วโลก โดยกาซธรรมชาติและถานหินเปนแหลงพลังงานที่มีปริมาณการใชรองลงมา คือ 24.6 และ 20.8

% ตามลำดับ และจากรูปยังแสดงใหเห็นวาน้ำมันถูกใชไปสำหรับภาคการขนสงมากที่สุดถึง 94% กาซ

ธรรมชาติถูกใชในภาคครัวเรือนและธุรกิจกวา 76% เปนตน

จากขอมูลประชากรบนโลกที่อาจจะเพิ่มสูงขึ้นเปน 9,000 ลานคนในป ค.ศ. 2050 และจะเพิ่มมากขึ้น

เปน 12,000 ลานคนในปลายศตวรรษที่ 2000 ซึ่งจากตัวเลขดังกลาวขางตน แนนอนวาปริมาณการบริโภคพลังงานในรูปแบบตาง ๆ จะตองเพิ่มขึ้นเปนเงาตามตัว ซึ่งหากเรามองยอนดูกำลังการผลิตน้ำมัน

ในประเทศสหรัฐอเมริกาและหลายประเทศทั่วโลกเมื่อประมาณป ค.ศ. 1970 - 1975 พบวามีกำลังการ

ผลิตที่มากที่สุดในประวัติศาสตรและเริ่มลดลงเนื่องจากปจจัยหลายประการ เชน ภาวะสงครามและ

สภาพเศรษฐกิจที่ถดถอยทั่วโลก รูปที่ 1.65 แสดงปริมาณการผลิตน้ำมันของประเทศสหรัฐอเมริกาตั้งแต

ป ค.ศ. 1920 ถึงปจจุบันซึ่งจะเห็นไดวาป ค.ศ. 1970 มีปริมาณการผลิตที่มากที่สุด รูปที่ 1.7 แสดงปริมาณการผลิตน้ำมันในกลุมประเทศ OPEC เทียบเปนเปอรเซ็นตกับปริมาณการผลิตทั่วโลก ตั้งแตป

วิศวกรรมนอกฝั่ง(Offshore Engineering)

6

_________________อ.ดร.พูลพงษ พงษวิทยภานุ

วิทยาลัยพาณิชยนาวีนานาชาติมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตศรีราชา

5 Monthly U.S. field production of crude oil: Petroleum & other liquids. Official Website of U.S. Energy Information Administration: Independent Statistics and Analysis. Available from Internet, http://www.eia.gov/dnav/pet/hist/LeafHandler.ashx?n=pet&s=mcrfpus1&f=m, accessed 3 November 2011.

Page 7: Chapter1 Introduction

ค.ศ. 1960 - ปจจุบัน โดยจากรูปจะเห็นไดวาชวงป ค.ศ. 1970 - 1975 กลุมประเทศ OPEC มีปริมาณ

การผลิตน้ำมันที่มากที่สุดตั้งแตมีการกอตั้งกลุมเมื่อป ค.ศ. 1960 และลดลงอยางตอเนื่องจนกระทั่งป

ค.ศ. 1987 ที่ปริมาณการผลิตเริ่มสูงขึ้นและเริ่มเฉลี่ยคงที่จนกระทั่งปจจุบัน

42

World consumptionMillion tonnes oil equivalent

009 10080706050403020100999897969594939291908988878685

13000

12000

11000

10000

9000

8000

7000

6000

5000

4000

3000

2000

1000

Coal

HydroelectricityNuclear energyNatural gasOil

Renewables

World primary energy consumption grew by 5.6% in 2010, the strongest growth since 1973. Growth was above average for oil, natural gas, coal, nuclear, hydroelectricity, as well as for renewables in power generation. Oil remains the dominant fuel (33.6% of the global total) but has lost share for 11 consecutive years. The share of coal in total energy consumption continues to rise, and the share of natural gas was the highest on record.

Regional consumption pattern 2010Percentage

Asia PacificAfricaMiddle EastEurope & EurasiaS. & Cent. AmericaNorth America 0

100

80

60

40

10

70

50

30

90

20

The Asia Pacific region continues to lead global energy consumption, accounting for 38.1% of the world total and for 67.1% of global coal consumption. Within the Asia Pacific countries, coal is the dominant fuel, accounting for 52.1% of energy consumption. Oil is the dominant fuel for all other regions except Europe and Eurasia, where natural gas is the leading fuel. In addition to being the largest consumer of coal, the Asia Pacific countries are also the leading users of oil and hydroelectric generation. Europe and Eurasia are leading consumers of natural gas, nuclear power, and renewables in power generation.

รูปที่ 1.3 แสดงการบริโภคพลังงานทั่วโลกจากแหลงพลังงานตาง ๆ เชน ถานหิน (Coal) พลังงานทดแทน (Renewables) พลังงานน้ำ (Hydroelectricity) พลังงานนิวเคลียร (Nuclear)

กาซธรรมชาติ (Natural gas) และน้ำมัน (Oil)[BP, 2011]

จากขอมูลของ United States of Geological Survey (USGS) World Energy Assessment Team

(2000) ที่ไดทำการประเมินแหลงพลังงานน้ำมันดิบบนโลกที่เหลืออยู (ยกเวนประเทศสหรัฐอเมริกา) ณ

ป ค.ศ. 2000 โดยแบงออกเปน 4 ประเภท ไดแก 1. ปริมาณการผลิตสะสม (Cumulative Production)

2. ปริมาณน้ำมันสำรองที่ถูกคนพบแลวแตยังไมไดถูกผลิต (Remaining Reserves) 3. ปริมาณแหลงน้ำมันที่คาดวาจะมีอยูจากการสำรวจ (Reserve Growth) และ 4. ปริมาณแหลงน้ำมันสำรองที่ประเมิน

จากสมมติฐานทางสภาพของธรณีวิทยาและทฤษฎ ี (Undiscovered Resources) โดย 3 ประเภทแรก

นั้นเปนแหลงพลังงานน้ำมันที่มีอยูแนนอนเกือบรอยเปอรเซ็นต รูปที่ 1.8 แสดงปริมาณน้ำมันสำรองที่

เหลืออยูบนโลก (ยกเวนประเทศสหรัฐอเมริกา) โดยหากเราใชปริมาณน้ำมันสำรองที่ถูกคนพบและมีอยู

แลว (Discovered Resources) ที่มีจำนวนเทากับ 2,010 พันลานบารเรล (Billion Barrels of Oil Equivalent, BBOE) หารดวยอัตราการบริโภคน้ำมันทั่วโลกที่ประมาณ 83 ลานบารเรลตอวัน เราจะมี

น้ำมันดิบใชตอไปไดอีกประมาณ 66 ป (จากป ค.ศ. 2000)

วิศวกรรมนอกฝั่ง(Offshore Engineering)

7

_________________อ.ดร.พูลพงษ พงษวิทยภานุ

วิทยาลัยพาณิชยนาวีนานาชาติมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตศรีราชา

Page 8: Chapter1 Introduction

42

World consumptionMillion tonnes oil equivalent

009 10080706050403020100999897969594939291908988878685

13000

12000

11000

10000

9000

8000

7000

6000

5000

4000

3000

2000

1000

Coal

HydroelectricityNuclear energyNatural gasOil

Renewables

World primary energy consumption grew by 5.6% in 2010, the strongest growth since 1973. Growth was above average for oil, natural gas, coal, nuclear, hydroelectricity, as well as for renewables in power generation. Oil remains the dominant fuel (33.6% of the global total) but has lost share for 11 consecutive years. The share of coal in total energy consumption continues to rise, and the share of natural gas was the highest on record.

Regional consumption pattern 2010Percentage

Asia PacificAfricaMiddle EastEurope & EurasiaS. & Cent. AmericaNorth America 0

100

80

60

40

10

70

50

30

90

20

The Asia Pacific region continues to lead global energy consumption, accounting for 38.1% of the world total and for 67.1% of global coal consumption. Within the Asia Pacific countries, coal is the dominant fuel, accounting for 52.1% of energy consumption. Oil is the dominant fuel for all other regions except Europe and Eurasia, where natural gas is the leading fuel. In addition to being the largest consumer of coal, the Asia Pacific countries are also the leading users of oil and hydroelectric generation. Europe and Eurasia are leading consumers of natural gas, nuclear power, and renewables in power generation.

42

World consumptionMillion tonnes oil equivalent

009 10080706050403020100999897969594939291908988878685

13000

12000

11000

10000

9000

8000

7000

6000

5000

4000

3000

2000

1000

Coal

HydroelectricityNuclear energyNatural gasOil

Renewables

World primary energy consumption grew by 5.6% in 2010, the strongest growth since 1973. Growth was above average for oil, natural gas, coal, nuclear, hydroelectricity, as well as for renewables in power generation. Oil remains the dominant fuel (33.6% of the global total) but has lost share for 11 consecutive years. The share of coal in total energy consumption continues to rise, and the share of natural gas was the highest on record.

Regional consumption pattern 2010Percentage

Asia PacificAfricaMiddle EastEurope & EurasiaS. & Cent. AmericaNorth America 0

100

80

60

40

10

70

50

30

90

20

The Asia Pacific region continues to lead global energy consumption, accounting for 38.1% of the world total and for 67.1% of global coal consumption. Within the Asia Pacific countries, coal is the dominant fuel, accounting for 52.1% of energy consumption. Oil is the dominant fuel for all other regions except Europe and Eurasia, where natural gas is the leading fuel. In addition to being the largest consumer of coal, the Asia Pacific countries are also the leading users of oil and hydroelectric generation. Europe and Eurasia are leading consumers of natural gas, nuclear power, and renewables in power generation.

รูปที่ 1.4 ประเภทของแหลงพลังงานที่ใชในภูมิภาคตาง ๆ ทั่วโลก [BP, 2011]

จากผลการประเมินปริมาณน้ำมันสำรองบนโลกจาก USGS เมื่อป ค.ศ. 2000 นี้ทำใหหนวยงานที่สำคัญ

อีกหนวยงานหนึ่งที่เกี่ยวของกับการประเมินการใชพลังงานของโลก คือ Energy Information

Administration (EIA) ในประเทศสหรัฐอเมริกา ไดทำการศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับปริมาณน้ำมันสำรองที่มี

อยู โดยจากการศึกษาไดทำการประเมินชวงที่จะมีการผลิตน้ำมันดิบทั่วโลกที่มากที่สุดและชวงระยะเวลา

ที่น้ำมันดิบจะหมดไปจากโลก โดยไดนำเสนอกราฟเพื่อประเมินปริมาณการใชน้ำมันดิบทั่วโลกในอัตราการเติบโต (Growth) ที ่ 2% ดังรูปที่ 1.9 ซึ่งเปนการประมาณคาความตองการในการใชน้ำมันจาก

ปริมาณน้ำมันสำรองที่ถูกคนพบในกรณีตาง ๆ (Different resource levels) กลาวคือ ในกรณีที่มี

ปริมาณน้ำมันสำรองในระดับสูง (High) ที่ 3,896 พันลานบารเรล (billion barrels, bbls) ในระดับปาน

กลาง (Mean) 3,003 bbls และในระดับต่ำ (Low) 2,248 bbls ซึ่งตัวเลขของปริมาณน้ำมันสำรองใน

กรณีตาง ๆ นี้ไดใชขอมูลเดียวกับที ่USGS ไดประเมินไวในป ค.ศ. 2000 แตรวมเอาปริมาณน้ำมันสำรองในประเทศสหรัฐอเมริกาเขาไปดวยจึงทำใหตัวเลขสูงขึ้นกวาขอมูลของ USGS ที่ประเมินไวในรูปที่ 1.8

และจากกราฟเราจะพบไดวา หากพิจารณาปริมาณน้ำมันสำรองที่คนพบในระดับที่ต่ำที่สุด (Low

recovery) การผลิตน้ำมันดิบทั่วโลกจะมีอัตราการเติบโตถึงจุดสูงสุดในชวงประมาณป ค.ศ. 2021 และ

วิศวกรรมนอกฝั่ง(Offshore Engineering)

8

_________________อ.ดร.พูลพงษ พงษวิทยภานุ

วิทยาลัยพาณิชยนาวีนานาชาติมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตศรีราชา

Page 9: Chapter1 Introduction

จะมีอัตราการเติบโตเปนศูนย (Zero growth) ปในชวงประมาณป ค.ศ. 2112 และหากพิจารณาในทุก

สถานการณของการคนพบปริมาณน้ำมันสำรองบนโลก (ปริมาณสูง ปานกลาง และต่ำ) น้ำมันดิบจะหมด

ไปจากโลกในระหวางประมาณป ค.ศ. 2050 ถึง ป ค.ศ. 2100

จากกราฟในรูปที ่ 1.9 เรายังพบวา หากปริมาณการคนพบน้ำมันสำรองอยูในระดับปานกลาง (กราฟเสน

กลาง) และอัตราการเติบโตในการใชพลังงานน้ำมันยังอยูที่ 2% ตอปนั้น ความตองการในการใชน้ำมันจะ

เพิ่มขึ้นจาก 3 หมื่นลานบารเรลตอป เปนมากกวา 6 หมื่นลานบารเรลตอป ในชวงประมาณป ค.ศ. 2037

และเมื่อปริมาณการใชน้ำมันและการผลิตถึงจุดสูงสุด (Peak) ในชวงปนี้ หากเรากำหนดใหอัตราสวนของน้ำมันสำรองตอกำลังการผลิต (The ratio of Reserves to Production, R/P) มีคาคงที่ที่อัตราสวน

เทากับ 10 (R/P =10) แลวนั้น น้ำมันสำรองบนโลกจะหมดลงในชวงป ค.ศ. 2125 ซึ่งเราอาจสรุปไดวา

การบริโภคพลังงานน้ำมันจะเริ่มนอยลงหลังจากป ค.ศ. 2037 เนื่องจากเราจะไมสามารถผลิตน้ำมันดิบได

เพิ่มขึ้น และจะเปนสาเหตุใหราคาน้ำมันมีความผันผวนเปนอยางมาก Figure 2.0 Primary Energy Consumption by Source and Sector, 2010 (Quadrillion Btu)

U.S. Energy Information Administration / Annual Energy Review 2010 37

1 Does not include biofuels that have been blended with petroleum—biofuels are included in“Renewable Energy."

2 Excludes supplemental gaseous fuels.3 Includes less than 0.1 quadrillion Btu of coal coke net exports.4 Conventional hydroelectric power, geothermal, solar/PV, wind, and biomass.5 Includes industrial combined-heat-and-power (CHP) and industrial electricity-only plants.6 Includes commercial combined-heat-and-power (CHP) and commercial electricity-only

plants.

7 Electricity-only and combined-heat-and-power (CHP) plants whose primary business is tosell electricity, or electricity and heat, to the public. Includes 0.1 quadrillion Btu of electricity netimports not shown under “Source.” Notes: Primary energy in the form that it is first accounted for in a statistical energy balance,

before any transformation to secondary or tertiary forms of energy (for example, coal is used togenerate electricity). • Sum of components may not equal total due to independent rounding.Sources: U.S. Energy Information Administration, Annual Energy Review 2010, Tables 1.3,

2.1b-2.1f , 10.3, and 10.4.

รูปที่ 1.5 แสดงการบริโภคน้ำมันจากแหลงพลังงานประเภทตาง ๆ และการใชพลังงานในภาคสวนตาง ๆ เชน ภาคการขนสง ภาคอุตสาหกรรม ภาคครัวเรือนและธุรกิจ

รวมถึงการใชผลิตพลังงานกระแสไฟฟาของประเทศสหรัฐอเมริกาในป 2010 [EIA, 2011]

วิศวกรรมนอกฝั่ง(Offshore Engineering)

9

_________________อ.ดร.พูลพงษ พงษวิทยภานุ

วิทยาลัยพาณิชยนาวีนานาชาติมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตศรีราชา

Page 10: Chapter1 Introduction

รูปที่ 1.6 ปริมาณการผลิตน้ำมัน (หนวย: พันบารเรล) ในประเทศสหรัฐอเมริกาตั้งแตป ค.ศ. 1920 - 2011 [The Economist, Sep 14th 2010, Crisis and collusion: The 50 years under OPEC have been eventful,

access online on 3 November 2011]

รูปที่ 1.7 ปริมาณการผลิตน้ำมันในกลุมประเทศ OPEC ตั้งแตป ค.ศ. 1960 - ปจจุบัน และราคาน้ำมันเฉลี่ย [The Economist, Sep 14th 2010, Crisis and collusion: The 50 years under OPEC have been eventful,

access online on 3 November 2011]

วิศวกรรมนอกฝั่ง(Offshore Engineering)

10

_________________อ.ดร.พูลพงษ พงษวิทยภานุ

วิทยาลัยพาณิชยนาวีนานาชาติมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตศรีราชา

Page 11: Chapter1 Introduction

539

859

612

649

539

649

0

500

1000

1500

2000

2500

3000

BBOE

Total Endow. Remaining Discovered

USGS World Petroleum Assessment 2000

OIL (excluding U.S., Billion barrels)

UndiscoveredConventionalReserve Growth(Conventional)

RemainingReservesCumulativeProduction

2659 2120 (80%) 2010 (76%)

24%

20%

รูปที่ 1.8 ปริมาณน้ำมันสำรองที่เหลืออยูบนโลก (ยกเวนประเทศสหรัฐอเมริกา) มีหนวยเปนพันลานบารเรล (BBOE) [USGS World Energy Assessment Team, 2000]

60

50 2 ? E 40 fn - ?? 2 30 r .- I 20

10

0

i 1 Probability "eEse'y L - - , Low(95%) 2,248 2026 \ 15 Mean (expected value) 3,003

3,896 High (5 %) .*' -

1900 1925 1950 1975 2000 2025 2050 2075 Source Energy Information Administration Note U S volumes were added to the USGS foreign volumes to obtain world totals

Figure 7.7. Growth in demand for oil. (John H. Wood, Gary R. David F. Morehouse. "World Conventional Oil Supply Expected 21st Century." Offshore [April 20031.)

2100 2125

Long, and to Peak in

รูปที่ 1.9 กราฟการประมาณคาปริมาณความตองการในการใชน้ำมันในอัตราการเติบโตที่ 2% ตอป จากตัวเลขการประเมินปริมาณน้ำมันสำรองของ USGS ในป ค.ศ. 2000 ในกรณีตาง ๆ (Different resource levels) ทั่วโลก

(รวมประเทศสหรัฐอเมริกา) จัดทำโดย EIA [Grace, 2007]

ตารางที ่ 1.1 แสดงปริมาณน้ำมันสำรองที่ถูกคนพบในปริมาณที่สูง (High) ปานกลาง (Mean) และต่ำ

(Low) โดยมีหนวยเปนพันลานบารเรล โดยปริมาณน้ำมันสำรองที่ประมาณการไวในระดับปานกลางนั้น

เปนปริมาณที่คาดวาจะมีอยูจริง (Expected value) และนอกจากนี้ในตารางยังจำแนกอัตราการเติบโต

ในการใชพลังงานน้ำมันในอัตรา 0% 1% 2% และ 3% รวมถึงปที่มีการผลิตและการใชพลังงานน้ำมัน

สูงสุด

วิศวกรรมนอกฝั่ง(Offshore Engineering)

11

_________________อ.ดร.พูลพงษ พงษวิทยภานุ

วิทยาลัยพาณิชยนาวีนานาชาติมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตศรีราชา

Page 12: Chapter1 Introduction

ตารางที่ 1.1 การประมาณการน้ำมันสำรองและปริมาณการใชพลังงานน้ำมัน ในอัตราการเติบโตในระดับตาง ๆ [Wood et al., 2003]

6

ในสวนของกาซธรรมชาติ (Natural gas) ซึ่งเปนพลังงานเชื้อเพลิงจากฟอสซิลเชนเดียวกับน้ำมันซึ่งอาจ

สะสมตัวอยูใกลกับบอน้ำมัน และเปนผลพลอยไดจากกระบวนการผลิตน้ำมันตามปกต ิโดยกาซธรรมชาติ

เปนพลังงานที่สะอาด ปลอดภัยและมีประโยชนที่สุดหากเทียบกับพลังงานจากเชื้อเพลิงฟอสซิลในรูป

แบบอื่น ๆ ทำใหเปนหนึ่งในแหลงพลังงานที่สำคัญของโลกในปจจุบัน กาซธรรมชาติเปนผลจากการเนา

เปอยผุผังของซากพืชซากสัตวที่ทับถมมากกวาพันลานปมาแลว โดยเมื่อเวลาผานไปดินโคลน (Mud) หรือดิน (Soil) ที่เคยทับถมอยูบนซากพืชซากสัตวเหลานั้นกลายเปนหิน และผลจากกระบวนการทาง

ความดันและความรอนทำใหวัสดุอินทรียที่เนาเปอยเหลานั้นเปลี่ยนสภาพกลายเปนถานหิน น้ำมันดิบ

และกาซธรรมชาติ โดยการเปลี่ยนสภาพเปนเชื้อเพลิงในรูปแบบตาง ๆ นั้นขึ้นอยูกับสภาพเดิมของซากที่

เนาเปอยที่ถูกทับถมอยูตั้งแตอดีตกาล รวมถึงสภาวะความเหมาะสมของสภาพแวดลอมระหวางการกลาย

สภาพนั่นเอง ดังนั้นโดยสวนใหญแลวแหลงสะสมตัวของกาซธรรมชาติที่อยูใตพื้นดินหรือพื้นทะเลนั้นจะถูกพบในบริเวณใกลเคียงหรือเชื่อมโยงกับแหลงสะสมของน้ำมันดิบ แตอยางไรก็ตามแหลงสะสมตัวของ

กาซธรรมชาติที่ไมมีความเชื่อมโยงกับแหลงสะสมของบอน้ำมันก็สามารถพบเจอไดทั่วไป กาซธรรมชาติ

โดยทั่วไปจะประกอบไปดวยกาซไฮโดรคารบอนหลายชนิด ไดแก มีเทน (Methane) อีเทน (Ethane)

โพรเพน (Propane) บิวเทน (Butane) เพนเทน (Pentane) เปนตน โดยสวนใหญเปนสวนประกอบของ

กาซมีเทนประมาณ 70 - 90% ตารางที่ 1.2 แสดงสวนประกอบของกาซธรรมชาติที่สำคัญ

วิศวกรรมนอกฝั่ง(Offshore Engineering)

12

_________________อ.ดร.พูลพงษ พงษวิทยภานุ

วิทยาลัยพาณิชยนาวีนานาชาติมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตศรีราชา

Page 13: Chapter1 Introduction

ตารางที่ 1.2 สวนประกอบของกาซธรรมชาติที่สำคัญ [Speight, 2007]

62 Chapter 3 Composition and Properties

Table 3-1 Range of Composition of Natural Gas

Gas Composition Range

Methane CH4 70-90%

Ethane C2H6

Propane C3H8 0-20%

Butane C4H10

Pentane and higher hydrocarbons C,Hl, 0-10%

Carbon dioxide CO, 0-8%

Oxygen 0-2 043.2%

Nitrogen N2 0-5%

Hydrogen sulfide, carbonyl sulfide H,S, COS 0-5%

Rare gases: Argon, Helium, Neon, Xenon A, He, Ne, Xe trace

hydrocarbons, such as ethane (C,H,), propane (C,H,) and butane (C4Hlo), as well as other sulfur containing gases in varying amounts (see also Natural Gas Condensate). Natural gas also contains and is the primary market source of helium.

Briefly, natural gas contains hydrocarbons and non-hydrocarbon gases. Hydrocarbon gases are methane (CH,), ethane (C,H,), propane (C,H,), butanes (C4Hlo), pentanes (CsHl,), hexane (C,H14), heptane (C7H16), and sometimes trace amounts of octane (C8H18), and higher molecular weight hydrocarbons. Some aromatics [BTX-benzene (C,H,), toluene (C,H,CH,), and the xylenes (CH,C,H,CH,)] can also be present, raising safety issues due to their toxicity. The non-hydrocarbon gas portion of the natural gas contains nitrogen (N,), carbon dioxide (CO,), helium (He), hydrogen sulfide (H,S), water vapor (H,O), and other sulfur com- pounds (such as carbonyl sulfide (COS) and mercaptans ( eg , CH,SH) and trace amounts of other gases. Carbon dioxide and hydrogen sulfide are commonly referred to as acid gases because they form corrosive compounds in the presence of water. Nitrogen, helium, and carbon dioxide are also referred to as diZuents, because none of them burn, and thus they have no heating value. Mercury can also be present either as a metal in vapor phase or as an organo-metallic compound in liquid

จากที่ไดกลาวมาแลวขางตนวา จากบันทึกทางประวัติศาสตรชาวจีนไดเริ่มการใชกาซธรรมชาติในการตมน้ำใหเดือดเมื่อกวา 500 ปกอนคริสตศักราช Speight (2007) ไดแสดงชวงเวลาของการเริ่มใชกาซ

ธรรมชาติของมนุษย (Timeline for use of natural gas) ไวอยางนาสนใจดังนี้

ป ค.ศ. การใชกาซธรรมชาติ (Use of Natural Gas)

1620 ผูสอนศาสนาชาวฝรั่งเศสไดบันทึกไววา ชาวอินเดียในบริเวณทะเลสาบ Erie (ที่ปจจุบันเปนรัฐนิวยอรก) ไดจุดไฟขึ้นจากกาซธรรมชาติที่ไหลซึมมาสูบริเวณทะเลสาบดังกลาว และตอมาในบริเวณนี้เองมีอุตสาหกรรมกาซธรรมชาติเกิดขึ้นในหมูบาน Fredonia มลรัฐนิวยอรก

1803 ระบบใหแสงสวางดวยกาซธรรมชาติไดถูกขึ้นทะเบียนและจดลิขสิทธิ์ขึ้นที่กรุงลอนดิน โดย Frederick Winsor

1812 บริษัทกาซธรรมชาติแหงแรกในโลกไดถูกตั้งขึ้นในกรุงลอนดอน

1816 บริษัทกาซธรรมชาติแหงแรกในประเทศสหรัฐเมริกาไดถูกตั้งขึ้นในมลรัฐ Baltimore

1817 ไฟสองสวางจากตะเกียงกาซดวงแรกไดถูกจุดขึ้นในมลรัฐ Baltimore ในวันที ่ 7 กุมภาพันธ ซึ่งอาจกลาวไดวาเปนการกำเนิดอุตสาหกรรมกาซธรรมชาติอยางเปนทางการในสหรัฐอเมริกา

1821 แก็สธรรมชาติจากหลุมเจาะ (Natural gas from the wellhead) ไดเริ่มดำเนินการเปนครั้งแรกในหมูบาน Fredonia มลรัฐนิวยอรก สำหรับไฟสองสวางในบานเรือน

1826 กาซสำหรับการหุงอาหารไดถูกคิดคนขึ้นครั้งแรกในประเทศอังกฤษโดย James Sharp และตอมาไดถูกนำไปใชที่ประเทศสหรัฐอเมริกาในป ค.ศ. 1851

วิศวกรรมนอกฝั่ง(Offshore Engineering)

13

_________________อ.ดร.พูลพงษ พงษวิทยภานุ

วิทยาลัยพาณิชยนาวีนานาชาติมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตศรีราชา

Page 14: Chapter1 Introduction

ป ค.ศ. การใชกาซธรรมชาติ (Use of Natural Gas)

1840 มีการใชแก็สธรรมชาติในภาคอุตสาหกรรมเปนครั้งแรกในประเทศสหรัฐอเมริกาในเมือง Centerville มลรัฐเพนซิลวาเนีย โดยใชกาซเพื่อผลิตความรอนในการผลิตเกลือจากน้ำเค็ม

1859 Edwin Drake ไดเจาะบอน้ำมันและกาซธรรมชาติขึ้นสำเร็จเปนครั้งแรกในมลรัฐเพนซิลวาเนีย โดยการใชทอเหล็กเสนผานศูนยกลาง 2 นิ้วและถูกลำเลียงไปตามทอระยะทางกวา 5 ไมลเพื่อใชในหมูบาน Titusville

1870 มีความพยายามที่จะขนสงและลำเลียงกาซธรรมชาติโดยทอที่ทำขึ้นจากไมสน (Pinewood) เปนระยะทางกวา 20 ไมล แตไมสามารถกระทำไดสำเร็จเนื่องจากการรั่วไหลของกาซจากทอสงที่ทำขึ้นจากไมสนนี้

1872 ทอสงกาซที่สามารถลำเลียงกาซไดในระยะทางไกลไดถูกทำขึ้นสำเร็จเปนครั้งแรกในรัฐเพนซิลวาเนีย

1880 Thomas Edison ไดยืนยันความสามารถของการผลิตไฟสองสวางไดจากกระแสไฟฟาโดยจะมาแทนที่การใชกาซธรรมชาติเพื่อการผลิตไฟสองสวาง

1885 Robert Bunsen ไดผลิตตะเกียงบุนเซน (Bunsen burner) ไดสำเร็จโดยการใชกาซธรรมชาติในการจุดไฟ ตะเกียงบุนเซนเปนตะเกียงกาซที่ใชในหองปฏิบัติการทั่วไปเมื่อตองการอุณหภูมิที่สูง โดยสามารถปรับปริมาณของอากาศไดแตไมสามารถปรับปริมาณของแก็ส

1891 ทอสงกาซความยาวกวา 120 ไมลไดถูกสรางขึ้นเพื่อลำเลียงกาซธรรมชาติจากหลุมเจาะจาก Central Indiana สูงเมืองชิคาโก

1899 เครื่องยนตสันดาปภายใน (Internal combustion engine) ไดถูกพัฒนาขึ้นจนสามาถทำใหสามารถบีบอัดกาซและลำเลียงไดในระยะทางที่ไกลขึ้น

1900 กาซธรรมชาติไดถูกคนพบในกวา 17 มลรัฐในประเทศสหรัฐอเมริกา โดยในขณะนั้นถานหินยังเปนแหลงพลังงานหลักของสหรัฐอเมริกา โดยมีสวนแบงในการผลิตพลังงานกวา 60% จากไม 35% และจากน้ำมันและกาซธรรมชาติเพียง 5% อยางไรก็ตาม ในป ค.ศ. 1910 การผลิตพลังงานจากไมไดหมดไป ทำใหถานหินเปนแหลงพลังงานหลักจนกระทั่งสงครามโลกครั้งที่ 2

1904 กาซธรรมชาติไดถูกใชสำหรับการใหความรอนเพื ่อการผลิตกระแสไฟฟาและการตมน้ำในกรุงลอนดอนเปนครั้งแรก

1907 หลุมเจาะกาซหลุมแรกไดถูกดำเนินการขึ้นในรัฐเทกซัสในทุง Petrolia โดย Edwin Brown และไดถูกลำเลียงสูเมืองใกลเคียงในอีกหลายเมือง โดยในป ค.ศ. 1913 สามารถสงไปสูมลรัฐ Dallas, Fort Worth และอีกกวา 21 เมือง โดย Brown ไดกอตั้ง Lone Star Gas ในป 1909

1908 หนวยวัดกาซธรรมชาติไดถูกกำหนดขึ้นเปนมาตรฐานครั้งแรกในมลรัฐวิสคอนซิน ไดแก British Thermal Unit (Btu)

1915 บอน้ำมันที่ปลดประจำการ (Deplete reservoirs) ไดถูกใชเปนที่กักเก็บกาซธรรมชาติเปนครั้งแรก

1918 American Gas Association ไดถูกจัดตั้งขึ้นเพื่อรวมกิจการของ American Gas Institute และ National Commercial Gas Association โดยในสิ้นปมีลูกคาที่ใชกาซธรรมชาติในสหรัฐอเมริกากวา 2.5 ลานคน

1920 การผลิตทอเหล็กที่ใชการเชื่อมตะเข็บดวยไฟฟาไดถูกใชเปนครั้งแรกและไดถูกนำไปใชในอุตสาหกรรมทอสงแก็สธรรมชาติในเวลาตอมา

1931 ทอสงแก็สขนาดเสนผานศูนยกลาง 24 นิ้วถูกใชในการลำเลียงแก็สธรรมชาติจากมลรัฐเทกซัสสูมลรัฐชิคาโกเปนระยะทางกวา 1,000 ไมล

วิศวกรรมนอกฝั่ง(Offshore Engineering)

14

_________________อ.ดร.พูลพงษ พงษวิทยภานุ

วิทยาลัยพาณิชยนาวีนานาชาติมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตศรีราชา

Page 15: Chapter1 Introduction

ป ค.ศ. การใชกาซธรรมชาติ (Use of Natural Gas)

1943 กาซธรรมชาติถูกพยายามทำใหเปนสถานะของเหลว (Liquefied) หรือ Liquified Natural Gas (LNG) เพื่อชวยในการขนสงและการจัดเก็บ (Transport and Store) เปนครั้งแรกใน Cleveland มลรัฐโอไฮโอ แตในป ค.ศ. 1944 ไดเกิดการระเบิดขึ้นทำใหการพัฒนาชาลงเพื่อตรวจสอบเรื่องความปลอดภัย

1951 เปนครั้งแรกในโลกตะวันตกที่กาซธรรมชาติไดถูกผลิตขึ้นจากบริเวณรอยตะเข็บของแนวชั้นหินที่เปนแหลงสะสมถานหินใตพื้นดินในเมือง Newman Spinney ประเทศอังกฤษ และในปเดียวกันไดมีการลำเลียงแก็สไปตามทอสงแก็สขามทวีป (Trans-Continental Gas Pipeline) เปนระยะทางกวา 1,840 ไมล มีเสนผานศูนยกลางของทอสงแก็สประมาณ 30 นิ้ว จากบริเวณ Texas-Louisiana Gulf Coast สูบริเวณเมือง Philadelphia New Jersey New York โดยมีความดันในทอประมาณ 800 psi และมีสถานีอัดความดันถึง 19 สถานี

1959 LNG ไดถูกผลิตขึ้นและใชในอุตสาหกรรมสำเร็จเปนครั้งแรกใน Louisiana และไดถูกลำเลียงสูประเทศอังกฤษโดยเรือขนสงที่ชื่อวา Methane Pioneer

2002 มีการใชกาซธรรมชาติมากถึงประมาณ 22.7 Tcf โดยเปนสวนแบงของการใชพลังงานถึงหนึ่งในสี่ของความตองการพลังงานในประเทศสหรัฐอเมริกา

2003 กาซธรรมชาติกลายเปนแหลงพลังงานที่เติบโตเร็วที ่สุดและเปนแหลงพลังงานหลักในประเทศสหรัฐอเมริกา จากการรายงานของ Department of Energy’s Annual Energy Outlook (มกราคม 2003)

แก็สธรรมชาติทั่วไปจะสะสมตัวอยูใตชั้นหินพรุน (เชน ชั้นหินทราย) ในเปลือกโลกใตพื้นพิภพ โดยอาจ

สะสมตัวในบริเวณที่ความลึกประมาณ 2 ไมลใตพื้นดินหรืออาจถึงที่ความลึกประมาณ 5 ไมลในบางแหง

หากแหลงสะสมตัวของกาซธรรมชาติไมมีน้ำมันดิบเจือปนหรือไมมีชั้นของน้ำมันดิบและน้ำอยูดานลาง

(Natural gas reservoirs) เราจะเรียกกาซธรรมชาตินั้นวา Non-associated natural gas แตหาก

สะสมตัวอยูในแหลงที่มีน้ำมันดิบ (Petroleum reservoirs) อยูดวยเราจะเรียกกาซธรรมชาติเหลานั้นวา Associated natural gas หรือ Dissolved natural gas ซึ่งหากกาซธรรมชาติถูกปะปนอยูในชั้นน้ำมัน

ดิบ (Oil layer with dissolved gas) จากผลของความกดดันสูงใตพื้นพิภพเราจะเรียกวา Dissolved

gas และหากกาซธรรมชาติสะสมตัวอยูในชั้น Gas cap บนชั้นน้ำมันดิบเราจะเรียกกาซธรรมชาติเหลา

นั้นวา Free gas

นอกจากนี้โดยธรรมชาติของแหลงสะสมกาซธรรมชาติเพียงอยางเดียว หรือ Natural gas reservoirs จะ

มีความดันสูง (High pressure) ทำใหการผลิตกาซธรรมชาติตองกระทำภายใตความดันที่สูงเพื่อชวยให

กาซธรรมชาติสามารถไหลขึ้นมาถึงผิวดินไดโดยอาศัยความกดดันตามธรรมชาติที่มีอยูในแหลงสะสม

อยางไรก็ตามระบบผลิตกาซในลักษณะนี้จะมีความซับซอนนอยกวาแบบ Petroleum reservoirs

เนื่องจากกาซสามารถไหลขึ้นมาสูผิวดินไดดวยพลังงานของตัวเองภายใตวาลวควบคุมแรงดันบริเวณปากหลุม สำหรับกาซธรรมชาติที่อยูในแหลงน้ำมันดิบ (บอน้ำมันดิบ) หรือ Petroleum reservoirs กาซ

ธรรมชาติจะตองถูกแยกตัวออกจากน้ำมันดิบภายใตแรงดันที่ต่ำกวาหลังจากถูกนำขึ้นสูผิวดินและเขา

วิศวกรรมนอกฝั่ง(Offshore Engineering)

15

_________________อ.ดร.พูลพงษ พงษวิทยภานุ

วิทยาลัยพาณิชยนาวีนานาชาติมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตศรีราชา

Page 16: Chapter1 Introduction

กระบวนการแยกกาซในบริเวณปากหลุมเจาะ หากน้ำมันดิบที่ไมมีกาซธรรมชาติสะสมตัวปะปนอยูเลย

หรืออยูในปริมาณที่นอยมากเราจะเรียกวาน้ำมันดิบนั้นวา น้ำมับดิบที่ไมมีชีวิต (Dead crude oil)

เนื่องจากกระบวนการผลิตโดยการนำน้ำมันขึ้นจากหลุมเจาะสูผิวดินจะกระทำไดยากเนื่องจากไมมีพลังงาน (ความดัน) ที่จะชวยขับเคลื่อนขึ้นมานั่นเอง

ขอมูล USGS World Energy Assessment Team (2000) ยังไดทำการประเมินแหลงธรรมชาติกาซบน

โลกที่เหลืออยู (ยกเวนประเทศสหรัฐอเมริกา) ณ ป ค.ศ. 2000 โดยแบงออกเปน 4 ประเภทเชนเดียวกับ

การประเมินปริมาณน้ำมันดิบสำรอง ดังรูปที่ 1.10 โดยพบวา ในป ค.ศ. 2000 หากไมรวมปริมาณกาซธรรมชาติที่ประเมินจากสมมติฐานทางสภาพของธรณีวิทยาและทฤษฎี (Undiscovered Resources)

แลวนั้นจะพบวา กาซธรรมชาติบนโลกมีเหลืออยูที่ประมาณ 1,471 BBOE หรือประมาณ 8,824 ลาน

ลานลูกบาศกฟุต (Trillion Cubic Feet, tcf6) และหากดูถึงปริมาณแก็สธรรมชาติที่คนพบและพิสูจนได

แลวเพียงอยางเดียว (Remaining reserves) ปริมาณสำรองของกาซธรรมชาติจะอยูที่ประมาณ 770

BBOE หรือ 4,621 tcf ซึ่งหากเทียบกับการประเมินปริมาณสำรองของกาซธรรมชาติที่ไดพิสูจนแลว (Natural gas proved reserves) ทั่วโลก (ยกเวนประเทศสหรัฐอเมริกา) โดย EIA7 พบวา ปริมาณกาซ

ธรรมชาติสำรองมีอยูประมาณ 4,889 tcf (ประเทศสหรัฐอเมริกามีปริมาณกาซธรรมชาติสำรองอยูที่

ประมาณ 271 tcf ณ ป ค.ศ. 2000) และ BP (2011) ไดประเมินปริมาณแก็สธรรมชาติในป ค.ศ. 1990

2000 และ 2010 ไวเปนกราฟรูปวงกลมดังรูปที ่ 1.11 โดยปริมาณกาซธรรมชาติสำรองในป ค.ศ. 2000

ทั่วโลก (ยกเวนประเทศสหรัฐอเมริการ) จะอยูที่ประมาณ 154.3 - 4.9 = 149.4 Trillion Cubic Meters (tcm8) หรือประมาณ 5,276 tcf

ขอมูลการผลิตและการใชพลังงานจากกาซธรรมชาติยังไดถูกรายงานไวใน BP (2011) โดยในป ค.ศ.

2010 ทั่วโลกไดมีกำลังการผลิตกาซธรรมชาติเพิ่มขึ้นประมาณ 7.3% โดยประเทศรัสเซียเปนประเทศที่มี

กำลัง (ปริมาตร) การผลิตเพิ่มขึ้นมากที่สุด โดยเพิ่มขึ้นประมาณ 11.6% จากปกอน แตโดยรวมแลวประเทศสหรัฐอเมริการยังคงเปนประเทศที่มีปริมาณการผลิตกาซธรรมชาติที่มากที่สุดในโลก และ

แคนาดาเปนประเทศที่มีกำลังการผลิตลดลงมากที่สุดโดยเปนการลดลงปที่ 4 ติดตอกัน และในสวนของ

การใชพลังงาน ทั่วโลกไดมีการใชพลังงานจากกาซธรรมชาติเพิ่มขึ้นเฉลี่ยประมาณ 7.4% ซึ่งเปนอัตราที่

เพิ่มขึ้นมากที่สุดนับแตป ค.ศ. 1984 โดยประเทศสหรัฐอเมริกาเปนประเทศที่มีอัตราการบริโภคกาซ

ธรรมชาติเพิ่มขึ้นมากที่สุด (ในหนวยของปริมาตร) โดยเพิ่มขึ้นกวา 5.6% ซึ่งนับเปนสถิติใหมในประวัติศาสตร และจากรูปที ่ 1.3 ที่แสดงการใชพลังงานจากแหลงตาง ๆ ทั่วโลก เราจะพบไดวากาซ

วิศวกรรมนอกฝั่ง(Offshore Engineering)

16

_________________อ.ดร.พูลพงษ พงษวิทยภานุ

วิทยาลัยพาณิชยนาวีนานาชาติมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตศรีราชา

6 1 BOE = 6,000 ft3

7 International Energy Statistics, U.S. Energy Information Administration, Online available http://www.eia.gov/cfapps/ipdbproject/IEDIndex3.cfm?tid=3&pid=3&aid=6, accessed on 6 November 2011

8 1 tcm = 35.3145 tcf

Page 17: Chapter1 Introduction

ธรรมชาติเริ่มมีอัตราสวนแบงสำหรับเปนแหลงพลังงานหลักของโลกเพิ่มมากขึ้นหากเทียบกับพลังงานรูป

แบบอื่น ๆ

150

770

551

778

150

778

0

500

1000

1500

2000

2500

BBOE

Gas Endow. Remaining Discovered

USGS World Petroleum Assessment 2000

GAS (excluding U.S., Billion barrels oil equivalent [BBOE])

UndiscoveredConventionalReserve Growth(Conventional)

RemainingReservesCumulativeProduction

2249 2120 (93%) 1471 (65%)

35%

7%

รูปที่ 1.10 ปริมาณกาซธรรมชาติที่เหลืออยูบนโลก (ยกเวนประเทศสหรัฐอเมริกา) มีหนวยเปนพันลานบารเรล (BBOE) [USGS World Energy Assessment Team, 2000]

รูปที่ 1.11 ปริมาณกาซธรรมชาติที่เหลืออยูบนโลกจากขอมูลในป ค.ศ. 1990 2000 และ 2010 มีหนวยเปนลานลานลูกบาศกเมตร (tcm)

[BP, 2011]

วิศวกรรมนอกฝั่ง(Offshore Engineering)

17

_________________อ.ดร.พูลพงษ พงษวิทยภานุ

วิทยาลัยพาณิชยนาวีนานาชาติมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตศรีราชา

Page 18: Chapter1 Introduction

รูปที่ 1.12 ปริมาณการผลิต (Production) และปริมาณการใช (Consumption) กาซธรรมชาติจำแนกตามภูมิภาคทั่วโลก มีหนวยเปนพันลานลูกบาศกเมตร

[BP, 2011]

1.3 อุตสาหกรรมผลิตน้ำมันดิบและกาซธรรมชาติในประเทศไทย (Thailand Oil and Gas Industry)

ในประเทศไทยตามพงศวดารลานนาระบุไววา9 มีการคนพบน้ำมันดิบโดยเจาเมืองเชียงใหมสมัยนั้นไดรับ

รายงานวามีการไหลซึมของน้ำมันดิบที ่ อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม และชาวบานในละแวกนั้นนำน้ำมัน

ดิบที่ไหลซึมออกมาใชเปนยาทารักษาโรคผิวหนัง ซึ่งตอมาเจาเมืองเชียงใหมจึงไดสั่งการใหมีการขุดบอ

เพื่อกับเก็บน้ำมันดิบที่ไหลซึมออกมาและมีการเรียกขานบอดังกลาวในเวลาตอมากวา “บอหลวง” อยางไรก็ตามความพยายามที่จะขุดเจาะคนหาปโตรเลียมของไทยอยางจริงจัง เริ่มตนขึ้นเมื่อกวาศตวรรษ

ที่ผานมาโดย พระเจาบรมวงศเธอ กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธิน พระโอรสองคที่ 35 ในพระบาทสมเด็จ

พระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ทรงจบการศึกษาดานวิศวกรรมจากตรินิตี้คอลเลจ แหงมหาวิทยาลัยแคม

บริดจ พวงดวยวิศวกรรมชั้นสูงจากประเทศฝรั่งเศส รวมทั้งวิชาทหารชางที่ชัทแทมดวย ในป 2464 เมื่อ

ครั้งทรงดำรงตำแหนงผูบัญชาการการรถไฟ ตองการหาเชื้อเพลิงทดแทนสำหรับหัวรถจักรไอน้ำ จึงไดวาจางนักธรณีวิทยาชาวอเมริกัน ชื่อ Wallace Lee เขามาทำการเจาะสำรวจหาน้ำมันดิบในบริเวณบอ

วิศวกรรมนอกฝั่ง(Offshore Engineering)

18

_________________อ.ดร.พูลพงษ พงษวิทยภานุ

วิทยาลัยพาณิชยนาวีนานาชาติมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตศรีราชา

9 เอกสารของ บริษัท เชพรอนประเทศไทยสำรวจและผลิต จำกัด “ยอนรอยปโตรเลียมไทย” Available online at http://www.chevronthailand.com/petroleum_articles.asp, accessed on 8 Nov 2011

Page 19: Chapter1 Introduction

หลวงและพื้นที่บริเวณที่ตั้งของจังหวัดกาฬสินธุในปจจุบัน และแมวาการขุดเจาะในครั้งนั้นจะไมประสบ

ผลสำเร็จเนื่องจากอุปกรณสวนใหญที่ใชในการขุดเจาะนั้น ผลิตขึ้นจากไมจึงมีความไมแข็งแรงและมีขอ

จำกัดในการขุดเจาะอยางมาก แตก็ถือไดวาเปนจุดเริ่มตนในการสำรวจปโตรเลียมในประเทศไทย และดวยเหตุนี้เอง จึงถือไดวาพระเจาบรมวงศเธอกรมพระกำแพงเพชรอัตรโยธินเปนหนึ่งในผูบุกเบิกการ

สำรวจปโตรเลียมในประเทศไทยก็วาได

และจากวิสัยทัศนอันยาวไกลของพระเจาบรมวงศเธอกรมพระกำแพงเพชรอัตรโยธินในขณะทรงดำรง

ตำแหนงผูบัญชาการรถไฟหลวงที่ทรงตระหนักถึงคุณคาและประโยชนของปาไมและทรงเล็งเห็นวากิจการรถไฟที่ใชในประเทศไทยซึ่งเปนแบบหัวรถจักรไอน้ำนั้นจำเปนตองใชฟนเปนเชื้อเพลิงและกลาย

เปนสวนหนึ่งที่ทำใหทรัพยากรปาไมของประเทศลดลง ดวยเหตุนี้จึงเปนจุดเริ่มตนของการสำรวจและ

คนหาปโตรเลียมในประเทศอยางจริงจังและแนวคิดดังกลาวไดกลายเปนแนวคิดที่มีบทบาทสำคัญตอการ

อนุรักษทรัพยากรปาไมใหคงอยูจนถึงรุนลูกรุนหลานจนปจจุบัน

แมวาการเจาะหลุมสำรวจปโตรเลียมในยุดนั้นจะไมประสบผลสำเร็จในการนำปโตรเลียมขึ้นมาใชเปนเชื้อ

เพลิงทดแทนฟนในกิจการรถไฟ แตพระองคก็ทรงมีแนวคิดที ่จะนำหัวรถจักรดีเซลเขามาใชใน

ประเทศไทย เพราะเปนหัวรถจักรที่มีประสิทธิภาพสูงและสิ้นเปลืองพลังงานนอยกวาหัวรถจักรไอน้ำ โดย

ป พ.ศ. 2464 กรมรถไฟหลวงไดมีการสอบราคารถจักรดีเซลขนาดกำลัง 1,000 แรงมา ไปยังผูผลิตใน

ประเทศยุโรป แตยังมิไดตกลงสั่งซื้อจนกระทั่งป พ.ศ. 2471 จึงไดสั่งซื้อรถจักรดีเซลขนาดกำลัง 180 แรงมา จำนวน 2 คัน จากบริษัทสวิสสโลโคโมติฟแอนดแมชีนเวิรค (Swiss Locomotive and Machine

Works) แหงประเทศสวิตเซอรแลนด เขามาใชเปนรถจักรสำหรับสับเปลี่ยนและลากจูงขบวนรถไฟทอง

ถิ่นรอบกรุงเทพมหานคร ซึ่งนับวาเปนรถจักรดีเซลรุนแรกของประเทศไทยที่เปนรากฐานของความ

กาวหนาใหกับกิจการรถไฟ ขณะเดียวกันคนไทยก็ไดรูจักกับการใชน้ำมันดีเซลในบทบาทของการเปนเชื้อ

เพลิงทดแทนฟนดวยนั่นเอง การนำเขาหัวรถจักรดีเซลที่ใชน้ำมันเปนเชื้อเพลิงมาทดแทนหัวรถจักรไอน้ำนั้นถือไดวามีบทบาทอยางมากในการชวยคืนผืนปาใหคงความอุดมสมบูรณไดในยุคนั้น เพราะเมื่อเทียบ

คาพลังงานกันหนวยตอหนวยแลว น้ำมันดีเซลมีประสิทธิภาพในการใหพลังงานสูงกวาเศษไมหรือฟนที่

เปนผลผลิตจากปาไม หากลองนึกภาพดูวาเรายังคงใชฟนเปนเชื้อเพลิงในการขับเคลื่อนหัวรถจักรไปน้ำ

ตอเนื่องกันมาโดยไมมีใครคิดที่จะเปลี่ยนมาใชน้ำมันทดแทน เราจะตองใชฟนเปนจำนวนมากเพียงใดและ

ตองสูญเสียพื้นที่ปาไมกันอีกเทาไหร

ในวงการสำรวจ ผลิตและขุดเจาะปโตรเลียมของไทยนับแตยุคบุกเบิกจนถึงปจจุบัน ชาวตางประเทศนับ

ไดวามีบทบาทสำคัญและทำใหเราไดเรียนรูเกี ่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติอยางปโตรเลียมทั้งในดาน

วิชาการ เทคโนโลย ี รวมถึงการถายทอดประสบการณทำงานจนเกิดการพัฒนาบุคลากรอยางเปนรูป

ธรรม และจากขอมูลที่ไดกลาวมาแลวขางตนเราทราบวาฝรั่งนักสำรวจที่เขามามีบทบาทในวงการ

วิศวกรรมนอกฝั่ง(Offshore Engineering)

19

_________________อ.ดร.พูลพงษ พงษวิทยภานุ

วิทยาลัยพาณิชยนาวีนานาชาติมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตศรีราชา

Page 20: Chapter1 Introduction

ปโตรเลียมไทยเปนคนแรก คือ Wallace Lee ซึ่งเปนนักธรณีวิทยาชาวอเมริกัน ผูซึ่งถูกวาจางใหเขามา

สำรวจหาปโตรเลียมที่แหลงฝาง จ.เชียงใหม และที่ จ.กาฬสินธุ โดยพระบรมวงศเธอพระกำแพงเพชร

อัครโยธิน ในขณะที่ทานไดทรงดำรงตำแหนงผูบัญชาการรถไฟหลวง ซึ่งตอมาก็ไดมีการวาจางชางเจาะชาวอิตาเลียนเขามาทำการเจาะสำรวจปโตรเลียมที่แองฝาง ในบริเวณที่เรียกวา บอหลวง แตก็ไมประสบ

ความสำเร็จ จึงไมสามารถเจาะเขาถึงชั้นที่มีน้ำมันดิบได ปจจุบันบอน้ำมันฝางตั้งอยูในเขตตำบลแมสูน

อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม 10 ดำเนินกิจการภายใตกรมพลังงาน กระทรวงกลาโหม บอน้ำมันแหงนี้คน

พบเมื่อประมาณ 100 ปมาแลว เนื่องจากชาวบานพบน้ำมันลักษณะสีดำไหลซึมขึ้นมาบนผิวดินแตไม

ทราบวาเปนอะไร บางคนคิดวาเปนน้ำมันศักดิ์สิทธิ์จึงนำมาทารางกายเพื่อรักษาโรคตาง ๆ เมื่อความทราบถึงเจาหลวงเชียงใหมจึงใหกันบอน้ำมันไวเปนของหลวงทำใหคนทั่วไปเรียกวาบอหลวงหรือบอเจา

หลวง

ป พ.ศ. 247911 ม.ล กรี เดชาติวงศ นายชางใหญกรมโยธา

เทศบาล ตองการหาปริมาณทรายน้ำมันที่อยูใกลผิวดินเพื่อใชแทนยางแอสฟลต การสำรวจใชเครื่องเจาะสวาน

หมุนดวยแรงคน เรียกวา "เครื่องเจาะบังกา" เจาะ

ประมาณ 10-20 เมตร ไดปริมาณทรายน้ำมันประมาณ

38 ลานลูกบาศกเมตร และยังใชเครื่องเจาะลึก 200 เมตร

อีกหลายหลุมพบน้ำมันในระดับความลึกประมาณ 70 เมตร เรียกหลุมที่พบน้ำมันนี้วา "บอระเบิด" ซึ่งมีกาซ

ธรรมชาติปนอยูดวย กรมทางหลวงจึงไดสรางโรงกลั่น

น้ำมันทดลองขึ้นผลิตน้ำมันได 40,000 ลิตร และจากการ

ขาดอุปกรณและความชำนาญประกอบกับมิใชหนาที่ของ

กรมทางหลวง งานทั้งหมดจึงยุติลง

ในป พ.ศ. 248012 กรมเชื้อเพลิงทหารบกไดเขามาสำรวจ

และการจางนักธรณีวิทยาชาวสวิสเซอรแลนด 2 นาย คือ

Dr. Arnold Heim และ Dr. Hans Hirchi พรอมดวยเจา

วิศวกรรมนอกฝั่ง(Offshore Engineering)

20

_________________อ.ดร.พูลพงษ พงษวิทยภานุ

วิทยาลัยพาณิชยนาวีนานาชาติมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตศรีราชา

10 สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม. บอน้ำมันฝาง : แทนขุดเจาะน้ำมัน เมื่อ พ.ศ. 2495. สำนักบริการเทคโนโลยีสารสนเทศเชียงใหม มหาวิทยาลัยเชียงใหม. Available online at http://library.cmu.ac.th/ntic/picturelanna/detail_picturelanna.php?picture_id=1674, accessed on 9 November 2011.

11 น้ำมันและแกสธรรมชาติ บอน้ำมันฝาง Available online at http://kanchanapisek.or.th/kp8/cem/cem710.html, accessed on 9 November 2011.

12 ความเปนมาของกิจการน้ำมันฝาง ศูนยพัฒนาปโตรเลียมภาคเหนือ กรมการพลังงานทหาร Available online at http://www.npdc.mi.th/Npdc/History_Npdc.htm, accessed on 9 November 2011  

รูปที่ 1.13 แทนขุดเจาะน้ำมันในบอน้ำมันฝาง เมื่อ ปพ.ศ. 2495

[http://library.cmu.ac.th]

Page 21: Chapter1 Introduction

หนาที่ฝายไทยอีก 3 นาย ทำการสำรวจบนผิวดินและขุดบอตื้น ๆ เพื่อตรวจสอบสภาพธรณีวิทยาผิวดิน

ดวยแรงคนหลายบอเพื่อหาทิศทางการซึมของน้ำมันขึ้นมาบนผิวดิน แตก็ไมมีผลอะไรตามมา หลังจากนั้น

ก็ไดมีการเขามาสำรวจและขุดตรวจอีกหลายครั้ง แตก็ยังไมมีการพัฒนาอะไรมากนัก

กรมโลหะกิจเขาดำเนินงานในชวงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 (ป พ.ศ. 2492 - 2499) โดยใชชื่อหนวยงาน

วา “หนวยสำรวจน้ำมันฝาง” ขั้นแรกทำการสำรวจธรณีวิทยาผิวดินและทางอากาศสำรวจธรณีฟสิกส  ป

พ.ศ. 2499 สั่งซื้อเครื่องเจาะชนิด Rotary ที่มีขีดความสามารถในการเจาะลึกได 1,000 - 1,500 เมตร

จากประเทศเยอรมันตะวันตกมาประจำการ ซึ่งการตัดสินใจครั้งสำคัญนี้สงผลใหมีการคนพบน้ำมันดิบจากการเจาะหลุมที ่6 (HL-6) ความลึกประมาณ 230 เมตรบริเวณบอตนขาม ซึ่งหลุมดังกลาวหางออกไป

ทางตะวันออกของแหลงฝาง มีการสรางโรงกลั่นน้ำมันทดลองขนาดเล็ก ทำการกลั่นน้ำมันเปนครั้งคราว

แตละครั้งไดน้ำมันดิบครั้งละประมาณ 1,000 ลิตร สิ่งที่นาสังเกตคือ การกลั่นน้ำมันในระยะนี้ สวนใหญ

มุงเนนในการทำยางแอสฟลต (Asphalt) ซึ่งเปนวัสดุในการทำถนนมากกวาการเจาะหาน้ำมันเพราะเปน

ชวงที่รัฐบาลเรงสรางถนนระหวางเมืองทั่วประเทศ และแมวาภายหลังจะเกิดปญหาขาดงบประมาณในการจัดหาอุปกรณและเครื่องมือที่มีความความมาตรฐานสำหรับการเตรียมหลุมผลิต ทำใหจะตองหยุด

การผลิตลงในที่สุด แตถึงกระนั้นการผลิตในครั้งนั้นก็ทำใหไดน้ำมันทั้งสิ้น 1,040 บารเรล และทำใหคน

ไทยไดรูจักแหลงน้ำมันดังกลาวในนาม “แหลงไชยปราการ” ในปพ.ศ. 2499 งานบอน้ำมันฝางไดโอนไป

ขึ้นกับกรมพลังงานทหาร และในปเดียวกันนั้น Dr. Harold Hutton ผูเชี่ยวชาญดานปโตรเลียมไดเขามา

สำรวจที่บอน้ำมันฝางและรายงานวา น้ำมันดิบที่อำเภอฝางมีมากพอสามารถกลั่นออกมาขายได และเสนอใหมีการสำรวจเพื่อตั้งโรงกลั่นน้ำมันขนาด 1,000 บารเรลขึ้น และในวันที ่12 กันยายน พ.ศ. 2499

กรมพลังงานทหารไดเริ่มพัฒนาการผลิตน้ำมันที่นี่อยางจริงจัง มีการเริ่มผลิตปโตรเลียมขึ้นเปนครั้งแรก

และมีการสำรวจแหลงน้ำมันในพื้นที่ตางๆ ในภาคเหนือ เชน ลุมแองเชียงราย ลุมแองพะเยา และลุมแอง

ลำปาง เปนตน

ตอมากรมการพลังงานทหารจึงไดขออนุมัติจัดสรางโรงกลั่นน้ำมันขนาด 1,000 บารฺเรลขึ้น และก็ไดรับ

อนุมัติจากคณะรัฐมนตรี กรมการพลังงานทหารจึงไดวาจางบริษัท รีไฟนิ่ง แอสโซซิแอต จำกัด  เปนผู

ดำเนินการออกแบบและกอสรางในวงเงิน 56 ลานบาท โดยไดเริ่มกอสรางเมื่อ 31 มกราคม 2501 แลว

เสร็จเมื่อ 27 ธันวาคม 2502  ซึ่งในขณะนั้นกรมการพลังงานทหาร มีหนวยขึ้นตรงที่อำเภอฝาง อยู 2

หนวย คือ กองสำรวจและผลิตวัตถุดิบ  และ กองโรงงานกลั่นน้ำมันที่  1 โรงกลั่นน้ำมันไดถูกออกแบบไวเพื่อทำการกลั่นน้ำมันดิบไชยปราการ ซึ่งเปนน้ำมันดิบชนิดหนักมีคาความถวง เอพีไอ 16 องศา ประกอบ

ดวยหนวยกลั่นตางๆ ดังนี้

         - หนวยกลั่นบรรยากาศ (Topping unit)

        - หนวยกลั่นสูญญากาศ (Vacuum unit)                                

        - หนวยกลั่นแยกสลาย (Thermal cracking unit)     

วิศวกรรมนอกฝั่ง(Offshore Engineering)

21

_________________อ.ดร.พูลพงษ พงษวิทยภานุ

วิทยาลัยพาณิชยนาวีนานาชาติมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตศรีราชา

Page 22: Chapter1 Introduction

        - หนวยฟอกแกสโซลีน (Gasoline treating unit)

        - หนวยฟอกน้ำมันหลอลื่น (Lube oil treating unit)

       - หนวยผสมแกสโซลีน(Gasoline blending unit)

ผลิตภัณฑที่ไดจากการกลั่นน้ำมันดิบไชยปราการมีดังนี้

- น้ำมันดีเซลหมุนปานกลาง  8%

- น้ำมันหลอลื่นเกรดตางๆ  27%

         - น้ำมันแครกแกสโซลีน  8%        - น้ำมันเตาหนัก  57%

น้ำมันดิบจากแหลงไชยปราการมีปริมาณสำรองเพียง 200,000 บารฺเรลเทานั้น  เมื่อโรงกลั่นดำเนินการ

กลั่นเต็มกำลังการผลิต วันละ 1,000 บารฺเรล สามารถกระทำไดชั่วระยะเวลาหนึ่ง น้ำมันดิบที่สูบขึ้นมาก็

มีปริมาณลดลง ไมพอปอนโรงกลั่น จึงจำเปนตองหยุดกลั่นเปนระยะๆ เพื่อสะสมน้ำมันดิบ ตอมาในป พ.ศ. 2506 กองสำรวจและผลิตวัตถุดิบไดสำรวจพบน้ำมันดิบแหลงใหม ในบริเวณตำบลแมสูนหลวง เปน

น้ำมันดิบตางประเภทกับ น้ำมันดิบไชยปราการ มีสวนผสมของน้ำมันเบาและไขพาราฟนสูง นับวา

สามารถแกปญหาการขาดแคลนวัตถุดิบของโรงกลั่นไปไดระยะหนึ่ง แตโรงกลั่นก็ตองประสบกับ ปญหา

ทางดานอุปกรณการกลั่น ถาจะตองทำการกลั่นน้ำมันดิบแหลงใหมใหไดผลคุมคาในการใชทรัพยากรของ

ชาติจะตองมีการปรับปรุงขบวนการผลิตซึ่งตองใชเงินงบประมาณ 57 ลานบาท แตปรากฏวาไดรับอนุมัติเพียง 34 ลานบาท กรมการพลังงานทหาร จึงไดใชงบประมาณดังกลาวดัดแปลงหอกลั่น ใหสามารถกลั่น

น้ำมันดิบแมสูนหลวง ไดเทาที่ไดรับงบประมาณ

ตั้งแตป พ.ศ. 2504 เปนตนมาจนถึงปจจุบัน เรียกไดวาเปนยุคตื่นตัวและยุคที่เรียกกันวายุคโชติชวง

ชัชวาลของอุตสากรรมน้ำมันของประเทศไทย โดยรัฐบาลไดมีนโยบายใหเอกชนเขามาทำการสำรวจปโตรเลียม ซึ่งแตเดิมเปนกิจการที่สงวนไวเฉพาะหนวยงานของรัฐ และในป พ.ศ. 2505 บริษัท Union

Oil Company of California ตอมา คือ บริษัท ยูโนแคล และปจจุบัน คือ บริษัท เชฟรอนประเทศไทย

สำรวจและผลิต จำกัด เปนผูคนพบทั้งกาซธรรมชาติและกาซธรรมชาติเหลวในแหลงที่รูจักกันดีวา แหลง

เอราวัณ ซึ่งเปนแหลงกาซธรรมชาติแหลงแรกในอาวไทย ซึ่งมีปริมาณที่สามารถผลิตในเชิงพาณิชยได

ขณะที่บริษัท Texas Pacific ก็ไดสำรวจพบแหลงกาซธรรมชาติที่รูจักกันในปจจุบันวา แหลงบงกช ซึ่งปจจุบัน บริษัท ปตท.สผ. เปนผูไดรับสัมปทานในการผลิต ซึ่งนับเปนแหลงกาซธรรมชาติที่ใหญที่สุดใน

ปจจุบัน การคนพบปโตรเลียมในแหลงเอราวัณและแหลงบงกชสงผลใหประเทศไทยเปนที่สนใจในสายตา

ของบริษัทน้ำมันตางชาติมากขึ้น ทำใหชวงตนป พ.ศ. 2522 รัฐบาลไดออกประกาศเชิญชวนเอกชนใหมา

ยื่นขอสิทธิการสำรวจและผลิตปโตรเลียมในประเทศขึ้นอีกเปนครั้งที่ 6 ซึ่งในครั้งนี้เอง มีบริษัท Thai

Shell และบริษัท Esso Exploration โดยบริษัท Thai Shell ไดรับสัมปทานคลุมพื้นที่ในเขตจังหวัด

วิศวกรรมนอกฝั่ง(Offshore Engineering)

22

_________________อ.ดร.พูลพงษ พงษวิทยภานุ

วิทยาลัยพาณิชยนาวีนานาชาติมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตศรีราชา

Page 23: Chapter1 Introduction

พิษณุโลก สุโขทัย กำแพงเพชร ซึ่งในป พ.ศ. 2524 ไดมีการขุดพบน้ำมันดิบและกลายเปนแหลงน้ำมันที่

รูจักกันดีในนามแหลงสิริกิติ ์ สวนบริษัท Esso Exploration ก็ไดรับสัมปทานในบริเวณภาคตะวันออก

เฉียงเหนือ ซึ่งมีการขุดพบกาซธรรมชาติที่พัฒนาจนเปนที่รูจักกันในนาม แหลงกาซน้ำพอง ในปเดียวกันนั่นเอง

หลายคนเคยสงสัยวา ทำไมภาครัฐจึงไมเขามาเปนผูดำเนินการสำรวจขุดเจาะและผลิตปโตรเลียมเสียเอง

เพื่อที่จะไดเปนเจาของผลประโยชนจากทรัพยากรมูลคามหาศาลที่เรามีอยู แทนที่จะปลอยใหผล

ประโยชนเหลานี้ตกเปนของบริษัทเอกชน ซึ่งในอดีตรัฐก็เคยมีความคิดเชนนั้น โดยในชวงแรกของการสำรวจขุดเจาะปโตรเลียมในประเทศเปนงานที่สงวนและดำเนินการโดยหนวยงานของรัฐทั้งสิ้น แตดวย

ขอจำกัดในเรื่องของบุคลากรที่มีความรูทางวิชาการดานปโตรเลียมรวมทั้งขั้นตอนการสำรวจและผลิตซึ่ง

ตองใชเครื่องมือ อุปกรณ เทคโนโลยีราคาแพงที่นำเขาจากตางประเทศ ทำใหการขุดเจาะสำรวจในแตละ

หลุมตองใชเงินลงทุนไมนอย อีกทั้งความรูในการสำรวจปโตรเลียมยังมีจำกัดจึงยังไมสามารถที่จะมั่นใจได

วาหลุมที่เจาะลงไปนั้นจะเจอน้ำมันหรือกาซธรรมชาติและจะคุมคากับการลงทุนหรือไม ทำใหรัฐมีความจำเปนตองใหเอกชนเขามาเปนผูชวยรับความเสี่ยงในเรื่องนี้แทนในลักษณะของการใหสัมปทาน โดยรัฐ

เปนผูรับบทบาทในการกำกับดูแล รวมเรียนรูวิธีการทำงานและดูแลผลประโยชนของประเทศในรูปแบบ

ของการเก็บคาภาคหลวงและภาษีตาง ๆ เมื่อมีการผลิตปโตรเลียมจากแหลงที่เอกชนไดสำรวจและผลิต

เมื่อรัฐไดตระหนักแลววาการสำรวจและผลิตปโตรเลียมตองใชเงินทุนมหาศาล และยังมีความเสี่ยงที่สูง

มาก การออกประกาศเชิญชวนใหเอกชนเขามายื่นขอสิทธิ์การสำรวจและผลิตปโตรเลียมในประเทศเปนครั้งแรกจึงไดเริ่มตนขึ้นในป พ.ศ. 2504 โดยมีบริษัทสำรวจและผลิตปโตรเลียมจากตางประเทศใหการ

ตอบรับและสนใจหลายราย จนถือไดวายุคนั้นเปนยุคตื่นตัวของการสำรวจปโตรเลียมในประเทศไทยยุค

หนึ่งเลยทีเดียว

จากขอมูลที่ไดบันทึกไวนั้น บริษัท Union Oil Company of California (หรือปจจุบัน คือ บริษัท เชฟรอนประเทศไทยสำรวจและผลิต จำกัด) คือ บริษัทตางชาติแหงแรกในการไดสิทธิใหทำการสำรวจและ

ผลิตปโตรเลียมในภาคอีสาน หลังจากที่รับการอนุมัติจากภาครัฐในป พ.ศ. 2505 แตอยางไรก็ตาม การ

ขุดเจาะหลุมสำรวจน้ำมันของบริษัทไมประสบผลสำเร็จจึงจำเปนตองคืนสิทธิในพื้นที่ทั้งหมดใหกรมโลหะ

กิจหรือกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติในปจจุบัน ตอมาในป พ.ศ. 2509 บริษัท กัลฟออยล ซึ่งเปนบริษัทตางชาติ

รายที่สองที่ไดรับสิทธิการสำรวจและผลิตปโตรเลียมในบริเวณกรุงเทพมหานครและปริมณฑล แตเมื่อเริ่มทำการขุดเจาะสำรวจก็ไมสามารถพบปโตรเลียมไดเชนเดียวกันจึงไดปรับปรุงหลุมเปนหลุมผลิตน้ำบาดาล

และมอบใหกรมทรัพยากรธรณีเพื่อใชดำเนินกิจการอยางอื่นตอไป แมวาในชวงเริ่มตนของการเจาะ

สำรวจน้ำมันบนฝงในประเทศไทยจะประสบความลมเหลว แตหลังจากที่ทางองคการสหประชาชาติมีการ

ออกกฎหมายทางทะเลที่ใชบังคับแกชาติสมาชิกซึ่งอยูในอาณาเขตชายฝงและใหทรัพยากรใตทะเลใน

พื้นที่ดังกลาวเปนสิทธิแกเจาของประเทศ จึงสงผลใหประเทศไทยสามารถออกประกาศเชิญชวนใหเอกชน

วิศวกรรมนอกฝั่ง(Offshore Engineering)

23

_________________อ.ดร.พูลพงษ พงษวิทยภานุ

วิทยาลัยพาณิชยนาวีนานาชาติมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตศรีราชา

Page 24: Chapter1 Introduction

มายื่นขอสิทธิสัมปทานในการสำรวจและผลิตปโตรเลียมในบริเวณอาวไทยและในทะเลอันดามันได ซึ่ง

ปรากฎวามีบริษัทตางชาติใหความสนใจและไดรับอนุญาตถึง 6 บริษัท และบริษัทที่ประสบผลสำเร็จใน

การขุดเจาะสำรวจและสามารถผลิตในเชิงพาณิชยไดเปนเจาแรกในประเทศไทย คือ บริษัท Union Oil Company of California (หรือปจจุบัน คือ บริษัท เชฟรอนประเทศไทยสำรวจและผลิต จำกัด) โดย

บริษัทพบทั้งกาซธรรมชาติและกาซธรรมชาติเหลวที่มีปริมาณมากพอที่จะผลิตในเชิงพาณิชยจากแแปลง

สัมปทาน B12 ซึ่งไดรับการพัฒนาจนกลายมาเปนแหลงเอราวัณในปจจุบัน หลังจากนั้นบริษัท Texas

Pacific (ปจจุบันไดโอนสิทธิใหกับบริษัท ปตท.สผ. และบริษัทผูรวมทุน) ก็กลายเปนบริษัทสำรวจและ

ผลิตปโตรเลียมรายที่สองในอาวไทยที่เจาะหลุมสำรวจพบกาซธรรมชาติในอาวไทยจากแปลงสัมปทาน B17 และมีการพัฒนาจนกลายเปนแหลงผลิตกาซธรรมชาติที่ใหญที่สุดในประเทศไทยที่รูจักกันในนาม

ของแหลงบงกช ซึ่งจากการเริ่มการสำรวจทำใหประเทศไทยคนพบแหลงปโตรเลียมและกาซธรรมชาติ

เพิ่มมากขึ้นเรื่อยมา เชน แหลงไพลิน แหลงเบญจมาศ และแหลงปลาทอง เปนตน และในสวนของแหลง

ปโตรเลียมบนฝงที่มีการคนพบ เชน แหลงน้ำมันสิริิกิติ ์และแหลงกาซธรรมชาติน้ำพอง เปนตน ปจจุบันมี

ผูไดรับสัมปทานในการสำรวจและผลิตปโตรเลียม 20 ราย แบงเปน 26 สัมปทาน 33 แปลงสำรวจ โดยสามารถแบงไดดังนี้

• บนบก 7 สัมปทาน 7 แปลงสำรวจ

• อาวไทย 17 สัมปทาน 24 แปลงสำรวจ

• อันดามัน 2 สัมปทาน 2 แปลงสำรวจ

• พื้นที่พัฒนารวมไทย - มาเลเซีย

ระบบสัมปทานปโตรเลียม13 (Petroleum Concession System) ในประเทศไทยนั้นจะใหสิทธิผูกขาด

แกผูรับสัมปทานเพียงผูเดียวในการประกอบกิจการปโตรเลียมในพื้นที่ที่ไดรับสัมปทาน โดยรัฐจะใหสิทธิ

ในการสำรวจและผลิตปโตรเลียมในบริเวณหนึ่งภายในเวลาที่กำหนดและปโตรเลียมที่พบจะเปนของผูรับ

สัมปทาน นอกจากนี้ผูรับสัมปทานลงทุนจะเปนผูที่รับความเสี่ยงทั้งหมด รัฐจะไดรับผลประโยชนจากผูรับสัมปทานชำระผลประโยชนใหรัฐในรูปของคาภาคหลวงและภาษีเงินไดตามขอกำหนดของกฎหมาย

2 ฉบับ คือ ตามพระราชบัญญัติปโตรเลียม ไดแก คาภาคหลวงและผลประโยชนตอบแทนพิเศษ และ

ตามพระราชบัญญัติภาษีเงินไดปโตรเลียม ไดแก ภาษีเงินไดปโตรเลียมจัดเก็บโดยกรมสรรพากร ตั้งแต

อดีตจนถึงปจจุบัน ประเทศไทยมีพระราชบัญญัติปโตรเลียม ดังนี้

• พระราชบัญญัติปโตรเลียม พ.ศ. 2514• พระราชบัญญัติปโตรเลียม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2516

• พระราชบัญญัติปโตรเลียม (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2522

• พระราชบัญญัติปโตรเลียม (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2532

วิศวกรรมนอกฝั่ง(Offshore Engineering)

24

_________________อ.ดร.พูลพงษ พงษวิทยภานุ

วิทยาลัยพาณิชยนาวีนานาชาติมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตศรีราชา

13 ไกรฤทธิ์ นิลคูหา. 2554. โครงการฝกอบรม นักบริหารทรัพยากรธรณี. การปฎิบัติงานของกองเชิ้อเพลิงธรรมชาติ. เอกสารนำเสนอ งานดานทรัพยากรและอุตสาหกรรมพลังงาน กองเชื้อเพลิงธรรมชาติ.

Page 25: Chapter1 Introduction

• พระราชบัญญัติปโตรเลียม (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2534

• กฎกระทรวงออกตามความในพระราชบัญญัติปโตรเลียม 20 ฉบับ

• ประกาศกรมทรัพยากรธรณี ออกตามความในพระราชบัญญัติปโตรเลียม 7 ฉบับ

ระบบแบงผลประโยชนที่รัฐนำมาใชตามพระราชบัญญัติปโตรเลียมป พ.ศ. 2514 นั้น กำหนดใหจัดเก็บใน

รูปของคาภาคหลวงซึ่งมีอัตราคงที ่คือ รอยละ 12.5 ของมูลคาปโตรเลียมที่ขายและมีการจัดเก็บภาษีเงิน

ไดในอัตรารอยละ 50 ของกำไรสุทธิ ตอมาในป พ.ศ. 2532 รัฐบาลไดมีการแกไขพระราชบัญญัติ

ปโตรเลียมเพื่อปรับรูปแบบการจัดเก็บคาภาคหลวงสำหรับบริษัทที่ไดรับสัมปทานในชวงตอมา โดยจัดเก็บคาภาคหลวงในรูปแบบขั้นบันไดตามระดับการผลิตตั้งแตรอยละ 5 - 15 ของมูลคาปโตรเลียมที่ขาย

ในขณะที่การจัดเก็บภาษีเงินไดยังอยูในอัตราเดิมคือ รอยละ 50 ของกำไรสุทธ ิพรอมทั้งมีสวนที่เพิ่มเติม

เขามา คือ การจัดเก็บผลประโยชนตอบแทนพิเศษรอยละ 0 - 75 ของกำไรปโตรเลียม ซึ่งผลประโยชน

พิเศษตรงนี้มีจุดประสงคเพื่อใหรัฐไดรับสวนแบงผลประโยชนมากยิ่งขึ้นและจำเปนผลดีตอทั้งเอกชนและ

รัฐ โดยหากเปนชวงที่ปโตรเลียมในตลาดโลกมีราคาสูงและบริษัทผูรับสัมปทานมีการผลิตออกมาขายมากก็จะสงผลใหรัฐไดสวนแบงผลประโยชนมากขึ้นตามไปดวย

กระทรวงพลังงานเปดเผยผลการจัดเก็บรายไดจากกิจการสำรวจและผลิตของผูรับสัมปทานปโตรเลียม

ภายในประเทศและจากพื้นที่พัฒนารวมไทย - มาเลเซีย ในรอบ 12 เดือนของปงบประมาณ 2552 (1

ตค. 2551 - 30 กย. 2552) คิดเปนเงินเขารัฐทั้งสิ้น 140,959 ลานบาท ซึ่งสูงกวายอดที่จัดเก็บของปงบประมาณ 2551 ซึ่งเก็บไดรวม 121,084 ลานบาท ถึง 19,875 ลานบาท (หรือเพิ่มขึ้นรอยละ 16) ใน

ขณะที่ปงบประมาณ 2553 (1 ตค. 2552 - 30 กย. 2553) รัฐสามารถจัดเก็บรายไดทั้งสิ้น 121,519 ลาน

บาท โดยแบงเปนคาภาคหลวงปโตรเลียมที่จัดเก็บจากแหลงในประเทศเปนเงิน 42,045 ลานบาท สวน

แบงรายไดจากากรผลิตปโตรเลียมในพื้นที่พัฒนารวมไทย - มาเลเซีย เปนเงิน 9,970 ลานบาท และราย

ไดจากผลประโยชนตอบแทนพิเศษเปนเงิน 1,780 ลานบาท นอกจากนี้ยังมีรายไดที่จัดเก็บโดยกรมสรรพากร คือ ภาษีเงินไดปโตรเลียม เปนเงิน 67,725 ลานบาท ตามขอมูลที่ไดบันทึกไว ทำใหทราบวา

นับจากการเจาะสำรวจและผลิตปโตรเลียมในอาวไทยหลุมแรก (หลุมสุราษฎร - 1) ถึงปจจุบัน มีผูรับ

สัมปทานปโตรเลียมไดเจาะหลุมปโตรเลียมแลวรวมกันประมาณ 5,000 หลุมจากแหลงปโตรเลียมที่มีอยู

เกือบ 40 แหลง คิดเปนสวนแบงผลประโยชนที่รัฐไดรับมากกวา 1 แสนลานตอป รูปที่ 1.14 แสดงแผนที่

แปลงสัมปทานปโตรเลียมในประเทศไทย และตาราง A.1 แสดงรายละเอียดการใหสัมปทานแหลงผลิตปโตรเลียมในประเทศไทยตั้งแตป พ.ศ. 2514 - 2554

จากการจุดเจาะน้ำมันปโตรเลียมหลุมแรกจนถึงวันนี ้ ขอมูลจากรายงานการผลิตปโตรเลียม (น้ำมันดิบ

กาซธรรมชาติ และน้ำมันสำเร็จรูป) ของกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติปงบประมาณ 2553 ระบุวาประเทศไทย

มีความสามารถในการจัดหาปโตรเลียมในประเทศ (รวมกาซจากพื้นที่พัฒนารวมไทย - มาเลเซีย) ไดเฉลี่ย

วิศวกรรมนอกฝั่ง(Offshore Engineering)

25

_________________อ.ดร.พูลพงษ พงษวิทยภานุ

วิทยาลัยพาณิชยนาวีนานาชาติมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตศรีราชา

Page 26: Chapter1 Introduction

ถึงวันละ 791,160 บารเรลเทียบเทาน้ำมันดิบ (BOE) ซึ่งมาจากกาซธรรมชาติโดยเฉลี่ย 3,258 ลาน

ลูกบาศกฟุตตอวัน (1 BOE = 6,000 ft3) กาซธรรมชาติเหลวเฉลี่ย 96,156 บารเรลตอวัน และน้ำมันดิบ

เฉลี่ย 152,004 บารเรลตอวัน หรือคิดเปนมูลคาประมาณ 1,650 พันลานตอวัน หรือประมาณ 44% ของความตองการการใชพลังงานเชิงพาณิชยขั้นตนของประเทศ (ปริมาณการใชเทากับ 1.78 ลานบารเรล

เทียบเทาน้ำมันดิบตอวัน) โดยพลังงานที่จัดหาไดจากทั้งภายในประเทศและนำเขาคิดเปนปริมาณทั้งหมด

ประมาณ 1.8 ลานบารเรลเทียบเทาน้ำมันดิบตอวัน โดยเปนพลังงานที่ไดจากปโตรเลียมเปนสัดสวนรอย

ละ 81 ที่เหลือไดจากถานหินและน้ำ ตารางที่ 1.3 แสดงการจัดหาปโตรเลียมจากแหลงปโตรเลียมทั้งบน

บกและในทะเลระหวางเดือน มกราคม - สิงหาคม 2554 รูปที ่1.15 แสดงบริเวณการผลิตปโตรเลียมบนฝงและอาวไทยของประเทศไทย

ตารางที่ 1.3 การจัดหาปโตรเลียมทั้งบนบกและในทะเลระหวางดือนมกราคม - สิงหาคม 2554 โดยตัวเลขในวงเล็บเปนการจัดหาปโตรเลียมจากแหลงในพื้นที่พัฒนารวม ไทย – มาเลเซีย [กรมเชื้อเพลิงธรรมชาต1ิ4]

เดือน กาซธรรมชาติ(ลานลบ.ฟุตตอวัน*)

Condensate(บารเรลตอวัน)

น้ำมันดิบ(บารเรลตอวัน)

รวม(บารเรลเทียบเทาน้ำมันดิบตอวัน)

มกราคม 2,665 (706) 96,914 (8,384) 93,864 647,592 (130,745)

กุมภาพันธ 2,762 (704) 90,741 (8,540) 140,522 705,581 (136,885)

มีนาคม 2,854 (799) 80,384 (8,628) 114,061 685,772 (147,433)

เมษายน 2,644 (744) 89,018 (7,966) 147,816 690,694 (136,867)

พฤษภาคม 2,740 (810) 88,625 (8,308) 133,273 692,564 (148,791)

มิถุนายน 2,554 (872) 82,119 (7,922) 139,184 660,063 (159,544)

กรกฎาคม 2,170 (774) 70,037 (8,102) 141,921 584,726 (142,385)

สิงหาคม 2,359 (776) 80,231 (8,080) 150,172 635,267 (142,546)

* 1 ลานลูกบาศกฟุต (ft3) = 5,833 บารเรลเทียบเทาน้ำมันดิบ (BOE)

ในสวนของปโตรเลียมเหลวนั้น ประเทศไทยจัดหาน้ำมันดิบและ Condensate15 ไดประมาณ 1 ลาน

บารเรลตอวัน โดยเปนการจัดหาจากภายในประเทศรอยละ 21 สวนที่เหลือตองนำเขาทั้งหมดคิดเปน

มูลคาเงินสูงถึงประมาณ 7.5 แสนลานบาท อยางไรก็ตาม ประเทศไทยไดสงออกน้ำมันดิบในปริมาณรอยละ 20 ของน้ำมันดิบที่จัดหาไดภายในประเทศ น้ำมันดิบที่จัดหาไดในประเทศสวนที่เหลือจะรวมกับ

น้ำมันดิบที่นำเขาเพื่อสงเขาโรงกลั่น 7 โรงและโรงแยกกาซธรรมชาติเหลว 1 โรง รวมกำลังการผลิตได

ประมาณ 1 ลานบารเรลตอวัน เพื่อแยกเปนผลิตภัณฑสำเร็จรูปตอไป

วิศวกรรมนอกฝั่ง(Offshore Engineering)

26

_________________อ.ดร.พูลพงษ พงษวิทยภานุ

วิทยาลัยพาณิชยนาวีนานาชาติมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตศรีราชา

14 กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ. 2554. ขอมูลสถิติรายงาน การจัดหาปโตรเลียม ป 2554. Official Website of Department of Mineral Resources. Available from Internet, http://www.dmf.go.th/index.php?act=service&sec=yearSupply, accessed on 4 November 2011.

15 ไฮโดรคารบอนเหลว (Heavier Hydrocarbon) : อยูในสถานะที่เปนของเหลวที่อุณหภูมิ และความดันบรรยากาศ เมื่อผลิตขึ้นมาถึงปากบอบนแทนผลิต สามารถแยกจากไฮโดรคารบอนที่มีสถานะเปนกาซบนแทนผลิต เรียกวา คอนเดนเสท (Condensate) สามารถลำเลียงขนสงโดยทางเรือหรือทางทอ นำไปกลั่นเปนน้ำมันสำเร็จรูปตอไป (ขอมูลสาระนารู NGV คืออะไร โดย ปตท.สผ)

Page 27: Chapter1 Introduction

รูปที่ 1.14 แผนที่แสดงแปลงสัมปทานปโตรเลียมในประเทศไทย [http://www.dmf.go.th]

วิศวกรรมนอกฝั่ง(Offshore Engineering)

27

_________________อ.ดร.พูลพงษ พงษวิทยภานุ

วิทยาลัยพาณิชยนาวีนานาชาติมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตศรีราชา

Page 28: Chapter1 Introduction

รูปที่ 1.15 รูปแสดงบริเวณการผลิตปโตรเลียมบนฝงและอาวไทยของประเทศไทย

[ไกรศักดิ์, 2554]

จากการบรรลุขอตกลงซื้อขายกาซธรรมชาติในแหลงเอราวัณ ในป พ.ศ. 2521 ระหวาง บริษัท ยูโนแคล จำกัด ในสมัยนั้นกับทางภาครัฐ ทำใหเกิดแหลงกาซธรรมชาติเชิงพาณิชยแหลงแรกในอาวไทย โดยใชชื่อ

วา แหลงกาซธรรมชาติเอราวัณ มีความหมายอันเปนมงคล คือ พลังของชางสามเศียร ซึ่งเปนชางทรงของ

พระอินทร จนในป พ.ศ. 2524 แหลงเอราวัณไดมีการผลิตกาซธรรมชาติขึ้นเปนครั้งแรกนำประเทศไทย

เขาสูยุคทองของการผลิตพลังงานภายในประเทศอยางแทจริง และเพื่อใหสอดรับกับการผลิตกาซ

ธรรมชาต ิบริษัท ปตท. จึงไดมีการลงทุนวางทอสงกาซธรรมชาติใตทะเลที่ยาวที่สุดในโลกในขณะนั้น โดยมีระยะทางทั้งสิ้นประมาณ 425 กิโลเมตร มาขึ้นฝงที่จังหวัดระยองพรอมกับการลงทุนสรางโรงแยกกาซ

ธรรมชาติแหงที ่ 1 เพื่อแยกสวนประกอบของกาซธรรมชาติไปเปนเชื้อเพลิงในโรงไฟฟา ในโรงงาน

อุตสาหกรรม ในครัวเรือนรูปแบบกาซหุงตม และเปนวัตถุดิบในอุตสาหกรรมปโตรเคมีทำใหเกิด

อุตสาหกรรมปลายน้ำที่ตอเนื่องตามมาอีกมากมาย

ในป พ.ศ. 2553 ประเทศไทยสามารถจัดหากาซธรรมชาติจากแหลงภายในประเทศ (รวมพื้นที่พัฒนารวม

ไทย - มาเลเซีย) และนำเขาจากประเทศพมา โดยกาซธรรมชาติจากแหลงภายในประเทศจะสงเขาโรง

แยกกาซ 6 แหง รวมกำลังการผลิตประมาณ 1,900 ลานลูกบาศกฟุตตอวัน ซึ่งกาซธรรมชาติที่จัดหา

ทั้งหมดจะนำไปใชในภาคการผลิตไฟฟา รอยละ 67.8 โรงแยกกาซ รอยละ 16.2 อุตสาหกรรม รอยละ

11.6 การขนสง รอยละ 4.4 สวนกาซธรรมชาติเหลวที่ผลิตไดทั้งหมดจะนำไปใชในอุตสาหกรรมปโตรเคมี นอกจากนี้ ประเทศไทยไดพัฒนาพื้นที่สำรวจเปนพื้นที่ผลิตปโตรเลียมเพิ่มขึ้นและเริ่มผลิตปโตรเลียมอีก

วิศวกรรมนอกฝั่ง(Offshore Engineering)

28

_________________อ.ดร.พูลพงษ พงษวิทยภานุ

วิทยาลัยพาณิชยนาวีนานาชาติมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตศรีราชา

Page 29: Chapter1 Introduction

7 พื้นที่เปนแหลงน้ำมันดิบ 6 พื้นที่ คือ อรุโณทัย บูรพา บึงกระเทียม กุงเหนือ สงขลาสวนขยาย (บัว

บาน) และเปนแหลงกาซธรรมชาติ 1 พื้นที่ คือ แปลง B17 ในพื้นที่พัฒนารวมไทย - มาเลเซีย

จากขอมูลของ บริษัท ปตท.สำรวจและผลิตปโตรเลียม16 จำกัด (มหาชน) การสำรวจและผลิตปโตรเลียม

ของโครงการในประเทศและพื้นที่คาบเกี่ยว ในโครงการบงกชและโครงการอาทิตย มีดังนี้

• โครงการบงกช (แหลงกาซธรรมชาติแหลงแรกที่ดำเนินการโดยคนไทย)

สัมปทาน/สัญญา แปลง B15, B16, B17, G12/48

ขนาดพื้นที่ 3,986 ตารางกิโลเมตร ที่ตั้ง ในอาวไทย หางจากกรุงเทพมหานครประมาณ 600 กิโลเมตร

และอยูนอกชายฝงจังหวัดสงขลา ประมาณ 203 กิโลเมตร

ผูดำเนินการ บริษัท ปตท.สผ.จำกัด (มหาชน)

ระยะการดำเนินงาน ระยะผลิต

แหลงปโตรเลียม แหลงบงกช แหลงตนสัก แหลงตนรัง แหลงตนนกยูง แหลงตนคูณ และแหลงพิกุล

ชนิดของปโตรเลียม น้ำมันดิบ กาซธรรมชาติและคอนเดนเสท

วันที่ลงนามในสัญญา 12 กรกฎาคม 2531

วันที่เริ่มการผลิต 15 กรกฎาคม 2536

แหลงบงกช ประกอบดวยชั้นหินกักเก็บกาซธรรมชาติเปนสวนใหญและมีชั้นหินกักเก็บน้ำมันดิบ

อยูบาง ชั้นหินกักเก็บเหลานี้มีจำนวนมากและถูกแบงแยกออกเปนสวนๆทางธรณีวิทยาโดยรอยเลื่อนของ

ชั้นหินมากมายทำใหการพัฒนาและการผลิตมีความยุงยากซับซอน ผลผลิตของแหลงบงกชเปนกาซ

ธรรมชาติเปนหลัก แตก็มีการผลิตคอนเดนเสท และน้ำมันดิบในปริมาณมากเชนกัน การผลิตของแหลง

บงกช เริ่มตนดวยอัตราการผลิตกาซธรรมชาติครั้งแรกในอัตรา 150 ลานลูกบาศกฟุตในเดือนกรกฎาคม 2536 และเพิ่มการผลิตเปน 250 ลานลูกบาศกฟุตตอวัน ระยะที ่2 ไดเพิ่มอัตราการผลิตกาซฯ เปน 350

ลานลูกบาศกฟุตตอวันและตอมาไดเพิ่มอัตราการผลิตกาซฯ เปน 550 ลานลูกบาศกฟุตตอวัน ในระยะที่

3 ในบางโอกาสมีการผลิตเกินระดับ 600 ลานลูกบาศกฟุตตอวัน ดวยสวนอัตราการผลิตคอนดอนเสท

และน้ำมันดิบไดเพิ่มขึ้นจากอัตรา 3,000-4,000 บารเรลตอวันในระยะที ่ 1 เปน 9,000-10,000 บารเรล

ตอวันในระยะที่ 2 และเปน 13,000-17,000 บารเรลตอวันในระยะที่ 3

วิศวกรรมนอกฝั่ง(Offshore Engineering)

29

_________________อ.ดร.พูลพงษ พงษวิทยภานุ

วิทยาลัยพาณิชยนาวีนานาชาติมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตศรีราชา

16 บริษัท ปตท.สำรวจและผลิตปโตรเลียม. 2554. ธุรกิจของเรา การสำรวจและผลิตปโตรเลียม โดรงการในประเทศและพื้นที่คาบเกี่ยว. Official Website of PTT Exploration and Production. Available from Internet, http://www.pttep.com/th/ourBusiness_EAndPprojectsDetail.aspx?ContentID=39, accessed on 17 November 2011.

Page 30: Chapter1 Introduction

ในวันที่ 1 กรกฎาคม 2541 ปตท.สผ. ในฐานะบริษัทของคนไทย ไดเขาเปนผูดำเนินการ

โครงการบงกช ซึ่งนับเปนแหลงกาซธรรมชาติที่ใหญที่สุดในประเทศ และเปนแหลงแรกที่ดำเนินการโดย

คนไทย อีกทั้งยังเปนการพิสูจนถึงความสามารถของคนไทยในการดำเนินงานสำรวจและผลิตไดอยางมีประสิทธิภาพทัดเทียมกับบริษัทน้ำมันนานาชาต ิ ในเดือนกรกฎาคม 2548 โครงการบงกช ประสบความ

สำเร็จในในการเจาะหลุม BK-7-GR ความยาวประมาณ 5.2 กิโลเมตร เจาะเอียงทำมุม 90 องศา นับเปน

หลุมผลิตกาซธรรมชาติและคอนดอนเสทที่ยาวที่สุดในประเทศไทย หลุม BK-7-GR มีเปาหมายเพื่อผลิต

ปริมาณสำรองกาซธรรมชาติจำนวน 3 หมื่นลานลูกบาศกฟุต ที่อยูในตำแหนงหางจากแทนหลุมผลิตเปน

ระยะทางเกือบ 4.5 กิโลเมตร ขอมูลในป พ.ศ. 2554 ไตรมาส 1 มีอัตราการผลิตโดยเฉลี่ยของกาซธรรมชาต ิ 640 ลานลูกบาศกฟุตตอวัน คอนเดนเสท 21,000 บารเรลตอวัน ไตรมาส 2 มีอัตราการผลิต

โดยเฉลี่ยกาซธรรมชาติ 634 ลานลูกบาศกฟุตตอวัน คอนเดนเสท 21,000 บารเรลตอวัน

22

Good Corporate Governance

! “ ¬ ß “ " ª ! – ® ” ªï 2 5 4 9

1. Rights of Shareholders

Recognizing the rights of all shareholders, PTTEP has takenactions to demonstrate its respect for basic shareholdersû rights,namely to buy, sell, or transfer shares; to obtain adequateinformation; to participate and vote in the shareholdersû meetingon significant issues; and to share in the profits of the company,as follows:

(1) The Company sends meeting notices containingagenda details and related appendices together with the opin-ions of the Board, proxy forms determined by the Ministry ofCommerce, a list of all Independent Directors, and a map show-ing the meeting venue. These notices also contain details aboutthe credentials each shareholder needs to bring to the meeting,together with Company regulations on the meeting and votingprocedures. In addition, shareholders may view information abouteach meeting agenda item on the Companyûs website beforereceiving the notice by mail. As a rule, PTTEP allows registrationof shareholders at least an hour prior to each meeting.

1. !‘"#‘¢ÕߺŸâ$%ÕÀÿâ&

ªµ!."º. µ#–À$—°·%–„À⧫“¡"”§—&' ÷ß" ‘!( ‘¢ÕߺŸâ')ÕÀÿâ$ ®÷߉¥â°”À$¥·$«!“ߥ”‡$ ‘$°“#µà“ßÊ ‡æ )ËÕ"# â“ߧ«“¡¡—Ë$„®«à“ºŸâ')ÕÀÿâ$‰¥â# —*°“#§ÿ⡧#Õß" ‘!( ‘¢—È$æ )È$+“$ Õ—$‰¥â·°à °“#´ )ÈÕ¢“¬À#)Õ‚Õ$Àÿâ$ °“#‰¥â# —*¢âÕ¡Ÿ%¢Õß ªµ!."º. Õ¬à“߇撬ßæÕ °“#‡¢â“# à«¡°“#ª#–™ÿ¡ºŸâ')ÕÀÿâ$#«¡' ÷ß°“#„™â" ‘!( ‘%ߧ–·$$„$‡#)ËÕß! ’Ë"”§—&Ê ¢Õß ªµ!."º. #«¡! —Èß°“#¡’" à«$·* àß„$°”‰# ‡ªì$µâ$ ¥—ß$ ’È

(1) ®—¥" àßÀ$ —ß")Õ‡™‘&ª#–™ÿ¡ºŸâ')ÕÀÿâ$·%–‡Õ°"“#ª#–°Õ*„Àⷰຟâ')ÕÀÿâ$‡ªì$°“#% à«ßÀ$â“Õ¬à“߇撬ßæÕ §#*'â«$ ‚¥¬À$—ß")Õ‡™‘&ª#–™ÿ¡¡’#“¬%–‡Õ’¬¥#–‡* ’¬*«“#–°“#ª#–™ÿ¡ ‡Õ°"“#ª#–°Õ*#–‡* ’¬*«“#–µà“ßÊ æ# âÕ¡§«“¡‡ÀÁ$¢Õߧ,–°##¡°“# ªµ!."º. À$ —ß")Õ¡Õ*©—$!–! ÿ°·**µ“¡!’Ë°#–!#«ßæ“,‘™¬å°”À$¥ ·%–#“¬™)ËÕ¢Õß°##¡°“#Õ‘"#–! —ÈßÀ¡¥ ‡æ )ËÕ„À⺟â')ÕÀÿâ$"“¡“#'‡%)Õ°! ’Ë®–¡Õ*©—$!–„À⇢⓪#–™ÿ¡·!$‰¥â #«¡! —Èß·º$! ’Ë·"¥ß"'“$! ’˪#–™ÿ¡ ´÷Ëß„$À$ —ß")Õ‡™‘&ª#–™ÿ¡ ®–·®âß#“¬%–‡Õ’¬¥¢Õ߇հ"“#! ’˺Ÿâ')ÕÀÿâ$®–µâÕß$”¡“·"¥ß„$«—$ª#–™ÿ¡¥â«¬ ‡æ)ËÕ# —°…“" ‘!( ‘„$°“#‡¢â“ª#–™ÿ¡ #«¡'÷ߢâÕ* —ߧ—**# ‘…—!‡°’ˬ«°—*°“#ª#–™ÿ¡ºŸâ')ÕÀÿâ$ ·%–°“#ÕÕ°‡"’¬ß%ߧ–·$$$Õ°®“°$ ’È ºŸâ')ÕÀÿâ$¬—ß"“¡“#'‡¢â“¥Ÿ¢âÕ¡Ÿ%µà“ßÊ ‡°’ˬ«°—*#–‡* ’¬*«“#–

°“'°”°—(¥Ÿ·)°‘®°“'#’Ë¥’Good Corporate Governance

75

Petroleum Overview and Thailandûs Exploration and Production

A n n u a l R e p o r t 2 0 0 6

Total supply procurement came to 1,610,100 BOED, a1.6% rise from the previous year, broken down into 1,000,900BOED of imported petroleum, a 1.1% drop from the previousyear - namely 825,500 BPD of crude oil (a 0.3% decrease) and25,900 BPD of refined products (a 30.6% drop). Accounting forthese figures were the reduced demand for diesel and fuel oilfor power generation. In the meantime, imported natural gasamounted to 149,500 BOED, a 1.5% rise.

°“!®—¥À“ªî ‚µ!‡"’¬¡# —Èß®“°°“!$”‡¢â“·"–º" ‘µ„$ª!–‡#»¡’ª! ‘¡“% 1,610,100 &“!å‡!"‡#’¬&‡# à“$ È”¡—$¥‘&µàÕ«—$ ‡æ‘Ë¡¢÷È$®“°ªï 2548 ! âÕ¬"– 1.6 ‚¥¬°“!$”‡¢â“ªî‚µ!‡" ’¬¡¡’ª! ‘¡“% 1,000,900&“! å‡!"‡#’¬&‡# à“$ È”¡—$¥‘&µàÕ«—$ "¥"ß!âÕ¬"– 1.1 ·&à߇ªì$°“!$”‡¢â“$ È”¡—$¥‘& 825,500 &“! å‡!"µàÕ«—$ "¥"ß! âÕ¬"– 0.3 ·"–$ È”¡—$'”‡! Á®! Ÿª 25,900 &“! å‡!"µàÕ«—$ "¥"ß! âÕ¬"– 30.6 ‡$(ËÕß®“°°“!$”‡¢â“$ È”¡—$¥’‡´"·"–$È”¡—$‡µ“‡æ(ËÕ$”¡“„™âº" ‘µ°!–·'‰øøÑ“"¥"ß 'à«$°ä“´)!!¡™“µ‘$”‡¢â“ 149,500 &“!å‡!"‡#’¬&‡#à“$ È”¡—$¥‘&µàÕ«—$‡æ‘Ë¡¢÷È$! âÕ¬"– 1.5

°“!º" ‘µ„$ª!–‡#»¡’ª! ‘¡“% 609,100 &“! å‡!"‡# ’¬&‡# à“$ È”¡—$¥‘&µàÕ«—$ ·&à߇ªì$$ È”¡—$¥‘& 129,000 &“!å‡!"µàÕ«—$ ‡æ‘Ë¡¢÷È$! âÕ¬"–13.3 °ä“´)!!¡™“µ‘ 404,700 &“! å‡!"‡# ’¬&‡# à“$ È”¡—$¥‘&µàÕ«—$‡æ‘Ë¡! âÕ¬"– 2.7 ·"–§Õ$‡¥$‡'# 75,400 &“! å‡!"µàÕ«—$ ‡æ‘Ë¡¢÷È$! âÕ¬"– 8.6

‡æ (ËÕ‡æ‘Ë¡§«“¡¡—Ë$§ß¥â“$æ" —ßß“$„Àâ·°àª!–‡#» „$ªï 2550°!–#!«ßæ"—ßß“$‡!àß„À⧫“¡'”§—*°—& 4 $‚¬&“¬À" —° ‰¥â·°à$‚¬&“¬' à߇'! ‘¡§«“¡¡—Ë$§ß¥â“$æ" —ßß“$ # —Èߥâ“$·º$æ—+$“°“!º" ‘µ‰øøÑ“·"–°“!‡µ!’¬¡ÕÕ°' —¡ª#“$ªî ‚µ!‡" ’¬¡‡æ‘Ë¡‡µ‘¡ $‚¬&“¬ª! —&ª!ÿß‚§!ß'! â“ß°‘®°“!æ" —ßß“$ ‚¥¬‡! àߥ”‡$ ‘$°“!ª!—&ª! ÿß°ÆÀ¡“¬¥â“$æ" —ßß“$ $‚¬&“¬' à߇'! ‘¡æ"—ßß“$#¥·#$ ‚¥¬ª! —&‡ªÑ“À¡“¬„Àâ'Õ¥§" âÕß°—&§«“¡‡ªì$®! ‘ß ‡™à$ °“!'à߇'!‘¡°“!„™â°ä“´)!!¡™“µ‘„$!,¬$µå °“!' à߇'! ‘¡°“!„™â$ È”¡—$·°ä'‚´ŒÕ" å ·"–$‚¬&“¬ª!–À¬—¥·"–Õ$ ÿ! —°…åæ" —ßß“$„À⇰‘¥! Ÿª)!!¡ '! â“ß®‘µ'”$ ÷°„$°“!Õ$ ÿ! —°…åæ" —ßß“$„Àâ·°àª!–™“™$

Indigenous output registered 609,100 BOED, made up of129,000 BPD of crude oil (a 13.3% rise), 404,700 BOED ofnatural gas (also a 2.7% rise), and 75,400 BPD of condensate(a 8.6% rise).

For national energy security, in 2007 the Ministry ofEnergy is going to stress four major policies. First, energy supplysecurity, consisting of power development plans and a plan toissue additional petroleum concessions. Second, restructuringof energy affairs, through accelerated amendment of energylegislation. Third, promotion of alternative energy and formula-tion of realistic goals, including the promotion of natural gas invehicles and of gasohol. Finally, practical energy saving andconservation, particularly through greater public awareness.

รูปที่ 1.16 โครงการบงกชในอาวไทย[ปตท.สผ., 2549]

• โครงการอาทิตย

สัมปทาน/สัญญา แปลง บี14เอ, บี15เอ, บี16เอ, จี8/50 และ จี9/48

ขนาดพื้นที่ 4,185 ตารางกิโลเมตร

ที่ตั้ง ในอาวไทย หางจากฝงจังหวัดสงขลาประมาณ 230 กิโลเมตร และทางดานทิศตะวันตกติดกับแปลงสัมปทานบงกช

ผูดำเนินการ บริษัท ปตท.สำรวจและผลิตปโตรเลียม จำกัด (มหาชน)

ระยะการดำเนินงาน ระยะผลิต

แหลงปโตรเลียม แหลงอาทิตย

ชนิดของปโตรเลียม น้ำมันดิบ กาซธรรมชาติและคอนเดนเสท วันที่ลงนามในสัญญา 1 มิถุนายน 2541

วันที่เริ่มการผลิต 1 มีนาคม 2551

วิศวกรรมนอกฝั่ง(Offshore Engineering)

30

_________________อ.ดร.พูลพงษ พงษวิทยภานุ

วิทยาลัยพาณิชยนาวีนานาชาติมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตศรีราชา

Page 31: Chapter1 Introduction

การสำรวจของโครงการอาทิตยเริ่มตนที่เดือนกุมภาพันธ พ.ศ. 2541 โดย ปตท.สผ. ไดทำการ

สำรวจวัดคลื่นสั่นสะเทือนของชั้นหินชนิด 3 มิติคลุมพื้นที่ทั้งสามแปลงสัมปทาน 4,000 ตารางกิโลเมตร

และจากขอมูลธรณีวิทยาและธรณีฟสิกสพบวา มีแหลงที่นาจะสามารถกักเก็บปโตรเลียมไว (Prospect) อยูประมาณ 170 โครงสราง โดยที่พื้นที่ที่มีศักยภาพสูงอยูในแปลงสำรวจ 15A และ 16A เปนสวนใหญ

ซึ่งผลการศึกษาเบื้องตนนี้ไดมีการวางแผนเจาะหลุมสำรวจโปรแกรมแรก ในปลายป 2542 หลุมสำรวจที่

เจาะเปนครั้งแรกนี้มีดวยกัน 7 หลุม เริ่มเจาะในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2542 เสร็จสิ้นในเดือน

พฤษภาคม พ.ศ. 2543 ผลการเจาะทั้ง 7 หลุมนั้นเปนหลุมที่ประสบความสำเร็จพบกาซธรรมชาติทุกหลุม

พิสูจนยืนยันไดวาแปลงสัมปทานของโครงการอาทิตยที่มีศักยภาพทางปโตรเลียมที่ดี โครงการไดทำการเจาะหลุมเพิ่มเติมอีก 14 หลุม ในชวงเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2544 - มกราคม พ.ศ. 2545 พบปโตรเลียม

เพิ่มเติมในปริมาณที่สามารถพัฒนาไดในเชิงพาณิชย ในขั้นของแผนการพัฒนา ไดมีการเจาะหลุมประเมิน

ผลและสำรวจเพิ่มเติม จำนวน 7 หลุม ในปพ.ศ. 2547 แผนพัฒนาขั้นตนในชวงพ.ศ. 2547 – 2549 ได

กอสรางแทนอุปกรณการผลิต 1 แทน แทนที่อยูอาศัย 1 แทน และแทนหลุมผลิต 5 แทน รวมทั้งเจาะ

หลุมประเมินผลและหลุมผลิตจำนวน 56 หลุม เพื่อที่จะผลิตกาซธรรมชาติที่อัตรา 330 ลานลูกบาศกฟุตตอวัน ภายในป พ.ศ. 2550 เมื่อทอสงกาซฯ เสนที่ 3 ของปตท.แลวเสร็จ ในชวงปพ.ศ. 2547 – 2550

คาดวาจะตองใชเงินลงทุนเพื่อการพัฒนาปโตรเลียมระยะแรกอีก 26,000 ลานบาท โดยมีปริมาณ

ทรัพยากรปโตรเลียมที่ใชในการวางแผนพัฒนาอยูที่ 1.9 ลานลานลูกบาศกฟุต

ในป 2544 พระบาทสมเด็จพระเจาอยู ห ัวทรงพระกรุณาโปรดเกลาโปรดกระหมอม พระราชทานชื่อพื้นที่ผลิตปโตรเลียมของโครงการบงกชและโครงการอาทิตยวา “พื้นที่ปโตรเลียมนวมิ

นทร” (Navamindra Petroluem Area)

รูปที่ 1.17 โครงการอาทิตยในอาวไทย[ปตท.สผ., 2547]

วิศวกรรมนอกฝั่ง(Offshore Engineering)

31

_________________อ.ดร.พูลพงษ พงษวิทยภานุ

วิทยาลัยพาณิชยนาวีนานาชาติมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตศรีราชา

Page 32: Chapter1 Introduction

• โครงการพื้นที่พัฒนารวมไทย-มาเลเซีย17 (Joint Development Area, JDA)

เปนบริเวณที่ไทยและมาเลเซียอางสิทธิในไหลทวีปทับซอนกันในบริเวณอาวไทยตอนลาง ครอบคลุมพื้นที ่ประมาณ 7,250 ตารางกิโลเมตร โดยอยูหางจากจังหวัดสงขลาประมาณ 260 กิโลเมตร

หางจากจังหวัดปตตานี 180 กิโลเมตร และจากเมืองโกตาบาร ู รัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซียประมาณ

150 กิโลเมตร จากการศึกษาขอมูลดานธรณีวิทยาธรณีฟสิกส และจากการประเมินผลขอมูลการสำรวจ

ในปจจุบัน มีความเปนไปไดที่จะพบกาซธรรมชาติในพื้นที่พัฒนาจากการศึกษาขอมูลดานธรณีวิทยาธรณี

ฟสิกส และจากการประเมินผลขอมูลการสำรวจในปจจุบันมีความเปนไปไดที่จะพบกาซธรรมชาติในพื้นที่พัฒนารวมสูงถึง 10 ลานลานลูกบาศกฟุต โดยไดมีการกอตั้งองคกรรวมไทย-มาเลเซียมีฐานะเปน

นิติบุคคลที่กอตั้งขึ้นเมื่อวันที ่ 21 มกราคม 2534 โดยมีวัตถุประสงค เพื่อการสำรวจและแสวงประโยชน

จากทรัพยากรธรรมชาติที่ไมมีชีวิตโดยเฉพาะอยางยิ่งปโตรเลียมในพื้นที่พัฒนารวม ไทย-มาเลเซีย โดยมี

หลักการที่สำคัญคือ บรรดาคาใชจายขององคกรรวมที่จายไปและผลประโยชนที่องคกรรวมไดมาจาก

กิจกรรมสำรวจและผลิตปโตรเลียมในพื้นที่พัฒนารวมไทย-มาเลเซีย รัฐบาลทั้งสองจะแบงปนโดยเทาเทียมกัน (50:50) ทั้งนี้องคกรรวมมีอำนาจทำสัญญาใหสิทธิสำรวจและพัฒนาปโตรเลียมแกบริษัทผู

ประกอบการไดภายใตเงื่อนไขของระบบสัญญาแบงปนผลผลิต (Production Sharing Contract - PSC)

ที่ใชในพื้นที่พัฒนารวม มีสาระสำคัญดังนี้ ✦ คาภาคหลวง (น้ำมันและกาซ) 10% ✦ อัตราหักคาใชจาย (น้ำมันและกาซ) 50% ✦ อัตราแบงกำไร (หลังจากหักคาภาคหลวงและคาใชจาย) องคกรรวมได 50% และผูประกอบ

การได 50% ✦ เงินบำรุงการวิจัย 0.5% ของคาใชจายและสวนแบงกำไร ✦ อัตราอากรสงออกน้ำมันดิบ 10% ของสวนแบงกำไร เมื่อมีการสงน้ำมันดิบหรือกาซธรรมชาติ

เหลวไป ขายนอกประเทศไทยหรือมาเลเซีย)✦ อัตราภาษีเงินไดปโตรเลียม

       - ระยะเวลา 8 ปแรกของการผลิต 0% ของกำไรสุทธิ

       - ระยะเวลา 7 ปถัดไป 10% ของกำไรสุทธิ

       - ระยะเวลาหลังจากนั้น 20% ของกำไรสุทธิ      

บริษัทผู ประกอบการที่ไดรับสิทธิเขาทำสัญญาปนผลผลิตกับองคกรรวมคือบริษัทผู ไดรับ

สัมปทาน หรือไดรับสิทธิจากรัฐบาลแตละฝายกอนที่จะเกิดมีบันทึกความเขาใจ ไทย-มาเลเซีย ปพ.ศ.

2522 โดยผูประกอบการ จากแตละฝายตางถือสิทธิฝายละ 50% เทากัน ดังนี้ แปลงสำรวจหมายเลข

วิศวกรรมนอกฝั่ง(Offshore Engineering)

32

_________________อ.ดร.พูลพงษ พงษวิทยภานุ

วิทยาลัยพาณิชยนาวีนานาชาติมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตศรีราชา

17 พื้นที่พัฒนารวมไทย - มาเลเซีย. ขอมูลการดำเนินงาน กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ กระทรวงพลังงาน. Official Website of Department of Mineral Resources. Available from Internet, http://www.dmf.go.th/index.php?act=petroleum&sec=co-area, accessed on 17 November 2011.

Page 33: Chapter1 Introduction

A-18 (พื้นที่ประมาณ 3,000 ตารางกิโลเมตร) บริษัท ไตรตันออยลจากประเทศไทย (50%) กับบริษัทป

โตรนาส ชาริกาล ีจากประเทศมาเลเซีย (50%) ซึ่งบริษัททั้งสองไดรวมกันจัดตั้งบริษัท Carigali- Triton

Company Sdn.Bhd. (CTOC) ขึ้นเปนผูดำเนินงาน แปลงสำรวจหมายเลข B-17 และ C-19 (พื้นที่ประมาณ 4,250 ตารางกิโลเมตร) บริษัท ปตท.สำรวจ และผลิตปโตรเลียม จำกัด จากประเทศไทย

(50%) กับบริษัท ปโตรนาส ชาริกาล ี จากประเทศมาเลเซีย (50%) ซึ่งบริษัททั้งสองไดรวมกันจัดตั้ง

บริษัท Carigali- PTTEPI Operating Company Sdn.Bhd. (CPOC) ขึ้นเปนผูดำเนินงาน ทั้งนี ้องคกร

รวม โดยความเห็นชอบของรัฐบาลทั้งสองประเทศไดลงนามในสัญญาแบงปนผลผลิตกับผูประกอบการ 2

กลุมขางตน เมื่อวันที่ 21 เมษายน 2537 (1994) โดยสัญญามีอายุ 35 ป รูปที ่ 1.18 แสดงพื้นที่พัฒนารวมไทย - มาเลเซีย และรูปที่ 1.19 แสดงเสนทางเดินทอสงกาซธรรมชาติไทย - มาเลเซียจากพื้นที่พัฒนา

รวม ฯ สูฝงประเทศไทย (Trans Thailand Malaysia, TTM)

รูปที่ 1.18 พื้นที่พัฒนารวมไทย-มาเลเซียในโครงการทอสงแก็สธรรมชาติไทย - มาเลเซีย[ไกรศักดิ์, 2554]

และจากขอมูลของ บริษัท ปตท.สำรวจและผลิตปโตรเลียม จำกัด (มหาชน) ในโครงการพื้นที่พัฒนารวม

ไทย - มาเลเซีย แปลง B-17 เปนดังนี้

สัมปทาน/สัญญา แปลง บี-17 และ บี-17-01

ขนาดพื้นที่ 4,700 ตารางกิโลเมตร ที่ตั้ง อาวไทยตอนลาง บริเวณพื้นที่พัฒนารวมไทย-มาเลเซีย

ผูรวมทุน บริษัท ปตท.สผ.อินเตอรเนชั่นแนล จำกัด (ปตท.สผ.อ.) 50%

วิศวกรรมนอกฝั่ง(Offshore Engineering)

33

_________________อ.ดร.พูลพงษ พงษวิทยภานุ

วิทยาลัยพาณิชยนาวีนานาชาติมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตศรีราชา

Page 34: Chapter1 Introduction

บริษัท Petronas Carigali (JDA) จำกัด 50%

ผูดำเนินการ CARIGALI-PTTEPI Operating Company Sdn. Bhd. (CPOC)

ระยะการดำเนินงาน ระยะผลิต แหลงปโตรเลียม Muda, Muda South, Tapi, Jengka, Amarit, Mali,

Jengka West, Jengka East, and Jengka South

ชนิดของปโตรเลียม น้ำมันดิบ และ กาซธรรมชาติ

วันที่ลงนามในสัญญา 21 เมษายน 2537

รูปที่ 1.19 ทอสงกาซธรรมชาติไทย - มาเลเซีย (TTM Pipeline)[ไกรศักดิ์, 2554]

ในป พ.ศ. 2554 ไตรมาส 1 ปริมาณการขายกาซธรรมชาติโดยเฉลี่ยของแหลงพัฒนารวม ฯ

เทากับ 352,000 ลานลูกบาศกฟุตตอวัน คอนเดนเสท 6,600 บารเรลตอวัน มีการเจาะหลุมสำรวจ

จำนวน 3 หลุม  ไดแก หลุม Muda 9 (ตอเนื่องจากป 2553), หลุม CA 18  และหลุม Bulan

SouthWest (กำลังขุดอยู) ประมวลผลการสำรวจคลื่นไหวสะเทือนชั้นหินแบบ 3 มิติ บริเวณ Sub block 8 และ 10 เสร็จสิ้นเมื่อเดือนมีนาคม 2554 ซึ่งขณะนี้อยูระหวางการศึกษาและกำหนดจุดที่จะ

ทำการขุดหลุมในพื้นที่ดังกลาว และในไตรมาส 2 มีอัตราการขายเฉลี่ยของกาซธรรมชาต ิ 358 ลาน

ลูกบาศกฟุตตอวัน กาซธรรมชาติเหลว 9,155 บารเรลตอวัน

วิศวกรรมนอกฝั่ง(Offshore Engineering)

34

_________________อ.ดร.พูลพงษ พงษวิทยภานุ

วิทยาลัยพาณิชยนาวีนานาชาติมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตศรีราชา

Page 35: Chapter1 Introduction

นอกจากนี้สืบเนื่องจากอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศ และภาวะวิกฤตของราคาน้ำมันที่เพิ่ม

สูงขึ้น ทำใหปริมาณความตองการการใชกาซธรรมชาติในประเทศมีแนวโนมที่เพิ่มสูงขึ้นอยางตอเนื่อง

บริษัท ปตท. สำรวจและผลิตปโตรเลียม จำกัด (มหาชน) จึงไดดำเนินการเจรจาซื้อขายกาซธรรมชาติจากแหลงปลาทองและแหลงบงกชใตเพิ่ม โดยเปนผูลงทุนในการวางทอสงกาซธรรมชาติเชื่อมจากแทนผลิต

ทั้ง 2 แหลงดังกลาวมายังระบบทอสงกาซธรรมชาติในทะเลเสนที่ 3 ของ ปตท. โดยมีการกำหนดในการ

รับสงกาซในป พ.ศ. 2554 นี ้ ทั้งนี้พื้นที่ดำเนินการของโครงการทั้งหมด จะอยูในทะเลหางจากบริเวณ

ชายฝงของจังหวัดสุราษฎรธาน ี นครศรีธรรมราชและสงขลา ประมาณ 250 - 300 กิโลเมตรที่ระดับ

ความลึกของน้ำทะเลประมาณ 70 - 80 เมตร รูปที่ 1.20 แสดงรายละเอียดทอสงกาซธรรมชาติเชื่อมแทนผลิตของแหลงปลาทองและแหลงบงกชใตเขากับทอสงกาซธรรมชาติในทะเลเสนที่ 3 ในบริเวณพื้นที่

โครงการในอาวไทย

วิศวกรรมนอกฝั่ง(Offshore Engineering)

35

_________________อ.ดร.พูลพงษ พงษวิทยภานุ

วิทยาลัยพาณิชยนาวีนานาชาติมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตศรีราชา

Page 36: Chapter1 Introduction

รูปที่ 1.19 แสดงโครงการสำรวจและผลิตปโตรเลียมรวมถึงทอสงกาซธรรมชาติบนฝงและในอาวไทย

ที่ดำเนินการโดยบริษัท ปตท. สำรวจและผลิตปโตรเลียม จำกัด (มหาชน)[ปตท.สผ., 2547]

วิศวกรรมนอกฝั่ง(Offshore Engineering)

36

_________________อ.ดร.พูลพงษ พงษวิทยภานุ

วิทยาลัยพาณิชยนาวีนานาชาติมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตศรีราชา

Page 37: Chapter1 Introduction

รูปที่ 1.20 แสดงรายละเอียดทอสงกาซธรรมชาติเชื่อมแทนผลิตของแหลงปลาทองและแหลงบงกชใตกับทอสงกาซธรรมชาติในทะเลเสนที่ 3 ในบริเวณพื้นที่โครงการในอาวไทย

[ปตท., 2554]

วิศวกรรมนอกฝั่ง(Offshore Engineering)

37

_________________อ.ดร.พูลพงษ พงษวิทยภานุ

วิทยาลัยพาณิชยนาวีนานาชาติมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตศรีราชา