ffi#n - ::: คณะแพทยศาสตร์ ... ลอดท ใช เวลานาน...

48
3lsdlstUU'lU]aa3UOO Is: utEJt utau nrsr u u Rsr 8EJ.r?H d ?+tE 1L.: ffi#n q \ k\: \*\ t '- * w"d 'I *'*' - ,i'$$$,j "*, .* , -rjn 17ouun 1 un$RU - Uquruu dJrEJnrsul€Jrura nru:rrunsflranS 2554 |SSN 0899 - 2993 u Hr5 n EJr a-€J r 8€J:ln Li :a3

Upload: nguyendung

Post on 28-Mar-2018

231 views

Category:

Documents


1 download

TRANSCRIPT

Page 1: ffi#n - ::: คณะแพทยศาสตร์ ... ลอดท ใช เวลานาน (Semel-Concepcion, M Gray, Nasr & Conway, 2009) ท าให เก ดความ

3lsdlstUU'lU]aa3UOOnIs: utEJt utau nrsr u u Rsr 8EJ.r?H d

?+tE 1L.:

ffi#n

q

\

k\:\*\ t

'- * w"d 'I *'*'- ,i'$$$,j "*, .* ,

-rjn 17 ouun 1 un$RU - UquruudJrEJnrsul€Jrura nru:rrunsflranS

2554 |SSN 0899 - 2993

u Hr5 n EJr a-€J r 8€J:ln Li

:a3

Page 2: ffi#n - ::: คณะแพทยศาสตร์ ... ลอดท ใช เวลานาน (Semel-Concepcion, M Gray, Nasr & Conway, 2009) ท าให เก ดความ

บรรณาธิการบริหาร คณบดีคณะแพทยศาสตร ผูอํานวยการโรงพยาบาล หัวหนาฝายการพยาบาล ดร.หรรษา เทียนทอง

บรรณาธิการ นางสาวสิริลักษณ สลักคํา

กองบรรณาธิการ นางสาวอรพินท โพธาเจริญ นางสาวนิดดา โชคบุณยสิทธิ์ นางสาวผาณิต สกุลวัฒนะ นางอารีย กุณนะ นางสาวพัชรี จันทรอินทร นางสาวเอื้องทิพย คําปน นายขรรคชัย เกตุสอน นางทัยรัตน พันธุแพ

ฝายรูปเลม นางสาวสุรีย ศิริสุภา

ฝายธุรการ นางเรณู ปุณวัตร

ปก นางรพีพรรณ ไหวศรี

วารสารพยาบาลสวนดอก โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม ปที่ 17 ฉบบัที่ 1 มกราคม – มิถุนายน 2554

ISSN 0899 – 2993

บรรณาธิการแถลง

วารสารพยาบาลสวนดอก ฉบับนี้เปนฉบับที่ 1 ปที่ 17 เดือนมกราคม-มิถุนายน 2554 เปนเวลา 17 ปแลวที่วารสารพยาบาลสวนดอก ไดนําเสนอความรูจากการศึกษาวิจัย, บทความ, ผลงานนวัตกรรมตางๆ ใหทานผูอานไดติดตามกันมาโดยตลอด ฉบับนี้ก็เชนกัน เนื้อหาในฉบับประกอบดวยการศึกษาวิจัย 2 เรื่อง, บทความจากประสบการณการปฏิบัติการพยาบาลโดยอาศัยความรูเชิงประจักษ, นวัตกรรมท่ีสรางขึ้นเพื่อพัฒนาคุณภาพการดูแลผูปวย รวมถึงบุคคลดีเดนที่ฝายการพยาบาลภูมิใจนําเสนอเปนอยางยิ่ง คุณมาลินี วัฒนากูล ทานเปนพยาบาลตัวอยางที่มีความมุงมั่นที่จะพัฒนาวิชาชีพอยางแทจริง

หวังวาเนื้อหาตางๆ ในฉบับจะทําใหเกิดประโยชนตอทานผูอาน ในการที่จะพัฒนาวิชาชีพพยาบาลใหมีความกาวหนา และเหนือประโยชน อื่นใด คือการพัฒนาคุณภาพการดูแลเพื่อประโยชนสูงสุดท่ีจะเกิดกับผูปวยตอไปคะ

บรรณาธิการ

เจาของ : ฝายการพยาบาล โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม พิมพที ่: หนวยสนับสนุนวิชาการ งานบริการวิชาการและวิเทศสัมพันธ คณะแพทยศาสตร

มหาวิทยาลัยเชียงใหม

Page 3: ffi#n - ::: คณะแพทยศาสตร์ ... ลอดท ใช เวลานาน (Semel-Concepcion, M Gray, Nasr & Conway, 2009) ท าให เก ดความ

สารบัญ

การสงเสริมพัฒนาการการใชแขนในผูปวยทารกท่ีมีภาวะ Brachial plexus palsy ปทมา กาคํา, เนตรทอง นามพรม

1

ผลของการใหสามีมีสวนรวมในการดูแลสตรีมีครรภในระยะคลอด (Effect of partner participation in caring pregnant women during labor)

อัจฉรา คําแหง, พิศมัย มาภักดี, สิริวรรณ ปยะกุลดํารง, อมรเลิศ พันธวัตร, รัชฎา วิหครัตน

13

Nipon Hook นิพนธ มานะกุลชัยคํา

23

หมอน 30 องศา: นวัตกรรมปองกันแผลกดทับ พรรณงาม พิมพชู

25

ผาหุมมณีพร มณีพร คุณยศยิ่ง

29

ประสบการณการปฏิบัตกิารพยาบาลโดยอาศัยความรูเชิงประจักษ (Evidence - Based Nursing Practice)

บุปผา จันทรจรัส

33

บุคคลเดนวันนี้ นางสาวมาลินี วัฒนากูล

39

Page 4: ffi#n - ::: คณะแพทยศาสตร์ ... ลอดท ใช เวลานาน (Semel-Concepcion, M Gray, Nasr & Conway, 2009) ท าให เก ดความ

การสงเสริมพฒันาการ การใชแขนในผูปวยทารกทีม่ีภาวะ Brachial plexus palsy

ปทมา กาคํา*

เนตรทอง นามพรม**

Brachial plexus เปนรางแหประสาทบริเวณรักแร เกิดจากการรวมตัวของรากประสาทไขสัน-หลังสวน ventral rami ระดับ C5-T1 ซึ่งเปนชอง

ผานเสนประสาทไปเลี้ยงกลามเนื้อและรับความรูสึกจากบริเวณไหลจนถึงปลายมือ ดังรูปท่ี 1 (Semel-Concepcion, M Gray, Nasr & Conway, 2009)

รูปท่ี 1. แสดงเสนประสาท Brachial plexus. Image courtesy of Michael Brown, MD. จาก http://emedicine.medscape.com/article/317057-media

* พยาบาลชํานาญการพิเศษ หนวยสงเสริมพัฒนาการเด็ก โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม ** อาจารย สํานักวชิาพยาบาลศาสตร คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยเชยีงใหม

Page 5: ffi#n - ::: คณะแพทยศาสตร์ ... ลอดท ใช เวลานาน (Semel-Concepcion, M Gray, Nasr & Conway, 2009) ท าให เก ดความ

2 วารสารพยาบาลสวนดอก

อุบัติการณของการบาดเจ็บของกลุ มเสนประสาท brachial plexus palsy ของทารกแรกเกิดในสหรัฐอเมริกา เทากับ 1.51 คน ตอทารกเกิด 1,000 ราย และ 75-95% สามารถหายไดเอง อัตราการเกิดในทารกเพศหญิงและเพศชายเกิดขึ้นเทาๆ กัน อยางไรก็ตามรายงานลาสุดพบวา จํานวนทารกที่ไดรับบาดเจ็บจากเสนประสาท brachial เกิดจากขนาดศีรษะเด็กและอุงเชิงกรานของแมไมไดสัดสวนกัน, การคลอดทากน, ภาวะไหลคลอดยาก และการคลอดท่ีใชเวลานาน (Semel-Concepcion, M Gray, Nasr & Conway, 2009) ทําใหเกิดความพิการได 3 แบบ (Storment,n.d.) คือ

1. Erb’s palsy มีพยาธิสภาพท่ีราก ประสาทคอที่ 5 และ 6 (C5, C6) ทําใหกลามเนื้อตนแขน ซึ่งเลี้ยงดวยรากประสาท สวนนี้ไมมีแรงเปนอัมพาตไปตนแขนตกหัน เขาใน (adduction) หัวไหลหมุนเขาขางใน (internal rotation) ขอศอกเหยียดออก ขอมืองอและคว่ํามือ ลักษณะนี้พบบอยท่ีสุด บางรายอาจมี phrenic nerve injury รวมดวย

2. Klumpke’s palsy มีพยาธิสภาพท่ีรากประสาทคอท่ี 8 และรากประสาทอกเสนแรก (C8,T1) ทําใหกลามเนื้อมือของเด็กทํางานไมได (wrist drop) ลักษณะนี้พบไดนอยท่ีสุด

รูปท่ี 2. แสดงลักษณะของตําแหนงแขนใน

Erb’s palsy http://pushbraces.com/shoulder-injury.php

รูปท่ี 3. แสดงลักษณะของตําแหนงแขนใน Klumpke’s palsy

http://pushbraces.com/shoulder-injury.php

Page 6: ffi#n - ::: คณะแพทยศาสตร์ ... ลอดท ใช เวลานาน (Semel-Concepcion, M Gray, Nasr & Conway, 2009) ท าให เก ดความ

ปที่ 17 มกราคม – มิถุนายน 2554 3

3. Complete brachial plexus palsy มีพยาธิสภาพจากรากประสาทคอที่ 5 ถึงรากประสาทอกเสนแรก (C5–T1) ทําใหแขนอยูนิ่ง ไมมีเหง่ือออกหรือไมมีความรูสึกอาจ มี Horner’s syndrome (มานตาขางเดียวกันขยายโตรวมดวย) การพยากรณโรคขึ้นอยูกับระดับและความรุนแรงของภยันตรายที่ เกิ ดขึ้ น ส วนใหญจะ มีการพยากรณโรคที่ดีมาก หากพบวาเริ่มมีการฟนตัวภายใน 3 เดือน โดยท่ัวไปการฟนตัวจะเกิดขึ้นไดเต็มท่ีภายใน 18-24 เดือน

การรักษา

ผูปวยสวนใหญ มักมีการฟนตัวของเสน ประสาท โดยไมจําเปนตองรักษาดวยการผาตัดในระหวางท่ีรอการฟนตัวนั้น การรักษาจะมุงเนนท่ีการปองกันภาวะขอยึดติด เปนสําคัญ ประกอบดวย

1. การจัดทา มีวัตถุประสงคเพื่อปองกันขอยึดติด ซึ่งเกิดจากการท่ีมีกลามเน้ือ ออนแรงและไมสมดุลทําใหแขนบิดไปตามแรงของกลามเนื้อท่ีแข็งแรงกวา หลักการจัดทาท่ีถูกตองคือจัดใหอยูในทาตรงขามกับความผิดรูปท่ีคาดวาจะเกิดขึ้น

2. การชวยบริหารเพื่อคงพิสัยของขอ ใหทําอยางนุมนวล แมในขณะที่มีการฟนตัวบางแลว ก็ยังทําตอไป การบริหารดังกลาวควรทําทุกวัน โดยขยับข อต อ ท่ี มีปญหาอ อนแรง ให มีการเคลื่อนไหวในทิศทางท่ีออกแรงเองไมได

3. การออกกําลังเพื่อเพิ่มความแข็งแรงและความทนทานของกลามเนื้อ เม่ือมีการฟนตัวของเสนประสาท กลามเนื้อท่ีเริ่มมีกําลัง ควรกระตุนใหมีการเคลื่อนไหวชนิด active exercise ของสวนที่มีการฟนตัว เพื่อใหเด็กสามารถใชแขนขางนั้นไดดีขึ้น (กมลทิพย หาญผดุงกิจ, 2542)

4. การผาตัด ใชในกรณีท่ีไมมีการฟนตัวของเสนประสาท ทําการผาตัดซอมแซม brachial plexus การพยาบาล ทารกท่ีไดรับการวินิจฉัยจากแพทยวาเปน Brachial plexus palsy ควรไดรับการดูแลตั้งแตแรกคลอดเพื่อสงเสริมใหมีการฟนตัวของเสน ประสาท brachial plexus และเพื่อพัฒนาความ สามารถในการใชแขนของทารก ซึ่งประกอบดวยขั้นตอนดังนี้ 1. การจัดทานอน 2. การประเมินความพรอมของทารกกอนไดรับการสงเสริมพัฒนาการการใชแขน 3. วิธีสงเสริมพัฒนาการใชแขนของทารก โดยมีรายละเอียดดังตอไปนี้ 1. การจัดทานอน ทารกท่ีเปน brachial plexus palsy มีแขนออนแรงขยับไมได และการรับรูความรูสึกอาจเสียไป ทําใหทารกไมระวังการใชแขนขางนั้นขณะนอนหรือกลิ้ง ทําใหไมสามารถจัดแขนใหอยูในทาท่ีถูกตองได ทารกเสี่ยงตอการมีขอยึดติดและแขนถูกกดทับ ดังนั้นการจัดทานอนที่เหมาะสมจะชวยใหแขนไมถูกกดทับ ทรงรูปท่ีปกติโดยมีวิธีการท่ีเนนการจัดทานอนใหแขน ขอมือ ไหล อยูในทาปกติของทารก โดยใชผาออมมาชวยในการหอหรือผูกยึด (Seattle Children’s Hospital, n.d.) การจัดทาทารกมีดังนี้

Page 7: ffi#n - ::: คณะแพทยศาสตร์ ... ลอดท ใช เวลานาน (Semel-Concepcion, M Gray, Nasr & Conway, 2009) ท าให เก ดความ

4 วารสารพยาบาลสวนดอก

อายุ 0 – 3 เดือน

ชวงทารกตื่นจัดทารกในทานอนคว่ําบนอกจับแขนสองขางใหอยูในตําแหนงท่ีท่ีถูกตอง ทานี้ การจัดทานอนคว่ําทารกจะชวยในการจัดตําแหนงของ

แขนทั้งสองขาง

การจัดทานอนตะแคงโดยการใชผามวนในการพยุงหลังเพื่อใหทารกไดใชรางกายท้ังสองดาน โดยจัดแขนทั้งสองขางมาอยูดานหนา ระวังแขน

ขางท่ี บาดเจ็บจะถูกทับ

การอุมขณะใหนม ใหผูอุมพยุงดานหลังไหลทารกโดยใหแขนที่บาดเจ็บอยูดานหนาและใชแขนของผูอุมพยุงไว โดยระวังไมใหแขนที่ได รับบาดเจ็บตก

หรือหอยไปอยูดานหลัง

ท่ีนั่งสําหรับเด็กท่ีใชในรถ (car seat) ใหใชผารอง

เพื่อพยุงแขนดานท่ีบาดเจ็บ อายุ 3 – 6 เดือน

Page 8: ffi#n - ::: คณะแพทยศาสตร์ ... ลอดท ใช เวลานาน (Semel-Concepcion, M Gray, Nasr & Conway, 2009) ท าให เก ดความ

ปที่ 17 มกราคม – มิถุนายน 2554 5

ถาเด็กยังไมสามารถขยับแขนขางท่ีบาดเจ็บได ใหใชผาพยุงแขนขางนั้นไปกอนโดยจัดทาเหมือนตอนอายุ 0-3 เดือน การจัดทานอนคว่ํา ตองจัดใหขอศอกอยูในตําแหนงท่ีเลยหัวไหลเสมอ โดยใชผามวนสอดใตอกและขอศอกขางท่ีบาดเจ็บ ทานี้จะสงเสริมการใชกลามเนื้อคอและไหล เปนการฝกการลงน้ํานักแขนขางท่ีบาดเจ็บดวย 2. การประเมินความพรอมของผูปวยทารกกอนไดรับการสงเสริมพัฒนาการการใชแขน

กอนการสงเสริมพัฒนาการการใชแขนในผูปวยทารก ควรมีการประเมินความพรอมดานรางกายของทารกโดยมีขอปฏิบัติดังนี้ 2.1 ทารกควรมีสุขภาพรางกายท่ีแข็งแรงพอสมควร โดยสังเกตจํานวนครั้งของการหายใจ ทารกหายใจไมมีเหนื่อยหอบ สีผิวแดงดี ไมมีปกจมูกบาน วัดคาความอิ่มตัวของออกซิเจนในกระแสเลือดไมต่ํากวา 90 อัตราการเตนของหัวใจอยูในเกณฑปกติ ไมมีไข ไมมีภาวะของอุณหภูมิต่ํากวา 36.5 องศาเซลเซียส 2.2 กอนไดรับการสงเสริมพัฒนาการทารกควรอยูในภาวะที่ตื่นเต็มท่ี โดยทารกจะแสดงสื่อสัญญาณตางๆ ไดแก หนาตาสดใส ลืมตากวาง หอปาก ทําเสียงออแอ ใหความสนใจตอสิ่งกระตุน ใบหนาผอนคลาย หันหนาไปทางตนเสียงหรือผูดูแล ยิ่มอยางมีความหมาย (มาลี เอื้ออํานวย, 2545) 3. วิธีสงเสริมพัฒนาการการใชแขนในผูปวยทารก Brachial plexus palsy วิธีการสงเสริมพัฒนาการการใชแขนในผูปวยทารกท่ี brachial plexus ไดรับอันตรายจากการ

คลอดนี้ไดจากการประยุกตตํารานวดเทาเพื่อสุขภาพของอาจารยพฤทธิพล สุขปอม (2545) วิธีการนวดทารกแบบทุยหนา (Mercati, 1999) ซึ่งวิธีการนี้ มีผูศึกษาพบวาการนวดดวยความเบาและนุมนวลเปนสิ่งจําเปนสําหรับผูปวยทารก brachial plexus palsy และควรหลีกเลียงการนวดดวยความซึ่งแรงเพราะจะทําใหเกิดผลเสียคือเกิดการขัดขวางเสนประสามและทําใหกลามเนื้อลาได (Shi-chun, 2005) การออกกําลังกายแขนและการออกกําลังกายโดยใช exercise ball และประสบการณของผู เ ขี ยนที่ ให ก ารส ง เส ริมพัฒนาการการใชแขนในทารกที่ไดรับอันตรายตอเสนประสาท brachial plexus มีวิธีการทําดังนี้ 3.1 นวดบริ เ วณหน าอกและหลั งทารกบริเวณดานเดียวกับแขนที่ไดรับบาดเจ็บ โดยใชนิ้วท้ัง 5 นิ้วนวดตามแนวขวางกลามเนื้อหนาอกและหลัง

Page 9: ffi#n - ::: คณะแพทยศาสตร์ ... ลอดท ใช เวลานาน (Semel-Concepcion, M Gray, Nasr & Conway, 2009) ท าให เก ดความ

6 วารสารพยาบาลสวนดอก

3.2 นวดบริเวณแขนทั้งหมด ดังนี้ 3.2.1 ใชนิ้วกลาง นิ้วนาง และนิ้วกอยนวดทั่วแขนโดยนวดจากตนแขนไปปลายแขน

3.2.2 ใชฝามือถูแขนตามแนวขวางของแขนจากตนแขนถึงปลายแขน 3.2.3 ใชนิ้วหัวแมมือและนิ้วมือบีบแขนและปลอยจากตนแขนถึงปลายแขน ชวยการไหลเวียนโลหิต 3.2.4 พยุงบริ เวณขอมือทารกคอยๆ ยกขึ้นเหนือศีรษะเล็กนอย ใชนิ้วกลางและนิ้วนางนวดบริเวณรักแร 3.3 การนวดบริเวณฝามือและนิ้วมือ 3.3.1 จับมือทารกใหหงายขึ้น ใชนิ้วหัวแม มือถูทุกนิ้วเปนวงกลมตามเข็มนาฬิกา โดยถูกตั้งแตปลายนิ้วถึงโคนนิ้ว

3.3.2 ใชนิ้ วหัวแม มือนวดฝามือเปนวงกลมตามเข็มนาฬิกา

3.3.3 หงายฝามือขึ้น ใชฝามือถูไปมาบนฝามือและนิ้วของทารก ชวยใหทารกกํามือและเพิ่มกําลังของนิ้วมือในการถือสิ่งของ 3.3.4 ใชฝามือลูบบนหลังมือของทารก จากบริเวณขอมือไปถึงปลายน้ิวมือชวยใหทารกแบมือหรือกางนิ้วมือออก 3.4 การนวดบริเวณแขนและมือดวยการนวดแผนไทยเพื่อกระตุนการสื่อสัญญาณของระบบปลายประสาท การกระตุนการสื่อสัญญาณของระบบประสาทที่แขนและมือมักจะใชอุปกรณท่ีมีขนาดเล็ก ท่ือไมมีลักษณะแหลมคม เพื่อใชแทนอุปกรณท่ีใชนวดเทาในผูใหญ

ซึ่งในทางปฏิบัติขีดเบาๆ ตามแขน ฝามือและหลังมือเปนรูปแบบตางๆ ดังนี้ 3.4.1 ใชอุปกรณไมปลายมนจุดตามแขน ฝามือ และหลังมือเปนลักษณะเสนประตรงจากตนแขนถึงปลายนิ้ว

Page 10: ffi#n - ::: คณะแพทยศาสตร์ ... ลอดท ใช เวลานาน (Semel-Concepcion, M Gray, Nasr & Conway, 2009) ท าให เก ดความ

ปที่ 17 มกราคม – มิถุนายน 2554 7

3.4.2 ใชอุปกรณไมปลายมนขีดเปนเสนตรงลงมาจากตนแขนถึงปลายนิ้ว

3.4.3 ใชอุปกรณไมปลายมนขีดเปนเสนตรงและเสนขวางจากตนแขนถึงขอมือ

3.5 การออกกําลังกายแขนมีวิธีการดังนี้ 3.5.1 จับแขนของทารกใหกางออกทางดานขาง 3.5.2 จับขอมือทารกคอยๆ ยืดแขนออกและยกขึ้นเหนือศีรษะเล็กนอย 3.5.3 ฝกการลงน้ําหนักขอมือและแขน โดยอุมทารกนั่งตัก ใชมือจับฝามือของทารกใหแบออก ใชอีกมือหนึ่งพยุงบริเวณขอศอก ทําแขนใหตรง ออกแรงในแนวดิ่งลงไปยังขอมือ

3.6 ออกกําลังกายแขนโดยใช exercise ball ดังนี้

3.6.1 จัดใหทารกนอนคว่ําบนลูกบอล พยุงบริเวณลําตัวทารก เหยียดแขนไปดานหนา และจับท่ีขอมือทารก โยกลูกบอลเบาๆ หนาหลัง

3.6.2 จัดใหทารกนอนคว่ําบนลูกบอล พยุงบริเวณลําตัวทารก เอียงลูกบอลไปทางซายขวา เนนใหเอียงไปทางดานแขนขางปกติ เพื่อใหทารกเกร็งกลามเนื้อแขนและหลังเพื่อเกาะลูกบอล

3.6.3 ฝกการลงน้ําหนักขอศอก โดยจัดใหทารกนอนคว่ําบนลูกบอล ใชมือหนึ่งพยุงลําตัวทารก ตั้งขอศอกขึ้นใชอีกมือจับพยุงบริเวณแขนของทารกและกดลงลูกบอลเปนจังหวะขึ้นลง ชา ๆ

Page 11: ffi#n - ::: คณะแพทยศาสตร์ ... ลอดท ใช เวลานาน (Semel-Concepcion, M Gray, Nasr & Conway, 2009) ท าให เก ดความ

8 วารสารพยาบาลสวนดอก

3.6.4 ฝกการลงน้ําหนักขอศอกเหมือนขอ 3.6.3 แตเพิ่มการเอียงลูกบอลไปทางดานแขนท่ีมีปญหา

3.6.5 ฝกการลงน้ําหนักขอศอกเหมือนขอ 3.6.3 แตเปลี่ยนการโยกลูกบอลไปหนาหลัง 3.6.6 ฝกการลงน้ําหนักขอมือและแขน โดยจัดใหทารกนั่งอยูบนลูกบอล พยุงหนาอกและลําตัวทารกไว จัดแขนทารกใหตรง ฝามือแบออกวางบนลูกบอล จับบริเวณขอศอกกดน้ําหนักใหลงไปตามแขนและขอมือ ขณะเดียวกันโยกลูกบอลในแนวขึ้นลงหรือโยกลูกบอลไปหนาหลังการฝกในทานี้ควรเริ่มเม่ือทารกมีอายุ 3-4 เดือนขึ้นไป เนื่องจากทารกจะเริ่มชันศีรษะไดดี

3.7 ฝกใหเด็กใชมือถือของเลน โดยแรกเริ่มใหทารกหัดถือของเลนท่ีมีน้ําหนักเบากอน จากนั้นใหถือของเลนท่ีมีน้ําหนักเพิ่มขึ้น นอกจากนี้ของเลนควรมีลักษณะพื้นท่ีผิวท่ีแตกตางกัน เชน ผิวขรุขระ ผิวเรียบ เปนตน เพื่อกระตุนประสาทสัมผัสของทารก

กิจกรรมที่จัดข้ึนเพื่อสงเสริมพัฒนาการการใชแขนของผูปวยทารก brachial plexus palsy นี้ ควรเริ่มทําหลังจากทารกคลอดและมีอาการคงที่ การฝกเริ่มแรกทํากิจกรรมกับทารกวันละ 1 ครั้ง เม่ือทารกแข็งแรงขึ้นและจําหนายออกจากโรงพยาบาล ทําวันละ 2 ครั้ง เชา-เย็น โดยทุกกิจกรรมสามารถทํากับทารกไดยกเวน ขอ 3.6.6 ท่ีควรทําเม่ือทารกอายุ 3-4 เดือนขึ้นไป ซึ่งจากการติดตามผูปวยทารกท่ีไดรับการฝกพบวาทารกสามารถใชแขนและแขนมีกําลังมากข้ึน ดังตัวอยางกรณีศึกษานี้

กรณีศึกษาผูปวยทารก Brachial plexus palsy เด็กชายไทย น้ําหนักแรกคลอด 3,320 กรัม ไดรับการวินิจฉัยจากแพทยวาเปน Rt Erb’s palsy จากการตรวจรางกายพบวา แขนขวาเคลื่อนไหวในแนวราบไดเล็กนอย แขนหนีบติดลําตัว แขนหมุนเขาดานใน ขอศอกเหยียดปลายแขนอยูในลักษณะคว่ํามือ ขอมือและนิ้วมืองอ ทารกรายนี้ไดรับการสงเสริมพัฒนาการการใชแขนของทารกดังนี้ หลังทารกเกิดได 2 วัน ประเมินความพรอมของทารกพบวาทารกมีความพรอมท่ีจะไดรับการสงเสริม เริ่มดวยการนวดแขนขวา ไหล หนาอกและหลังซีกขวา ฝามือ นิ้วมือ ออกกําลังกาย แขนขวา เม่ือทารกอายุ 8 วัน จัดทานอนใหทารกนอนหงายงอแขนขวา คว่ําฝามือวางมือบนหนาอกหรือทอง และหอตัวทารกดวยผาออม เม่ือทารกมีสุขภาพที่

Page 12: ffi#n - ::: คณะแพทยศาสตร์ ... ลอดท ใช เวลานาน (Semel-Concepcion, M Gray, Nasr & Conway, 2009) ท าให เก ดความ

ปที่ 17 มกราคม – มิถุนายน 2554 9

แข็งแรงมากขึ้น ไดเพิ่มการฝกมากขึ้น โดยเพิ่มการโยกบอลเพื่อลงน้ําหนักขอศอกแขนขวา พรอมกันนี้ไดสอนและสาธิตวิธีการสงเสริมพัฒนาการการใชแขนใหกับมารดาทารกควบคูกันไปดวย จนกระทั่งมารดาทารกมั่นใจและสามารถใหการสงเสริมพัฒนาการการใชแขนแกทารกไดอยางถูกตอง ทารกไดรับการฝกขณะอยูโรงพยาบาลท้ังหมด 12 ครั้ง ผลการฝกทารกขยับแขนขวาในแนวราบไดมากขึ้น และจําหนายทารกออกจากโรงพยาบาล เม่ืออายุ 22 วัน จากน้ันมารดาไดใหการสงเสริมพัฒนาการใชแขนอยางตอเนื่องท่ีบาน และมารับการฝกการใชแขนอยางตอเนื่องท่ีหนวยสงเสริมพัฒนาการเด็ก จํานวนทั้งสิ้น 16 ครั้ง และ มีความกาวหนาของการใชแขนตามลําดับดังนี้ อายุ 1 เดือน 6 วัน

ทารกขยับแขนขวาไดดีขึ้น สามารถตานแรงโนมถวงไดมากข้ึน สอนและสาธิตมารดาใหเพิ่มการลงน้ําหนักมือ และแขนขางขวา การนวดแขนดวยการนวดแผนไทย ฝกการพลิกคว่ํามาทางขวา อายุ 3 เดือน

ทารกยกแขนขวาขึ้นไดเล็กนอย สอนและสาธิตใหมารดาเพิ่มการออกกําลังกายแขนโดยฝกลงน้ําหนักมือและแขนบนลูกบอล และฝกการออกกําลังกายแขนโดยใชลูกบอล ฝกการถือของเลนท่ีมีน้ําหนักเบา อายุ 4 เดือน 10 วัน

ทารกยกแขนขวาไดสูงระดับหนาอก เม่ืออยูในทานอนหงาย นอนคว่ํายกศีรษะได 45 องศา พลิกคว่ํา พลิกหงายได ตั้งขอศอกได ฝกการนั่งใชแขนขวาพยุงตนเอง

อายุ 6 เดือน 12 วัน นอนคว่ํายกอกพนพื้น ยกแขนขวาไดสูงกวา

ระดับใบหู นั่งเองได ยืนลงน้ําหนักขาไดดี แนะนําใหมารดานวดแขนขวา ไหล หนาอกขวา เม่ือทารกหลับ เนื่องจากทารกเริ่มตอตานไมยอมใหมารดานวด อายุ 8 เดือน

คืบไดดีโดยใชท้ังแขนขวาและซาย สอนและสาธิตการฝกคลาน อายุ 10 เดือน

ทารกใชแขนขวาพยุงตนเองชวยในการคลานทารกคลานไดคลองแคลว แตแขนขวามีลักษณะงอเล็กนอย เนื่องจากทารกชอบอมนิ้วมือขวาและใชมือขวาจับสิ่งของเขาปาก เนนมารดาใหฝกการเหยียดของแขน เพิ่มกําลังการถือของเลนโดยการนวดนิ้วมือและฝามือใหมากข้ึน อายุ 1 ป 4 เดือน

เดินเองไดคลองแคลว ใชแขนขวาไดดี แตกลามเนื้อบริเวณตนแขนขวามีความตึงตัวเล็กนอยสอนและสาธิตการนวดเพื่อลดความตึงตัวของกลามเนื้อตนแขนขวา อายุ 1 ป 8 เดือน

เด็กมีพัฒนาการดานรางกายและการใชแขนขวาไดเหมาะสมกับวัย ทารกรายนี้ไดรับการสงเสริมพัฒนาการใชแขนตั้งแตอยูในโรงพยาบาลจนกระทั่งจําหนายออกจากโรงพยาบาลและมารดาใหการสงเสริมพัฒนาการ การใชแขนตอเนื่องท่ีบานและมารับการสอนและสาธิตเพิ่ม เติม ท่ีหนวยส ง เส ริมพัฒนาการเด็ก จนกระทั่งสามารถใชแขนขวาไดเหมือนเด็กปกติเม่ืออายุต่ํากวา 1 ป 8 เดือน

Page 13: ffi#n - ::: คณะแพทยศาสตร์ ... ลอดท ใช เวลานาน (Semel-Concepcion, M Gray, Nasr & Conway, 2009) ท าให เก ดความ

10 วารสารพยาบาลสวนดอก

สรุป การสงเสริมพัฒนาการการใชแขนในทารกที่ไดรับการวินิจฉัยวาเปน brachial plexus palsy เปนบทบาทสําคัญท่ีพยาบาลควรจะสามารถทําได สําหรับวิธีการสงเสริมตองใชหลายวิธีรวมกันทั้งการจัดทา การออกกําลังกายแขน การออกกําลังกายแขนโดยใชการออกกําลังกายดวยลูกบอล(exercise ball) การนวดที่ใชรวมกันทั้งการนวด

แผนไทยและวิธีทุยหนาแบบจีน ท่ีสําคัญทารกตองไดรับการสงเสริมอยางตอเนื่อง รวมกับการสอนและสาธิตวิธีการสงเสริมพัฒนาการการใชแขนแกผูปกครองของทารก ฝกทักษะการทําเพื่อนําไปปฏิบัติกับทารกเมื่อจําหนายกลับไปอยูบานไดอยางถูกตอง ซึ่งจะชวยใหทารกมีพัฒนาการความสามารถในการใชแขนเหมือนหรือใกลเคียงเด็กปกติ

Page 14: ffi#n - ::: คณะแพทยศาสตร์ ... ลอดท ใช เวลานาน (Semel-Concepcion, M Gray, Nasr & Conway, 2009) ท าให เก ดความ

ปที่ 17 มกราคม – มิถุนายน 2554 11

เอกสารอางอิง กมลทิพย หาญผดุงกิจ. (2542). ภยันตรายตอ brachial plexus จากการคลอด. ในกิ่งแกว ปาจรีย

(บรรณาธิการ), การฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการ (หนา 161-165), กรุงเทพฯ: กรีนพริ้นท. พฤทธิพล สุขปอม. (2545). คูมือการนวดเทาเพื่อสุขภาพ. ลําปาง: ชมรมหมอพ้ืนบานจังหวัดลําปาง

สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดลําปาง. มาลี เอื้ออํานวย. (2545). การดูแลเพื่อสงเสริมพัฒนาการของทารก. เอกสารประกอบการประชุม

วิชาการพยาบาล ณ หองประชุมปราณีต คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม. Mercati, M. (1999). นวดลูกนอยเพื่อสุขภาพดี Tui Na Massage (เมทินี เชาวกิจเจริญ, ผูแปล).

กรุงเทพฯ: ส. เอเชียเพรส. Seattle Children’s Hospital. (n.d.). Brachial Plexus Palsy: A therapy guide for your baby.

Retrieved January 1, 2011, from www.seattlechildrens.org/pdf/PE604.pdf. Semel-Concepcion, J., M Gray, J., Nasr, H., & Conway, A. (2009). Neonatal Brachial

Plexus Palsies. Retrieved December 22, 2010, from http://emedicine. medscape.com/article/317057-media.

Shi–chun, T. (2005). Treatment of 150 Cases of Infantile Brachial Plexus Injury by Tuina. Journal of Acpuncture and Tuina Science, 3(2), 39-40. Storment, M. (n.d.). Guidelines for therapists: Treating children with brachial plexus injuries. Retrieved March 1, 2011, from http://www.ubpn.org/index.php?option=com_content & view=article&id=122: therapyguidelins &catid=57:theraposts&Itemid=107

Page 15: ffi#n - ::: คณะแพทยศาสตร์ ... ลอดท ใช เวลานาน (Semel-Concepcion, M Gray, Nasr & Conway, 2009) ท าให เก ดความ
Page 16: ffi#n - ::: คณะแพทยศาสตร์ ... ลอดท ใช เวลานาน (Semel-Concepcion, M Gray, Nasr & Conway, 2009) ท าให เก ดความ

ผลของการใหสามมีีสวนรวมในการดูแลสตรมีีครรภในระยะคลอด Effect of Partner Participation in Caring Pregnant Women During Labor

อัจฉรา คําแหง * พิศมัย มาภักดี สริิวรรณ ปยะกุลดํารง อมรเลิศ พันธวัตร รัชฎา วิหครัตน**

ความเปนมาและความสําคัญของปญหา การคลอดเปนกระบวนการที่เกิดขึ้นตาม

ธรรมชาติ แตผลจากการเกิดการเปลี่ยนแปลงดานรางกายในระยะคลอด มีผลทําใหเจ็บครรภ กอใหเกิดความไมสุขสบายทั้งรางกายและจิตใจ บางรายมีความทุกขทรมานจากการเจ็บครรภมาก ไมสามารถเผชิญความเจ็บปวดได จึงแสดงพฤติกรรมไมเหมาะสม และไมสามารถควบคุมตนเองได ความเจ็บปวดท่ีมากข้ึนมีผลกระตุนความเครียด ความวิตกกังวล ทําใหมีการหลั่งสารแคททีโคลามีน (Cathecolamine) เพิ่มขึ้น ทําใหเกิดความเจ็บปวดมากขึ้น เกิดการคลอดลาชา อาจทําใหทารกในครรภขาดออกซิเจนได (Murray, Mckinney, & Gorrie, 2002) ความเจ็บปวดทุกขทรมานท่ีเกิดในระยะคลอดมีผลเสียดานจิตใจ ทําใหไมพึงพอใจตอภาวะคลอด การรับรูประสบการณคลอดเปนไปในทางลบ ทําใหเกิดเจตคติท่ีไมดีตอบุตรและสามีได (Lipkin, 1974) นอกจากนี้ความวิตกกังวลที่เกิดข้ึน อาจทําใหเกิดอาการซึมเศราหลังคลอด (Fones,

1996) ดังนั้นการดูแลประคับประคอง ท้ังดานรางกายและจิตใจในสตรีมีครรภในระยะคลอดจึงเปนสิ่งสําคัญ ท่ีจะสงผลใหการคลอดผานไปดวยดีมีความปลอดภัยท้ังมารดาและทารก รวมทั้งเปนการสงเสริมใหมีประสบการณการคลอดท่ีดี

ในประเทศไทยมีการศึกษาเกี่ยวกับการใหสามีเขาไปอยูรวมในระยะคลอด พบวามารดาสวนมากมีความตองการและพึงพอใจที่จะใหสามีอยูดวยในระยะคลอด (กัลยา มณีโชติ , 2538) เนื่องจากทําใหมารดารูสึกวาตนเองไมไดถูกทอดท้ิงใหเผชิญปญหาเพียงคนเดียว ลดความวิตกกังวล และสามารถเผชิญความปวดไดดี (สุจิตรา เทียนสวัสด์ิ, 2537) ชวยใหกระบวนการคลอดสามารถดําเนินไปไดตาม ปกติ เกิดความปลอดภัยท้ังมารดาและทารก ทําใหมีทัศนคติท่ีดีตอการมีบุตร สงเสริมใหเกิดความมั่นใจในบทบาทการเปนมารดา กอใหเกิดความผูกพันระหวางมารดา-บิดา-ทารก ซึ่งเปนรากฐานสําคัญในชีวิตครอบครัว (กิติกร มีทรัพย, 2537;

* หัวหนาหนวยคลอด งานการพยาบาลผูปวยสูติศาสตรและนรีเวชวิทยา ** พยาบาลประจาํการ หนวยคลอด งานการพยาบาลผูปวยสูตศิาสตรและนรีเวชวทิยา

โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยเชยีงใหม

Page 17: ffi#n - ::: คณะแพทยศาสตร์ ... ลอดท ใช เวลานาน (Semel-Concepcion, M Gray, Nasr & Conway, 2009) ท าให เก ดความ

14 วารสารพยาบาลสวนดอก

สุจิตรา เทียนสวัสด์ิ, 2537) ชวยลดการใชยาระงับปวด และระยะเวลาคลอดสั้นลง (ประกายแกว กาคํา, 2533)

สําหรับหนวยคลอด โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม ไดมีการจัดทําโครงการคลอดคุณภาพ โดยจัดอบรมเตรียมการคลอดสําหรับสตรีมีครรภ 1 ครั้งโดยที่สามีไมไดมีสวนรวม ผลจากการจัดทําโครงการพบวาสตรีมีครรภมีความตองการใหสามี มีสวนรวมในระยะคลอด หนวยคลอดได เ ห็นความสํา คัญของความตองการของสตรีมีครรภท่ีไดใหขอเสนอแนะ และการดูแลแบบองครวมจึงไดจัดโครงการคลอดคุณภาพที่มีสามีเขามามีสวนรวมในการดูแลผูคลอดในระยะคลอด โดยจัดอบรมสตรีมีครรภและสามีท่ีพรอมในการดูแลในระยะคลอด ทุกวันจันทร จํานวน 3-4 คู/ครั้ง ครอบคลุมการใหความรูเกี่ยวกับการคลอด เทคนิคการบรรเทาการเจ็บครรภคลอด และบทบาทของสามีในการดูแลสตรีมีครรภในระยะคลอด และเม่ือทําการประเมินผลความคิดเห็นของบุคลากร ไมพบขอขัดของในการปฏิบัติงาน และมีความพึงพอใจตอโครงการในระดับดี ผูวิจัยจึงมีความสนใจที่จะทําการ ศึกษาผลของการใหสามีมีสวนรวมในการดูแลสตรี มีครรภในระยะคลอด เพื่อนําผลการ วิ จั ยครั้ งนี้ มา เปนแนวทางในการพัฒนาการดู แลสตรีมีครรภในระยะคลอด ใหมีประสิทธิ ภาพยิ่งขึ้น รวมถึงปรับปรุงนโยบายการอนุญาตใหสามีเขามาดูแล ผูคลอดในระยะคลอดตอไป วัตถุประสงคการวิจัย (Research objectives)

เพื่อศึกษาผลของการใหสามีมีสวนรวมในการดูแลสตรีมีครรภในระยะคลอด ตอการใชยา

บรรเทาปวดในระยะคลอด ระยะเวลาในการคลอด และประสบการณการคลอด

วิธีการศึกษา

เปนการศึกษาแบบ Intervention study กลุมตัวอยาง

กลุมตัวอยางเปนสตรีมีครรภ ท่ีคลอดท่ี หนวยคลอดโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม จํานวน 60 คน แบงเปนกลุมทดลอง คือกลุมสตรีมีครรภท่ีมีสามีมีสวนรวมดูแลในระยะรอคลอดและหลังคลอด 2 ช่ัวโมงจํานวน 30 คน โดยกลุมตัวอยางผานการอบรมโครงการคลอดคุณภาพที่สามีเขามามีสวนรวมในการดูแลผูคลอดในระยะคลอดแลว กลุมควบคุมคือกลุมสตรีมีครรภท่ีไมมีสามีมีสวนรวมดูแลในระยะรอคลอดและหลังคลอด 2 ช่ัวโมง ท้ังสองกลุมไดรับการดูแลตามปกติจากเจาหนาท่ีในหองคลอดจํานวน 30 คน กลุมตัวอยางมีคุณสมบัติดังนี้ 1. อายุ 18-34 ป 2. การตั้ ง ค ร รภ เป นการตั้ ง ค ร รภพึ งประสงค 3. ไมมีประสบการณการคลอดมากอน 4. สถานภาพคู และอยูกินกับสามี 5. ฝากครรภโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม และไดรับการเตรียมการคลอด 1 ครั้ง 6. รับไวในหนวยคลอดเมื่อปากมดลูกเปดนอยกวา 4 ซม. 7. ทารกอยูในทาปกติ 8. เปนการตั้งครรภท่ีไมมีภาวะแทรกซอนทางอายุรกรรม

Page 18: ffi#n - ::: คณะแพทยศาสตร์ ... ลอดท ใช เวลานาน (Semel-Concepcion, M Gray, Nasr & Conway, 2009) ท าให เก ดความ

ปที่ 17 มกราคม – มิถุนายน 2554 15

9. อานออกเขียนได 10. ยินดีเขารวมวิจัย เครื่องมือที่ใชในการศึกษามี 2 ประเภท ไดแก 1. เครื่องมือในการดําเนินการวิจัยคือ คูมือการเตรียมมารดาเพื่อการคลอด 2. เครื่องมือท่ีใชในการเก็บรวบรวมขอมูล ประกอบดวย แบบรวบรวมขอมูลสวนบุคคล และแบบสัมภาษณการรับรูประสบ การณการคลอดของสุพิศ ณ เชียงใหม (2533) เก็บรวบรวมขอมูลระหวาง เดือนสิงหาคม-พฤศจิกายน 2551

การวิเคราะหขอมูล

วิเคราะหขอมูลดวยโปรแกรมคอมพิวเตอรสําเร็จรูปคือ ขอมูลท่ัวไปวิเคราะหดวยสถิติพรรณนา ขอมูลระยะเวลาของการคลอด การไดรับยาบรรเทาปวด และคะแนนแบบสอบถามเกี่ยวกับประสบการณการคลอด วิเคราะหดวยสถิติ ทีชนิด 2 กลุมเปนอิสระตอกัน (T-test independent) และสถิติทดสอบไคสแควร (Chi-Square test for independent samples) ผลการศึกษา

ผลการศึกษาพบวาลักษณะทั่วไปของกลุมตัวอยางท้ังสองกลุมไมมีความแตกตางกันในดานอายุ ระดับการศึกษา อาชีพ รายไดตอเดือนของครอบครัว การไดรับยากระตุนการหดรัดตัวของมดลูก ชนิดของการคลอด และภาวะแทรก-ซอนจากการคลอด อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ กลุมทดลองสวนใหญมีอายุระหวาง 19-32 ป อายุเฉลี่ย 25.2 ป (SD=2.9) กลุมควบคุมมีอายุระหวาง 18-33 ป อายุเฉลี่ย 25.6 ป (SD=3.5)

การศึกษาสวนใหญ รอยละ 36.7 และรอยละ33.3 ของกลุมทดลองและกลุมควบคุมเรียนจบวุฒิปริญญาตรี อาชีพสวนใหญรอยละ 73.3 และรอยละ 60.0 ของกลุมทดลองและกลุมควบคุมมีอาชีพรับจาง สวนใหญของทั้งกลุมทดลองและกลุมควบคุมคลอดปกติ ไมมีภาวะแทรกซอนจากการคลอด (ตารางที่ 1)

เกี่ยวกับการคลอดพบวากลุมทดลองและกลุมควบคุมใชเวลาเฉลี่ยในการคลอดไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ กลุมทดลองใชเวลาเฉลี่ยในการคลอดรวมทั้งหมดเทากับ 621.3 นาที (SD=209.2) กลุมควบคุมใชเวลาเฉลี่ยเทากับ 608.6 นาที (SD=297.9) (ตารางที่ 2) และทั้งสองกลุมไมมีความแตกตางกันในการใชยาบรรเทาปวดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ กลุมทดลองไดรับยาบรรเทาปวด 1 ครั้ง ตลอดระยะในการคลอดรอยละ 50.0 กลุมควบคุมไดรับยาบรรเทาปวด 1 ครั้งตลอดระยะในการคลอดรอยละ 60.0 (ตารางที่ 3)

ดานประสบการณการคลอดพบวากลุมทดลองมีคาเฉล่ียคะแนนการรับรู เกี่ยวกับประสบการณคลอด 104.5 (SD=9.1) สูงกวากลุมควบคุมท่ีมีคาเฉลี่ยคะแนนการรับรูเกี่ยวกับประสบการณคลอด 97.4 (SD=11.1) อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .009 (ตารางที่ 4) โดยมีลักษณะประสบการณคลอดรายขอ ท่ีมีความแตกตางกันระหวางกลุมทดลองและกลุมควบคุมอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (ตารางที่ 5) อภิปรายผล

จากผลการวิเคราะหขอมูลพบวา การใหสามีมีสวนรวมในการดูแลสตรีมีครรภในระยะคลอด ทําใหสตรี มีครรภ มีคะแนนการรับรู

Page 19: ffi#n - ::: คณะแพทยศาสตร์ ... ลอดท ใช เวลานาน (Semel-Concepcion, M Gray, Nasr & Conway, 2009) ท าให เก ดความ

16 วารสารพยาบาลสวนดอก

ประสบการณคลอดสูงกวาสตรีท่ีไมมีสามีดูแลในระยะคลอด ท้ังนี้เนื่องจากการมีสามีดูแลในระยะคลอด ทําใหสตรีมีครรภในระยะคลอดมีผูดูแลอยูดวยอยางตอเนื่อง และมีการสนับสนุนในระยะคลอด ซึ่ งจากการวิ จัย ท่ีผานมาพบวาการสนับสนุนในระยะคลอดมีผลตอประสบการณคลอด (Hodnett, Gates, Hofmeyr & Sakala, 2007) การใหสามีมีสวนรวมในการดูแลสตรีมีครรภในระยะคลอดในการศึกษานี้ มีการเตรียมสามีเพื่อการคลอด ทําใหสามีมีความรูความเขาใจในบทบาทของตนเองในการดูแลในระยะคลอด ทําใหสตรีมีครรภมีการรับรูเกี่ยวกับการใชวิธีลดความเจ็บปวดดวยตนเองดีกวา ซึ่งมีการศึกษาความสําเร็จของการใหความรูการเตรียมตัวเพื่อคลอดแกสามีท่ีใหการดูแลสตรีมีครรภในระยะคลอด พบวาสามีท่ีไดรับการเตรียมตัวเพื่อคลอดจะมีความสามารถในการควบคุมพฤติกรรมสตรีมีครรภขณะคลอดดีกวาสามีท่ีไมไดรับการเตรียมตัวเพื่อคลอดอยางมีนัยสถิติ (สุมาลัย นิธิสมบัติ และบุษรา ใจแสน, 2552 ) และจากการศึกษานี้ เปนการเปรียบ-เทียบระหวางสตรี มีครรภ ท่ีไม มีสามีมีสวนรวมกับมีสามีมีสวนรวมในการดูแลในระยะคลอด โดยสตรีมีครรภท้ัง 2 กลุมไดรับการเตรียมคลอด ซึ่งมีการศึกษาหลายการศึกษาที่แสดงใหเ ห็นวาการเตรียมคลอดทําให ผูคลอดมีทัศนคติท่ีดี มีความม่ันใจในการคลอด ความกลัวและความวิตกกังวลลดลง มีการแสดงออกของพฤติกรรมการเผชิญความปวดในทางที่ดี (ฉวี เบาทรวง, 2526) ดังนั้นในการศึกษานี้จึงพบวา การรับรูประสบการณคลอดเก่ียวกับความสามารถพักผอนไดเปนชวงๆ ความ สามารถควบคุมตนเอง ความม่ันใจวาจะ

สามารถคลอดเองไดในขณะเจ็บ และรูสึกมีกําลังใจ ม่ันใจวาจะสามารถคลอดไดอยางปลอดภั ย ไม มี ความแตกต า งกั นอย า ง มีนัยสําคัญทางสถิติในสตรีมีครรภท้ัง 2 กลุม

การมีผูชวยเหลือใหการสนับสนุนในระยะคลอดอาจเปนสามี สมาชิกในครอบครัว เพื่อน ผูดูแลที่มีประสบการณอื่นหรือบุคลากรพยาบาล สามารถลดการใชยาบรรเทาปวด ลดการผาตัดคลอด การใชหัตถการชวยคลอด และลดการเกิดภาวะพรองออกซิเจนของทารกแรกเกิด (Taylor, 2002) มีผลใหสตรีมีครรภสามารถเผชิญความเจ็บปวด ในระยะคลอดไดอยางมีประสิทธิภาพ (Murray, et al, 2002) และการดูแลของพยาบาลหนวยคลอด เปรียบเหมือนเปนผูชวยเหลือใหการสนับสนุนสตรีมีครรภ ในการศึกษาครั้งนี้จึงพบวาสตรีมีครรภท้ัง 2 กลุมไมมีความแตกตางอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ เกี่ยวกับชนิดของการคลอด การไดรับยาบรรเทาปวดในระยะคลอด

สตรีมีครรภท่ีมีสามีเปนผูชวยเหลือในระยะคลอด ทําใหรูสึกวาไดรับการเอาใจใสและเห็นอกเห็นใจจากสามี การคลอดเปนสิ่งท่ีมีคุณคา (Somer-Smith, 1999) จึงทําใหสตรีมีครรภท่ีมีสามีดูแลในระยะคลอด มีคะแนน การรับรูประสบการณการคลอดในเรื่อง ไมวิตกกังวลวาบุตรจะผิดปกติหรือไดรับอันตรายจากการคลอด ไมวิตกกังวลวาตนเองจะไดรับอันตรายจากการคลอด ไมวิตกกังวลเกี่ยวกับสามีและบาน รับรูวาการคลอดเปนเหตุการณท่ีไมนากลัว ไมรูสึกวาสามีหรือบุตรเปนตนเหตุท่ีทําใหตนเองตองทุกขทรมานจากการคลอด และ คิดวาการคลอดครั้งนี้ไมยากลําบากกวาท่ีคาดหวัง มากกวาสตรีมีครรภท่ีไมมีสามีดูแลในระยะคลอด

Page 20: ffi#n - ::: คณะแพทยศาสตร์ ... ลอดท ใช เวลานาน (Semel-Concepcion, M Gray, Nasr & Conway, 2009) ท าให เก ดความ

ปที่ 17 มกราคม – มิถุนายน 2554 17

ขอยุติ ควรมีการพัฒนาการดูแลผูคลอดโดยการ

อนุญาตใหสามีหรือญาติเขามีสวนรวมในการดูแลผูคลอดในระยะคลอด เพื่อ ชวยใหผูคลอดคลายความกลัวความวิตกกังวลเกี่ยวกับการคลอด มีความม่ันใจในการคลอดและใชวิธีบรรเทาการเจ็บครรภไดดวยตนเอง มีการรับรูประสบการณ การคลอดที่ ดี และควรมีการ

เตรียมสามีเพื่อใหมีความรูความเขาใจ ทราบบทบาทของตนเองในการชวยเหลือดูแลผูคลอด สามารถใหการดูแล และสนับสนุนผูคลอด

ควรมีการศึกษาเปรียบเทียบผลการเตรียมสามีในการมีสวนรวมดูแลผูคลอด โดยการเปรียบ เทียบระหวางการเตรียมในระยะตั้งครรภและในระยะคลอด

เอกสารอางอิง

กัลยา มณีโชติ. (2538). การพยาบาลผูคลอดท่ีมีความเจ็บปวดในระยะคลอดโดยสามีรวมชวยเหลือสนับสนุน. นครศรีธรรมราช : โรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราช.

กิติกร มีทรัพย. (2537). พอยุคโลกาวิวฒัน. วารสารสภาการพยาบาล, 9(4), 7-8. ประกายแกว กาคํา. (2533). ผลการชวยเหลือของสามตีอผูคลอดครรภแรกในระยะเจ็บครรภตอการ

ควบคุมตนเอง ความตองการยาระงับปวด ระยะเวลาในการคลอด และการรับรูประสบการณการคลอดของผูคลอด. วิทยานิพนธคุรุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาบริหารการพยาบาล, บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

สุจิตรา เทียนสวสัด์ิ. (2537). การเตรยีมบิดาเพื่อการมีสวนรวมในการคลอด. วารสารสภาการพยาบาล, 9(4), 17-18.

สุมาลัย นิธิสมบัติ และบุษรา ใจแสน. (2552). การศึกษาความสําเร็จของการใหความรูการเตรียมตัวเพื่อคลอดโดยใหสามี มีสวนรวมในการคลอดดวยวิธีธรรมชาติ. Retrieved November 5, 2552, from http;//www.gotoknow.org/blog/nursecenter/310967.

สุปราณี อัทธเสรี ยุพิน จันทรัคคะ ยุวดี วัฒนานนท ศิริพร ฉัตรโพธิ์ทอง และ บังอร คะนึงเหตุ. (2526). การศึกษาความตองการการพยาบาลของผูคลอดในระยะคลอด. กรุงเทพมหานคร: ภาควิชาการพยาบาลสูต-ินรีเวชวิทยา คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล.

สุพิศ ณ เชียงใหม. (2533). ความสัมพันธระหวางเหตุการณในชีวิต สัมพันธภาพของคูสมรส การสนับสนุนทางการพยาบาลและการรับรูประสบการณการคลอดของสตรีหลังคลอด. วิทยานิพนธปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต, ภาควิชาพยาบาลศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

Page 21: ffi#n - ::: คณะแพทยศาสตร์ ... ลอดท ใช เวลานาน (Semel-Concepcion, M Gray, Nasr & Conway, 2009) ท าให เก ดความ

18 วารสารพยาบาลสวนดอก

ฉวี เบาทรวง. (2526). ผลของการใหคําแนะนําในการปฏิบัตติัวอยางมีแบบแผน และการสัมผสัท่ีมีตอการลดความวิตกกังวล และพฤติกรรมการเผชิญความเครียดในระยะคลอด. วิทยานิพนธปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาพยาบาลแมและเด็ก, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลยัมหิดล.

Fones, C. (1996). Posttraumatic stress disorder occurring after painful childbirth. Journal of nervous and mental disease, 184(3), 195-196.

Hodnett, E. D., Gates, S., Hofmeyr, G. J., & Sakala, C. (2007). Continuous support for women during childbirth. Cochrane database of systematic reviews.

Lipkin, G. B. (1974). Psychosocial aspects of maternal child nursing. St. Louis: C.V.Mosby. Murray, S.S., Mckinney, E.S., & Gorrie, T.M. (2002). Foundation of maternal – new born nursing (3rd ed.). Philadelphia: W.B. Saunders. Somers-Smith, M. (1999). A place for the partner? Expectations and experiences of support during

childbirth. Midwifery, 15, 108-110. Taylor, J. S. (2002). Caregiver Support for Women During Childbirth: Does the Presence of a Labor-

Support Person Affect Maternal-Child Outcomes. Journal of the American academy of family physician, 66(7), 1205-6.

Page 22: ffi#n - ::: คณะแพทยศาสตร์ ... ลอดท ใช เวลานาน (Semel-Concepcion, M Gray, Nasr & Conway, 2009) ท าให เก ดความ

ปที่ 17 มกราคม – มิถุนายน 2554 19

ตารางที่ 1. แสดงลักษณะทัว่ไปของกลุมตวัอยาง

ลักษณะกลุมตวัอยาง กลุมทดลอง กลุมควบคุม P value จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ

อายุ (ป) เฉล่ีย(สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน) 18-25 26-34

25.2 18 12

(2.9) 60 40

25.6 15 15

(3.5) 50 50

0.436

ระดับการศึกษา ปริญญาตรี ประกาศนียบัตร/อนุปริญญา มัธยมศึกษาตอนปลาย มัธยมศึกษาตอนตน ประถมศึกษา

11 7 9 3 0

36.7 23.3 30 10 0.0

10 7 6 2 5

33.3 23.3 20.0 6.7 16.7

0.211

อาชีพ รับจาง คาขาย ธุรกิจสวนตัว แมบาน เกษตรกรรม ขาราชการ/พนักงานของรัฐ

22 0 0 6 1 1

73.3 0.0 0.0 20.0 3.3 3.3

18 3 2 6 1 0

60.0 10.0 6.7 20.0 3.3 0.0

0.269

รายไดตอเดือนของครอบครัว(บาท) ≤ 5,000 5,001-10,000 10,001-15,000 15,001-20,000 > 20,001

6 4 9 8 3

20.0 13.3 30.0 26.7 10.0

5 12 4 4 5

16.7 40.0 13.3 13.3 16.7

0.097

การไดรับยากระตุนการหดรัดตัวของมดลูกกอนคลอด ไมไดรับ ไดรับ

9 21

30.0 70.0

11 19

36.7 63.3

0.584

ชนิดของการคลอด คลอดปกต ิ คลอดผิดปกต ิ

27 3

90 10

27 3

90 10

1.000

ภาวะแทรกซอนขณะตั้งครรภ/คลอด ไมมี ม ี

29 1

96.7 3.3

30 0

100.0 0.00

0.313

Page 23: ffi#n - ::: คณะแพทยศาสตร์ ... ลอดท ใช เวลานาน (Semel-Concepcion, M Gray, Nasr & Conway, 2009) ท าให เก ดความ

20 วารสารพยาบาลสวนดอก

ตารางที่ 2. แสดงระยะเวลาในการคลอด

ลักษณะที่ศึกษา กลุมทดลอง กลุมควบคุม p-value เฉล่ีย (นาที) SD เฉล่ีย(นาที) SD

ระยะที่ 1 586.7 201.6 579 299.7 0.907 ระยะที่ 2 28.1 22.7 24.1 18.2 0.458 ระยะที่ 3 6.5 4.8 5.5 2.19 0.320 เวลารวมระยะที่ 1-3

621.3 209.2 608.6 298 0.849

ตารางที่ 3. แสดงการใชยาบรรเทาปวดในระยะคลอด

ลักษณะที่ศึกษา กลุมทดลอง กลุมควบคุม p-value จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ

จํานวนคร้ังที่ไดรับยาระงับปวด ไมไดรับ ไดรับ 1 คร้ัง ไดรับ 2 คร้ัง

14 15 1

46.7 50.0 3.3

12 18 0

40.0 60.0 0.0

0.490

ตารางที่ 4. แสดงความแตกตางคาคะแนนการรับรูเก่ียวกบัประสบการณคลอด

ลักษณะที่ศึกษา กลุมทดลอง กลุมควบคุม p-value เฉล่ีย SD เฉล่ีย SD

การรับรูเก่ียวกบัประสบการณคลอด 104.5 9.1 97.4 11.1 0.009

Page 24: ffi#n - ::: คณะแพทยศาสตร์ ... ลอดท ใช เวลานาน (Semel-Concepcion, M Gray, Nasr & Conway, 2009) ท าให เก ดความ

ปที่ 17 มกราคม – มิถุนายน 2554 21

ตารางที่ 5. แสดงลักษณะประสบการณคลอดท่ีมีความแตกตางกันระหวางกลุมทดลองและกลุมควบคุม

ลักษณะ (4)

มากที่สุด (3) มาก

(2) ปานกลาง

(1) นอย

X (SD)

P-value

รอยละ รอยละ รอยละ รอยละ ในขณะเจ็บครรภทานใชวิธีลดความเจ็บปวดดวยตนเอง กลุมทดลอง กลุมควบคมุ

53.3 33.3

40.0 43.4

6.7 23.3

0.0 0.0

3.5(0.6) 3.1(0.8)

0.023

ตลอดระยะการคลอด ทานไมมีความวิตกกังวลวาบุตรจะผิดปกติหรือไดรับอันตรายจากการคลอด กลุมทดลอง กลุมควบคมุ

26.7 23.3

53.3 30.0

16.7 26.7

3.3 20.0

3.0(0.8) 2.6(1.1)

0.042

ตลอดระยะการคลอด ทานไมมีความวิตกกังวลวาตนเองจะไดรับอันตรายจากการคลอด กลุมทดลอง กลุมควบคมุ

50.0 30.0

46.7 53.3

3.3 10.0

0.0 0.0

3.5(0.6) 3.1(0.8)

0.026

การคลอดคร้ังน้ีเปนเหตกุารณที่ไมนากลัว กลุมทดลอง กลุมควบคมุ

63.3 30.0

33.3 46.7

3.3 13.3

0.0 10.0

3.6(0.6) 3.0(0.9)

0.002

ทานไมรูสึกวาสามี และ / หรือบุตรเปนตนเหตุที่ทําใหทานตองทุกขทรมานจากการคลอด กลุมทดลอง กลุมควบคมุ

30.0 90.0

0.0 3.3

0.0 6.7

0.0 0.0

4.0(0.0) 3.8(0.8)

0.039

ทานคิดวาการคลอดครั้งน้ีไมยากลําบากกวาที่คาดหวงั กลุมทดลอง กลุมควบคมุ

33.3 13.3

46.7 43.3

13.3 26.7

6.7 16.7

3.1(0.9) 2.5(0.9)

0.012

Page 25: ffi#n - ::: คณะแพทยศาสตร์ ... ลอดท ใช เวลานาน (Semel-Concepcion, M Gray, Nasr & Conway, 2009) ท าให เก ดความ
Page 26: ffi#n - ::: คณะแพทยศาสตร์ ... ลอดท ใช เวลานาน (Semel-Concepcion, M Gray, Nasr & Conway, 2009) ท าให เก ดความ

* ผูชวยพยาบาลหนวยผาตัดเล็ก งานการพยาบาลผูปวยนอกและผูปวยฉุกเฉิน โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยเชยีงใหม

Nipon Hook

นิพนธ มานะกุลชัยคํา*

บทนํา

ในการผาตัดทางศัลยกรรมตกแตง และการผาตัดทางออรโธปดิกสบริเวณมือ มีความจําเปนอยางมากที่ขณะผาตัดจะตองใชอุปกรณชวยดึงปากแผลใหกวางขึ้น เพื่อศัลยแพทยจะไดทําการผาตัดเลาะเอากอนเนื้อใตผิวหนังขนาดเล็ก ตอมไขมันอุดตัน กอนถุงน้ําบริเวณริมฝปาก และใชกรรไกรสําหรับตัดเนื้อเยื่อสอดเขาไปผาตัดเลาะพังผืด ปลอกหุมเอ็นไดงายขึ้น หนวยผาตัดเล็กมี skin hook อยู 3 ชุด ในบางครั้งไมเพียงพอตอการใชงาน ผูประดิษฐจึงมีแนวคิดในการดัดแปลง steimen pin ท่ีใชแลวมาประดิษฐแทน skin hook เพื่อใหหนวยงานไดมีอุปกรณใชงานอยางเพียงพอ

วัตถุประสงค

เพื่อใชเปนอุปกรณแทน skin hook ในการดึงปากแผลขณะผาตัด

วัสดุ / วิธีการ

1. Steimen pin ท่ีใชแลว 2. เครื่องกลึงไฟฟา

3. เครื่องเจียรไฟฟา 4. เลื่อยตัดเหล็ก 5. ตะไบ 6. คีมคีบ 7. กระดาษทราย

วิธีการประดิษฐ

1. นํา steimen pin ท่ีใชแลวมากลึงดวยเครื่องกลึงไฟฟาใหอยูในรูปเสนตรง

2. เจียรดวยเครื่องเจียรไฟฟา ดานท่ีมีปลายแหลมเจียรยาวประมาณ 3 นิ้ว ใหอยูในลักษณะเรียวแหลม ปลายเล็กคลายเข็ม

3. ใชคีมคีบดัดปลายแหลมใหงออยูในรูปตะขอเกี่ยว

4. นําไปกลึงอีกครั้ง วัดความยาวใหยาวประมาณ 15 ซม. ทําเครื่องหมายไว

5. ใชเลื่อยตัดเหล็กตัดปลายอีกดานหนึ่ง ใชตะไบขัดบริเวณที่ตัดจน ผิวเรียบ

6. ใชกระดาษทรายขัดบริเวณที่เจียรใหผิวเรียบ

Page 27: ffi#n - ::: คณะแพทยศาสตร์ ... ลอดท ใช เวลานาน (Semel-Concepcion, M Gray, Nasr & Conway, 2009) ท าให เก ดความ

24 วารสารพยาบาลสวนดอก

สรุปผลการศึกษา

สิ่งประดิษฐ Nipon hook ไดนํามาทดลองใชกับการผาตัดทางศัลยกรรมตกแตงและศัยกรรมออรโทปดิกสจํานวน 10 ราย พบวาสามารถใชแทน Skin hook ในการใชเปนเครื่องมือชวยดึงปากแผลในการผาตัดเลาะตอมไขมันอุดตันบริเวณใบหนา การผาตัดกอนถุงน้ําบริเวณริมฝปาก การผาตัดเลาะปลอกหุมเสนประสาทอักเสบบริเวณมือ และการผาตัดโรคนิ้วล็อคไดอยางมีประสิทธิภาพ วิจารณ / ประเมินผล

สิ่งประดิษฐ Nipon hook เปนนวัตกรรมในการนําวัสดุท่ีใชแลว (steimen pin) กลับมา recycle ใชงบประมาณในการประดิษฐเพียงตัวละ 50 บาท สามารถประหยัดงบประมาณคณะแพทยศาสตรในการซื้อ skin hook ราคาตัวละ 1,900 บาท ตอบสนองนโยบายของคณะแพทย-ศาสตรในการใชทรัพยากรอยางเหมาะสม ประหยัดและคุมคา

Page 28: ffi#n - ::: คณะแพทยศาสตร์ ... ลอดท ใช เวลานาน (Semel-Concepcion, M Gray, Nasr & Conway, 2009) ท าให เก ดความ

* พยาบาลเฉพาะทางบาดแผลออสโตมีและควบคุมการขับถายไมได งานการพยาบาลผูปวยออรโธปดิกส โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยเชยีงใหม

หมอน 30 องศา: นวัตกรรมปองกันแผลกดทับ

พรรณงาม พิมพชู *

บทนํา

แผลกดทับเปนปญหาท่ีเกิดกับผูปวยที่มีขอจํากัดในการเคลื่อนไหวและมีกิจกรรมลดลง นับเปนปญหาสุขภาพสําคัญท่ีสงผลกระทบตอผูปวย ครอบครัว สังคม ประเทศ เม่ือผูปวยมีแผลกดทับ ผลกระทบที่ตามมาคือทําใหตองนอนโรงพยาบาลนานขึ้น คารักษาพยาบาลเพิ่มมากข้ึน ผูปวยฟนหายจากโรคที่เปนอยูชาลงและความเสี่ยงที่จะเกิดอาการแทรกซอนมีมาก เชนการติดเช้ือท่ีแผลกดทับซึ่งอาจรุนแรงถึงขั้นเสียชีวิตได ฉะนั้นการปองกันไมใหเกิดแผล กดทับจึงเปนสิ่งท่ีดีกวาการรักษาแผลกดทับ

จากการติดตามอุบัติการณการเกิดแผลกดทับภายในหอผูปวยเดือนเมษายน ป 2552 พบเกิดแผลกดทับ (ระดับ 2) 5.13 ตอ 1,000 วันนอน ตําแหนงท่ีพบแผลกดทับ ไดแก บริเวณกนกบและบริเวณปุมกระดูกสะโพก วิเคราะหปจจัยท่ีทําใหเกิดแผลกดทับ ไดแก ผูปวยสูงอายุ ไดรับการดึงถวงน้ําหนักมีขอ จํากัดในการเคลื่อนไหวและอุปกรณในการจัดทาท่ีมีอยูเดิมในหอผูปวยไมถูกตอง ยิ่งเพิ่มความเสี่ยงตอการเกิดแผลกดทับมากขึ้นและทําใหผูปวยไมสุขสบาย ไมสามารถคงอยูในทาท่ีจัดใหได

เปาหมาย 1. อุบัติการณการเกิดแผลกดทับลดลง 2. ผูปวยที่มีแผลกดทับเดิมแผลหายและ

ไมมีแผลกดทับใหมเพิ่มขึ้น 3. ผูปวยและผูดูแลมีความพึงพอใจ

หลักการและแนวคิด

สาเหตุท่ีสําคัญมากในการเกิดแผลกดทับ คือ

1. ขนาดของความแรงและระยะเวลาของการกดพบวาระยะเวลาที่จะทําใหมีพยาธิสภาพเกิดขึ้นคือ1-2ช่ัวโมง ดวยแรงกดประมาณ 70 mmHg ตามหลักฐานเชิงประจักษ Defloor ไดทําการวิจัยทานอนตางๆ พบวา ทาท่ีมีแรงกดที่กระทําตอผิวสัมผัสนอยท่ีสุดคือ 30 องศา Semi-fowler position สําหรับในการจัดทานอนตะแคงนั้น ทานอนตะแคง 30 องศาจะชวยใหออกซิเจนมาเลี้ยงเนื้อเยื่อบริเวณปุมกระดูกสะโพก (trochanter) ไดดีกวาทานอนตะแคง60,90องศา (evidence ระดับ 3)

2. ความทนทานของเนื้อเยื่อตอแรงกด ปจจัยท่ีมีผลตอความทนทานของเนื้อเยื่อท่ีสําคัญ คือแรงไถล (shearing force) เกิดเม่ือจัด

Page 29: ffi#n - ::: คณะแพทยศาสตร์ ... ลอดท ใช เวลานาน (Semel-Concepcion, M Gray, Nasr & Conway, 2009) ท าให เก ดความ

26  วารสารพยาบาลสวนดอก 

ใหผูปวยอยูในทานั่งหรือครึ่งนั่งครึ่งนอนหรือทา Fowler’s position ทําใหเกิดแรงดึงรั้งระหวางช้ันของผิวหนังเกิดการฉีกขาดของเนื้อเยื่อเกิดแผลได ดังนั้นในการจัดทานอนศีรษะสูงไมควรสูงเกิน 30 องศาเพื่อปองกันการเลื่อนไถล วิธีดําเนินการ

ทางหอผูปวยจึงไดจัดทํานวัตกรรมหมอน 30 องศา ตามหลักการและแนวคิดดังกลาว โดยนําอุปกรณท่ีมีอยู เดิมมาปรับแตงวัดมุมไมใหเกิน 30 องศา แลวนํามาเย็บหุมผายางไว หลังจากนั้นไดมีการทําเพิ่มเติมโดยไดรับการสนับสนุนดานงบประมาณจากคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

นําลงสูการปฏิบัติ : โดยใหความรูแกเจาหนาท่ีในการจัดทาผูปวยที่ถูกตอง มีการมอบหมายงานกอนการปฏิบัติงานใหมีการนํานวัตกรรมที่

จัดทําขึ้นไปใชในผูปวยท่ีมีความเสี่ยงตอการเกิดแผลกดทับ จนสามารถนําลงสูงานประจําได ผลลัพท

อุบัติการณการเกิดแผลกดทับลดลง = 0.01 ตอ 1,000 วันนอน (ระดับ 1) ผูปวยที่มีแผล กดทับเดิมระดับ 2 แผลหายภายใน 11 วันผูปวยมีความพึงพอใจตอการใชนวัตกรรมที่จัดทําขึ้น

สรุป

การดูแลรวมกันเปนทีม และนํานวัตกรรม ท่ี จัดทําขึ้นลงสูการปฏิบัติ เปนหัวใจสําคัญนําไปสูผลลัพท ท่ีเปนไปตามเปาหมายเกิดประโยชนสูงสุดตอผูปวย ผูปวยและผูดูแลมีความพึงพอใจ

Page 30: ffi#n - ::: คณะแพทยศาสตร์ ... ลอดท ใช เวลานาน (Semel-Concepcion, M Gray, Nasr & Conway, 2009) ท าให เก ดความ

ปที่ 17 มกราคม – มิถุนายน 2554 27 

เอกสารอางอิง

วิมลักษณ ชัยศักดิชาตรี. หลักฐานเชิงประจักษในการจัดการแผลกดทับ:Evidence based practice in

Pressure ulcer. ในยุวดี เกตสัมพันธ, อัญชนา ทวมเพิ่มผล, นภาพร อภิรดีวจีเศรษฐ, จุฬาพร ประสังสิต . (บรรณาธิการ ) การดูแลแผลกดทับ :ศาสตรและศิลปะทางการพยาบาล . กรุงเทพมหานคร:บริษัท ไทยเอฟเฟคทสตูดิโอ; 2552. หนา 151-160.

Carville K. Wound care manual. 2nd ed. Australia :Encore Production; 1995.

Page 31: ffi#n - ::: คณะแพทยศาสตร์ ... ลอดท ใช เวลานาน (Semel-Concepcion, M Gray, Nasr & Conway, 2009) ท าให เก ดความ

* หัวหนาผูชวยพยาบาลหอผูปวยศัลยกรรมหญิง 1 งานการพยาบาลผูปวยศัลยศาสตร โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยเชยีงใหม

ผาหุมมณีพร

มณีพร คุณยศยิ่ง*

บทนํา

หอผูปวยศัลยกรรมหญิง 1 เปนหอผูปวย ท่ีรับผิดชอบดูแลกลุมผูปวยที่มีปญหาทางระบบทา ง เ ดิ นอ าหา ร เ ป น กลุ ม ผู ป ว ยที่ มี ภ า ว ะ ทุพโภชนาการจากภาวะของโรค แพทยจะมีแผนการรักษาโดยใหสารละลายทางหลอดเลือดดําแบบสมบูรณ (total parenteral nutrition: TPN) ซึ่ งตองใหทางหลอดเลือดดําใหญสวนกลาง (central line) และ port สารละลายทางหลอดเลือดดําแบบสมบูรณนี้ตองใหพรอมกันหลายชนิดตองอาศัยขอตอ 3 ทาง (T-way) หลายอันในการเช่ือมตอ แตเดิมจะใหผากอซสะอาดปราศจากเชื้อหุ ม ร อยต อ ไ ว แ ล ะพั นผ า กอซ ป ด ทั บด ว ย พลาสเตอรใส เพื่อปองกันการติดเช้ือเขากระแสโลหิต ซึ่งจะเปลี่ยนทุกวัน หรือเม่ือมีการปนเปอน ปญหาจากผูปฏิบัติพบวาเม่ือจะเปล่ียนผากอซแตละครั้งหรือเม่ือจะเปลี่ยนชุดใหสารละลาย จะตองเสีย เวลาในการแกะพลาสเตอรบางครั้ งถ า ไมระมัดระวังทําให เศษผากอซอุดตามรู เปด ของขอตอ หรือเกิดการหลุดของชุดใหสารละลาย หรือ T – way มีโอกาสท่ีจะทําใหเกิดการปนเปอน

ของเชื้อโรคเขาสูกระแสโลหิตไดงาย นอกจากนี้ผากอซท่ีใชหุม ใชอยางนอย 6 ช้ิน ช้ินละ 50 สตางค รวมราคาเทากับ 3 บาท ผูปวยที่ใหอาหารทางหลอดเลือดดําแบบสมบูรณ จะใหเปนระยะเวลานานเกิน 30 วัน ฉะนั้นในแตละเดือนผูปวยจะตองใชผากอซเทากับ 90–100 บาท ตอผูปวยหนึ่งราย สถิติการใหสารละลายทางหลอดเลือดดําในหอผูปวยแตละเดือน โดยเฉลี่ยเทากับ 6 ราย ดังนั้นในหอผูปวยจะตองใชผากอซเฉพาะที่หุมรอยตอประมาณ 600 บาทตอเดือน

ผูประดิษฐนวัตกรรมซึ่งมีตําแหนงเปนหัวหนาผูชวยปฏิบัติการพยาบาล มีหนาท่ีรับผิดชอบ ในดานการเบิกใชวัสดุทางการแพทย ไดเห็นโอกาสพัฒนาดานการประดิษฐผาหุมวาจะชวย ลดตนทุน เนื่องจากราคาของผาหุมแตละชิ้นเทากับ 25 บาท และสามารถนํากลับมาทําความสะอาด หอสงทําสะอาดปราศจากเชื้อ และนํากลับมาใชได ทําใหลดตนทุน และสะดวกในการเปลี่ยนชุดสารละลาย ทําใหดูสวยงามไมหลุดลุย รุงรังเหมือนหุมดวยผากอซ

Page 32: ffi#n - ::: คณะแพทยศาสตร์ ... ลอดท ใช เวลานาน (Semel-Concepcion, M Gray, Nasr & Conway, 2009) ท าให เก ดความ

30 วารสารพยาบาลสวนดอก

วัตถุประสงค

เพื่อประดิษฐนวัตกรรมผาหุมเพื่อหุมขอตอ 3 ทาง แทนผากอซ

วิธีการ

1. ทบทวนปญหารวมกับหัวหนาหอผูปวย พยาบาลผูปฏิบัติ เพื่อวางแผนดําเนินการแกไขปญหา

2. ทดลองประดิษฐผาหุมขอตอ 3 ทาง 3. ทดลองใชกับผูปวย 10 ราย ระหวางเดือน

เมษายน – มิถุนายน 2553 4. ประเมินผลการใชผ า หุมมณีพร จาก

พยาบาลผูใช และจากผูปวย โดยใชแบบประเมินความพึงพอใจตอการใช 3 ดาน ประกอบดวย ดานความสะอาด ดานความสะดวก และดานความปลอดภัย เปนคําถามแบบมาตราสวนประมาณ คา 3 ระดับ คือ ความพึงพอใจมาก ความพึงพอใจปานกลาง และความพึงพอใจนอย ข้ั น ต อน ก า ร ป ร ะ ดิ ษ ฐ / อุ ป ก รณ ท่ี ใ ช ประกอบดวย

1. ผาหรือเศษผาขนาด 17x10 ซม. จํานวน 1 ช้ิน

2. ตีนตุกแกขนาด 2.5 ซม.จํานวน 1 ช้ิน

3. ตีนตุกแกขนาด 3x2 ซม.จํานวน 2 ช้ิน, ขนาด 2 x1.5 ซม. จํานวน 3 ช้ิน

ผาเย็บสําเร็จดานหนา

ผาเย็บสําเร็จดานหลัง

การทําความสะอาดปราศเชื้อ ผาหุมมณีพร

Page 33: ffi#n - ::: คณะแพทยศาสตร์ ... ลอดท ใช เวลานาน (Semel-Concepcion, M Gray, Nasr & Conway, 2009) ท าให เก ดความ

ปที่ 17 มกราคม – มิถุนายน 2554 31

แสดง ชุดใหสารละลายและขอตอสามทาง แสดง การหุมขอตอดวยผากอซ

แสดงการหุมขอตอสามทางแบบเดิม แสดงการหุมขอตอสามทางดวยผาหุมมณีพร

Page 34: ffi#n - ::: คณะแพทยศาสตร์ ... ลอดท ใช เวลานาน (Semel-Concepcion, M Gray, Nasr & Conway, 2009) ท าให เก ดความ

32 วารสารพยาบาลสวนดอก

วิเคราะหและสรุปผล การวัดผลและผลการเปลี่ยนแปลง 1. คาใชจายจาก 100 บาทตอคนตอเดือน

ลดลงเหลือ 25 บาทตอคนตอเดือน การสงทําสะอาดปราศจากเชื้อไมไดเพิ่มตนทุนเนื่องจาก สงพรอมของนึ่งท่ัวไปที่ทําประจําอยูแลว

2. เจาหนาท่ีพยาบาลพึงพอใจมากตอการใชผาหุมมณีพร รูสึกสะดวกในการปฏิบัติกิจกรรมพยาบาล มีความม่ันใจวานอกจากความสะดวกแลวสามารถชวยลดการปนเปอนจากเชื้อโรคได

เนื่องจากสวนของรอยตอ T- way จะตองวางบนเตียงผูปวย อัตราการติดเช้ือในกระแสโลหิตจากทางใหสารละลายทางหลอดเลือดดําสวนกลางในเดือนพฤษภาคม เ ดือนมิถุนายน และเดือนกรกฎาคม = 0

3. ประเมินความพึงพอใจตอการใชผาหุมมณีพรแทนผาก็อซในผูปวย 10 ราย พบวา ผูปวยมีความพึงพอใจมาก ดานความสะอาด ความสะดวก และความปลอดภัย น้ําหนักเบากวาการใชผากอซหุม และดูสวยงาม

Page 35: ffi#n - ::: คณะแพทยศาสตร์ ... ลอดท ใช เวลานาน (Semel-Concepcion, M Gray, Nasr & Conway, 2009) ท าให เก ดความ

ประสบการณการปฏิบัติการพยาบาลโดยอาศัยความรูเชิงประจักษ

Evidence - Based Nursing Practice

บุปผา จันทรจรัส *

การปฏิบัติการพยาบาลโดยอาศัยความรูเชิง

ประจักษ (evidence - based nursing practice)

หมายถึง กระบวนการที่พยาบาลตัดสินใจเลือก

การปฏิบัติท่ีเปนเลิศหรือไดผลดีท่ีสามารถสืบคน

ได โดยพิจารณารวมกับประสบการณการดูแล

ผูปวยและความพึงพอใจของผูปวย Nursing

Research, 2011)

การปฏิบัติการพยาบาลโดยอาศัยความรูเชิงประจักษเปนกระแสที่ชวยปลุกผูปฏิบัติพยาบาลท้ังหลายรวมถึงผูเขียนบทความใหมีความอยากรู อยากศึกษาและอยากทํา ซึ่งการนําแนวคิดใหมหรือสิ่งใหมมาใชในการปฏิบัติการพยาบาลน้ัน ดูเปนเรื่องนาทาทาย ดูไมยากมากนัก และเปนกระแสใหนักปฏิบัติการพยาบาลไดตื่นตัวในการปรับเปล่ียนการพยาบาลใหมีความทันสมัย เปนท่ียอมรับและเกิดผลลัพธท่ีดีตอผูรับบริการ และเปนการเช่ือมโยงนโยบายขององคกรใหนําไปสูการปฏิบัติ (Suzanne & Mary, 2006)

นอกจากนี้ ภายใตกระแสของการพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาลที่มุงสูความเปนเลิศนั้น คําวา Evidence Based Practice หรือการใช

หลักฐานเชิงประจักษ ไดถูกกลาวถึงท้ังในวงการศึกษาทางการพยาบาลและในหมูผูปฏิบัติการพยาบาล ซึ่งการใชหลักฐานเชิงประจักษทางการพยาบาลเพื่อการพัฒนาการบริการพยาบาลใหมีคุณภาพดีนั้นไมใชเรื่องใหม แตไดรับความสนใจมากข้ึน (Carole, 1998)

ผูปฏิบัติพยาบาลหลายคนที่อยากพัฒนาคุณภาพการพยาบาลที่ตนปฏิบัติอยู อยากเริ่มตนการใชหลักฐานเชิงประจักษมาใชในการพยาบาล มักมีคําถามเสมอวาจะเริ่มตนอยางไร ผูเขียนจึงขอเลาสิ่งท่ีตนเองไดเริ่มการพัฒนาคุณภาพการพยาบาล เพื่ อ เป นการ เ รี ยนรู ร วมกั นตามประสบการณดังนี้

1. มีความมุงม่ัน ตั้งใจแนวแนท่ีจะแกปญหาการพยาบาลท่ีเฉพาะเจาะจง โดยเลือกเรื่องท่ีเรา มีความมุงม่ัน ตั้งใจแนวแนท่ีจะแกปญหาการพยาบาลที่เฉพาะเจาะจง โดยเลือกเรื่องท่ีเราสนใจ หากเปนปญหาทางคลินิกจะมีความชัดเจนในกลุมเปาหมายควรเปนปญหาทางการพยาบาลที่เกี่ยวของกับสหสาวิชาชีพนอยและสามารถเปลี่ยนแปลงการปฏิบัติไดโดยไมเกี่ยวของกับผูอื่น ซึ่งหากเห็นวาไมมีปญหาเรื่องการประสานงาน

* พยาบาลชํานาญการพิเศษ หนวยสงเสริมพัฒนาการเด็ก โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม

 

Page 36: ffi#n - ::: คณะแพทยศาสตร์ ... ลอดท ใช เวลานาน (Semel-Concepcion, M Gray, Nasr & Conway, 2009) ท าให เก ดความ

34  วารสารพยาบาลสวนดอก 

ก็สามารถพัฒนาขึ้นและเลือกเรื่องที่เกี่ยวของกับสหสาวิชาชีพอื่นได

2. ศึกษาขั้นตอนกระบวนการนําหลักฐานเชิงประจักษใหเขาใจ รวมทั้งรายละเอียดในแตละขั้นตอน สวนใหญการทําความเขาใจขั้นตอนนี้สามารถสืบคนได ท่ัวไป แตหากไดรับการฟงบรรยายหรือขยายความจากผู มีประสบการณ จะทําใหมีความกระจางดีขึ้น หรือขณะทําการพัฒนาไปพรอมกับปรึกษาอาจารยท่ีปรึกษาเปนระยะ จะเพิ่มความมั่นใจ โดยขั้นตอนในกระบวน-การนําหลักฐานเชิงประจักษ โดยรวมมี ดังนี้ (Nursing Research, 2011)

2.1 การกําหนดประเด็นปญหาทางคลินิกและการประเมินความจําเปนในการปรับปรุงวิธีปฏิบัติเดิม ขั้นตอนนี้ตองกําหนดตัวช้ีวัดท่ีแสดงผลลัพธสุดทายท่ีตองการใหเกิดขึ้นเพื่อแกปญหาทางคลินิก เพื่อเปนการแสดงประสิทธิผลของแนวปฏิบัติทางคลินิกในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ยกตัวอยาง เชน อัตราการลื่นลม ตกเตียง อัตราการเกิดแผลกดทับ นอกจากนี้ตองมีการกําหนดคําจํากัดความในเรื่องท่ีศึกษาใหชัดเจน จากการศึกษาวรรณกรรมที่เกี่ยวของ และการศึกษาเรื่องใดเรื่องหนึ่งตองมีบริบทท่ีเกี่ยวของเพื่อเก็บเปนขอมูลพื้นฐานและแกไขปญหาหรือปรับปรุงระบบการใหบริการ ขอมูลเหลานี้อาจเปนขอมูลท้ังของผูรับบริการหรือผูใชแนวปฏิบัติ ดังนั้นขั้นตอนนี้ตองมีการสรางเครื่องมือในการเก็บรวบรวมขอมูลนั่นเอง และเริ่มเก็บรวบรวมขอมูลกอนการใชแนวปฏิบัติท่ีกําลังจะพัฒนา หลายคนก็พลาดโอกาสนี้ไปเพราะหากมีการเปลี่ยนแปลงการปฏิบัติไปแลว จะเก็บขอมูลยากจะเปนการศึกษาขอมูลยอนหลังและไดขอมูลท่ีไมสมบูรณ

2.2 การสืบคนความรูเชิงประจักษและรวบรวมงานวิจัยท่ีเกี่ยวของ อาจสืบคนไดจากฐานขอมูลทางอินเตอรเน็ต และ Web site ท่ีเกี่ยวของ ทําการสืบคนงานวิจัยจากฐานขอมูลทางการพยาบาลในระบบสารสนเทศ (CD-ROM) หรืออาจสืบคนงานวิจัยดวยมือ (manual searching) เชน งานวิจัยท่ีไมไดลงตีพิมพในวารสาร หรือไมไดอยูในระบบฐานขอมูลสารสน-เทศ หรืองานวิทยานิพนธไดจากหองสมุดหรือติดตอผูวิจัยโดยตรง ขั้นตอนนี้เปนชวงของการใชเวลามาก ดังนั้นจึงควรแบงงานในทีม กําหนดระยะเวลาของหลักฐานท่ีตองการรวบรวม จัดทําตารางใหเปนรูปแบบที่ชัดเจน กําหนดระยะเวลาที่ใชสืบคนรวมกัน โดยผลการสืบคนอาจไดเปนงานวิจัยเด่ียว งานวิจัยท่ีเปนการทบทวนวรรณ-กรรมอยางเปนระบบ (systematic review) แนวปฏิบัติท่ีพัฒนาจากงานวิจัยหรืออื่นๆ ดังนั้นในการสืบคนจะตองมีการประเมินความนาเช่ือถือของงานวิจัยหรือหลักฐานนั้นๆ

2.3 การวิเคราะหและประเมินคุณภาพของหลักฐานอางอิ งให มีความเหมาะสมกับหนวยงาน มีความประหยัดและคุมคา คุมทุน การแบ งระดับความนา เ ช่ือ ถือและคุณภาพของหลักฐานอางอิงตามเกณฑของสถาบันใดสถาบันหนึ่ง ในระดับผูปฏิบัติขั้นตอนนี้ควรมีผูทรงคุณวุฒิในการตรวจสอบขอมูล ความถูกตองในการสกัดผลงานวิจัยท่ีสืบคนไดมาใชเพื่อความนาเช่ือถือของแนวปฏิบัติท่ีจะทําการพัฒนาตอไป นอกจากนี้นําหลักฐานท่ีไดมาแบงระดับของการนําไปใช ตามกรอบแนวคิดท่ีอางอิงและใหทีมมีรวมกันตัดสินใจตามกรอบแนวคิดดังกลาว

2.4 ยกร างแนวปฏิบัติตามหลักฐานอางอิง ท่ี เลือกจากงานวิ จัยหรือหลักฐานเชิง

Page 37: ffi#n - ::: คณะแพทยศาสตร์ ... ลอดท ใช เวลานาน (Semel-Concepcion, M Gray, Nasr & Conway, 2009) ท าให เก ดความ

ปที่ 17 มกราคม – มิถุนายน 2554 35 

ประจักษท่ีสังเคราะหได แนวปฏิบัติการพยาบาลทางคลินิกตองมีเนื้อครอบคลุมทุกรายดานจึงจะมีความสมบูรณ (Joint Commission on Accredi-tation of Healthcare Organization, 1996) พรอมคูมือการใชแนวปฏิบัติใหเหมาะสมกับบริบทของหนวยงาน ทําการตรวจสอบคุณภาพเชิงเนื้อหา ภาษา รูปแบบของแนวปฏิบัติโดยผูทรงคุณวุฒิ นําแนวปฏิบัติไปทดลองใช เพื่อทดสอบความเปนไปไดทางปฏิบัติ สอบถามขอคิดเห็นจากผูใชและนําไปปรับปรุ งแนวปฏิบัติ เปนฉบับสมบูรณ 2.5 การนําแนวปฏิบัติฉบับสมบูรณไปใชในการปฏิบัติ งาน ขั้นตอนนี้ ในทางปฏิบัติ มีความสําคัญมากและตองวางแผนเปนอยางดี ตองประสานงานและขอการสนับสนุนจากผูบริหาร ผูเกี่ยวของ เพื่อใหเกิดการเปลี่ยนแปลงกิจกรรมในการปฏิบัติการพยาบาลประจําวัน ตองจัดใหมีการฝกทักษะและใหความรูบุคลากรท่ีเกี่ยวของทุกคน จัดคูมือ แบบประเมินตามแนวปฏิบัติ อุปกรณท่ีเกี่ยวของเพื่ออํานวยความสะดวกใหผูใชแนวปฏิบัติไดศึกษา ใชไดสะดวก มีการตรวจสอบกิจกรรมการพยาบาลประจําวันวาไดนําแนวปฏิบัติมาใชจริง มีกลยุทธเพื่อกระตุนใหบุคลากรในงานประจําวัน เชน นําแนวปฏิบัติ เขาสูการ pre-conference เม่ือมีปญหากับผูปวย การจัดบอรด และมีผูนิเทศในโครงการโดยผูนําการพยาบาลในหอผูปวยนั้นๆ มีการประกาศใชแนวปฏิบัติอยางเปนทางการ และเมื่อมีการเปล่ียนแปลงตามกําหนดแลว ทําการเก็บรวบรวมขอมูลเพื่อเปรียบเทียบกอนการใชแนวปฏิบัติ ทําการวิเคราะหอุบัติการณเพื่อหาสาเหตุ มุงเนนการปรับปรุงระบบมากกวาการกลาวถึงบุคคล โดยใหทีมแสดงความคิดเห็นในการแกไข ติดตามผลเปนระยะ หากทําไดผลดีใหรางวัลแกผูปฏิบัติเพื่อเสริมสรางพลังแกทีมใน

การเปนเจาของงานและผลงานที่ดี การใหรางวัลไมไดหมายความถึงวัตถุ สิ่งของแตอาจเปนคําช่ืนชม ขอบคุณ ก็สามารถสรางคุณคาในการทํางานไดเปนอยางดี ปญหาสําคัญท่ีพบในขั้นตอนนี้คือการออกแบบตรวจสอบกระบวนการเปลี่ยนแปลง ยิ่งเปนองคกรท่ีใหญจะพบปญหามาก และตอบไมไดวาผลลัพธท่ีไดนั้นเกิดจากการปฏิบัติงานประจําหรือการปฏิบัติตามแนวทางที่พัฒนาขึ้น

3. ภายหลังศึกษาขั้นตอนโดยละเอียดแลว การพัฒนาจะสําเร็จไดตองเขียนโครงการโดยเร็วโดยมีหัวขอสําคัญดังนี้ (พิกุล นันทชัยพันธ, 2654)

3.1 ช่ือเรื่อง 3.2 คณะทํางานและที่ปรึกษา 3.3 หนวยงานที่สังกัด 3.4 หลักการและเหตุผล 3.5 วัตถุประสงค 3.6 คําจํากัดความ 3.7 สถานท่ีท่ีดําเนินการ 3.8 ผูท่ีเกี่ยวของทุกฝาย 3.9 ระยะเวลาในการดําเนินการ 3.10 ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ 3.11 ขั้นตอนการดําเนินโครงการ 3.12 ผลลัพธในการดําเนินงาน 3.13 การ วิ เ ค ร า ะห สรุ ปผลและข อ

เสนอแนะ 3.14 บทเรียนที่ไดรับในการทําโครงการ 3.15 แผนการดําเนินงานตลอดโครงการ

(chart) การเขียนโครงการนั้นมีความสําคัญท้ังวาง

แผนการทํางาน การแบงงานรวมกันในทีม การสงขอทุนสนับสนุนท้ังจากหนวยงานและขอสนับสนุนเวลาจากผูบริหาร นอกจากนี้ยังทําใหผู ทํามี

Page 38: ffi#n - ::: คณะแพทยศาสตร์ ... ลอดท ใช เวลานาน (Semel-Concepcion, M Gray, Nasr & Conway, 2009) ท าให เก ดความ

36  วารสารพยาบาลสวนดอก 

กําลังใจในงานเมื่อสามารถตามที่กําหนดไว ภายหลังมีโครงการก็ดําเนินการตามโครงการและกําหนดการประชุมทีมเปนระยะเพื่อติดตามผลและแกไขปญหาและอุปสรรครวมกัน

4. เม่ือโครงการเสร็จสิ้นตามกําหนดเวลา ทําการสรุปประเมินโครงการเพื่อสรุปสงผูบริหารและเผยแพรงานท่ีไดพัฒนาขึ้น การนําเสนอหรือผลลัพธในการนําหลักฐานเชิงประจักษท่ีสังเคราะหไดมาใชนั้นนอกจากจะเปนการเชื่อมโยงงานวิจัยสูการปฏิบัติ แลวยังทําใหเจาของผลงานไดทราบวาผลงานเหลานั้นเม่ือนํามาปฏิบัติในบริบทการทํางานไดผลดีมากนอยอยางไร และการประเมินโครงการตองเรียนรูบทเรียนจากการทํางานในทุกแง มุมเพื่อปรับปรุงให ดีขึ้นในโครงการตอไป ภายหลังปดโครงการทําการติดตามตัวช้ีวัดท่ีทําการแกไขจากระบบ และปรับปรุงให มีความทันสมัยตามแนวปฏิบัติในรายดานการพัฒนาคุณภาพ (Joint Commission on Accreditation

of healthcare Organization, 1996)ตามเวลาท่ีกําหนดไว

การปฏิบัติการพยาบาลโดยอาศัยความรูเชิงประจักษ เปนความทาทายในการปฏิบัติการพยาบาลภายใต คําถาม เกี่ยวกับคุณภาพการพยาบาลและผลลัพธจาการพยาบาล การปฏิบัติการท่ีปฏิบัติมาจนเปนงานประจํา ความคุมคาคุมทุนในใหการพยาบาล การจัดการและการดูแล สุขภาพ การปฏิบัติการพยาบาลโดยอาศัยความรู เ ชิงประจักษ ชวยใหผูปฏิบัติการสามารถทําการตัดสินใจ ในการเลือกใหการพยาบาลท่ีดีท่ีสุดสําหรับผูใชบริการ เพื่อใหเกิดประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ความคุมทุน และกําจัดหรือปองกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้นจากการปฏิบัติการพยาบาลนั้นๆ จึงขอเชิญชวนนักปฏิบัติการพยาบาลไดสรางสรรคการพยาบาลใหเปนท่ียอมรับ ไมเฉพาะการใชหลักฐานเชิงประจักษในการปฏิบัติการพยาบาลเทานั้น ยังมีอีกหลายแนวคิด หลายหนทางที่นําไปสูการพยาบาลที่มีคุณภาพได

Page 39: ffi#n - ::: คณะแพทยศาสตร์ ... ลอดท ใช เวลานาน (Semel-Concepcion, M Gray, Nasr & Conway, 2009) ท าให เก ดความ

ปที่ 17 มกราคม – มิถุนายน 2554 37 

เอกสารอางอิง

พิกุล นันทชัยพันธ. (2546). เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การปฏิบัติการพยาบาล โดยอาศัยความรู เชิงประจักษ. คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม. Carole, A. E., (1998). Will Evidence-Based nursing Practice Make Practice Perfect?. Canadian

Journal of Nursing research, Vol. 30, No. 1, 15-36 . Retrived May 22, 2011 from:www.digital.library.mcgill.ca/cinr/pdg/CJNR_Vol_30_Issue.01.Art.01.pdf.

Joint Commission on Acreditation of Healtcare Organization. (1996). Meeting JCAHO Goals. Retrived July 23, 2005 from:http//www.cdh.org/AboutUs.aspx?=9306.

Nursing Research, (2011). Evidence Based Nursing. Retrived May 19, 2011 fromhttp://nursingplanet.com/research/evidence_based_nursing.html.

Suzanne, C. & Mary, J. (2006). Evidence-Based Practice in Nursing: A Guide to successful Implementation. Retrived May 19, 2011 from:www.hcmarketplace.com/supplemental/3737_browse.pdf.

Page 40: ffi#n - ::: คณะแพทยศาสตร์ ... ลอดท ใช เวลานาน (Semel-Concepcion, M Gray, Nasr & Conway, 2009) ท าให เก ดความ

บุคคลเดนวันนี้

นางสาวมาลินี วัฒนากูล

ประวัติการทํางาน

2518 - 2530 พยาบาลประจําการในการพยาบาลผูปวยพิเศษ ฝายการพยาบาล โรงพยาบาล มหาราชนครเชียงใหม 2530 - ปจจุบัน หัวหนาหอผูปวยพเิศษ 1 (อายุรกรรม) งานการพยาบาลผูปวยพเิศษ

ฝายการพยาบาล โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม อุดมคติในการทํางาน ทํางานดวยความซื่อสัตยสุจริต ยุติธรรม ยืดม่ันในคุณธรรม และจริยธรรมของวิชาชีพ ยังประโยชนใหสวนรวม และองคกร

Page 41: ffi#n - ::: คณะแพทยศาสตร์ ... ลอดท ใช เวลานาน (Semel-Concepcion, M Gray, Nasr & Conway, 2009) ท าให เก ดความ

40 วารสารพยาบาลสวนดอก

โครงการวิจัย / วิเคราะหงาน / การเผยแพรผลงานวิจัย 1. ความชุกของการเกิดแผลกดทับของหอผูปวยพิเศษอายุรกรรม โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม

โดย มาลินี วัฒนากูล, น้ําเพชร หลอตระกูล, จิตตาภรณ จิตรีเช้ือ 2. การพัฒนาคุณภาพการพยาบาลเพื่อปองกันและดูแลแผลกดทับ โดยคณะพยาบาลศาสตร

มหาวิทยาลัยเชียงใหม หอผูปวยพิเศษ 1 และ ฝายการพยาบาล โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม 3. กรณีศึกษาการปองกันและการบริบาลแผลกดทับในผูปวย โดย มาลินี วัฒนากูล, จันทนา เตชะคฤหะ

น้ําเพชร หลอตระกูล, นารี รุงอรุณกิจ, จุไรรัตน นันทาภิวัธน, ศิริธร โฆษคุณวุฒิ 4. การใหความรูและการปฏิบัติของบุคลากรในการใชอุปกรณการติดเช้ือแบบครอบจักรวาล ในหอผูปวย

พิเศษ 1 โรงพยาบาลมหาราชนครเชยีงใหม โดย มาลินี วัฒนากูล, มารีด้ี วงษเวช, เพชรา นําปูนศักด์ิ กญจนา บุตรจันทร

การเผยแพรผลงานวิจัย/ การนําเสนอผลงานในประเทศ

• การศึกษาผูปวยในหอผูปวยพิเศษอายุรกรรมโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม เชียงใหม เวชสาร ปท่ี 39 ฉบับท่ี 3 (เสริม) หนา 40 เดือน กันยายน 2543

• ความพึงพอใจของผูรับบริการตอการบริการในหอผูปวยพิเศษ 1 โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม เชียงใหมเวชสารปท่ี 35 ฉบับท่ี 3 (เสริม) หนา 50 เดือนกันยายน 2544

• ความชุกของการเกิดแผลกดทับของหอผูปวยพิเศษ อายุรกรรม โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม จุลสารชมรมควบคุมโรคติดเช้ือในโรงพยาบาลแหง ประเทศไทย ปท่ี 12 ฉบับท่ี 1 หนา 33 – 46 เดือน มกราคม – เมษายน 2545

• โปสเตอร เรื่อง กรณีศึกษาการปองกันและการบริบาลแผลกดทับในหอผูปวยพิเศษ 1 โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม วันพยาบาลแหงชาติ ณ ลานโถงชั้นลาง อาคารสุจิณโณ

• โปสเตอร เรื่อง ผลการดําเนินกิจกรรมพัฒนาคุณภาพงานเรื่องการปองกันและจัดการแผลกดทับ ในหอผูปวยพิเศษ 1 งานมหกรรมกิจกรรมพัฒนาคุณภาพ ครั้งท่ี 5 พ.ศ.2546

• บทคัดยอ และโปสเตอร เรื่อง การใหความรูและการปฏิบัติของบุคลากรในการใชอุปกรณการปองกันการติดเช้ือแบบครอบจักรวาล ในหอผูปวยพิเศษ 1 โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม เดือนกันยายน 2546

• บทความการศึกษาดูงาน เรื่อง การควบคุมปองกันการติดเช้ือในโรงพยาบาลเทนริ ประเทศญี่ปุน วารสารพยาบาลสวนดอก ปท่ี 7 ฉบับท่ี 1 มกราคม - มิถุนายน 2544

• บทคัดยอ และโปสเตอร เรื่อง ผลของการแกไขปญหาแบบมีสวนรวมตอการปฏิบัติการพยาบาลเพื่อปองกันการติดเช้ือระบบทางเดินปสสาวะของหอผูปวยพิเศษ 1 โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม เชียงใหมเวชสารปท่ี 43 ฉบับท่ี 3 (เสริมกันยายน 2547) และ ไดรับรางวัลดีเดน

Page 42: ffi#n - ::: คณะแพทยศาสตร์ ... ลอดท ใช เวลานาน (Semel-Concepcion, M Gray, Nasr & Conway, 2009) ท าให เก ดความ

ปที่ 17 มกราคม – มิถุนายน 2554 41

ประเภทการวิจัยทางบริการการแพทยในวันมหิดล 24 กันยายน 2547คณะแพทยศาสตรมหาวิทยาลัยเชียงใหม

-

• บทคัดยอ และโปสเตอร เรื่อง ประสิทธิผลการใชโปรแกรมสื่อการสอนวีดิทัศนการปองกันและดูแลผูปวยที่มีแผลกดทับ สําหรับญาติหรือผูดูแลในหอผูปวยพิเศษ 1 โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม และไดรับรางวัลประเภทดีในการประกวดผลงานทางวิชาการประเภทการวิจัยทางบริการการแพทย ประชุมวิชาการวันมหิดล 24 กันยายน 2548 คณะแพทยศาสตรมหาวิทยาลัยเชียงใหม

• นําเสนอผลงาน CARDIOPULMONARY RESUSCITATION SKILLS AMONG HEALTH CARE PROVIDERS IN PRIVATE WARD AT MAHARAJ NAKORN CHIANG MAI HOSPITAL ในงานวิชาการวันมหิดล 2549 และ ในงานวิชาการวันพยาบาลแหงชาติ 2549

• นําเสนอผลงาน Sickle shaped pillow:Innovative nursing care for pressure sore prevention at Private medical ward 1, Maharaj Nakorn Chiang Mai Hospital ในงานประชุมวิชาการ

Page 43: ffi#n - ::: คณะแพทยศาสตร์ ... ลอดท ใช เวลานาน (Semel-Concepcion, M Gray, Nasr & Conway, 2009) ท าให เก ดความ

42 วารสารพยาบาลสวนดอก

New Frontiers in Primary Health Care : Role of Nursing and Other Professions โรงแรมปางสวนแกว จ.เชียงใหม วันที่ 4–6 กุมภาพันธ 2551

• นําเสนอโครงการวิจัย เรื่อง ประสิทธิผลของการสงเสริมการทําความสะอาดมือของบุคลากรพยาบาลหอผูปวยพิเศษ โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม ในงาน HA Update 2008 โรงแรม ดิอิมเพรส มิถุนายน 2551

การเสนอผลงานวิจัยในตางประเทศ

• ผลของการแกปญหาแบบมีสวนรวมตอการปฏิบัติการพยาบาลเพื่อปองกันการติดเชื้อในโรงพยาบาลระบบทางเดินปสสาวะ หอผูปวยพิเศษ 1 โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม (Effect of Participatory Problem Solving on Nursing Practice for Prevention of Nosocomial Urinary Tract Infection in Private Medical Ward 1 Maharaj Nakorn Chiang Mai Hospital) มาลินี วัฒนากูล, ชมนาด พจนามาตร, มารีด้ี วงษเวช, นารี รุงอรุณกิจ, เพชรา นําปูนศักด์ิ,จุไรรัตน นันทาภิวัธน, ดิลกา ไตรไพบูลย) ในงานประชุมวิชาการ The 5th Annual Hawaii International Conference on Statistics, Mathematics and Related Fields สถานที่ The Renaissance ILikai Waikiki Hotel, Honolulu, Hawaii, ประเทศสหรัฐอเมริกา วันที่ 14–20 มกราคม 2549 (ไดรับทุนนําเสนอผลงานวิจัยจากสภาการพยาบาลและมหาวิทยาลัยเชียงใหม)

Page 44: ffi#n - ::: คณะแพทยศาสตร์ ... ลอดท ใช เวลานาน (Semel-Concepcion, M Gray, Nasr & Conway, 2009) ท าให เก ดความ

ปที่ 17 มกราคม – มิถุนายน 2554 43

• ประสิทธิผลการใชโปรแกรมสื่อการสอนวีดีทัศนการปองกันและดูแลผูปวยท่ีมีแผลกดทับ สําหรับญาติหรือผูดูแล ในหอผูปวยพิเศษ 1 โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม

(Effectiveness of a VDO Teaching Program for Patient’s Relatives and Care Takers in Preventing and Caring for Bed Sores at Private Medical Ward 1, Maharaj Nakorn Chiang Mai Hospital, Thailand) มาลินี วัฒนากูล, จันทนา เตชะคฤห, ศิริธร โมฆคุณวุฒิ, กญจนา บุตรจันทร ทรรศนง ทองสวัสด์ิ, ดิลกา ไตรไพบูลย) ในงานประชุมวิชาการ 2007 Special Conference of International Association for Statistical Computing (IASC) – the Asian Regional Section (ARS) ณ กรุงโซล ประเทศเกาหลี วันที่ 7-8 มิถุนายน 2550

• CARDIOPULMONARY RESUSCITATION SKILLS AMONG HEALTH CARE PROVIDERS IN PRIVATE WARD AT MAHARAJ NAKORN CHIANG MAI HOSPITAL

(Malinee Vatanagul1, Wiyada Tanvatanagul2, Dinlaga Tripiboon3, Chantana Taechakaruha1, Sirithorn Khosakunnavut1) ในงานประชุมวิชาการ Joint Meeting of 4th World Conference of the IASC and 6th Conference of the Asian Regional Section of the IASC on Computational Statistics & Data Analysis ณ เมือง Yokohama ประเทศญี่ปุน วันที่ 5–8 ธันวาคม 2551

Page 45: ffi#n - ::: คณะแพทยศาสตร์ ... ลอดท ใช เวลานาน (Semel-Concepcion, M Gray, Nasr & Conway, 2009) ท าให เก ดความ

44 วารสารพยาบาลสวนดอก

• การเสนอผลงานวิจัยดานการพยาบาล ในการประชุมพยาบาลระดับโลก 24‘ Quadrennial Congress 2009 เมือง Durban ประเทศ South Africa วันท่ี 27 June – 4 July 2009 (ไดรับทุนสนับสนุนเสนอผลงานวิจัยจากสภาการพยาบาล ป 2552)

นอกจากนี้ในดานตางประเทศ เปนประธานศิษยเกาพยาบาล JIGF ไดใหการตอนรับคณะผูบริหารมูลนิธิ JIGF จากประเทศญี่ปุนไดแก Dr.Akemi พรอมคณะ ท่ีเดินทางมาเยี่ยมดูงานคณะแพทยศาสตรตั้ งแตวัน ท่ี 25 กุมภาพันธ -1 มีนาคม 2548 เพื่ อสัมพันธไมตรีระหวางคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม กับโรงพยาบาล Sayama ประเทศญี่ปุน ไดผลิตสื่อ VCD ประวัติความเปนมาของการทุน JIGF รวมทั้งการศึกษาดูงานของพยาบาลโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม ณ โรงพยาบาล Sayama ประเทศญี่ปุนตั้งแต ค.ศ 1985-2004 และมอบใหมูลนิธิ JIGF เพื่อกระชับสัมพันธไมตรีอันดีระหวางประเทศไทย และประเทศญี่ปุน นอกจากนี้ยังชวยประสานงานในการบริจาคเงิน โดย Dr.Akemi มอบใหแกผูประสบภัยจากคลื่นยักษสึนามิ ภาคใตเปนจํานวนเงิน 200,000 yen และบริจาคใหมูลนิธิโสตศึกษาอนุสารสุนทร เปนเงิน 100,000 yen เกียรติประวัติ/รางวลั

1. รางวัล ศาสตราจารยนายแพทยบุญสม มารติน บุคคลดีเดน ประจําป 2548 คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

2. รางวัล วิจัยดี ประเภทการวิจัยบริการดานการแพทย ในการประชุมวิชาการ วันมหิดลครั้งท่ี 29 ประจําป 2548 3. รางวัล วิจัยดีเดน ประเภทการวิจัยบริการดานการแพทย ในการประชุมวิชาการ วันมหิดลครั้งท่ี 28 ประจําป 2547 4. เกียรติบัตร ขาราชการดีเดนของคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม ป 2547 5. เกียรติบัตร ขาราชการดีเดนของคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม ป 2553

Page 46: ffi#n - ::: คณะแพทยศาสตร์ ... ลอดท ใช เวลานาน (Semel-Concepcion, M Gray, Nasr & Conway, 2009) ท าให เก ดความ

ปที่ 17 มกราคม – มิถุนายน 2554 45

6. ผูปฏิบัติงานดีเดนของงานการพยาบาลผูปวยพิเศษ ประจําป 2547 7. รับใบประกาศเกียรติคุณ ไดรับคําชมเชยในการปฏิบัติงานเปนจํานวนมากจากการรวบรวม

ขอคิดเห็นของผูรับบริการ โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม ตั้งแตเดือนมิถุนายน 2545 - ปจจุบัน โดย ศูนยพัฒนาคุณภาพ คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาเชียงใหม

8. รางวัลชนะเลิศอันดับ 1 โครงการหนาบานนามอง คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม ป 2551

9. รางวัลชนะเลิศอันดับ 1 โครงการ Happy Home เปนสถานที่สะอาด ปลอดภัย และเอื้อตอการมีสุขภาพดี จากคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม ป 2552

10. รางวัลชนะเลิศอันดับ 1 โครงการ Happy Home เปนโรงเรียนแพทยสรางเสริมสุขภาพ ป 2553

11. รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 3 การประกวดนวัตกรรม ประเภท นวัตกรรมที่ใชเผยแพรในระดับประเทศ “มหกรรม KM DAY” ครั้งท่ี 1 วันมหิดล 24 กันยายน 2552 โครงการจัดทําสื่อการสอนสําหรับบุคลากรและญาติผูปวยที่สวนปสสาวะและที่ไดรับการคาสายสวนปสสาวะ โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม

12. รางวัลท่ี 2 การประกวด นวัตกรรม ประเภทกระบวนการเรียนรู ในงาน “มหกรรม KM DAY” ครั้งท่ี 2 ประจําป พ.ศ. 2553 วันมหิดล วันท่ี 24 กันยายน 2553 โครงการจัดทําสื่อการสอนสําหรับบุคลากรและญาติในการดูแลผูปวยเพื่อปองกันการติดเช้ือปอดอักเสบในโรงพยาบาลสําหรับญาติผูปวย

13. โครงการ พัฒนาหองผูปวย หองพระ และหองเจาหนาท่ี ในหอผูปวยพิเศษ 1 เริ่ม 1 กันยายน 2553 โดยประชาชนมีสวนรวม รวมบริจาคการปรับปรุงท้ังหมด (หนึ่งลานสามแสนบาทถวน)

14. รางวัลศิษยเกาดีเดน คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม ประจําป 2553

15. รางวัล “ชางทองคํา” ผูปฏิบัติงานดีเดน สาขาวิทยาศาสตรสุขภาพ ประจําป 2553

16. รางวัล “ครุฑทองคํา” ขาราชการพลเรือนดีเดน ประจําป 2553

Page 47: ffi#n - ::: คณะแพทยศาสตร์ ... ลอดท ใช เวลานาน (Semel-Concepcion, M Gray, Nasr & Conway, 2009) ท าให เก ดความ
Page 48: ffi#n - ::: คณะแพทยศาสตร์ ... ลอดท ใช เวลานาน (Semel-Concepcion, M Gray, Nasr & Conway, 2009) ท าให เก ดความ

แบบฟอรมแสดงความจํานงการลงบทความในวารสารสวนดอก ขอเชิญชวนบุคลากรทางการพยาบาลที่ประสงคจะเขียนบทความลงในวารสารพยาบาลสวนดอก

กรุณาแจงความจํานงตามแบบฟอรมขางลางนี้พรอมสงบทความมาที่หนวยสารสนเทศทางการพยาบาล ช้ัน 7 อาคารบุญสม มารติน โทรศัพท 6371-2

ช่ือ........................................นามสกุล.......................................ตาํแหนง............................................ หอผูปวย.......................................งานการพยาบาลผูปวย................................................................... โทรศัพท........................................

ประเภทบทความที่ตองการตีพิมพลงในวารสารพยาบาลสวนดอก ( ) วิเคราะหงาน วิจัย ( ) Evidence – based practice ( ) สิ่งประดิษฐ นวัตกรรม ( ) บทความทางดานการบริหาร ( ) บทความทางดานการพยาบาล ( ) บทความท่ัวไป

ช่ือบทความ…………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………

คําแนะนําสําหรับเรื่องสงพิมพ 1. บทความเกี่ยวกับวิเคราะหงานหรือวิจัย ควรประกอบดวย ความเปนมาและความสําคัญของ

ปญหาวัตถุประสงคของการวิเคราะหงาน คําจํากัดความ ประชากรและการเลือกกลุมตัวอยาง เครื่องมือท่ีใชในการวิเคราะหงาน ขั้นตอนการรวบรวมขอมูล การวิเคราะหขอมูล ผลการวิเคราะหงาน อภิปรายผล ประโยชนท่ีไดรับจากการวิเคราะหงาน การนําผลการวิเคราะหงาน ไปใช เอกสารอางอิง ความยาวของเนื้อหาไมควรเกิน 5 หนากระดาษพิมพดีดขนาด A

2. บทความเกี่ยวกับ Evidence – based practice ควรประกอบดวย หลักการและเหตุผลวัตถุประสงค การดําเนินโครงการ ระยะที่ 1 การพัฒนาแนวปฏิบัติ ระยะที่ 2 การนําแนวปฏิบัติไปใช ผลการดําเนินการ อภิปรายผล เอกสารอางอิง ความยาวของเนื้อหาไมควรเกิน 5 หนากระดาษพิมพดีดขนาด A 4

3. นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ ควรประกอบดวย หลักการและเหตุผลหรือความเปนมาและความสําคัญของปญหา วัตถุประสงค วัสดุอุปกรณ วิธีการประดิษฐ วิธีปฏิบัติในการใชเครื่องมือ คาใชจาย ผลการทดลองใช ประโยชนท่ีไดรับ เอกสารอางอิง (ถามี) ความยาวของเนื้อหาไมควรเกิน 5 หนากระดาษพิมพดีดขนาด A 4

4. บทความทางวิชาการ เปนบทความที่รวบรวมเรียบเรียงความรูในเรื่องใดเรื่องหนึ่งท่ีทานจะนําเสนอซึ่งคนควาจากวารสาร บทความหนังสือหรือสื่อสิ่งพิมพตางๆ ท้ังภายในและตางประเทศ บทความนี้ควรประกอบดวย บทนํา ความรูเกี่ยวกับเรื่องท่ีเขียน บทวิเคราะหหรือวิจารณ สรุปและเอกสารอางอิง ความยาวของเนื้อหาไมควรเกิน 5 หนากระดาษพิมพดีดขนาด A 4