kinetics 2016 new...

90
1 12. จลนศาสตรเคมี CHEMICAL KINETICS

Upload: others

Post on 04-Jan-2020

1 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: Kinetics 2016 new [โหมดความเข้ากันได้]sc.buu.ac.th/~chemistry/2559/30310159/kinetics_2016_new.pdf · 2016-11-01 · 11.2.2 กฎอัตราอินทิเกรต

1

12. จลนศาสตรเคมี

CHEMICAL KINETICS

Page 2: Kinetics 2016 new [โหมดความเข้ากันได้]sc.buu.ac.th/~chemistry/2559/30310159/kinetics_2016_new.pdf · 2016-11-01 · 11.2.2 กฎอัตราอินทิเกรต

เทอรโมไดนามิกส บอกถึง

− พลังงานที่เกี่ยวของในกระบวนการ

− ทิศทางของกระบวนการ(บอกวาเกิดไดเองหรือไมไดเอง)

(บอกถึงการเขาสูสมดุล)

ไมไดบอกวากระบวนการเกดิเร็วหรือชา

จลนศาสตรเคมี

2

Page 3: Kinetics 2016 new [โหมดความเข้ากันได้]sc.buu.ac.th/~chemistry/2559/30310159/kinetics_2016_new.pdf · 2016-11-01 · 11.2.2 กฎอัตราอินทิเกรต

จลนศาสตรเคมี ศึกษาเกี่ยวกับ

(เทอรโมไดนามิกสบอกวาเกิดได)

− อัตราของกระบวนการหรือปฏิกิริยาเคมี

− ผลของสภาวะที่มีตออัตรา

: ความเขมขนของสารตั้งตน, : อุณหภูมิ, : ตัวเรงปฏิกิริยา, พลังงานกอกัมมันต : พื้นที่ผิว

− กลไกของปฏิกิริยา

3

Page 4: Kinetics 2016 new [โหมดความเข้ากันได้]sc.buu.ac.th/~chemistry/2559/30310159/kinetics_2016_new.pdf · 2016-11-01 · 11.2.2 กฎอัตราอินทิเกรต

▲ ประเภทของปฏิกิริยาเคมี

อาศัย เฟส (phase) หรือวัฏภาคของสาร แบง

ออกเปน 2 ประเภท

– ปฏิกิริยาเอกพันธ (Homogeneous phase reaction)

2H2 (g) + 2NO(g) → 2H2O(g) + N2(g)

สารตั้งตนและผลิตภัณฑอยูวัฏภาคเดียวกัน และรวม

เปนเนื้อเดียวกัน

4

Page 5: Kinetics 2016 new [โหมดความเข้ากันได้]sc.buu.ac.th/~chemistry/2559/30310159/kinetics_2016_new.pdf · 2016-11-01 · 11.2.2 กฎอัตราอินทิเกรต

− ปฏิกิริยาวิวิธพันธ

(Heterogeneous phase reaction)

Zn (s) + 2HCl (aq) → ZnCl2 (aq) + H2 (g)

สารตั้งตนและผลิตภัณฑอยูคนละวัฏภาค ไม

รวมเปนเนื้อเดียวกัน

5

Page 6: Kinetics 2016 new [โหมดความเข้ากันได้]sc.buu.ac.th/~chemistry/2559/30310159/kinetics_2016_new.pdf · 2016-11-01 · 11.2.2 กฎอัตราอินทิเกรต

▲ การเปลี่ยนแปลงความเขมขนของสาร

ในปฏิกิริยาเคมี

→ bB aA

สาร A ทําปฏิกิริยาหายไป a โมเลกุล (โมล)

สาร B เกิดขึ้นจากปฏิกิริยา b โมเลกุล (โมล)

ภายในระยะเวลาเดียวกัน

6

Page 7: Kinetics 2016 new [โหมดความเข้ากันได้]sc.buu.ac.th/~chemistry/2559/30310159/kinetics_2016_new.pdf · 2016-11-01 · 11.2.2 กฎอัตราอินทิเกรต

รูปที่ 12.1 กราฟแสดง

ความสัมพันธระหวาง

ปริมาณของสารตั้งตนและ

สารผลิตภัณฑเทียบกับเวลา

time

→ B A

→ bB aA 7

Page 8: Kinetics 2016 new [โหมดความเข้ากันได้]sc.buu.ac.th/~chemistry/2559/30310159/kinetics_2016_new.pdf · 2016-11-01 · 11.2.2 กฎอัตราอินทิเกรต

▲ เทคนิคการทดลอง

(Experimental techniques)

ติดตามความกาวหนาของปฏิกิริยาโดยพิจารณาธรรมชาติของสารในปฏิกิริยา

• วิเคราะหหาปริมาณของสารโดยตรง เชน การไทเทรต เปนตน

• วัดการเปลี่ยนแปลงสมบัติทางกายภาพ เชน คาการดูดกลืนแสง การนําไฟฟา การหมุนระนาบแสงเปนตน

8

Page 9: Kinetics 2016 new [โหมดความเข้ากันได้]sc.buu.ac.th/~chemistry/2559/30310159/kinetics_2016_new.pdf · 2016-11-01 · 11.2.2 กฎอัตราอินทิเกรต

(g)CO (aq)2Br (aq)2H HCOOH(aq) (aq)Br 22 +−+++ →

โบรมีนมีสีน้ําตาลแดง , สารอื่นๆ ไมมีสีใช spectrometer ในการตรวจวัด

คาการดูดกลืนแสง

(Abs)ความเขมขนของสาร

b Abs c ε=

9

Page 10: Kinetics 2016 new [โหมดความเข้ากันได้]sc.buu.ac.th/~chemistry/2559/30310159/kinetics_2016_new.pdf · 2016-11-01 · 11.2.2 กฎอัตราอินทิเกรต

time

393 nmlight

Detector

Δ[Br2] α Absorption

393

nm

Br2 (aq)

(g)CO (aq)2Br (aq)2H HCOOH(aq) (aq)Br 22 +−+++ →

Page 11: Kinetics 2016 new [โหมดความเข้ากันได้]sc.buu.ac.th/~chemistry/2559/30310159/kinetics_2016_new.pdf · 2016-11-01 · 11.2.2 กฎอัตราอินทิเกรต

12.1 อัตราของปฏิกิริยา (reaction rate)

→ ... eE dD ... bB aA ++++

อัตราของปฏิกิริยา บอกวาปฏิกิริยาเกิดเร็วหรือชา

ปริมาณสารผลิตภัณฑที่

เกิดตอหนึ่งหนวยเวลา

ปริมาณสารตั้งตนที่

หายไปตอหนึ่งหนวยเวลา

มวล (น้ําหนัก) หรือ โมล

ปริมาตร หรือ ความดัน

ความเขมขน

เวลา: − วินาที นาที ชั่วโมง วัน ป

11

Page 12: Kinetics 2016 new [โหมดความเข้ากันได้]sc.buu.ac.th/~chemistry/2559/30310159/kinetics_2016_new.pdf · 2016-11-01 · 11.2.2 กฎอัตราอินทิเกรต

หนวยของอัตรา

กรัม วินาที−1 โมล วินาที−1

ความดัน วินาที−1 cm3 s−1

M s−1 M hr−1

ลาหนวยของเว ิมาณสารหนวยของปร

12

Page 13: Kinetics 2016 new [โหมดความเข้ากันได้]sc.buu.ac.th/~chemistry/2559/30310159/kinetics_2016_new.pdf · 2016-11-01 · 11.2.2 กฎอัตราอินทิเกรต

ประเภทอัตราของปฏิกิริยา

แบงออกเปน 2 ประเภท

• อัตราเฉลี่ย (average rate)

• อัตราขณะใดขณะหนึ่ง

(instantaneous rate)

13

Page 14: Kinetics 2016 new [โหมดความเข้ากันได้]sc.buu.ac.th/~chemistry/2559/30310159/kinetics_2016_new.pdf · 2016-11-01 · 11.2.2 กฎอัตราอินทิเกรต

1. อัตราเฉลี่ย (average rate) ของปฏิกิริยา

aA + bB + … → dD + eE + …

คือ การเปลี่ยนแปลงของปริมาณสารภายในชวงเวลาหนึ่งที่กําหนด

การหายไปของสารตั้งตนตอหนึ่งหนวยเวลา

การเกิดของสารผลิตภัณฑตอหนึ่งหนวยเวลา

14

Page 15: Kinetics 2016 new [โหมดความเข้ากันได้]sc.buu.ac.th/~chemistry/2559/30310159/kinetics_2016_new.pdf · 2016-11-01 · 11.2.2 กฎอัตราอินทิเกรต

... =

อัตราเฉลี่ย

ของปฏิกิริยา ... =

เนื่องจากปฏิกิริยาเคมีสวนใหญทําในสารละลายซึ่งปริมาตรทั้งหมดไมเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาของปฏิกิริยา

12

12tt

]B[]B[b1

−−

t[B]

b1 ΔΔ

−=t

[A]a1

ΔΔ−=

12

12tt[A][A]

a1

−−

t[E]

e1 ΔΔ

=t[D]

d1 ΔΔ

=

15

Page 16: Kinetics 2016 new [โหมดความเข้ากันได้]sc.buu.ac.th/~chemistry/2559/30310159/kinetics_2016_new.pdf · 2016-11-01 · 11.2.2 กฎอัตราอินทิเกรต

Ex. 12.1 จงเขียนอัตราของปฏิกิริยา

→ O(g)6H 4NO(g) (g)5O (g)4NH 223 ++

t]O

51 t

NH41 r 23

ΔΔ[

Δ]Δ[

−=−=

t]OH

61 t

NO41 2

ΔΔ[

Δ]Δ[==

16

Page 17: Kinetics 2016 new [โหมดความเข้ากันได้]sc.buu.ac.th/~chemistry/2559/30310159/kinetics_2016_new.pdf · 2016-11-01 · 11.2.2 กฎอัตราอินทิเกรต

M/s t][Br

rate 2Δ

Δ−=

[Br2] (M)

t (s)0 50 100 150 200 250 300 350 4000.000

0.002

0.004

0.006

0.008

0.010

0.012

0.014

Δ [Br2]

Δ t

(g)CO (aq)2Br (aq)2H HCOOH(aq) (aq)Br 22 +−+++ →

M/s t t][Br][Br

initialfinal

initial2 final2−−

−=

Page 18: Kinetics 2016 new [โหมดความเข้ากันได้]sc.buu.ac.th/~chemistry/2559/30310159/kinetics_2016_new.pdf · 2016-11-01 · 11.2.2 กฎอัตราอินทิเกรต

เวลา(s)

ความเขมขน(M)

Br20 0.0120

50 0.0100

100 0.0082150 0.0070200 0.0059250 0.0050300 0.0042350 0.0035400 0.0030

อัตราเฉลี่ยของการหายไป (M s−1)

( [Br2] f − [Br2] i ) / Δt

0 − 50 = 0.002/50 = 4.0×10−5

50 − 100 3.60×10−5

100 − 150 2.40×10−5

150 − 200 2.20×10−5

200 − 250 1.80×10−5

250 − 300 1.60×10−5

300 − 350 1.40×10−5

350 − 400 1.00×10−5

Page 19: Kinetics 2016 new [โหมดความเข้ากันได้]sc.buu.ac.th/~chemistry/2559/30310159/kinetics_2016_new.pdf · 2016-11-01 · 11.2.2 กฎอัตราอินทิเกรต

2. อัตราขณะใดขณะหนึ่ง (instantaneous rate) ของปฏิกิริยา

คือ การเปลี่ยนแปลงของปริมาณสาร ณ เวลานั้น

คือ คาความชันของเสนสัมผัสกราฟ ณ เวลานั้น

t d]Br[ d 2 −=อัตราขณะใดขณะหนึ่ง

19

Page 20: Kinetics 2016 new [โหมดความเข้ากันได้]sc.buu.ac.th/~chemistry/2559/30310159/kinetics_2016_new.pdf · 2016-11-01 · 11.2.2 กฎอัตราอินทิเกรต

M/s td]d[Br

rate 2 −=

[Br2] (M)

t (s)0 50 100 150 200 250 300 350 4000.000

0.002

0.004

0.006

0.008

0.010

0.012

0.014

... =

M/s 6103.00

s 100at rate−×

M/s 61040.2

s 200at rate−×

M/s 61000.2

s 300at rate−×

Δ yΔx

= slope(นาทีที ่100 s) = ΔY / ΔX

( M s−1 )

(g)CO (aq)2Br (aq)2H HCOOH(aq) (aq)Br 22 +−+++ →

Page 21: Kinetics 2016 new [โหมดความเข้ากันได้]sc.buu.ac.th/~chemistry/2559/30310159/kinetics_2016_new.pdf · 2016-11-01 · 11.2.2 กฎอัตราอินทิเกรต

12.1.2 ปจจัยที่มีผลตออัตราของปฏิกิริยา

− ความเขมขนหรือความดันของตวัทําปฏิกิริยา

− ธรรมชาติของตัวทําปฏิกิริยา

− อุณหภูมิ

− ตัวเรงปฏิกิริยา และ ตัวยับยั้ง

− พื้นที่ผิวสัมผัส

− พลังงานกอกัมมันตหรือพลังงานกระตุน

21

Page 22: Kinetics 2016 new [โหมดความเข้ากันได้]sc.buu.ac.th/~chemistry/2559/30310159/kinetics_2016_new.pdf · 2016-11-01 · 11.2.2 กฎอัตราอินทิเกรต

12.2 กฎอัตรา (Rate Law)

11.2.1 กฎอัตราดิฟเฟอเรนเชียล (Differential rate law)

11.2.2 กฎอัตราอินทเิกรต (Integrated rate law)

ความเขมขนของสาร และ อัตรา

การเปลี่ยนแปลงความเขมขนเทียบกบัเวลา

22

Page 23: Kinetics 2016 new [โหมดความเข้ากันได้]sc.buu.ac.th/~chemistry/2559/30310159/kinetics_2016_new.pdf · 2016-11-01 · 11.2.2 กฎอัตราอินทิเกรต

→ ... eE dD ... bB aA ++++

... [B] [A]k ... dtd[A]

a1 rate nm=−=

12.2.1 กฎอัตราดิฟเฟอเรนเชียล (differential rate law)

m, n, … คือ อันดับยอย ของปฏิกิริยาเทียบกบั A, B, …

ตามลําดับ

คาคงที่อัตรา (rate constant)

m, n, … มีคาเปน 0, 1, 2, หรืออาจเปน 3

หรืออาจเปนเศษสวน

23

Page 24: Kinetics 2016 new [โหมดความเข้ากันได้]sc.buu.ac.th/~chemistry/2559/30310159/kinetics_2016_new.pdf · 2016-11-01 · 11.2.2 กฎอัตราอินทิเกรต

m, n,… คืออันดับยอยของปฏิกิริยาเทียบกับสารตัง้ตน

A, B, … ตามลําดับ และหาจากการทดลองเทานั้น

ปฏิกิริยาอันดับหนึ่ง (first order) เทียบกับ A

และอันดับรวมของปฏิกิริยา ( p ) = m + n + …

สมมติ m = 1, n = 2, …

ปฏิกิริยาอันดับสอง (second order) เทียบกับ B

24

Page 25: Kinetics 2016 new [โหมดความเข้ากันได้]sc.buu.ac.th/~chemistry/2559/30310159/kinetics_2016_new.pdf · 2016-11-01 · 11.2.2 กฎอัตราอินทิเกรต

Ex. 12.2 จงบอกหนวยของ k สําหรับปฏิกิริยาที่มีอันดับรวมเปน 1, 2 และ 3

k = rate / [A]n หนวยของ rate คือ M s−1

n = 0, หนวยของ k คือ M s−1

n = 1 , หนวยของ k คือ s−1

n = 2 , หนวยของ k คือ M−1 s−1

n = 3 , หนวยของ k คือ M−2 s−1

25

Page 26: Kinetics 2016 new [โหมดความเข้ากันได้]sc.buu.ac.th/~chemistry/2559/30310159/kinetics_2016_new.pdf · 2016-11-01 · 11.2.2 กฎอัตราอินทิเกรต

ปฏิกิริยาอันดับหนึ่ง

→ (g) HC (g) CH 2 623

][CHk td][CHd

21 r 3

3 =−= 110 s 101.21 k −= ×

(g) I (g) I 2 2→ 2][Ik r = 118 sM 101.7 k −−= ×

I 2SO 3I OS 32

42

82−+−−+− →

113 s M 106 k −−−= ×][I ]O[Sk r 282

−−=

(g) O (g) 4NO (g) ON 2 2252 +→]O[Nk r 52= 14 s 105.1 k −−= ×

1000 K

318 K

ปฏิกิริยาอันดับสอง 296 K

293 K

Page 27: Kinetics 2016 new [โหมดความเข้ากันได้]sc.buu.ac.th/~chemistry/2559/30310159/kinetics_2016_new.pdf · 2016-11-01 · 11.2.2 กฎอัตราอินทิเกรต

O3H (aq) Br (aq) 3I (aq)6H (aq)BrO (aq)6I 223 +−+++−+− →

rn3

m3 ][H ][BrO ][Ik dt]d[BrO

rate +−−=−

−=

Ex. 12.3 จงเขียนกฏอัตราดิฟเฟอเรนเชียลของปฏิกิริยา

โดยทั่วไป m, n และ r หาจากการทดลองเทานั้น อาจ

เทากับหรือไมเทากับสัมประสิทธิ์ในสมการเคมี

27

Page 28: Kinetics 2016 new [โหมดความเข้ากันได้]sc.buu.ac.th/~chemistry/2559/30310159/kinetics_2016_new.pdf · 2016-11-01 · 11.2.2 กฎอัตราอินทิเกรต

[F2] M [ClO2] M Initial rate M/s

1. 0.10 0.010 1.2x10−3

2. 0.10 0.040 4.8x10−3

3. 0.20 0.010 2.4x10−3

Ex. 12.4

จงหาอันดับ และเขียนกฎอัตราของปฏิกิริยา

ที่มีผลการทดลองดังในตาราง

F2 (g) + 2ClO2 (g) → 2FClO2 (g)

28

Page 29: Kinetics 2016 new [โหมดความเข้ากันได้]sc.buu.ac.th/~chemistry/2559/30310159/kinetics_2016_new.pdf · 2016-11-01 · 11.2.2 กฎอัตราอินทิเกรต

1.2×10−3 = k (0.10)m (0.010)n (1)

(3)/(1) : 2 = 2 m → m = 1

(2)/(1) : 4 = 4 n → n = 1

Rate = k [ F2] [ClO2]

4.8×10−3 = k (0.10)m (0.040)n (2)

2.4×10−3 = k (0.20)m (0.010)n (3)

29

Page 30: Kinetics 2016 new [โหมดความเข้ากันได้]sc.buu.ac.th/~chemistry/2559/30310159/kinetics_2016_new.pdf · 2016-11-01 · 11.2.2 กฎอัตราอินทิเกรต

Sample Problem Determining Reaction Order from Initial Rate Data

PROBLEM: Many gaseous reactions occur in a car engine and exhaust system. One of these is

rate = k [NO2]m [CO]n

Use the following data to determine the individual and overall reaction orders.

NO2 (g) + CO (g) → NO (g) + CO2 (g)

Experiment Initial rate (mol / L s)

Initial [NO2] (mol / L)

Initial [CO] (mol / L)

1 0.0050 0.10 0.10

2 0.080 0.40 0.10

3 0.0050 0.10 0.20

30

Page 31: Kinetics 2016 new [โหมดความเข้ากันได้]sc.buu.ac.th/~chemistry/2559/30310159/kinetics_2016_new.pdf · 2016-11-01 · 11.2.2 กฎอัตราอินทิเกรต

16 = 4m → m = 2

1 = 2n → n = 0

The reaction is 2nd order in NO2.

The reaction is zero order in CO.

rate = k [NO2]2 [CO]0 = k [NO2]

2

]CO[ ][NOk rate nm2=

การทดลองที่ 1 0.0050 = k (0.10)m (0.10)n

การทดลองที่ 2 0.080 = k (0.40)m (0.10)n

(2) / (1) nm

nm

(0.10) (0.10)k (0.10) (0.40)k

0050.0080.0

=

การทดลองที่ 3 0.0050 = k (0.10)m (0.20)n

(3) / (1) nm

nm

(0.10) (0.10)k (0.20) (0.10)k

0050.00050.0

=

31

Page 32: Kinetics 2016 new [โหมดความเข้ากันได้]sc.buu.ac.th/~chemistry/2559/30310159/kinetics_2016_new.pdf · 2016-11-01 · 11.2.2 กฎอัตราอินทิเกรต

12.2.2 กฎอัตราอินทเิกรต; integrated rate law

... [B] [A]k ... dtd[A]

a1 rate nm=−=

→ ... eE dD ... bB aA ++++

ทําการอินทิเกรต “กฎอัตราดิฟเฟอเรนเชียล”

เปนกฎที่แสดงความสัมพันธระหวางความเขมขนของสารตั้งตนกับเวลา

32

Page 33: Kinetics 2016 new [โหมดความเข้ากันได้]sc.buu.ac.th/~chemistry/2559/30310159/kinetics_2016_new.pdf · 2016-11-01 · 11.2.2 กฎอัตราอินทิเกรต

dt k a d[A] =−

... eE dD aA ++→

∫ ∫ [A]

[A]0

t

0

tk a [A] −=⎮ ⎮[A]

[A]0

t

0

1. อันดับศูนย

tk a [A] [A] 0 −=− t k' ]A[ ][A 0 −=

1k

td][Ad

a1 =− [A]k ... d

][Ada1 rate 0

t

=−=

33

Page 34: Kinetics 2016 new [โหมดความเข้ากันได้]sc.buu.ac.th/~chemistry/2559/30310159/kinetics_2016_new.pdf · 2016-11-01 · 11.2.2 กฎอัตราอินทิเกรต

คาครึ่งชีวิต (half-life) ของปฏิกิริยาอันดับศูนย

0

2/1 'k 2[A]

t =

กราฟระหวาง [A] กับเวลา

t k' ]A[ ][A 0 −=

t k' ]A[ 2][A

1/200 −=

t k' 2][A

]A[ 1/2 0

0 =− t k' 2][A

1/2 0 =

Page 35: Kinetics 2016 new [โหมดความเข้ากันได้]sc.buu.ac.th/~chemistry/2559/30310159/kinetics_2016_new.pdf · 2016-11-01 · 11.2.2 กฎอัตราอินทิเกรต

dt k a d[A][A]1 =−

[A]k ... td

][Ada1 rate =−=

... eE dD aA ++→

∫ ∫

[A]

[A]0

t

0

tk a [A] ln −=⎮ ⎮[A]

[A]0

t

0

2. อันดับหนึ่ง

tk a [A][A]

ln 0

−= e ]A[ ][A t 'k

0−

=

35

Page 36: Kinetics 2016 new [โหมดความเข้ากันได้]sc.buu.ac.th/~chemistry/2559/30310159/kinetics_2016_new.pdf · 2016-11-01 · 11.2.2 กฎอัตราอินทิเกรต

Time (seconds)

2/1t

150

75

37.5

0 10,000 20,000 30,000

x = [A]0 − [A]

x – extent of reaction

คาครึ่งชีวิต (Half-life)

1/20

0 tk a ]A[2/[A]

ln −=

'k2 ln t 1/2 =

tk a [A][A]

ln 0

−=

[A] (

M)

2/1t

e ]A[ ][A t 'k

0−

=

36

Page 37: Kinetics 2016 new [โหมดความเข้ากันได้]sc.buu.ac.th/~chemistry/2559/30310159/kinetics_2016_new.pdf · 2016-11-01 · 11.2.2 กฎอัตราอินทิเกรต

First-Order Reactions

[A] = [A]0 exp(−k t) ln[A] = ln[A]0 − k t

กราฟระหวาง ln [A] กับ tกราฟระหวาง [A] กับ t

37

Page 38: Kinetics 2016 new [โหมดความเข้ากันได้]sc.buu.ac.th/~chemistry/2559/30310159/kinetics_2016_new.pdf · 2016-11-01 · 11.2.2 กฎอัตราอินทิเกรต

e ]O[N ]O[N tk 25252 0

−=

(g) O (g) 4NO (g) O2N 2252 +→

]ON[k dt]Od[N

21 rate 52

52 =−=

1/2tk 2e ]O[N 2]O[N

052052 −=

ปฏิกิริยาอันดับหนึ่ง

k2 ln k 2

2 ln t 1/2 ′==

38

Page 39: Kinetics 2016 new [โหมดความเข้ากันได้]sc.buu.ac.th/~chemistry/2559/30310159/kinetics_2016_new.pdf · 2016-11-01 · 11.2.2 กฎอัตราอินทิเกรต

[A]k ... dtd[A]

a1 rate 2=−=

A][k a t d[A] d

2=−

td k a [A] dA][1 2 =−

2I2I → กรณีที่ 1

3. ปฏิกิริยาอันดับสอง ... eE dD aA ++→ 39

Page 40: Kinetics 2016 new [โหมดความเข้ากันได้]sc.buu.ac.th/~chemistry/2559/30310159/kinetics_2016_new.pdf · 2016-11-01 · 11.2.2 กฎอัตราอินทิเกรต

t dk a [A] dA][1 2 =−

t k a [A]1 =

∫ ∫

[A]

[A]0

t

0

⎮ ⎮[A]

[A]0

t

0

td k a [A] dA][1 2 =−

40

Page 41: Kinetics 2016 new [โหมดความเข้ากันได้]sc.buu.ac.th/~chemistry/2559/30310159/kinetics_2016_new.pdf · 2016-11-01 · 11.2.2 กฎอัตราอินทิเกรต

]A[1

k

k a slope

′=

=

0]A[1

t

t k a [A]1 [A]

1 0

=− t k a [A]1 =⎮ ⎮

[A]

[A]0

t

0

t k [A]1 [A]

1 0

′=−

Page 42: Kinetics 2016 new [โหมดความเข้ากันได้]sc.buu.ac.th/~chemistry/2559/30310159/kinetics_2016_new.pdf · 2016-11-01 · 11.2.2 กฎอัตราอินทิเกรต

−−−− ++ → 32

4 I O2S 3I OS 282

[B] [A]k ... dtd[A]

a1 rate =−=

]O[S ][Ik dt]Od[S

r 282

282 −−=−

−=

aA + bB ⎯> cC + dD + …กรณีที ่2

เชน

สําหรับป 1 นิสิตไมตองเรยีนกฎอัตราอินทิเกรตในกรณีนี้

42

Page 43: Kinetics 2016 new [โหมดความเข้ากันได้]sc.buu.ac.th/~chemistry/2559/30310159/kinetics_2016_new.pdf · 2016-11-01 · 11.2.2 กฎอัตราอินทิเกรต

Ex 12.5 จงหา half-life ของปฏิกิริยาอันดับสองกรณีที่ 1

t k a [A]1 [A]

1 0

=−

t k a [A]1 [A]

2 1/20 0=−

t k a [A]1 1/20

=

[A] k1 [A]k a

1 t 001/2 ′==

43

Page 44: Kinetics 2016 new [โหมดความเข้ากันได้]sc.buu.ac.th/~chemistry/2559/30310159/kinetics_2016_new.pdf · 2016-11-01 · 11.2.2 กฎอัตราอินทิเกรต

Ex 12.6 ปฏิกิริยา A B เปนปฏิกิริยา first order ของ

A มีคาคงทีข่องปฏิกิริยาเปน 2.8 x 10-2 s-1 ที่ 80 oC ตองใช

เวลานานเทาใด A จึงจะลดลงจาก 0.88 M เปน 0.14 M ?

ln [A] = ln [A]0 – k t

K t = ln [A]0 – ln [A]

t =ln [A]0 – ln [A]

k

= 66 s

[A]0 = 0.88 M

[A] = 0.14 M

ln[A]0[A]k

= =ln

0.88 M0.14 M

2.8 x 10−2 s−1

44

Page 45: Kinetics 2016 new [โหมดความเข้ากันได้]sc.buu.ac.th/~chemistry/2559/30310159/kinetics_2016_new.pdf · 2016-11-01 · 11.2.2 กฎอัตราอินทิเกรต

Problem Determining Reaction Concentration at a Given TimeAt 1000 oC, cyclobutane (C4H8) decomposes in a first-order reaction, with the rate constant of 87 s−1, to two molecules of ethylene (C2H4).(a) If the initial C4H8 concentration is 2.00M, what is the concentration after 0.010 s?

(b) What fraction of C4H8 has decomposed in this time?

[C4H8] = 0.83 mol/L

tk ]H[C]H[C

ln (a)t84084 =

s) (0.010 )s (87 ]H[C2.00 ln

84

1−=

= 0.58M 2.00M 0.87 M 2.00 ]H[C

]H[C ]H[C (b)

084

t84084 −=−

Page 46: Kinetics 2016 new [โหมดความเข้ากันได้]sc.buu.ac.th/~chemistry/2559/30310159/kinetics_2016_new.pdf · 2016-11-01 · 11.2.2 กฎอัตราอินทิเกรต

อันดับ ปฏิกิริยา กฎอัตราเร็วคาครึ่งชีวิต

(t1/2)

0 aA → dD + eE k dtd[A]

a1 r =−=

1 aA → dD + eE [A]k dtd[A]

a1 r =−=

t k

e ]A[ ][A 0′−

= 'k2 ln

t k' ]A[ ][A 0 −= k 2[A]0

46

Page 47: Kinetics 2016 new [โหมดความเข้ากันได้]sc.buu.ac.th/~chemistry/2559/30310159/kinetics_2016_new.pdf · 2016-11-01 · 11.2.2 กฎอัตราอินทิเกรต

อันดับ ปฏิกิริยา กฎอัตราเร็วคาครึ่งชีวิต

(t1/2)

2

aA → dD + eE

aA + bB → dD + eE

2[A]k dtd[A]

a1 r =−=

[B] [A]k dtd[A]

a1 r =−=

0[A]k a1

[A] k'1

0 t k [A]

1 [A]1

0′=−

47

Page 48: Kinetics 2016 new [โหมดความเข้ากันได้]sc.buu.ac.th/~chemistry/2559/30310159/kinetics_2016_new.pdf · 2016-11-01 · 11.2.2 กฎอัตราอินทิเกรต

Figure 12.2 Integrated rate laws and reaction order

ln[A]t = −k t + ln[A]0

1/[A]t = k t + 1/[A]0

[A]t = −k t + [A]0

48

Page 49: Kinetics 2016 new [โหมดความเข้ากันได้]sc.buu.ac.th/~chemistry/2559/30310159/kinetics_2016_new.pdf · 2016-11-01 · 11.2.2 กฎอัตราอินทิเกรต

TR Eae A k −=

Alog TR 303.2E

k log a +−=

A คือ pre-exponential factor (collision factor)R คือ คาคงที่กาซ (8.31 joules mol−1 K−1)Ea คือ พลังงานกระตุน หนวยเปน joules mol−1

สมการ Arrhenius

คาคงที่อัตราเร็ว (k) ขึ้นกับอุณหภูมิ

Aln TR E

k ln a +−=

4912.3 ผลของอุณหภูมิตอคาคงที่อัตรา

Page 50: Kinetics 2016 new [โหมดความเข้ากันได้]sc.buu.ac.th/~chemistry/2559/30310159/kinetics_2016_new.pdf · 2016-11-01 · 11.2.2 กฎอัตราอินทิเกรต

50

Page 51: Kinetics 2016 new [โหมดความเข้ากันได้]sc.buu.ac.th/~chemistry/2559/30310159/kinetics_2016_new.pdf · 2016-11-01 · 11.2.2 กฎอัตราอินทิเกรต

Temperature (K)

รูปที่ 12.3 กราฟแสดงความสัมพนัธระหวาง k กับ อุณหภูมิ (K)

10− 4

k (L

mol−1

s−1 )

51

Page 52: Kinetics 2016 new [โหมดความเข้ากันได้]sc.buu.ac.th/~chemistry/2559/30310159/kinetics_2016_new.pdf · 2016-11-01 · 11.2.2 กฎอัตราอินทิเกรต

constant TR E

k ln a +−=

รูปที่ 12.4 กราฟแสดงความสัมพนัธระหวาง ln k กับ 1/T

52

y = -41605x + 38.993R2 = 0.9992

-20

-15

-10

-5

0

5

10

15

20

25

30

35

40

0 0.0002 0.0004 0.0006 0.0008 0.001 0.0012 0.0014

y - intercept = ln A

slope = –Ea / R

Y = −41605x + 38.983

R2 = 0.9992

Page 53: Kinetics 2016 new [โหมดความเข้ากันได้]sc.buu.ac.th/~chemistry/2559/30310159/kinetics_2016_new.pdf · 2016-11-01 · 11.2.2 กฎอัตราอินทิเกรต

Ex 12.7 คาคงที่อัตราของปฏิกิริยาอันดับหนึ่งของปฏิกิริยาหนึ่งเทากับ 3.46×10−2 s−1 ที่อุณหภูมิ 298 เคลวิน จงคํานวณหาคาคงที่ของปฏิกิริยาที่อุณหภูมิ 350 เคลวิน กําหนดใหพลังงานกระตุนของปฏิกิริยาเทากับ 50.2 กิโลจูลตอโมล

( )K 2981

K 3501

K mol J 8.314mol J 1050.2

s 103.46

kln 11

1312

2 −−−−=−−

−×× ⎟

⎠⎞⎜

⎝⎛

3.01 s 103.46

kln 12

2 =−− ⎟⎠⎞⎜

⎝⎛

×

constant K 298 K mol J 314.8

mol J 102.50 )1046.3( ln 11132 +−−−

−=− ××

constant K 350 K mol J 314.8

mol J 102.50 )k( ln 1113

2 +−−−

−= ×

53

Page 54: Kinetics 2016 new [โหมดความเข้ากันได้]sc.buu.ac.th/~chemistry/2559/30310159/kinetics_2016_new.pdf · 2016-11-01 · 11.2.2 กฎอัตราอินทิเกรต

1 2 s 0.702 k −=

3.0112

2 e s 103.46

k =−− ⎟

⎠⎞⎜

⎝⎛

×

3.01 s 103.46

kln 12

2 =−− ⎟⎠⎞⎜

⎝⎛

×

20.29 s 103.46

k12

2 =−− ⎟⎠⎞⎜

⎝⎛

×

54

Page 55: Kinetics 2016 new [โหมดความเข้ากันได้]sc.buu.ac.th/~chemistry/2559/30310159/kinetics_2016_new.pdf · 2016-11-01 · 11.2.2 กฎอัตราอินทิเกรต

Problem Determining the Energy of ActivationThe decomposition of hydrogen iodide,

2HI (g) H2 (g) + I2 (g)

has rate constants of 9.51x10−9 L/mol s at 500 K and 1.10x10−5

L/mol s at 600 K. Find Ea.

-1 T

1 T1 R

E k

k ln

12a

12 ⎟

⎠⎞⎜

⎝⎛ −−= T

1 T1 k

k lnR

1

1212

−−−= ⎟

⎠⎞⎜

⎝⎛

aE

s mol / L 109.51s mol / L 10 1.10lnK) mol / J (8.314 ⎟⎟⎟

⎜⎜⎜

−−=

××

9

5

aE ( ) K 5001 K 600

1 1−−

Ea = 1.76x105 J / mol = 176 kJ / mol

55

Page 56: Kinetics 2016 new [โหมดความเข้ากันได้]sc.buu.ac.th/~chemistry/2559/30310159/kinetics_2016_new.pdf · 2016-11-01 · 11.2.2 กฎอัตราอินทิเกรต

พลังงานกับการดําเนินไปของปฏิกิริยาเคม ี

ΔHrxn คือ เอนทาลปของปฏิกิริยา

Activated state

Ea B

ΔHrxn

(a) ΔHrxn = Ea F – Ea B

= −ve

(a) ปฏิกิริยาคายความรอน

Reactants

Products

Reaction progress →

Pot

entia

l ene

rgy

Ea F

56

Page 57: Kinetics 2016 new [โหมดความเข้ากันได้]sc.buu.ac.th/~chemistry/2559/30310159/kinetics_2016_new.pdf · 2016-11-01 · 11.2.2 กฎอัตราอินทิเกรต

ΔHrxn = Ea F – Ea B = +ve

ΔHrxn

(b) ปฏิกิริยาดูดความรอน

Activated state

Reactants

Products

Ea B

Reaction progress →

Pot

entia

l ene

rgy

Ea F

57

Page 58: Kinetics 2016 new [โหมดความเข้ากันได้]sc.buu.ac.th/~chemistry/2559/30310159/kinetics_2016_new.pdf · 2016-11-01 · 11.2.2 กฎอัตราอินทิเกรต

สมบัติของ Ea:

− มีคามากทําใหอัตราของปฏิกิริยาที่อุณหภูมิหนึ่งมีคานอย

− ปฏิกิริยาที่มีคา Ea มาก อัตราของปฏิกิริยาจะ sensitive กับอุณหภูมิ

− ไมขึ้นกับอุณหภูมิ เพราะจะมีความเฉพาะสําหรับเสนทางของปฏิกิริยาและถูกบงชี้โดยโครงสรางทางไฟฟาและการจัดตัวของการสราง

58

Page 59: Kinetics 2016 new [โหมดความเข้ากันได้]sc.buu.ac.th/~chemistry/2559/30310159/kinetics_2016_new.pdf · 2016-11-01 · 11.2.2 กฎอัตราอินทิเกรต

การวัดอัตราของปฏิกิริยา

การเขียนกฎอัตราของปฏิกิริยา

การเสนอกลไกของปฏิกิริยา

ลําดับขั้นตอนของการศึกษากลไกของปฏิกิริยา

ดูรายละเอียด

ใน

หัวขอที่ 11.1

ดูรายละเอียด

ใน

หัวขอที่ 11.2

ดูรายละเอียด

ใน

หัวขอที่ 11.4

59

Page 60: Kinetics 2016 new [โหมดความเข้ากันได้]sc.buu.ac.th/~chemistry/2559/30310159/kinetics_2016_new.pdf · 2016-11-01 · 11.2.2 กฎอัตราอินทิเกรต

12.4 กลไกของปฎิกิริยา (Reaction mechanism)

สมการเคมีบอกวาอะไรคือสารตั้งตน และอะไร

คือสารผลิตผล

)(g ON2 (g)O (g) O2N 2 2 →+

แตไมไดบอกขั้นตอนของการเกิด ปฏิกิริยา

ขั้นตอนของการเกิดปฎิกิริยาประกอบดวย

1.

2.

ON (g) 2NO 22 →

2NO O ON 2222 →+

แตละขั้นตอนของปฏิกิริยาเรียกวา Elementary step

teintermedia ON 22 −

Page 61: Kinetics 2016 new [โหมดความเข้ากันได้]sc.buu.ac.th/~chemistry/2559/30310159/kinetics_2016_new.pdf · 2016-11-01 · 11.2.2 กฎอัตราอินทิเกรต

Table Rate Laws for General Elementary Steps

Elementary Step Molecularity Rate Law

A product

2A product

A + B product

2A + B product

Unimolecular

Bimolecular

Bimolecular

Termolecular

Rate = k [A]

Rate = k [A]2

Rate = k [A][B]

Rate = k [A]2[B]

12.4.1 โมเลกุลาริตี (Molecularity)

Page 62: Kinetics 2016 new [โหมดความเข้ากันได้]sc.buu.ac.th/~chemistry/2559/30310159/kinetics_2016_new.pdf · 2016-11-01 · 11.2.2 กฎอัตราอินทิเกรต

Unimolecular reaction A → products rate = k [A]

Bimolecular reaction A + B → products rate = k [A][B]

Bimolecular reaction A + A → products rate = k [A]2

Rate Laws and Elementary Steps

การหากฎอัตราจากกลไกของปฏิกิริยา

• Rate-determining step approximation (การประมาณจากขั้นกําหนดอัตรา)

• Steady state approximation นิสิตไมตองเรียนในป 1

62

Page 63: Kinetics 2016 new [โหมดความเข้ากันได้]sc.buu.ac.th/~chemistry/2559/30310159/kinetics_2016_new.pdf · 2016-11-01 · 11.2.2 กฎอัตราอินทิเกรต

12.4.2 Rate-determining step approximation

(การประมาณจากขั้นกําหนดอัตรา)

63

พิจารณากลไกการเกิดปฏิกิริยา:

• ผลรวมของ elementary steps ทั้งหมด ตองใหสมการของ

ปฏิกิริยาเคมีที่ดุล

• กฎอัตราใน rate-determining step จะสอดคลองเปนอยาง

เดียวกับกฎอัตราที่หาไดจากการทดลอง

ขั้นกําหนดอัตรา (rate-determining step) เปนขั้นตอนที่ชา

ที่สุด (slowest step) ในกลไกการเกิดปฏิกริิยา และเปนขั้น

กําหนดอัตรารวมของปฏิกิริยา

Page 64: Kinetics 2016 new [โหมดความเข้ากันได้]sc.buu.ac.th/~chemistry/2559/30310159/kinetics_2016_new.pdf · 2016-11-01 · 11.2.2 กฎอัตราอินทิเกรต

→ (g)O )(l OH2 (aq) OH2 22I

22 +−

Ex 12.8 ปฏิกิริยาการสลายตัวของ H2O2 โดยมี I−

เปนตัวชวยทําใหเกิดปฏิกิริยาไดงายมีสมการเคมีเปน

จากการศึกษาพบวาเปนปฏิกิริยาอันดับหนึ่งเทียบกับ H2O2 และปฏิกิริยาอันดับหนึ่งเทียบกับ I−

กฎอัตราของปฏิกิริยา คือ

]I[ ]OH[k rate 22 −= **

64

Page 65: Kinetics 2016 new [โหมดความเข้ากันได้]sc.buu.ac.th/~chemistry/2559/30310159/kinetics_2016_new.pdf · 2016-11-01 · 11.2.2 กฎอัตราอินทิเกรต

ขั้นตอนของการเกิดปฎกิริิยาประกอบดวย

1.

2.

→ (g) O )(l OH2 (aq) OH2 22I

22

+−

→ IO OHI OH 2k

122

−+−+ teintermedia

]I[ ]OH[k rate 22−=

→ I 2O O2H IO 2OH 2k

2−+−+ +

(ชา)(เร็ว)

65

Page 66: Kinetics 2016 new [โหมดความเข้ากันได้]sc.buu.ac.th/~chemistry/2559/30310159/kinetics_2016_new.pdf · 2016-11-01 · 11.2.2 กฎอัตราอินทิเกรต

]I[ ]OH[k rate 22−= **กฎอัตรา

]I[ ]OH[ k td]O[Hd

rate 22122 −=−=

ขั้นตอนที่หนึ่งเปน Rate-determining step (ขั้นกําหนดอัตรา)

1k k =

12 k k >>

→ IO OHI OH1 2k

122

−+−+ )

66

Page 67: Kinetics 2016 new [โหมดความเข้ากันได้]sc.buu.ac.th/~chemistry/2559/30310159/kinetics_2016_new.pdf · 2016-11-01 · 11.2.2 กฎอัตราอินทิเกรต

Ex 12.9 ปฏิกิริยาการสลายตัวของ N2O เปนดังนี้คือ

→ O N 2 ON2 222 +

ขั้นตอนของการเกิดปฏิกิริยาประกอบดวย

1.

2.

→ O 2NON

1k 2 +

→ 2k

2 O 2N O ON 2 ++

ขั้นตอนที่หนึ่งเปน Rate-determining step 12 k k >>

intermediate (ชา)

(เร็ว)

67

Page 68: Kinetics 2016 new [โหมดความเข้ากันได้]sc.buu.ac.th/~chemistry/2559/30310159/kinetics_2016_new.pdf · 2016-11-01 · 11.2.2 กฎอัตราอินทิเกรต

→ O N 2 O2N 222 +

1.

2.

→ O 2N ON

1k2 +

→ 2O 2N O ON 2k 2 ++

กฎอัตรา คือ

12 k k >>

(เร็ว)

(ชา)

O][N k td]O[N d

21 rate 21

2 =−=

68

Page 69: Kinetics 2016 new [โหมดความเข้ากันได้]sc.buu.ac.th/~chemistry/2559/30310159/kinetics_2016_new.pdf · 2016-11-01 · 11.2.2 กฎอัตราอินทิเกรต

ขั้นตอนของการเกิดปฎกิริิยาประกอบดวย

1.

2. → 2NO k

O ON 2

222 2+

teintermedia ON k

k (g) 2NO 22

1

1−

*** ]O[ ]O[N k td]NO[d

21 rate 2222

2 ==

(ชา)

(เร็ว , สมดุล)

)(g ON2 (g)O (g) 2NO11.10Ex 2 2 →+ 69

Page 70: Kinetics 2016 new [โหมดความเข้ากันได้]sc.buu.ac.th/~chemistry/2559/30310159/kinetics_2016_new.pdf · 2016-11-01 · 11.2.2 กฎอัตราอินทิเกรต

*** ]O[ ]O[N k td]NO[d

21 rate 2222

2 ==

ON k

k (g) 2NO 22

1

1−

1. ใชเรื่องคาคงทีส่มดุล

(หัวขอ 11.5)

K [NO]

]O[N222 = [NO]K ]O[N 2

22 =

]O[N k [NO] k 2212

1 −=

kk

[NO]

]O[N

11

222

−= [NO] k

k ]O[N

2

11

22 −=

70

Page 71: Kinetics 2016 new [โหมดความเข้ากันได้]sc.buu.ac.th/~chemistry/2559/30310159/kinetics_2016_new.pdf · 2016-11-01 · 11.2.2 กฎอัตราอินทิเกรต

*** ]O[ ]O[N k td]NO[d

21 rate 2222

2 ==

*** ]O[ ][NOK k td]NO[d

21 rate 2

22

2 ==

หรือ

ปฏิกิริยาอันดับ 3

*** ]O[ ][NO kk

k td]NO[d

21 rate 2

2

11

22

−==

*** ]O[ ][NO kk k

td]NO[d

21 rate 2

2

1122

−==

71

Page 72: Kinetics 2016 new [โหมดความเข้ากันได้]sc.buu.ac.th/~chemistry/2559/30310159/kinetics_2016_new.pdf · 2016-11-01 · 11.2.2 กฎอัตราอินทิเกรต

intermediate

Transition state 1

Transition state 2

72

Page 73: Kinetics 2016 new [โหมดความเข้ากันได้]sc.buu.ac.th/~chemistry/2559/30310159/kinetics_2016_new.pdf · 2016-11-01 · 11.2.2 กฎอัตราอินทิเกรต

12.5 จลนศาสตรเคมีกับคาคงที่สมดุล (Equilibrium constant)

D d C c B b aA ++ ba

f B][[A] k rate forward =

dcb D][[C] k rate backward =

ที่สมดุล; forward rate = backward rate

73

dcb

baf ]D[[C] k B][[A] k =

kk

K B][[A]

]D[[C]b

fba

dc==

Page 74: Kinetics 2016 new [โหมดความเข้ากันได้]sc.buu.ac.th/~chemistry/2559/30310159/kinetics_2016_new.pdf · 2016-11-01 · 11.2.2 กฎอัตราอินทิเกรต

12.6 การเรงปฎิกิริยาดวยตัวเรง(catalysis)

(หมายความวาสารอาจเกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมีในระหวางการเกิดปฏิกิริยาเกิดเปนสารกึ่งกลาง (intermediate) แตจะกลับเปนสารเดิมอีกครั้งเมื่อปฏิกิริยาสิ้นสุดลง)

คะตะลิสต (catalyst) คือไอออนหรือสารที่มีสวนทําใหอัตราปฏิกิริยาเพิ่มขึ้นโดยที่ตัวมันเองไมเกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมีอยางถาวร

74

Page 75: Kinetics 2016 new [โหมดความเข้ากันได้]sc.buu.ac.th/~chemistry/2559/30310159/kinetics_2016_new.pdf · 2016-11-01 · 11.2.2 กฎอัตราอินทิเกรต

: บทบาท คือทําใหปฏิกิริยาดําเนินไปในทิศทางที่ Ea ต่ําลง

ความสําคัญของตัวเรงปฏิกิริยา

: ตัวเรงปฏิกิริยาทําหนาที่เรงปฏิกิริยาทั้งปฏิกิริยาไปขางหนาและปฏิกิริยายอนกลับ

: ตัวเรงอาจจะยุงเกี่ยวใน elementary step แตเมื่อสิ้นสุดปฏิกิริยา ตองไดกลับคืนมา

75

Page 76: Kinetics 2016 new [โหมดความเข้ากันได้]sc.buu.ac.th/~chemistry/2559/30310159/kinetics_2016_new.pdf · 2016-11-01 · 11.2.2 กฎอัตราอินทิเกรต

รูป 11.5 ไดอะแกรมแสดงพลังงานของปฏิกิรยิาเมื่อ (a) ไมมีคะตะลิสต (b) มีคะตะลิสต

Reaction progress →

ProductsPo

tent

ial e

nerg

yReactants

Ea

76

Page 77: Kinetics 2016 new [โหมดความเข้ากันได้]sc.buu.ac.th/~chemistry/2559/30310159/kinetics_2016_new.pdf · 2016-11-01 · 11.2.2 กฎอัตราอินทิเกรต

รูป 11.6 สัดสวนโมเลกุลของสารตั้งตนกบัพลังงานจลน

77

Page 78: Kinetics 2016 new [โหมดความเข้ากันได้]sc.buu.ac.th/~chemistry/2559/30310159/kinetics_2016_new.pdf · 2016-11-01 · 11.2.2 กฎอัตราอินทิเกรต

Homogeneous catalysis (การเรงปฏิกิริยาเอกพันธุ)

: สารตั้งตนและตัวเรงปฏิกิริยาอยูในวัฏภาคเดียวกัน

Heterogeneous catalysis (การเรงปฏิกิริยาวิวิธพันธุ)

: สารตั้งตนและตัวเรงปฏิกิริยาอยูในวัฏภาคตางกัน

78

Page 79: Kinetics 2016 new [โหมดความเข้ากันได้]sc.buu.ac.th/~chemistry/2559/30310159/kinetics_2016_new.pdf · 2016-11-01 · 11.2.2 กฎอัตราอินทิเกรต

The metal-catalyzed hydrogenation of ethylene

H2C CH2 (g) + H2 (g) H3C CH3 (g)

Fig. 12.15

Heterogeneous catalysis

Page 80: Kinetics 2016 new [โหมดความเข้ากันได้]sc.buu.ac.th/~chemistry/2559/30310159/kinetics_2016_new.pdf · 2016-11-01 · 11.2.2 กฎอัตราอินทิเกรต

NO เมื่ออยูในอากาศจะเกิดการรวมตวักับ O2 ไดเปน NO2

CO และ hydrocarbon ที่ไมถูกเผาไหม

Catalytic converters

ที่อุณหภูมิสูงภายในเครื่องยนตของรถที่กําลังขับเคลื่อน

(g) NO 2 (g) O (g) N 22 +

Catalytic converter ทําหนาที่ออกซิไดซ CO และ hydrocarbon ที่ไมถูกเผาไหม ให

เปน CO2 และ H2O

รีดิวซ NO และ NO2 ใหเปน N2 และ O2

80

Page 81: Kinetics 2016 new [โหมดความเข้ากันได้]sc.buu.ac.th/~chemistry/2559/30310159/kinetics_2016_new.pdf · 2016-11-01 · 11.2.2 กฎอัตราอินทิเกรต

Catalytic converter ประกอบดวยchamber ที่หนึ่ง บรรจุ Pt, Pd, Rh, หรือ oxide ของ transition metal เชน CuO หรือ Cr2O3

−ชวยเรงการสันดาปของ CO และ hydrocarbon ที่ไมเผาไหม

→ (g) O (g) N (g) NO 22 +

chamber ที่สอง บรรจุ catalyst เชน transition

metal หรือ oxide ของ transition metal

81

Page 82: Kinetics 2016 new [โหมดความเข้ากันได้]sc.buu.ac.th/~chemistry/2559/30310159/kinetics_2016_new.pdf · 2016-11-01 · 11.2.2 กฎอัตราอินทิเกรต

Catalytic Converters

CO + Unburned Hydrocarbons + O2 CO2 + H2Ocatalyticconverter

2NO + 2NO2 2N2 + 3O2catalyticconverter

82

Page 83: Kinetics 2016 new [โหมดความเข้ากันได้]sc.buu.ac.th/~chemistry/2559/30310159/kinetics_2016_new.pdf · 2016-11-01 · 11.2.2 กฎอัตราอินทิเกรต

[ES]k tdd[P]

rate ==

Enzyme Catalysisenzyme − ตัวเรงปฏิกิริยาในสิ่งมีชีวิต เปนสารประกอบประเภทโปรตีน โดยเอนไซมแตละตัวจะเฉพาะเจาะจงกับซับเตรต (substrate)

E + S ES → E + Pk−1

k1 k2

เร็ว ชา

83

Page 84: Kinetics 2016 new [โหมดความเข้ากันได้]sc.buu.ac.th/~chemistry/2559/30310159/kinetics_2016_new.pdf · 2016-11-01 · 11.2.2 กฎอัตราอินทิเกรต

Figure 12.7 Two models of enzyme action

84

Page 85: Kinetics 2016 new [โหมดความเข้ากันได้]sc.buu.ac.th/~chemistry/2559/30310159/kinetics_2016_new.pdf · 2016-11-01 · 11.2.2 กฎอัตราอินทิเกรต

[ES]k tdd[P]

rate ==

mK [S][S] [E]k

rate 0+=

Michaelis constant1

21k

kk

+−=

E + S ES → E + Pk−1

k1 k2

เร็ว ชา

85

Page 86: Kinetics 2016 new [โหมดความเข้ากันได้]sc.buu.ac.th/~chemistry/2559/30310159/kinetics_2016_new.pdf · 2016-11-01 · 11.2.2 กฎอัตราอินทิเกรต

uncatalyzedenzyme

catalyzed

rate = k [ES]

t[P] rate Δ

Δ=

86

Page 87: Kinetics 2016 new [โหมดความเข้ากันได้]sc.buu.ac.th/~chemistry/2559/30310159/kinetics_2016_new.pdf · 2016-11-01 · 11.2.2 กฎอัตราอินทิเกรต

12.7 ทฤษฎีอัตราการเกิดปฏิกิริยา

12.7.1 ทฤษฎีการชน (Collision theory)จากทฤษฎีจลนโมเลกุลของแกส ซึ่งกลาววาโมเลกุลของแกสชนซึ่งกันและกันหลายครั้ง

ปฏิกิริยาเคมีเกิดขึ้นจากการที่โมเลกุลของสารตั้งตนชนกัน

อัตราเร็วของปฏิกิริยาเคมีแปรผันโดยตรงกับจํานวนครั้งของการชนตอหนึ่งหนวยเวลา (ความถี่ของการชน)

timecollisions of number rate α

87

Page 88: Kinetics 2016 new [โหมดความเข้ากันได้]sc.buu.ac.th/~chemistry/2559/30310159/kinetics_2016_new.pdf · 2016-11-01 · 11.2.2 กฎอัตราอินทิเกรต

] [ rate α] [ ] [ rate α ] [ ] [k rate =

โอกาสของการชนที่มีพลังงานเหมาะสม และทิศทางที่เหมาะสม

] [k rate =

NO + NO3 → 2NO2

88

Page 89: Kinetics 2016 new [โหมดความเข้ากันได้]sc.buu.ac.th/~chemistry/2559/30310159/kinetics_2016_new.pdf · 2016-11-01 · 11.2.2 กฎอัตราอินทิเกรต

The activated complexis a hypothetical species lying betweenreactants and productsat a point on the reaction profilecalled the transition state.

12.7.2 ทฤษฎีสภาวะทรานซิสชัน

(Transition state theory)

89

Page 90: Kinetics 2016 new [โหมดความเข้ากันได้]sc.buu.ac.th/~chemistry/2559/30310159/kinetics_2016_new.pdf · 2016-11-01 · 11.2.2 กฎอัตราอินทิเกรต

The end