(knowledge management) - spu.ac.th fileบทที่ 1...

23
รายงานการจัดการความรู (Knowledge Management) คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีปทุม ประจําปการศึกษา 2555 1

Upload: others

Post on 13-Sep-2019

2 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

รายงานการจัดการความรู (Knowledge Management)

คณะวิศวกรรมศาสตร

มหาวิทยาลัยศรีปทุม

ประจําปการศึกษา 2555

1

คํานํา

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีปทุม ไดเล็งเห็นความสําคัญในการจัดการความรู ท้ังในดาน

การเรียนการสอนและการวิจัย เพ่ือใหเกิดการสะสมองคความรู จากการแลกเปลี่ยนเรียนรูระหวางผูมี

ประสบการณตรงท้ังจากภายในและภายนอกคณะฯ เพ่ือใหเกิดการพัฒนานักศึกษาจากกระบวนการเรียนการ

สอนท่ีมีประสิทธิภาพจากเทคนิคการสอนของอาจารยท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญ รวมถึงการสงเสริมใหเกิดการ

วิจัยในดานตางๆของอาจารยเพ่ือการพัฒนาองคความรูใหมๆซ่ึงจะสามารถนํามาถายทอด และเปนประโยชน

แกการพัฒนานักศึกษา ดังนั้นคณะวิศวกรรมศาตรจึงกําหนดใหผูบริหารคณะฯทําหนาท่ีเปนคณะกรรมการการ

การจัดการความรูข้ึน (ตามประกาศของมหาวิทยาลัยศรีปทุม เรื่องอํานาจหนาท่ีของคณะกรรมการบริหาร

คณะ) เพ่ือเปนคณะทํางานท่ีสามารถเปนเวทีและชองทางเชื่อมตอขอมูลระหวางกันของอาจารยจากทุกๆ

สาขาวิชาภายในและภายนอกคณะฯ นอกจากนั้นยังสามารถเชื่อมตอไปยังกระบวนการจัดการความรูระหวาง

คณะและหนวยงานตางๆของมหาวิทยาลัย ผานคณะอนุกรรมการการจัดการความรูของมหาวิทยาลัย โดย

แหลงความรูตางๆท่ีไดมีการแลกเปลี่ยนเรียนรูจากผูมีประสบการณตรง (tacit knowledge) ไดถูกนํามา

รวบรวมแนวปฏิบัติท่ีดีท้ังในดานการจัดการเรียนการสอน และ การวิจัย ในลักษณะของ explicit knowledge

ท่ีสามารถเผยแพรตอไปได

การดําเนินการการจัดการความรูในปการศึกษานี้ เปนการพัฒนาตอยอดจากกระบวนการการจัดการ

ความรูในปการศึกษาท่ีผานมา โดยคณาจารยของคณะไดนําคูมือแนวทางการปฏิบัติท่ีดีท้ังในดานการจัดการ

จัดการเรียนการสอนโดยมุงเนนผูเรียนเปนสําคัญ และการวิจัย ท่ีไดพัฒนาข้ึนในปการศึกษา 2554 ไปศึกษา

และทดลองใช รวมถึงองคความรูใหมๆจากประสบการณตรงของอาจารยหลายทานในคณะฯจากการ

ดําเนินงานในกิจกรรมตางๆ ท่ีไดนํามาแลกเปลี่ยนเรียนรูระหวางกันตลอดปการศึกษา 2555 และนํามาสูการ

สรุปผลการดําเนินงานในรายงานฉบับนี้

2

สารบัญ

หนา

บทท่ี 1 กรอบการดําเนินงานการจัดการความรูคณธวิศวกรรมศษสตร 4 บทท่ี 2 การดําเนินงานกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู tacit knowledge 6 บทท่ี 3 องคความรู explicit knowledge 10 บทท่ี 4 การนําองคความรูนําไปใช 12 ภาคผนวก กรณีศึกษาและแนวปฏิบัติท่ีดีในการจัดการเรียนการสอนโดยเนนผูเรียนเปนสําคัญ

ของคณะวิศวกรรมศาสตร โดย ดร. ภรชัย จูอนุวัฒนกุล 15

สรุปโครงการ Engineering Forum การแลกเปลียนเรยีนรูดานการเรียนการสอนและงานวิจัย

20

อางอิง 40

3

บทท่ี 1

แผนและแนวทางการดาํเนินงานการจัดการความรู

แผนการจัดการความรู นี้ไดกําหนดเปนแนวทางการดําเนินงานดานการจัดการความรูเพ่ือประกอบเขา

เปนสวนหนึ่งของการดําเนินงานประจําปการศึกษา 2555 ของคณะวิศวกรรมศาสตร โดยใชหลักการตาม

ข้ันตอนของขอกําหนดในกระบวนการการประกันคุณภาพ ดังนี้

1. .มีการกําหนดประเด็นความรูและเปาหมายของการจัดการความรูท่ีสอดคลองกับแผนกลยุทธของสถาบัน

อยางนอยครอบคลุมพันธกิจดานการผลิตบัณฑิตและดานการวิจัย

การดําเนินงาน

คณะวิศวกรรมศาสตรกําหนดประเด็นการจัดการความรูในหัวขอดังนี้

- ดานการผลิตบันฑิต ในประเด็นของการจัดการเรียนการสอน

- ดานการวิจัย ในประเด็นของการดําเนินงานวิจัยและการเผยแพรผลงาน

2. กําหนดบุคลากรกลุมเปาหมายท่ีจะพัฒนาความรูและทักษะดานการผลิตบัณฑิตและดานการวิจัยอยาง

ชัดเจนตามประเด็นความรูท่ีกําหนดในขอ 1

การดําเนินงาน

การจัดการความรูท้ังดานการผลิตบัณฑิตและดานการวิจัย ประจําปการศึกษา 2555 นี้ไดกําหนด

กลุมเปาหมายท่ีจะพัฒนาความรูและทักษะ คือ บุคลากรอาจารย ของคณะวิศวกรรมศาสตร

3. มีการแบงปนและแลกเปลี่ยนเรียนรูจากความรู ทักษะของผูมีประสบการณตรง (Tacit Knowledge)

เพ่ือคนหาแนวปฏิบัติท่ีดีตามประเด็นความรูท่ีกําหนดในขอ 1 และเผยแพรไปสูบุคลากรกลุมเปาหมายท่ี

กําหนด

การดําเนินงาน

การแบงปนและแลกเปลี่ยนเรียนรูจากผูมีประสบการณตรง (Tacit Knowledge) ผานกิจกรรมตางๆ

รวมถึงการประชุม การสัมนาภายในคณะคณะฯ การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรูระหวางคณะใน

คณะอนุกรรมการการจัดการความรูของมหาวิทยาลัย และ กิจกรรมอ่ืนๆ

4. มีการรวบรวมความรูตามประเด็นความรูท่ีกําหนดในขอ 1 ท้ังท่ีมีอยูในตัวบุคคลและแหลงเรียนรูอ่ืนๆ ท่ี

เปนแนวปฏิบัติท่ีดีมาพัฒนาและจัดเก็บอยางเปนระบบโดยเผยแพรออกมาเปนลายลักษณอักษร (Explicit

Knowledge)

การดําเนินงาน

4

การรวบรวมความรูท่ีเปนแนวปฏิบัติท่ีดีท่ีเปนลายลักษณอักษรโดยรูปแบบตางๆ เชน รายงานสรุปการ

ดําเนินงานโครงการกิจกรรม รายงานบันทึกการประชุม บทความเผยแพรสูสาธารณะ รายงานการจัดการความรู

(Knowledge Management) ของคณะฯ มหาวิทยาลยัศรีปทุม และ คูมือแนวทางปฏิบัติท่ีดีของมหาวิทยาลัย ท่ีไดมีการ

จัดเก็บอยางเปนระบบ

5. มีการนําความรูท่ีไดจากการจัดการความรูในปการศึกษาปจจุบันหรือปการศึกษาท่ีผานมา ท่ีเปนลาย

ลักษณอักษร (Explicit Knowledge) และจากความรู ทักษะของผูมีประสบการณตรง (Tacit

Knowledge) ท่ีเปนแนวปฏิบัติท่ีดีมาปรับใชในการปฏิบัติงานจริง

การดําเนินงาน

มีการนําคูมือแนวทางปฏิบัติท่ีดีของมหาวิทยาลัยประจําปการศึกษา 2554 รวมถึงองคความรูท่ีเปน

tacit and explicit knowledge ท่ีเกิดข้ึนไปใชปฏิบัติจริง ในดานการเรียนการสอน และ การวิจัย ในประเด็น

หัวขอท่ีกําหนด

5

บทท่ี 2

การดําเนินงานกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู

Tacit Knowledge

คณะวิศวกรรมศาสตรไดมีกิจกรรมแลกเปลีย่นเรียนรู Tacit Knowledge ตามประเด็นหัวขอท่ีกําหนด

ซ่ึงสามารถสรุปไดดังนี้

ดานการผลิตบันฑิต หัวขอ “การจัดการการเรียนการสอนโดยเนนผูเรียนเปนสําคัญ”

กิจกรรม ผูเขารวม การดําเนินงาน การแลกเปลี่ยนเรียนรูกรณีศึกษาในการจัดการเรียนการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญ ผานคณะกรรมการจัดการความรูภายในคณะวิศวกรรมศาสตร

คณาจารย ดร. ภรชัย จูอนุวัฒนกุล อาจารยประจําสาขาวิศวกรรมไฟฟา ไดนําเทคนิคการจัดการเรียนการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญไปใชในวิชา EGR205 คอมพิวเตอรสําหรับวิศวกร ซ่ึงเปนวิชาบังคับท่ีนักศึกษาคณะวิศวกรรมศาตรทุกสาขาวิชาตองเรียน และรายงานผลการดําเนินการเปนรายลักษอักษรในท่ีประชุมภายในคณะฯ และ การแลกเปลี่ยนเรียนรูระหวางคณะผานคณะอนุกรรมการการจัดการความรูของมหาวิทยาลัยท่ีไดรวบรวมเปนคูมือแนวปฏิบัติท่ีดีประจําปการศึกษา 2555

Engineering Forum การเสวนาในหัวขอดานการเรียนการสอน

คณาจารย การถายทอดความรูจากผูมีประสบการณในการนําเทคนิคตางๆในการจัดการเรียนการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญ โดยวิทยากร รศ.ดร. กีรติ ชยะกุลคีรี, ดร. ภรชัย จูอนุวัฒนกุล อาจารยประจําสาขาวิศวกรรมไฟฟา และ ดร.สิรินธร สินจนิดาวงศ (ผูอํานวยการศูนยสนับสนุนและพัฒนาการเรียนการสอน) และไดรวบรวมสรุปไวในรายงานสรุปโครงการ Engineering Forum

การดําเนินงานโครงงานวิศวกรรม

คณาจารย และ นักศึกษา

คณะฯไดจัดตั้งคณะกรรมการโครงงานนักศึกษา เพ่ือพัฒนาการจัดการในการดําเนินงานในวิชาโครงการวิศวกรรมของทุกๆสาขาวิชาใหมีประสิทธิภาพยิ่งข้ึน โดยการดําเนินงานเปนการทํางานรวมกันระหวางอาจารยจากทุกสาขาวิชา ท่ีเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรูแนวทางปฏิบัติระหวางสาขาวิชา และไดนําเสนอแนวทางการปฏิบัติท่ีดีเปนรายงานสรุปโครงการ นิทรรศการโครงงานวิศวกรรมศาสตร

การเขารวมเปนอนุกรรมการจัดการความรูของมหาวิทยาลัย

คณาจารย ผูบริหารคณะฯไดเขารวมเปนอนุกรรมการการจัดการความรูของมหาวิทยาลัย (ในหัวขอ การจัดการเรียนการสอนโดยเนนผูเรียนเปนสําคัญ) เพ่ือใหเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรูระหวางคณะวิชา และสามารถนําแนวทางปฏิบัติท่ีดีมาถายทอดภายในคณะฯได

6

ดานการวิจัย หัวขอ “แนวปฏิบัติในการเขียนบทความเพ่ือตีพิมพและเผยแพรในวารสารวิชาการในประเทศ

และนานาชาติ”

กิจกรรม ผูเขารวม การดําเนินงาน การสัมนา Engineering Forum

คณาจารย การถายทอดความรูดานการวิจัยในกิจกรรม Engineering Forum โดยมี ผศ.ดร. สุพัฒตรา เกษราพงศ / รศ.ดร. ไพบูลย ปญญาคะโป / ผศ.ดร. นิมิต บุญภิรมย / ผศ.ดร. ธรนิี มณีศรี / ผศ. ไพจิตร ผาวัน ซ่ึงเปนนักวิจัยท่ีมีประสบการณมาแบงปนเทคนิคแนวทางการดําเนินงานวิจัยในหัวขอ “อุปสรรค ความทาทาย ในงานวิจัยและการบริการวิชาการ...ทําอยางไร ไดท้ังเงิน ไดท้ังกลอง” และไดสรุปเปนแนวปฏิบัติท่ีไดไวในรายงานการดําเนินงานโครงการ

การดําเนินงานของศูนยวิจัยและปฏิบัติการ คณะวิศวกรรมศาสตร

คณาจารย คณะวิศวกรรมศาสตร์ไดจัดตั้งคณะกรรมการวิจัยของคณะฯ

เพ่ือใหเกิดการแนะนําระหวางนักวิจัยรุนใหม และ นักวิจัยผูมีประสบการณ ในการดําเนินงานพัฒนางานวิจัยของอาจารยตางๆ โดยมีผู้ รับผิดชอบโดยตรงในการบริหารจดัการด้านการวิจยั

และการบริการวิชาการ คือ ผศ. ธนภทัร พรหมวฒันภกัดี ทําหนาท่ี

รวบรวมขอมูล และ ความรูอ่ืนๆ เพ่ืออํานวยความสะดวกและสงเสริมในการ เสนอและดําเนินการโครงการงานวิจัย การบริการวิชาการ

การเขารวมเปนคณะอนุกรรมการการจัดการความรูดานการวิจัยของมหาวิทยาลัย

คณาจารย และ ผูบริหาร

คณะฯ

ผศ.ดร.นิมิต และ ดร.วิชชากร ไดเขารวมเปนคณะอนุกรรมการจัดการความรูดานการวิจัยของมหาวิทยาลัย (หัวขอ แนวปฏิบัติในการเขียนบทความเพ่ือตีพิมพและเผยแพรในวารสารวิชาการ ในประเทศและนานาชาติ) ซ่ึงมีการแลกเปลี่ยนความรูประสบการณ ซ่ึงสามารถนํามาถายทอดแกนักวิจัยของคณะฯได (การประชมุบุคลากร Engineering Forum) และไดพัฒนาเปนคูมือแนวปฏิบัติท่ีดีสําหรับเผยแพรแกผูสนใจ

การจัดงานประชุมวิชาการขายงานวิศวกรรมอุตสาหการแหงประเทศไทย IE-Network 2012

คณาจารย (ภายในและภายนอก

มหาวิทยาลัย)

คณะวิศวกรรมศาสตรโดย สาขาวิศวกรรมอุตสาหการไดเปนเจาภาพในการจัดประชุมสัมนาทางวิชาการระดับชาติ โดยมีนักวิจัย นักวิชาการจากทุกสถาบันเขารวมนําเสนอผลงาน โดยการดําเนินงานจากความรวมมือของคณาจารยคณะวิศวกรรมศาสตร ทําใหสามารถไดรับการถายทอดความรูในการเขียนและนําเสนอบทความทางวิชาการจากหลากหลายสถาบันท่ีเขารวมการสัมนา

7

8

การแลกเปล่ียนเรียนรูโดยใชชองทาง Social Media ของอาจารยภายในคณะวิศวกรรมศาสตร

กิจกรรมเสวนาแลกเปล่ียนเรียนรูจากระหวางวิทยากรภายในและผูมีประสบการณภายนอก

9

กิจกรรมแลกเปล่ียนเรียนรูเพ่ือพัฒนาเทคนิคและทักษะการสอน

ในกลุมอาจารยวิชาปฏิบัติการ

10

สรุปการดําเนินโครงการนิทรรศการโครงงานวิศวกรรมศาสตร ซ่ึงเปนการจัดแสดงรวมกันของทุกสาขาวิชาทําใหเกิดการเรียนรูระหวางกันท้ังอาจารยและนักศึกษา ซ่ึงสามารถใชเปนแนวทางปฏิบัติท่ีดีในการดําเนินงานครั้งตอๆไป

11

บทท่ี 3

องคความรู explicit knowledge

คณะวิศวกรรมศาสตรไดมีการรวบรวมองคความรูเปน Explicit Knowledge ในรูปแบบตางๆดังนี้

กิจกรรม กลุมเปาหมาย ผลการดําเนินงาน คูมือแนวทางปฏิบัติท่ีดีประจําปการศึกษา 2555 ของมหาวิทยาลัย

คณาจารยในมหาวิทยาลัยศรีปทุม และ ผูสนใจท่ัวไป

คณะฯไดเสนอองคความรูดานการจัดการเรียนการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญ และ ดานการเขียนบทความวิจัย ผานการดําเนินงานของคณะอนุกรรมการการจัดการความรูท่ีผูบริหารของคณะเปนสมาชิก เปนคูมือแนวทางปฏิบัติท่ีดีท่ีปรับปรุงข้ึนสําหรับปการศึกษา 2555 http://library.spu.ac.th:81/web/spu-km/

รายงานการจัดการความรู คณะวิศวกรรมศาสตร ปการศึกษา 2555

คณาจารยคณะวิศวกรรมศาสตร

คณะวิศวกรรมศาสตรไดจัดทําสรุปรายงานการดําเนินการการจัดการความรูประจําปการศึกษา 2555 เพ่ือบันทึกเปน explicit knowledge สําหรับการอางอิงในการดําเนินงานในรอบปตอๆไป รวมถึงสําหรับบุคลากรอาจารยของคณะฯในการศึกษาถึงแนวทางปฏิบัติท่ีดีในดานการเรียนการสอนและการทําวิจัย

Knowledge Bank ของมหาวิทยาลัยศรีปทุม

คณาจารย นักศึกษา ในมหาวิทยาลัยศรีปทุม และ ผูสนใจท่ัวไป

ไดมีการรวบรวมผลงานทางวิชาการของบุคลกรคณาจารยคณะวิศวกรรมศาสตร ไวในระบบ online ซ่ึงผูสนใจสามารถเขาศึกษาดูไดอยางเปนระบบ http://dllibrary.spu.ac.th:8080/dspace/handle/123456789/3130

Website และ Social Media ของคณะวิศวกรรมศาสตร

คณาจารย นักศึกษา และ ผูสนใจท่ัวไป

คณะวิศวกรรมศาสตรไดรวบรวมผลงานกิจกรรมตางๆ ไวใน website ของคณะฯ ซ่ึงบุคลากร คณาจารย นักศึกษา และ บุคคลภายนอกสามารถเขาดูได http://www.spu.ac.th/engineer/ https://www.facebook.com/pages/Engineering-Sripatum/20446965626421530

12

การจัดเก็บขอมูลผลการดําเนินโครงการ และ ผลงานวิจัยของคณะวิศวกรรมศาสตร

บุคลากรภายในคณะวิศวกรรมศาสตร

คณะวิศวกรรมศาสตรมีการจัดเก็บบันทึกสรุปผลการดําเนินโครงการโดยสํานักงานของคณะฯ รวมถึงการผลงานวิจัยตางๆโดยศูนยวิจัยปฏิบัติการ เพ่ือใชสําหรับการอางอิงของบุคลากรและคณาจารยของคณะฯได

13

14

บทท่ี 4

การนําองคความรูนําไปใช

จากการแลกเปลี่ยนเรียนรูในกระบวนการจัดการความรู คณะวิศวกรรมศาสตรไดนําองคความรูตางๆ

ไปประยุกตใชในการดําเนินงานดานการเรียนการสอน และ การวิจัยซ่ึงสามารถสรุปไดดังนี้

โครงการ ประเด็นความรู

แนวปฏิบัติท่ีดี การนํามาใชประโยชน

กรณีศึกษา การจัดการเรียนการสอนโดยเนนผูเรียนเปนสําคัญ

ดานการผลิตบันฑิต

เทคนิดการเรียนการสอน โดยใชระบบสารสนเทศสนับสนุนในการเรียนการสอน เพ่ือกระตุนใหนักศึกษาเรียนรูและประเมินความรูไดดวยตนเอง

นํามาใชในการจัดการเรียนการสอน ในวิชา EGR205 คอมพิวเตอรวิศวกร โดย ดร.ภรชัย โดยวิชานี้เปนวิชาบังคับท่ีนักศึกษาคณะวิศวกรรมศาตรทุกสาขาวิชาตองเรียน ซ่ึงผลการดําเนินงานสามารถใชเปนแนวทางปฏิบัติท่ีดีสําหรับอาจารยทานอ่ืนๆได

โครงการ Active Learning ของศูนยสนับสนุนพัฒนาการเรียนการสอน

ดานการผลิตบันฑิต

การสอนแบบ Active Learning

รศ.ดร.กีรติ ไดเขารวมโครงการของศูนยสนับสนุนพัฒนาการเรียนการสอน ซ่ึงไดนําเทคนิคการสอนแบบ Active Learning ตามแนวทางของคูมือปฏิบัติท่ีดี KM ของมหาวิทยาลัยปการศึกษา 2554 ท่ีงกระตุนใหนักศึกษาเกิดความสนใจติดตามเนื้อหาวิชาในชั้นเรียนไดอยางมีประสิทธิภาพ จนกระท้ังไดรับรางวัลการสอนดีเดน http://www.spu.ac.th/tlc/project/1636/ 30

การดําเนินงานโครงงานวิศวกรรม

ดานการผลิตบันฑิตและการวิจัย

การผสมผสานแนวทางปฏิบัติท่ีดีระหวางสาขาวิชาท่ีมีความเชี่ยวชาญท่ีแตกตางกัน เพ่ือใหเกิดการบูรณาการความรูทางวิศวกรรมศาสตร

คณะฯไดจัดตั้งคณะกรรมการโครงงานนักศึกษา เพ่ือพัฒนาการจัดการในการดําเนินงานในวิชาโครงการวิศวกรรมของทุกๆสาขาวิชาใหมีประสิทธิภาพยิ่งข้ึน เพ่ือใหนักศักษาเกิดทักษะในการเรียนรูดวยตนเองตามจุดประสงคของรายวิชา ท้ังการจัดการอบรมนักศึกษาระหวางปการศึกษาอยางตอเนื่อง ตลอดจนการจัดแสดงและการประกวดโครงงานเม่ือสิ้นการศึกษา ท่ีใหมีการดําเนินการรวมกันทุกๆสาขาวิชา ซ่ึงนักศึกษาสามารถรับรูศาสตรในวิศวกรรมตางสาขา

โครงการ ดานการผลิต การถายทอดความรู การแลกเปลี่ยนเรียนรูระหวางกันของอาจารย

15

Train the Trainer

บันฑิต ระหวางกันของอาจารยปฏิบัติการจากทุกๆสาขาวิชา เพ่ือใหเกิดทักษะหลากหลาย

ปฏิบัติการในวิชาฝกฝมือ สงเสริมใหเกิดการพัฒนาทักษะการเรียนการสอนในวิชาชางตางๆของอาจารยผูสอนท่ีมีพ้ืนฐานความถนัดท่ีแตกตางกัน เพ่ือใหสามารถสอนนักศึกษาไดอยางมีประสิทธิภาพ

โครงการ We need you (because we care)

ดานการผลิตบันฑิต

การมีสวนรวมของผูปกครองของนักศึกษาในการดูแล สนับสนนุในการศึกษา

มีการสื่อสารและประชุมผูปกครอง เพ่ือใหเกิดความเขาใจในหลักสูตรและลักษณะการเรียนการสอนในหลักสูตรของคณะศวกรรมศาสตร รวมถึงเทคนิคตางการในการศึกษาของนักศึกษาเพ่ือใหสามารถเรียนจบการศึกษาได ซ่ึงสงผลใหผูปกครองสามารถเขาใจ ชวยดูแล ติดตาม และ สนับสนุนการศึกษาไดอยางมีประสิทธิภาพมากยิ่งข้ึน

การวิจัยดานการเรียนการสอน

ดานการผลิตบันฑิต และดานการวิจัย

แนวทางการดําเนินงานวิจัยในชั้นเรียนและการเสนอผลงานวิจัยดานการเรียนการสอน

คณาจารยของคณะฯหลายทานไดดําเนินงานวิจัยท่ีเก่ียวของกันการเรียนการสอน และไดมีการนําเสนอเปนผลงานบทความทางวิชาการในการประชุมวิชาการและวารสารตางๆอยางตอเนื่อง

การนําเสนอบทความวิชาการและการวิจัย

ดานการวิจัย รูปแบบการเขียนบทความวิชาการ

คณะวิศวกรรมศาสตร มีการรวบรวมบทความทางวิชาการของคณะจารยภายในคณะฯท่ีไดถูกเผยแพรในการประชุมวิชาการ และ วารสาร ตางๆท้ังในระดับประเทศและนานาชาติ ท่ีสามารถเปนตัวอยางขอมูลอางอิงในการเขียนบทความของบุคลกรท่ียังไมมีประสบการณ สงผลใหคณะวิศวกรรมศาสตรมีผลงานทางวิชาการออกเผยแพรอยางตอเนื่อง

การขอตําแหนงทางวิชาการ

ดานการวิจัย รูปแบบและแนวทางการเขียนบทความและการรวบรวมผลงานทางวิชาการเพ่ือขอตําแหนางทางวิชาการของคณาจารย

สืมเนื่องจากการทําวิจัยและแนวทางปฏิบัติท่ีดีในการเขียบบทความทางวิชาการเพ่ือการเผยแพรท้ังในระดับชาติและนานาชาติ สงผลใหคณาจารยของคณะฯสามารถสงผลงานเพ่ือขอตําแหนงทางวิชาการเพ่ิมข้ึนไดอยางตอเนื่อง

16

ภาคผนวก

17

กรณีศึกษาและแนวปฏิบัติท่ีดีในการจัดการเรียนการสอนโดยเนนผูเรียนเปนสําคัญของคณะวิศวกรรมศาสตร

โดย ดร. ภรชัย จูอนุวัฒนกุล

แนวปฏิบัติเทคนิคการสอนแบบเนนผูเรียนเปนสําคัญ สําหรับวิชา EGR205 คอมพิวเตอรสําหรับวิศวกร

ในแนวทางของการสอนของนักศึกษาในวิชา EGR205 คอมพิเตอรสําหรับวิศวกร ซ่ึงวิชานี้เปนวิชา

พ้ืนฐานท่ีนักศึกษาทุกคนในคณะวิศวกรรมศาสตรจะตองลงทะเบียนเรียน หลักการสอนวิชานี้ เปนการสอนท่ีเนนท้ังผูเรียนเปนสําคัญและการทดสอบ โดยจะมีการติดตามและสังเกตพฤติกรรมสมํ่าเสมอ เพ่ือท่ีอาจารยผูสอนสามารถใหคําปรึกษาและแนะนํานักศึกษา การสอนจะเปนการสอนใหนักศึกษามีความรูความเขาใจ จนนักศึกษาสามารถนําไปใชฝกฝนเพ่ือใหเกิดทักษะในกระบวนการคิด จนสามารถเขียนโปรแกรมได

1. กระบวนการสอน

เนื่องจากวิชาคอมพิวเตอรสําหรับวิศวกรเปนวิชา 2-3 ดังนั้นการจัดการเรียนการสอนในวิชานี้ จะใชเวลาการสอนในสวนของทฤษฎี 2 ชั่วโมง และปฎิบัติ 3 ชัว่โมง โดยกระบวนการสอนในสวนของทฤษฎีจะเนนผูเรียนเปนสําคัญ เพ่ือใหนักศึกษามีความรูความเขาใจจนสามารถนําไปใชได ในสวนของปฎิบตัิจะเนนการทดสอบ เพ่ือวัดผลวาหลังจากนักศึกษาลงปฎิบัติแลว นักศึกสามารถเขียนโปรแกรมไดหรือไม โดยระหวางการสอนของท้ังสองสวน อาจารยผูสอนจะตองคอยสังเกตุพฤติกรรม และติดตามผลอยางสมํ่าเสมอ

กระบวนการสอน

ทฤษฎี

2 ชม.เน้นผู้เรียนเป�น

สําคัญ

ปฎิบัติ

3 ชม.

รู้

เข้าใจ

จํา

นําไปใช้

ฝ�กฝน

สร้างวิธี

คิด

เขียน

โปรแกรม

ได้

เน้นการทดสอบ

ติดตามผล

สังเกตุพฤติกรรม• Experiential learning • PBL

In class Learning

2. สื่อท่ีใชในการสอน และการประเมินผล

สื่อในการสอนและการประเมินผล สื่อท่ีใชในการสอนจะใชระบบ e-Learning ชวยในการจัดการเรียนการสอน โดยนักศึกษาสามารถ Download เอกสารประกอบการสอน ทําแบบทดสอบออนไลน ดูงานท่ีอาจารยมอบหมาย และทบทวนบทเรียนจากการบันทึกการสอนดวย Camtasia relay สวน

18

วิธีการประเมินผล อาจารยสามารถใชวิธีประเมินผลจากการถามตอบ ประเมินผลจากงานท่ีมอบหมาย และผลจากการทดสอบออนไลนของนักศึกษา หลังจากนั้นอาจารยผูสอนจะตองติดตามผลของนักศึกษาท่ีต่ํากวาเกณฑ โดยสังเกตพฤติกรรม เพ่ือท่ีอาจารยจะไดเขาไปสอบถาม ใหคําแนะนํา รวมถึงนําผลทดสอบออนไลนและสอบกลางภาค มาจัดกลุมนักศึกษาในการทํางานแบบกลุมในสามสัปดาหสุดทาย

สื�อในการสอนและ

การประเมินผล

e-Learningการ

ประเมินผล

เอกสารประกอบการสอน

ถามตอบ

แบบทดสอบออนไลน์

มอบหมายงาน

บันทึกการสอน

งานที�มอบหมาย

แบบทดสอบเดี�ยว

อภิปลายกลุ่ม

การมอบหมายงานแบบกลุมในสามสัปดาหสุดทาย อาจารยผูสอนจะกําหนดโจทยปญหาใหนักศึกษาชวยกันเขียนโปรแกรมใหไดผลลัพธตามท่ีตองการ จากนั้นใหตัวแทนกลุมมานําเสนอหนาชั้นเรียน โดยมีอาจารยผูสอนเปนผูประเมินผลงาน

19

นอกจากนี้การใชระบบ e-Learning ยังสามารถชวยใหอาจารยผูสอนมีความสะดวกในการติดตามผลคะแนน รวมถึงความถ่ี ระยะเวลาในการเขาถึงบทเรียนของนักศึกษา และนักศึกษาสามารถทบทวนเนื้อหาท้ังหมด จากระบบบันทึกการสอนดวย Camtasia relay

e-Learning

ในการทดสอบออนไลน อาจารยผูสอนสามารถกําหนดวันเวลา และจํานวนครั้งใหนักศึกษาทําการทดสอบก่ีรอบก็ได โดยจะเก็บผลคะแนนท่ีดีท่ีสุด นักศึกษาท่ีไดคะแนนมากกวาครึ่งสําหรับ การทดสอบท่ี1 มีถึง 96.7% และการทดสอบท่ี 2 มีถึง 94.6% ผลจากการท่ีใหโอกาสนักศึกษาทําแบบทดสอบไดมากกวาหนึ่งครั้งโดยนําคะแนนสูงสุด จะสามารถชวยใหนักศึกษาท่ีมีคะแนนไมถึงครึ่งไมเกิน 5%

20

คะแนนแบบทดสอบออนไลน์

จํานวนนักศึกษาทั�งหมด

N=93 คน

จํานวน % ของนักศึกษาที�มีคะแนนมากกวา่ครึ�ง

Quiz 1 Quiz 2ครั�งที� 1 54.7% 65.9%

ครั�งที�คะแนนดีที�สุด 96.7% 94.6%

3. สรุปผล

จากการจัดการเรียนการสอนในวิชานี้ โดยใชกระบวนการสอน ท่ีมีการติดตามผล และสังเกตพฤติกรรม เพ่ือใหคําแนะนํา และการดูแลนักศึกษา จะสามารถชวยลดการ drop out ของนักศึกษาได และจากการตัดเกรดวิชานี้ จํานวนนักศึกษาท่ีไมผานมีจํานวนไมถึง 5%

21

สรุปผล

22

เอกสารอางอิง

[1] คูมือ SPU KM ประจําปการศึกษา 2555, http://library.spu.ac.th:81/web/spu-km/ (30

มิ.ย. 2556)

[2] “การจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning ของอาจารยมหาวิทยาลัยศรีปทุม” โดย วิสา

ลักษณ สิทธิ์ขุนทด (อาจารยประจําศูนยสนับสนุนและพัฒนาการเรียนการสอน), สิรินธร สินจินดา

วงศ (ผูอํานวยการศูนยสนับสนุนและพัฒนาการเรียนการสอน) มหาวิทยาลัยศรีปทุม

, http://www.spu.ac.th/tlc/showcase/%e0%b8%9c%e0%b8%a5%e0%b8%87%e0%b8

%b2%e0%b8%99%e0%b8%9e%e0%b8%b1%e0%b8%92%e0%b8%99%e0%b8%b2%

e0%b8%ad%e0%b8%b2%e0%b8%88%e0%b8%b2%e0%b8%a3%e0%b8%a2%e0%b

9%8c/ (30 มิ.ย. 2556)

23