manote kongkananda

60

Upload: arwin-intrungsi

Post on 22-Feb-2016

218 views

Category:

Documents


0 download

DESCRIPTION

Art and Design Exhibition by Manote Kongkananda

TRANSCRIPT

Page 1: Manote Kongkananda
Page 2: Manote Kongkananda
Page 3: Manote Kongkananda

3-14 มิถุนายน 2556หอศิลปะและการออกแบบ คณะมัณฑนศิลป์

มหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระ

จัดโดยภาควิชาออกแบบนิเทศศิลป์

และคณะมัณฑนศิลป์

มหาวิทยาลัยศิลปากร

Page 4: Manote Kongkananda

นิทรรศการศิลปะและการออกแบบ

มาโนช กงกะนันทน์

เจ้าของ : คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร เลขที่ 31 ถนนหน้าพระลาน แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 โทรศัพท์ 02 221 5874 โทรสาร 02 225 4350 อีเมล์ [email protected] www.decorate.su.ac.thออกแบบ : ผู้ช่วยศาสตราจารย์อาวิน อินทรังษีถ่ายภาพ : ผู้ช่วยศาสตราจารย์อติวรรธน์ วิรุฬห์เพชร ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุพิชญา เข็มทองพิมพ์ครั้งแรก : พฤษภาคม 2556จ�านวนหน้า : 56 หน้าจ�านวนพิมพ์ : 500 เล่มพิมพ์ที่ : บริษัท ไซเบอร์พรินท์ จ�ากัด 959 ซอยสุทธิพร ถนนประชาสงเคราะห์ แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์ 02 641 9135-8 โทรสาร 02 641 9139 อีเมล์ [email protected] www.cyberprint.co.th

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์All Rights Reserved.No part of this book may be used or reproduced in any manner without written permission from the author, except in context of reviews. Every reasonable attempt has been made to identify owner of copyright. Errors or omission will be corrected in subsequent editions.

Page 5: Manote Kongkananda

3

ขอขอบคุณ

ศาสตราจารย์ ดร.วิภา กงกะนันทน์นางสาววีรนุช กงกะนันทน์

คุณธวัช ปุณยกนกคุณพจนีย์ ตีระวณิช

บริษัท คิงส์ คัลเลอร์ โปร จ�ากัดร้านนานาภัณฑ์

Page 6: Manote Kongkananda
Page 7: Manote Kongkananda

5

สารจากคณบดี

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ มาโนช กงกะนันทน์ อาจารย์ผู้สอน พืน้ฐานความคดิสร้างสรรค์ให้กบัผมตัง้แต่เร่ิมเข้าเรียนมัณฑนศลิป์ในปีแรก อาจารย์ทีม่รีสนยิมและสนุทรยีภาพมากทีสุ่ดท่านหน่ึง ส่ิงทีอ่าจารย์บ่มเพาะและสอนผม คอืพืน้ฐานแห่งการเป็นนักออกแบบทีม่คุีณภาพ ทฤษฎกีารออกแบบทีต่กตะกอนเป็นองค์ความรูน้ั้นได้สะสมเป็นหลักคิดที่น�าปฏิบัติใด้อย่างเป็นจริง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ มาโนช ใช้ภาษาในการอธิบายได้แบบฟังง่าย เข้าใจง่าย ในขณะท่ีการให้แนวทางฝึกหดัปฏบิตักิช่็างคมคายท่ีสุด นกัออกแบบท่ีผ่านรัว้มณัฑนศลิป์ในยคุทีอ่าจารย์สอนวันนี้ก็ยังคงร�าลึกเสมอถึงการสอนของผู้ช่วยศาสตราจารย์มาโนช และใช้จริงจนถึงปัจจุบันจากแนวทางพื้นฐานในตอนนั้น ผมดีใจที่วันนี้มีส่วนร่วมในการรวบรวมหลักคิดสร้างสรรค์ออกเผยแพร่อีกครั้งหนึ่ง ซึ่งถือว่า “อมตะ” ใช้ได้ทั้งในอดีตและในอนาคต ความรักในศิลปะและการออกแบบของอาจารย์ ยังคงกึกก้องอยู่ในใจของลูกศิษย์เสมอ ผมเชื่อว่าหลักการของอาจารย์จะอยู่เคียงคู่กับมัณฑนศิลป์ต่อไปครับ

ผู้ช่วยศาสตราจารย์เอกพงษ์ ตรีตรงคณบดีคณะมัณฑนศิลป์

สารจากหัวหน้าภาควิชาออกแบบนิเทศศิลป์

นับต้ังแต่ก้าวแรกที่เข้ามาในฐานะอาจารย์ของภาควิชาออกแบบนิเทศศิลป์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ มาโนช กงกะนันทน์ ได้ให้การต้อนรับด้วยความเมตตาอย่างอบอุ่น ให้ก�าลังใจและค�าปรึกษาเรื่องการเรียนการสอน คอยเตือนอย่างห่วงใยในการด�ารงชีวิตด้วยเงินเดือนข้าราชการ อาจารย์เป็นต้นแบบของ “ครู” ผู้รอบรู้ ผู้เป็นที่เคารพรักของลูกศิษย์ เป็น “นักออกแบบ” ที่สร้างรากฐานทางศิลปะที่ภาคภูมิใจของคณะมัณฑนศิลป์ ในนามของลกูศษิย์และคณาจารย์ภาควชิาออกแบบนเิทศศลิป์ มคีวามยนิดเีป็นอย่างยิง่ทีไ่ด้มโีอกาสร่วมจดันทิรรศการแสดงผลงานบูรพาจารย์ผู้ก่อตั้งภาควิชาออกแบบนิเทศศิลป์

อาจารย์ชนิศา ชงัดเวชหัวหน้าภาควิชาออกแบบนิเทศศิลป์

Page 8: Manote Kongkananda

ศิษย์คนหนึ่งของศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรีปรมาจารย์ด้านศิลปะสมัยใหม่ของประเทศไทย

ส�าเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี จากคณะมัณฑนศิลป ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร รุ่นแรก

ศิลปินรางวัลเหรียญทองในการประกวดศิลปกรรมแห่งชาติครั้งที่ 12 พ.ศ. 2504

นักเรียนทุนรัฐบาลไทย (ก.พ.) คนแรกของมหาวิทยาลัยศิลปากร ที่ได้ไปศึกษาต่อ ณ มหาวิทยาลัยในสหรัฐอเมริกา ในระหว่างที่ศึกษาอยู่ในอเมริกาด้วยทุน ก.พ. เป็นเวลา 5 ปี มาโนชมีผลงานด้านการศึกษาและด้านศิลปกรรมที่โดดเด่นมาก

M.A. (Art), University of California, Los Angeles (UCLA)M.F.A. (Environmental Design), UCLAศิลปดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาการออกแบบนิเทศศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากรภาคีสมาชิกราชบัณฑิตยสถาน ประเภทประยุกต์ศิลป์ (สาขามัณฑนศิลป์)

มผีลงานแสดงในนทิรรศการภาพพมิพ์นานาชาตทิีก่รงุโตเกยีวร่วมกับผลงานของศิลปินผู้มีชื่อเสียงระดับโลก คือ Pablo Picasso, Georges Braque, Joan Miro, Hans Erni, Yozo Hamaguchi, Leonard Baskin ฯลฯ ผลงานของมาโนช ยงัได้รบัการรับคัดเลอืกให้ตีพิมพ์ในสูจิบัตรร่วมกับผลงานของศิลปินเหล่านี้อีกด้วย

เป็นมัณฑนากรออกแบบตกแต่งภายในสถานเอกอัครราชฑูตไทยใน Washington, D.C. ในประเทศไทย มีผลงานของมาโนชอยู่ที่สนามบินสุวรรณภูมิ และที่อื่น ๆ เช่น ในหอศิลป์แห่งชาติ ถนน เจ้าฟ้า ในหอประชุมส�านักงานกลางนักเรียนคริสเตียนแห่งประเทศไทย ถนนพญาไท เชิงสะพานหัวช้าง ที่บ้านพักรับรองของรัฐบาล แหลมแท่น จังหวัดชลบุรี ฯลฯ

นอกจากได้รบัรางวลัจากการประกวดที ่Los Angeles หลายรางวลั และการขายรูปได้อยู่บ่อย ๆ มาโนชยังได้รับทุนการศึกษาจากมหาวิทยาลัยอีกด้วย ท�าให้รัฐบาลไทยได้ประหยัดเงินจ�านวนนั้น คือไม่ต้องจ่ายทุนค่าเล่าเรียนให้มาโนชเป็นเวลา 1 ปี

มาโนช กงกะนันทน์มัณฑนากรผู้สร้างความสุขจากศิลปะ

Page 9: Manote Kongkananda

7

เมื่อส�าเร็จการศึกษาขั้นสูงสุดด้านศิลปะและการออกแบบที่ UCLA มาโนชลาชีวิตศิลปินนักศึกษาท่ีมีชื่อเสียง กลับมาเป็นอาจารย์ ประจ�าคณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

ด้วยความมุ่งมั่นที่จะพัฒนาการศึกษาและรสนิยมด้านศิลปะและการออกแบบในเมืองไทยให้ก้าวหน้าเพิ่มขึ้น มาโนชได้ร่วมมือกับเพื่อนสนิทก่อตั้งสถาบันศิลปะและการออกแบบชื่อ “ศุภยุกต์ (Contempo)”

และต่อมาได้ก ่อตั้งภาควิชาออกแบบนิเทศศิลป์ ขึ้นที่คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ซึ่งได้ผลิตบัณฑิตสาขานี ้ตลอดมา

ในฐานะคร ูมาโนชได้แต่งต�าราศลิปะและการออกแบบ และท�างานวิจัยศิลปะพื้นบ้าน ท�าให้เขาได้มีโอกาสถวายงานเป็นมัณฑนากร ออกแบบและจดัรปูเล่มหนงัสอื “เวลาเป็นของมีค่า” พระนิพนธ์ในสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนาฯ

เขียนเรื่อง “หัตถกรรมพื้นบ้าน” ตีพิมพ์ในสารานุกรมไทยส�าหรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ

อย่างไรก็ดี งานวิชาการก็มิได้เป็นอุปสรรคขัดขวางการสร้างงานศิลปะ และเนื่องจากเป็นครู ผลงานของมาโนชจึงมิได้หยุดนิ่งอยู่กับสิ่งที่ลงตัว “ขายได้” เขาคิดค้น ทดลองเทคนิคใหม่ ๆ ให้ศิษย์ได้เหน็ความเป็นไปได้อนัหลากหลายในการสร้างงานศลิปะอยูเ่สมอ

ผลงานศิลปะของมาโนชมีหลายประเภท หลายรูปแบบ และใช้เทคนิคต่าง ๆ กัน เช่น จิตรกรรมฝาผนัง จิตรกรรมบนผ้าใบ บนแผ่นไม้ และภาพพิมพ์ แต่ผลงานทุกชิ้นของมาโนชสร้างขึ้นจากปรัชญาพื้นฐานเดียวกัน…คงที่…เสมอมา…

“ศิลปะ” คือผลงานที่สร้างขึ้นด้วยความสุข และเพื่อความสุขของผู้ที่ได้ชม

ศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี เคยกล่าวถึงผลงานของมาโนชไว้ครั้งหนึ่งดังนี้

“ในบรรดาศิลปินประเภทมัณฑนศิลป์ด้วยกัน มาโนช กงกะนันทน์ มีงานอันน่าชมอย่างยิ่งเข้าแสดงหลายชิ้น ศิลปินหนุ่มผู้มีอุปนิสัยมากในการใช้สี และเป็นการยากที่จะชี้ให้เห็นว่างานชิ้นใดดีที่สุด เพราะแต่ละชิ้นมีความดึงดูดใจ และน่าดูโดยเฉพาะ”

นั่นคือทัศนะของศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี ที่มีต่อผลงานของมาโนช กงกะนันทน์: มัณฑนากรผู้สร้างความสุขจากศิลปะ

Page 10: Manote Kongkananda
Page 11: Manote Kongkananda

9

Page 12: Manote Kongkananda
Page 13: Manote Kongkananda

11

Page 14: Manote Kongkananda

ร้านจ�าหน่ายเครื่องส�าอาง Faridaร้านนี้คุณฟาริดา บุณยศักดิ์ นักธุรกิจที่มีชื่อเสียงเป็นเจ้าของ ที่แสดงสินค้าเครื่องส�าอาง เป็นรูปทรงประติมากรรมส่วนเครื่องเรือนภายในร้านก็ออกแบบให้มีรูปทรงสอดคล้องกันโดยหลักการของ Harmony (ความประสานกลมกลืน)

ออกแบบตกแต่งภายใน

Page 15: Manote Kongkananda

13

Page 16: Manote Kongkananda

ร้านศุภยุกต์ (Contempo)ภายหลังที่กลับจากต่างประเทศแล้ว ได้จัดตั้งศูนย์ศิลปะและการออกแบบ ชื่อว่า ศุภยุกต์ หรือ Contempo Center of Arts & Design

มีผู้ช่วยศาสตราจารย์ มานิตย์ ภู่อารีย์ ร่วมมือด้วย โดยได้รับการสนับสนุนจากนักธุรกิจผู้ใจบุญ

ออกแบบตกแต่งภายใน

Page 17: Manote Kongkananda

15

Page 18: Manote Kongkananda

ออกแบบตกแต่งภายใน

Page 19: Manote Kongkananda

17

Page 20: Manote Kongkananda

บ้าน พตอ.วันชัย ค้าดีการออกแบบตกแต่งภายในเวลานั้นมีวิธีการน�าเสนอผู้ว่าจ้าง (เจ้าของงาน)ด้วยการเขียนแบบ (Drafting) เป็นหลักซึ่งเป็นภาพลายเส้น สะดวกแก่นายช่างผู้ซึ่งจะเป็นผู้สร้างงานจากแบบที่ก�าหนดด้วยการเขียนขึ้น และประกอบภาพทัศนียภาพของสถานที่เพื่อแสดงให้เห็นเสมือนจริง

ออกแบบตกแต่งภายใน

Page 21: Manote Kongkananda

19

Page 22: Manote Kongkananda

ออกแบบตกแต่งภายใน

Page 23: Manote Kongkananda

21

Page 24: Manote Kongkananda

ศิลปะส�าหรับตกแต่งศิลปะส�าหรับการตกแต่งอาคารที่พักอาศัย

ออกแบบตกแต่งภายใน

Page 25: Manote Kongkananda

23

Page 26: Manote Kongkananda

ออกแบบตกแต่งภายใน

Page 27: Manote Kongkananda

25

Page 28: Manote Kongkananda

จิตรกรรมฝาผนังที่ห้องอาหารของบ้านพักรับรองรัฐบาลที่ต�าบลแหลมแท่น จังหวัดชลบุรี มีเนื้อหาเป็นรูปหมู่บ้านชาวประมง และการด�าเนินชีวิตของชาวบ้าน

ประยุกตศิลปศึกษา

Page 29: Manote Kongkananda

27

จิตรกรรมบนเสาภายในบริเวณพักคอยของธนาคารกสิกรไทย สาขาพัฒน์พงษ์มีเนื้อหาแสดงถึงลักษณะอาชีพต่าง ๆ กัน ของประชาชนคนไทยในสมัยนั้น

ปัจจุบันธนาคารสาขานี้ได้เลิกกิจการไปแล้ว

Page 30: Manote Kongkananda

ประยุกตศิลปศึกษา

Page 31: Manote Kongkananda

29

จิตรกรรมทั่วไป ที่แสดงอยู่นี้เป็นผลงานล่าสุด ประเภทสีน�้ามันบนผ้าใบประกอบกับการใช้เทคนิควิทยาสมัยปัจจุบัน

หมู่บ้าน หมู่บ้านในฝัน

บ้านสวน

Page 32: Manote Kongkananda

ประยุกตศิลปศึกษา

นก หมายเลข 2

Page 33: Manote Kongkananda

31

กุญชรตระหนก

Page 34: Manote Kongkananda

ประยุกตศิลปศึกษา

เครื่องมือ

Page 35: Manote Kongkananda

33

หินทะเล

Page 36: Manote Kongkananda

ประติมากรรมผสมผสานเป็นการน�าเสนอทางความคิดในการใช้วัสดุที่ต่างกันมาผสมผสานท�าให้เกิดเป็นชิ้นงานศิลปะขึ้น

ประยุกตศิลปศึกษา

Page 37: Manote Kongkananda

35

Page 38: Manote Kongkananda

จิตรกรรมฝาผนัง ณ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิมีชื่อว่า “กรุงเทพ หมายเลข 1” และ “พระอาทิตย์สีเหลือง” นับเป็นจิตรกรรมฝาผนังชิ้นล่าสุดของข้าพเจ้า

ประยุกตศิลปศึกษา

Page 39: Manote Kongkananda

37

สัญลักษณ์ของกลุ่มประเทศอาเซียนเมื่อสมัยที่ปฏิบัติงานเป็นผู้เชี่ยวชาญอาวุโสของศูนย์ภูมิภาคโบราณคดีและวิจิตรศิลป์ของภาคตะวันออกเฉียงใต้

ได้ออกแบบตราสัญลักษณ์ของประเทศสมาชิกขึ้นไว้ เพื่อใช้ในโอกาสต่างๆ กันจึงมีความคิดที่น�าเสนอรวมไว้ด้วยกันเป็นงานศิลปะ

Page 40: Manote Kongkananda

SPAFAนอกจากรูปสัญลักษณ์ของกลุ่มประเทศอาเซียนแล้ว ยังได้ออกแบบสิ่งพิมพ์และผลิตภัณฑ์อื่นๆ ขององค์กรด้วยเช่น แผ่นพับ ปกสมุด ปกหนังสือ พวงกุญแจ แผ่นรองถ้วย แก้ว เป็นต้น

ออกแบบนิเทศศิลป์

Page 41: Manote Kongkananda

39

Page 42: Manote Kongkananda

หม้อบ้านเชียงต้นแบบ

หม้อบ้านเชียงออกแบบลายใหม่

ออกแบบนิเทศศิลป์

Page 43: Manote Kongkananda

41

Page 44: Manote Kongkananda

ออกแบบนิเทศศิลป์

Page 45: Manote Kongkananda

43

ออกแบบตัวอักษรและสิ่งพิมพ์การออกแบบตัวอักษร มีชื่อเดิมว่า “อักษรประดิษฐ์” พัฒนาการทางวิทยาการ ท�าให้เกิดการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้นผลงานที่แสดงนี้ประกอบไปด้วยตัวอักษร ตราสัญลักษณ์ แผ่นอวยพร นามบัตร ภาพโฆษณา และปกหนังสือผลงานเหล่านี้ ข้าพเจ้าได้เลือกสรรมาน�าเสนอ

Page 46: Manote Kongkananda

ออกแบบนิเทศศิลป์

Page 47: Manote Kongkananda

45

Page 48: Manote Kongkananda

ออกแบบผลิตภัณฑ์ (Ceramics 1)แบบเครื่องปั้นดินเผาชนิดธรรมดาและเคลือบเป็นการออกแบบแล้วน�าไปให้ช่างสร้างรูปทรงขึ้นมาตามแบบที่ก�าหนดและน�าไปเผาจนส�าเร็จ

ออกแบบผลิตภัณฑ์

Page 49: Manote Kongkananda

47

Page 50: Manote Kongkananda

ออกแบบผลิตภัณฑ์ (Ceramics 2)เป็นภาพต้นแบบชุดน�้าชา

เป็นการน�าเสนอขั้นแรกก่อนที่จะน�าไปสร้างเป็นผลิตภัณฑ์ส�าเร็จรูป

ออกแบบผลิตภัณฑ์

Page 51: Manote Kongkananda

49

ออกแบบผลิตภัณฑ์นอกจากนี้ยังมีผลิตภัณฑ์อื่น ๆ อีก เช่น โคมไฟตั้งพื้น เครื่องใช้ของเล่น และเครื่องประดับ ซึ่งท�าจากไม้เป็นส่วนใหญ่

Page 52: Manote Kongkananda

ออกแบบผลิตภัณฑ์

Page 53: Manote Kongkananda

51

Page 54: Manote Kongkananda

ออกแบบผลิตภัณฑ์

Page 55: Manote Kongkananda

53

Page 56: Manote Kongkananda

โครงการท�านุบ�ารุงศิลปวัฒนธรรมคณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

1. ชื่อโครงการ โครงการนิทรรศการเชิดชูเกียรติผู้ช่วยศาสตราจารย์ มาโนช กงกะนันทน์

2. หลักการและเหตุผล ผู้ช่วยศาสตราจารย์ มาโนช กงกะนันทน์ รับราชการต�าแหน่งอาจารย์ในคณะมัณฑนศิลป์ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2503 และเป็นผู้มีส่วนส�าคัญในการก่อตั้งภาควิชาออกแบบนิเทศศิลป์ ตลอดระยะเวลาในการรับราชการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ มาโนช กงกะนันทน์ ได้สร้าง ผลงานวิชาการเป็นจ�านวนมากต่อเนื่องมาเป็นเวลายาวนาน อาทิ สารานุกรมไทยส�าหรับเยาวชน และหนังสือศิลปะการออกแบบ แม้เมื่อ เกษยีณอายุราชการแล้วกย็งัท�างานเป็นผูเ้ชีย่วชาญอาวโุส ให้ค�าปรกึษาด้านการปรบัปรงุหลกัสตูร กรรมการวทิยานิพนธ์ระดบับณัฑติศึกษา ของคณะมัณฑนศิลป์ และด�ารงต�าแหน่งภาคีสมาชิกประเภทวิชาประยุกต์ศิลป์ สาขาวิชามัณฑนศิลป์ ส�านักศิลปกรรม ราชบัณฑิตยสถาน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ มาโนช กงกะนันทน์ ยังเป็นผู้ที่มีผลงานสร้างสรรค์ทางศิลปะและการออกแบบเป็นจ�านวนมากและมีความหลากหลาย ทั้งงานออกแบบนิเทศศิลป์ งานออกแบบผลิตภัณฑ์ งานออกแบบตกแต่งภายใน และงานออกแบบประยุกต์ศิลป์ อีกทั้งรางวัลระดับชาติและระดับนานาชาติต่างๆ ที่เคยได้รับยังเป็นเครื่องยืนยันได้ดีว่า ผู้ช่วยศาสตราจารย์ มาโนช กงกะนันทน์ เป็นปูชนียบุคคลของคณะมัณฑนศิลป์ ที่เป็นแบบอย่างที่ดีแก่ทั้งคณาจารย์และนักศึกษาทางด้านวิชาการและการด�ารงชีวิตในฐานะนักออกแบบ จึงสมควรที่จะจัดแสดงผลงานอันมีคุณค่านี้ เพื่อให้คณาจารย์ นักศึกษา และบุคคลทั่วไป ได้ศึกษาและเป็นแรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์ผลงานต่อไป

3. วัตถุประสงค์ 3.1 เพื่อเชิดชูเกียรติ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ มาโนช กงกะนันทน์ 3.2 เพื่อเผยแพร่ผลงานสร้างสรรค์และผลงานทางวิชาการของผู้ช่วยศาสตราจารย์ มาโนช กงกะนันทน์ แก่คณาจารย์ นักศึกษา และผู้สนใจทั่วไป

4. ความสอดคล้องตามยุทธศาสตร์ และองค์ประกอบคุณภาพ 4.1 สอดคล้องกับยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยศิลปากร ยุทธศาสตร์ที่ 6 : การอนุรักษ์และส่งเสริม เอกลักษณ์ศิลปะและวัฒนธรรมของชาติรวมทั้งการประยุกต์ใช้เพื่อรักษาคุณค่าและเพิ่มมูลค่าในระดับชาติและนานาชาติ มาตรการที่ 12.1.1 จัดให้มีระบบและกลไกเพื่อการท�านุบ�ารุงศิลปวัฒนธรรม ที่สอดคล้องกับอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัยศิลปากร และมีประโยชน์โดยตรงต่อชุมชน มาตรการที่ 12.2.2 เผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัยในเชิงสร้างสรรค์ 4.2 ตอบสนององค์ประกอบประกันคุณภาพ องค์ประกอบที่ 6 การท�านุบ�ารุงศิลปะและวัฒนธรรม

5. ประเภทโครงการ [ / ] 201 จัดนิทรรศการ [ ] 202 จัดประกวดผลงานด้านศิลปะวัฒนธรรม [ ] 203 อบรมสัมมนา [ ] 204 อบรมเชิงปฏิบัติการ [ ] 208 บูรณาการ [ ] 218 กิจกรรมการท�านุบ�ารุงศิลปวัฒนธรรม [ ] 217 วารสารวิชาการ [ ] อื่นๆ

6. เป้าหมาย อาจารย์ นักวิชาการจากสถาบันการศึกษา จ�านวน 50 คน นักศึกษามหาวิทยาลัยศิลปากร จ�านวน 150 คน ผู้สนใจทั่วไป จ�านวน 100 คน

Page 57: Manote Kongkananda

55

7. ระยะเวลาด�าเนินการ จัดแสดงนิทรรศการระหว่างวันที่ 3-14 มิถุนายน 2556

8. สถานที่ด�าเนินงาน หอศิลปะและการออกแบบคณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระ

9. งบประมาณ 120,000 บาท (หนึ่งแสนสองหมื่นบาทถ้วน) 9.1 แหล่งงบประมาณ กองทุนส่งเสริมและพัฒนาคณะมัณฑนศิลป์ จ�านวน 60,000 บาท เงินรายได้ภาควิชาออกแบบนิเทศศิลป์ จ�านวน 60,000 บาท 9.2 ประมาณการรายจ่าย 9.2.1 งบด�าเนินงาน 120,000 บาท (1) ค่าตอบแทน 5,320 บาท ค่าตอบแทนเจ้าหน้าที่อยู่ปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ 5,320 บาท (2) ค่าใช้สอย 104,680 บาท ค่าจ้างเหมาออกแบบและจัดพิมพ์สูจิบัตร 80,000 บาท ค่าจ้างเหมาออกแบบและจัดพิมพ์สื่อประชาสัมพันธ์ 20,000 บาท ค่าอาหารและเครื่องดื่มจัดเลี้ยงพิธีเปิด 3,680 บาท ค่าใช้สอยอื่นๆ 1,000 บาท (3) ค่าวัสดุ 10,000 บาท ค่าวัสดุในการติดตั้งผลงาน 5,000 บาท ค่าวัสดุอื่นๆ 5,000 บาท *ขอถัวจ่ายทุกรายการ

10. ตัวชี้วัดผลส�าเร็จจากการด�าเนินงานตัวชี้วัด หน่วยนับ แผน ผล

ผลลัพธ์ 2555 2556ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ - จ�านวนกิจกรรมที่มีการเผยแพร่ด้านท�านุบ�ารุงศิลปวัฒนธรรม กิจกรรม 1ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ- ความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการต่อประโยชน์ของการท�านุบ�ารุง ศิลปวัฒนธรรม

ร้อยละ 85

ผลผลิตตัวชี้วัดเชิงปริมาณ- จ�านวนผู้เข้าร่วมโครงการศิลปวัฒนธรรม คน 300ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ- โครงการที่บรรลุผลตามวัตถุประสงค์ของโครงการ ร้อยละ 85ตัวชี้วัดเชิงเวลา- โครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลา ร้อยละ 85ตัวชี้วัดเชิงต้นทุน- ค่าใช้จ่ายของการท�านุบ�ารุงศิลปวัฒนธรรมตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร บาท 150,000

Page 58: Manote Kongkananda

11. ผู้รับผิดชอบโครงการ คณะมัณฑนศิลป์ และภาควิชาออกแบบนิเทศศิลป์ คณะกรรมการด�าเนินงาน 1. คณบดีคณะมัณฑนศิลป์ ประธานกรรมการ 2. รองคณบดีฝ่ายวิชาการและวิจัย กรรมการ 3. ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายกิจการพิเศษและกิจการนักศึกษา กรรมการ 4. ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายประกันคุณภาพการศึกษาและวิชาการ กรรมการ 5. หัวหน้าภาควิชาออกแบบนิเทศศิลป์ กรรมการ 6. อาจารย์อนุชา โสภาคย์วิจิตร์ กรรมการ 7. ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุพิชญา เข็มทอง กรรมการ 8. ผู้ช่วยศาสตราจารย์อติวรรธน์ วิรุฬห์เพชร กรรมการ 9. ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุพจน์ สิงห์สาย กรรมการ 10. นางสาวมุกดา จิตพรมมา กรรมการและเลขานุการ 11. นายเปรมชัย จันทร์จ�าปา ผู้ช่วยเลขานุการ 12. นางสาวสุธาสินี วาจนะวินิจ ผู้ช่วยเลขานุการ

12. แผนการด�าเนินงาน

กิจกรรมปีงบประมาณ พ.ศ. 2557

ต.ค. พ.ย ธ.ค. ม.ค ก.พ มี.ค เม.ย พ.ค มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.

ขั้นวางแผนงาน

- ขออนุมัติโครงการ และตั้งคณะกรรมการด�าเนินงาน

/

ขั้นด�าเนินการ

- จัดประชุมวางแผนการด�าเนินงาน /

- ออกแบบและจัดพิมพ์สูจิบัตร / / /

- ออกหนังสือเชิญประชาสัมพันธ์ /

- จัดกิจกรรม /

ขั้นสรุปและประเมินผล /

13. ผลที่คาดว่าจะได้รับ ผลงานสร้างสรรค์ของ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ มาโนช กงกะนันทน์ ได้เผยแพร่แก่คณาจารย์ นักศึกษา และผู้สนใจทั่วไป

Page 59: Manote Kongkananda
Page 60: Manote Kongkananda