new taxonomic study of orchidaceae at kaeng krachan national...

64
การศึกษาทางอนุกรมวิธานของพืชวงศ์กล้วยไม้ในเขตพื ้นทีอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี Taxonomic Study of Orchidaceae at Kaeng Krachan National Park, Phetchaburi Province โดย นายนพรัตน์ ทูลมาลย์ อาจารย์สราวุธ สังข์แก้ว, Ph.D. อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก อาจารย์สมราน สุดดี, Ph.D. อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม ภาควิชาชีววิทยาป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

Upload: others

Post on 18-Oct-2020

1 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

  • การศึกษาทางอนุกรมวิธานของพืชวงศก์ล้วยไม้ในเขตพืน้ท่ี อทุยานแห่งชาติแก่งกระจาน จงัหวดัเพชรบรีุ

    Taxonomic Study of Orchidaceae at Kaeng Krachan National Park, Phetchaburi Province

    โดย นายนพรตัน์ ทูลมาลย ์

    อาจารยส์ราวธุ สงัขแ์ก้ว, Ph.D. อาจารยท่ี์ปรึกษาวิทยานิพนธห์ลกั อาจารยส์มราน สดุดี, Ph.D. อาจารยท่ี์ปรึกษาวิทยานิพนธร่์วม

    ภาควิชาชีววิทยาป่าไม้ คณะวนศาสตร ์มหาวิทยาลยัเกษตรศาสตร ์

  • กล้วยไม้ จดัอยู่ในวงศ ์Orchidaceae

    ทัว่โลกพบประมาณ 900 สกลุ 25,000 ชนิด (วีระชยั และ สนัติ, 2551) ภาพโดยภัทธรวร์ี พรมนัส

    กลบีปาก เส้าเกสร

    กลุ่มเรณู

    ฝาครอบกลุ่มเรณู

    กลบีดอก กลบีเลีย้งข้าง กลบีเลีย้งบน

    ต้นทีม่ีช่อดอก ดอก

  • กระจายพนัธุไ์ด้ทุกภมิูภาคของโลก ทีม่า: Cribb (2003)

  • Indo-Burmese elements (ภมิูภาคอินเดีย-พม่า)

    Indo-Chinese elements (ภมิูภาคอินโดจีน)

    Malesian elements (ภมิูภาคมาเลเซีย)

    ที่มา: ธวชัชัย (2532), http://mapsof.net/map/thailand-map-cia-tha

  • ประเทศไทย

    ทีม่า : http://chm-thai.onep.go.th

    (วีระชยั และ สนัติ, 2551)

    (Thaithong, 1999)

  • 3

    : ( . . .) 7

    510000 520000 540000 530000 550000 560000 570000 580000

    540000 550000 530000 510000 520000 560000 580000 570000

    ครอบคลมุพืน้ท่ีของจงัหวดั เพชรบรีุ ประจวบคีรีขนัธ ์

    อุทยานแหง่ชาตแิก่งกระจาน

    มีพืน้ท่ีกว้างท่ีสดุของประเทศไทย

    มีเน้ือท่ีประมาณ 2,915 ตร.กม.

    การส ารวจทางพฤกษศาสตร ์ ยงัมีไม่มากนัก

    มีรายงานการวิจยัเก่ียวกบักล้วยไม้ค่อนข้างน้อย (กรมอุทยานแห่งชาต ิสัตว์ป่า และพนัธ์ุพชื, 2550)

  • ปัจจบุนัมีนักท่องเท่ียวเดินทางขึน้ไปชมยอดพะเนินทุ่งมากขึน้

    มีผลให้กล้วยไม้มีจ านวนลดน้อยลงหรือสญูพนัธุ ์

    ส่งผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมท่ีกล้วยไม้ขึน้อาศยัอยู่

  • วตัถุประสงค์

    เพือ่ทราบชนิด จ านวนชนิด

    ลกัษณะสัณฐานวทิยา

    จ านวนประชากร การกระจายพนัธ์ุ

    นิเวศวทิยา

    ภาพโดยภทัธรวร์ี พรมนัส

    ภาพโดยศิริชัย รักซ่ือ

    ภาพโดยศิริชัย รักซ่ือ

    ภาพโดยภทัธรวร์ี พรมนัส

  • ผลจากการศึกษาในคร้ังนี ้

    ภาพโดยปกรณ์ ทพิยศรี ทีม่า : http://portal.in.th

  • เส้นทางส ารวจ จากหน่วยพทิกัษ์อุทยานแห่งชาติที ่กจ.4 (บ้านกร่าง)-19 (เขาพะเนินทุ่ง) ระยะทาง 20 กม.

    ที่มา : http://gasthai.com

    การส ารวจและเก็บตวัอย่างพืชวงศก์ลว้ยไม ้

    ระยะเวลาท าการศึกษา มกราคม พ.ศ. 2553 - ธันวาคม พ.ศ. 2554

  • ป่าดิบแล้ง (Dry evergreen forest)

    300-800 m AMSL.

  • ป่าดิบเขาระดับต ่า (Lower montane forest)

    800-1,000 m AMSL.

  • ส ารวจและเกบ็รวบรวมตัวอย่างภาคสนามทุกเดือน เดือนละ 1 คร้ัง

    บันทึกข้อมูลต่าง ๆ ของกล้วยไม้ บันทกึข้อมูลด้านนิเวศวทิยา

    ถ่ายภาพเพือ่บนัทึกลกัษณะวสัิย สภาพถิ่นทีอ่ยู่ ลกัษณะและสีของดอก

  • พจิารณาจ านวนประชากรทีพ่บโดยการนับจ านวนต้นหรือกลุ่มกล้วยไม้/พืน้ทีศึ่กษาทั้งหมด

    ภาพโดยวนัิย สมประสงค์ เกบ็ตัวอย่างกล้วยไม้ที่สมบูรณ์ (ชนิดละ 3-5 ตัวอย่าง)

  • ภาพโดยปกรณ์ ทพิยศรี

  • การเทยีบเคยีงตัวอย่างพชืวงศ์กล้วยไม้ BKF, QBG, BK, BCU and CMU Herbarium

    ภาพโดยปกรณ์ ทพิยศรี

  • น าข้อมูลลกัษณะสัณฐานวทิยามาสร้างรูปวิธานระบุวงศ์ย่อย

    จ านวนและลกัษณะของละอองเรณู

    ลกัษณะวสัิย

    ขนาดและรูปร่างของล าต้นหรือหัวเทยีม

    ลกัษณะของใบอ่อน

    การเช่ือมตดิกนัของกลบีเลีย้งและกลบีดอก

    การสร้างรูปวิธานระบุวงศ์ย่อย

    : http://www.sarakadee.com

  • จากการส ารวจและเกบ็ตัวอย่างพชืวงศ์กล้วยไม้ในเขตอุทยานแห่งชาตแิก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี

    95 ชนิด (Species)

    3 วงศ์ย่อย (Subfamilies)

    พบพชืวงศ์กล้วยไม้

    49 สกลุ (Genera)

  • กล้วยไม้องิอาศัย 70 ชนิด

    กล้วยไม้ดิน 12 ชนิด

    กล้วยไม้สร้างอาหารเองไม่ได้

    4 ชนิด

    จ าแนกตามลกัษณะวสัิย

  • รูปวธิานจ าแนกวงศ์ย่อย

    1. ละอองเรณูมลีกัษณะเป็นผง กล้วยไม้องิอาศัย ล าต้นเป็นเถาเลือ้ย ยาวมากกว่า 2 ม. ……………………………………………………..…..

    1. ละอองเรณูอยู่รวมกนัเป็นกลุ่มเรณู กล้วยไม้องิอาศัย กล้วยไม้ดนิ หรือกล้วยไม้ทีส่ร้างอาหารเอง ไม่ได้ ล าต้นส้ันหรือยาวเรียว หรือเป็นหัวเทยีม ตั้งตรงหรือห้อยลง ยาวน้อยกว่า 1 ม. (พบ 2 วงศ์ย่อย)

    :http:/web3.dnp.go.th

    ละอองเรณูมลีกัษณะเป็นผง กล้วยไม้องิอาศัย ล าต้นเป็นเถาเลือ้ย

  • Subfamily Vanilloideae Szlach. พบ 1 สกลุ 1 ชนิด

  • Vanilla Plum. ex Mill.

    กล้วยไม้สกลุนีเ้ป็นกล้วยไม้องิอาศัย มเีถาเลือ้ยขนาดเลก็ถึงขนาดใหญ่ กลุ่มเรณูลกัษณะเป็นผง กระจายพนัธ์ุในเขตอบอุ่นและเขตร้อนของโลก พบประมาณ 100 ชนิด ในประเทศไทยพบ 4 ชนิด

    พบกล้วยไม้สกลุนีใ้นอุทยานแห่งชาตแิก่งกระจาน 1 ชนิด

    Vanilla borneensis Rolfe

  • ละอองเรณูอยู่รวมกนัเป็นกลุ่มเรณู

    ล าต้นแบบหัวเทียม

    กล้วยไม้องิอาศัย ล าต้นส้ัน

    กล้วยไม้ที่สร้างอาหารเองไม่ได้

    กล้วยไม้ดนิ ล าต้นยาว

    1. ละอองเรณูมลีกัษณะเป็นผง กล้วยไม้องิอาศัย ล าต้นเป็นเถาเลือ้ย ยาวมากกว่า 2 ม.

    1. ละอองเรณูอยู่รวมกนัเป็นกลุ่มเรณู กล้วยไม้องิอาศัย กล้วยไม้ดนิ หรือกล้วยไม้ทีส่ร้างอาหารเอง ไม่ได้ ล าต้นส้ันหรือยาวเรียว หรือเป็นหัวเทยีม ตั้งตรงหรือห้อยลง ยาวน้อยกว่า 1 ม. (พบ 2 วงศ์ย่อย)

    กล้วยไม้องิอาศัย ล าต้นเรียวยาว และห้อยลง

    ภาพโดยภัทธรวร์ี พรมนัส

  • 1. ละอองเรณูอยู่รวมกนัเป็นกลุ่มเรณู กล้วยไม้องิอาศัย กล้วยไม้ดนิ หรือกล้วยไม้ทีส่ร้างอาหารเองไม่ได้ ล าต้นส้ันหรือยาวเรียว หรือเป็นหัวเทยีม ตั้งตรงหรือห้อยลง ยาวน้อยกว่า 1 ม.

    2. กล้วยไม้องิอาศัย กล้วยไม้ดนิ หรือกล้วยไม้ทีส่ร้างอาหารเองไม่ได้ กลบีเลีย้งบน แยกกนัเป็นอสิระ กลุ่ม เรณู 2, 4, 8 กลุ่ม ใบอ่อนพบัจีบหรือพบัตามแนวยาว ……………………………………………………….…… Epidendroideae Kostel.

    2. กล้วยไม้ดนิ กลบีเลีย้งบนและกลบีดอกเช่ือมติดกนั กลุ่มเรณู 2 กลุ่ม ใบอ่อนม้วนตามแนวยาว………………………………......

    กลบีเลีย้งบนและกลบีดอกเช่ือมติดกนั ใบอ่อนม้วนตามแนวยาว ภาพโดยปกรณ์ ทิพยศรี

  • Subfamily Orchidoideae Eaton พบ 2 สกลุ 2 ชนิด

  • Anoectochilus Blume

    กล้วยไม้สกลุนีเ้ป็นกล้วยไม้ดนิ มีการกระจายพนัธ์ุในเขตอบอุ่นและเขตร้อน ของทวปีเอเชีย ทัว่โลกพบประมาณ 30 ชนิด ในประเทศไทยพบ 11 ชนิด

    พบกล้วยไม้สกลุนีใ้นอุทยานแห่งชาตแิก่งกระจาน 1 ชนิด

    Anoectochilus albolineatus C.S.P. Parish & Rchb. f.

  • Zeuxine Coll.

    กล้วยไม้สกลุนีเ้ป็นกล้วยไม้ดนิ มกีารกระจายพนัธ์ุตั้งแต่ทวปีแอฟริกา เขตอบอุ่น และเขตร้อนของทวปีเอเชียจนถึงหมู่เกาะในทะเลแปซิฟิก ทัว่โลกพบประมาณ 50 ชนิด ในประเทศไทยพบ 9 ชนิด พบกล้วยไม้สกลุนีใ้นอุทยานแห่งชาตแิก่งกระจาน 1 ชนิด

    Zeuxine affinis (Lindl.) Benth. ex Hook. f.

    ภาพโดยภทัธรวร์ี พรมนัส

  • 1. ละอองเรณูอยู่รวมกนัเป็นกลุ่มเรณู กล้วยไม้องิอาศัย กล้วยไม้ดนิ หรือกล้วยไม้ทีส่ร้างอาหารเองไม่ได้ ล าต้นส้ันหรือยาวเรียว หรือเป็นหัวเทยีม ตั้งตรงหรือห้อยลง ยาวน้อยกว่า 1 ม.

    2. กล้วยไม้ดนิ กลบีเลีย้งบนและกลบีดอกเช่ือมตดิกนั กลุ่มเรณู 2 กลุ่ม ใบอ่อนม้วนตามแนวยาว………………………………....….. Orchidoideae Eaton

    2. กล้วยไม้องิอาศัย กล้วยไม้ดนิ หรือกล้วยไม้ทีส่ร้างอาหารเองไม่ได้ กลบีเลีย้งบน แยกกนัเป็นอสิระ กลุ่ม เรณู 2, 4, 8 กลุ่ม ใบอ่อนพบัจีบหรือพบัตามแนวยาว ……………………………………………….……

    กลบีเลีย้งบนแยกกนัเป็นอสิระ ใบอ่อนพบัจีบ

    เรณู 2 กลุ่ม เรณู 4 กลุ่ม

    เรณู 8 กลุ่ม

    ภาพโดยปกรณ์ ทิพยศรี

  • Subfamily Epidendroideae Kostel. พบ 46 สกลุ 92 ชนิด

  • ธ ู ซ ฟ ถึ 900

    161 17

    Dendrobium Sw.

    D. chrysotoxum

    D. crystallinum

    D. ellipsophyllum

    D. indivisum var. pallidum

    D. lindleyi

    D. pachyglossum D. thyrsiflorum D. porphyrochilum

    D. palpebrae D. tortile

    ภาพโดยภัทธรวร์ี พรมนัส ภาพโดยภัทธรวร์ี พรมนัส

    ภาพโดยภัทธรวร์ี พรมนัส

    ภาพโดยศิริชัย รักซ่ือ

    ภาพโดยศิริชัย รักซ่ือ

  • Bulbophyllum Thouars

    กล้วยไม้สกลุนีเ้ป็นกล้วยไม้องิอาศัย มกีารกระจายพนัธ์ุในเขตร้อนของทวปีแอฟริกาและเอเชีย ทัว่โลกพบประมาณ 1,000 ชนิด ในประเทศไทยพบ 141 ชนิด พบกล้วยไม้สกลุนีใ้นอุทยานแห่งชาตแิก่งกระจาน 10 ชนิด

    B. adjungens B. capillipes

    B. dayanum B. morphologorum B. nanopetalum

    B. orectopetalum

    B. orientale

    B. parviflorum

    ภาพโดยศิริชัย รักซ่ือ

    ภาพโดยศิริชัย รักซ่ือ ภาพโดยศิริชัย รักซ่ือ

  • Eria Lindl.

    กล้วยไม้สกลุนีเ้ป็นกล้วยไม้องิอาศัย มกีารกระจายพนัธ์ุในเขตอบอุ่นและเขตร้อนของภูมภิาคเอเชียตะวนัออกเฉียงใต้ ทัว่โลกพบประมาณ 500 ชนิด ในประเทศไทยพบ 61 ชนิด

    พบกล้วยไม้สกลุนีใ้นอุทยานแห่งชาตแิก่งกระจาน 8 ชนิด

    E. amica E. biflora

    E. floribunda E. merguensis

    E. pannea E. pulchella E. sutepensis

    E. xanthocheila

    ภาพโดยศิริชัย รักซ่ือ

    ภาพโดยศิริชัย รักซ่ือ ภาพโดยศิริชัย รักซ่ือ

  • Cleisostoma Blume

    กล้วยไม้สกลุนีเ้ป็นกล้วยไม้องิอาศัย มกีารกระจายพนัธ์ุตั้งแต่ทวปีเอเชีย หมู่เกาะในทะเลแปซิฟิกจนถึงทวีปออสเตรเลยี ทัว่โลกพบประมาณ 90 ชนิด ในประเทศไทยพบ 28 ชนิด

    พบกล้วยไม้สกลุนีใ้นอุทยานแห่งชาตแิก่งกระจาน 4 ชนิด

    C. birmanicum

    C. fuerstenbergianum

    C. simondii C. crochetii

    ภาพโดยศิริชัย รักซ่ือ

    ภาพโดยศิริชัย รักซ่ือ

  • กล้วยไม้สกลุนีเ้ป็นกล้วยไม้องิอาศัย มกีารกระจายพนัธ์ุในเขตอบอุ่นและเขตร้อนของภูมภิาคเอเชียตะวนัออกเฉียงใต้ ทัว่โลกพบประมาณ 29 ชนิด ในประเทศไทยพบ 7 ชนิด

    พบกล้วยไม้สกลุนีใ้นอุทยานแห่งชาตแิก่งกระจาน 4 ชนิด

    Pholidota Lindl.

    P. articulata P. convallariae P. imbricata P. longibulba

    ภาพโดยศิริชัย รักซ่ือ

  • Acriopsis Blume

    กล้วยไม้สกลุนีเ้ป็นกล้วยไม้องิอาศัย มกีารกระจายพนัธ์ุในภูมภิาคเอเชียตะวนัออกเฉียงใต้ ทัว่โลกพบประมาณ 6 ชนิด ในประเทศไทยพบ 2 ชนิด

    พบกล้วยไม้สกลุนีใ้นอุทยานแห่งชาตแิก่งกระจาน 2 ชนิด

    Acriopsis liliifolia (J. Koenig) Seidenf. Acriopsis indica Wight

    ภาพโดยศิริชัย รักซ่ือ

  • Coelogyne trinervis Lindl. Coelogyne schultesii S.K. Jain & S.Das

    Coelogyne Lindl.

    กล้วยไม้สกลุนีเ้ป็นกล้วยไม้องิอาศัย มกีารกระจายพนัธ์ุในเขตร้อนของทวปีเอเชีย ทัว่โลก พบประมาณ 250 ชนิด ในประเทศไทยพบ 30 ชนิด

    พบกล้วยไม้สกลุนีใ้นอุทยานแห่งชาตแิก่งกระจาน 2 ชนิด

  • Cymbidium Sw.

    กล้วยไม้สกลุนีเ้ป็นกล้วยไม้องิอาศัยและกล้วยไม้ดนิ มกีารกระจายพนัธ์ุในเขตอบอุ่น และเขตร้อนของทวปีเอเชียจนถึงทวปีออสเตรเลยี ทัว่โลกพบประมาณ 45 ชนิด

    ในประเทศไทยพบ 19 ชนิด พบกล้วยไม้สกลุนีใ้นอุทยานแห่งชาตแิก่งกระจาน 2 ชนิด

    Cymbidium aloifolium (L.) Sw. Cymbidium bicolor Lindl.

  • อภปิรายผลการศึกษา

    จากการศึกษาพชืวงศ์กล้วยไม้ในเขตพืน้ที่อุทยานแห่งชาตแิก่งกระจาน จังหวดัเพชรบุรี พบกล้วยไม้ จ านวน 49 สกลุ 95 ชนิด เพิม่เตมิจากรายงานของ (สมราน, การติดต่อส่วนตัว)

    ซ่ึงได้รายงานไว้ 27 สกลุ 33 ชนิด

  • Aphyllorchis evrardii Gagnep.

    ชนิดทีม่ีรายงานส ารวจพบในอุทยานแห่งชาตแิก่งกระจานแต่ไม่พบในการศึกษาคร้ังนี ้มีจ านวน 13 ชนิด

    Zeuxine flava (Wall. ex Lindl.) Trimen

    Vanilla albida Blume

    Thrixspermum pensile Schltr.

    Lecanorchis multiflora J.J. Sm.

    Goodyera procera (Ker Gawl.) Hook.

    Eria dasypus Rchb. f.

    Cyrtosia nana (Rolfe ex Downie) Garay

    Crepidium biauritum (Lindl.) Szlach.

    Bulbophyllum wallichii Rchb. f.

    Bulbophyllum lobbii Lindl.

    Biermannia ciliata (Ridl.) Garay

    Apostasia nuda R. Br.

  • บางชนิดอาจจะอยู่ในเส้นทางศึกษา แต่สภาพป่าในพืน้ทีอุ่ทยานแห่งชาตแิก่งกระจานมคีวามอุดมสมบูรณ์สูง มพีรรณไม้ขึน้อยู่อย่างหนาแน่นและไม้ยนืต้นมีความสูงมาก ท าให้ยากต่อการส ารวจและการมองเห็น โดยเฉพาะกล้วยไม้องิอาศัย จึงท าให้ไม่พบกล้วยไม้ชนิดดงักล่าว

    เน่ืองจากกล้วยไม้บางชนิดอยู่นอกเส้นทางศึกษาในคร้ังนี ้

  • เปรียบเทยีบกบัการศึกษาพชืวงศ์กล้วยไม้ในพืน้ทีใ่กล้เคยีงในภูมิภาคตะวนัตกเฉียงใต้ตามเขตภูมิศาสตร์

    พชืพรรณของประเทศไทย

    ภาพโดยปกรณ์ ทิพยศรี

  • Darumas et al. (2007) ได้ศึกษาความหลากหลายของพชืมท่ีอล าเลยีง บริเวณป่าพรุ อ าเภอทองผาภูม ิจังหวดักาญจนบุรี พบกล้วยไม้ 56 ชนิด

    สุธิรา (2547) ได้ศึกษาความหลากหลายของพชืมท่ีอล าเลยีงบริเวณพืน้ที่พุ หมู่บ้านท่ามะเดือ่ อ าเภอทองผาภูม ิจังหวดักาญจนบุรี พบกล้วยไม้ 18 สกลุ 23 ชนิด

    สลลิ และ ดวงใจ (2545) ได้ศึกษาความหลากชนิดของพชืวงศ์กล้วยไม้ (Orchidaceae) ในพืน้ทีป่่าทองผาภูม ิจังหวดักาญจนบุรี พบกล้วยไม้ 34 สกลุ 56 ชนิด

    ที่มา:http://www.edtguide.com ทีม่า:http://kbeautifullife.askkbank.com

  • ปัญญา (2551) ได้ศึกษาการกระจายพนัธ์ุของกล้วยไม้ในป่าดบิเขา บริเวณเขตรักษาพนัธ์ุสัตว์ป่าห้วยขาแข้ง อ าเภอลานสัก จังหวดัอุทยัธานี

    พบกล้วยไม้ 18 สกลุ 33 ชนิด

    Chantanaorrapint and Thaithong (2005) ได้ท าการศึกษาเบือ้งต้นเกีย่วกบักล้วยไม้ ในพืน้ทีอุ่ทยานแห่งชาตนิ า้ตกห้วยยาง จังหวดัประจวบครีีขันธ์

    พบกล้วยไม้ 27 สกลุ 42 ชนิด ในจ านวนนีเ้ป็นกล้วยไม้ถิ่นเดยีว 5 ชนิด และกล้วยไม้รายงานใหม่ 4 ชนิด

    ทีม่า:http://www.hoteldirect.in.th ทีม่า:http://bloggang.com

  • อุทยานแห่งชาตแิก่งกระจาน จงัหวดัเพชรบุรี

    ด้วยความอุดมสมบูรณ์ของพืน้ทีป่่าและปัจจัยแวดล้อมทีเ่หมาะสมต่อการกระจายพนัธ์ุของกล้วยไม้ จึงท าให้พืน้ทีศึ่กษามคีวามหลากหลายของพชืวงศ์กล้วยไม้สูง

    มคีวามหลากหลายของสกุลและชนิดมากทีสุ่ด (แม้ว่าจะส ารวจเพยีงเส้นทางส ารวจเดยีว)

    เน่ืองจากอุทยานแห่งชาตแิก่งกระจานมสีภาพป่าที่อุดมสมบูรณ์ มผีนืป่าขนาดใหญ่และภูเขาสลบัซับซ้อน

    มสีภาพภูมปิระเทศทีห่ลากหลาย มสีภาพอากาศค่อนข้างหนาวเยน็ ฝนตกชุกและมีความช้ืนค่อนข้างสูงตลอดทั้งปี

  • ตรวจสอบสถานภาพกล้วยไม้แต่ละชนิดโดยอ้างองิตามการประเมินสถานภาพพชื

    Source: http://www.kew.org/wcsp/home.do

  • กล้วยไม้ทีจ่ดัอยู่ในสถานภาพพชืถิน่เดยีว (Endemic plants) 5 ชนิด

    Bulbophyllum adjungens Seidenf. Bulbophyllum nanopetalum Seidenf.

  • Gastrodia fimbriata Suddee Lesliea mirabilis Seidenf.

    Bulbophyllum tricornoides Seidenf.

    ภาพโดยศิริชัย รักซ่ือ

  • Bulbophyllum kanburiense Seidenf.

    พชืหายาก (Rare plants) 2 ชนิด

    Dendrobium devonianum Paxton

  • พชืทีถู่กคุกคาม (Endangered plants & Threatened plants) 6 ชนิด

    Bulbophyllum kanburiense Seidenf. Cleisostoma birmanicum (Schltr.) Garay

    ภาพโดยศิริชัย รักซ่ือ

  • Gastrodia fimbriata Suddee

    Chiloschista viridiflava Seidenf.

  • Lesliea mirabilis Seidenf.

    Dendrobium devonianum Paxton

    ภาพโดยศิริชัย รักซ่ือ

  • พชืทีม่ีแนวโน้มใกล้สูญพนัธ์ุ (Vulnerable plants) 1 ชนิด

    Calanthe labrosa (Rchb. f.) Rchb. f.

  • ชนิดทีมี่จ านวนประชากรน้อยมากเส่ียงต่อการสูญพนัธ์ุในพืน้ที ่13 ชนิด (พบ 1-5 ต้น หรือ 1-5 กลุ่ม)

    D. porphyrochilum B. dayanum

    B. orectopetalum

    C. chinense

    D. anosmum B. parviflorum

    ภาพโดยศิริชัย รักซ่ือ

    ภาพโดยศิริชัย รักซ่ือ

  • P. teres

    E. floribunda

    E. andamanensis

    G. fimbriata

    L. mirabilis N. pulchrum

    P. bokorensis ภาพโดยศิริชัย รักซ่ือ

    ภาพโดยศิริชัย รักซ่ือ

  • จ านวนประชากรน้อยในพืน้ที่ศึกษา (พบ 6-10 ต้น หรือ 6-10 กลุ่ม)

    พบการกระจายพนัธ์ุของ Pholidota longibulba Holttum ในเขตอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน จังหวดัเพชรบุรี เพิม่เตมิจากการศึกษาพรรณพฤกษชาตมิาเลเซีย (Holttum, 1953)

    ภาพโดยศิริชัย รักซ่ือ

  • พบการกระจายพนัธ์ุเพิม่เตมิของ Bulbophyllum nanopetalum Seidenf. ในเขตอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน จังหวดัเพชรบุรี เพิม่เตมิจากรายงานของ (Seidenfaden, 1979) โดยมเีขตการ

    กระจายพนัธ์ุในประเทศไทยบริเวณอ าเภอทองผาภูม ิจังหวดักาญจนบุรี

    จ านวนประชากรปานกลางในพืน้ทีศึ่กษา (พบ 11-20 ต้น หรือ 11-20 กลุ่ม)

  • พบการกระจายพนัธ์ุเพิม่เตมิของ Bulbophyllum tricornoides Seidenf. ในเขตอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน จังหวดัเพชรบุรี เพิม่เตมิจากรายงานของ (Seidenfaden, 1979) โดยมเีขตการ

    กระจายพนัธ์ุในประเทศไทยบริเวณ อ าเภอแม่สะเรียง จังหวดัแม่ฮ่องสอน

    มีจ านวนประชากรปานกลางในพืน้ทีศึ่กษา (พบ 11-20 ต้น หรือ 11-20 กลุ่ม)

  • สรุปผลการศึกษา

    พบพชืวงศ์กล้วยไม้ 3 วงศ์ย่อย 49 สกลุ 95 ชนิด

    จ าแนกตามลกัษณะวสัิยพชื กล้วยไม้องิอาศัย 79 ชนิด กล้วยไม้ดนิ 12 ชนิด กล้วยไม้สร้างอาหารเองไม่ได้ 4 ชนิด

    จากการศึกษาพชืวงศ์กล้วยไม้ในเขตอุทยานแห่งชาตแิก่งกระจาน

  • จ านวนสกลุและชนิดในแต่ละวงศ์ย่อย

    Epidendroideae Kostel. พบ 46 สกลุ 92 ชนิด

    Orchidoideae Eaton พบ 2 สกลุ 2 ชนิด

    Vanilloideae Szlach. พบ 1 สกลุ 1 ชนิด

  • สกลุอืน่ ๆ พบสกลุละ 1 ชนิด

    สกลุ Dendrobium พบ 17 ชนิด

    สกลุ Bulbophyllum พบ 10 ชนิด

    สกลุ Eria พบ 8 ชนิด

    สกลุ Cleisostoma และ Pholidota พบ 4 ชนิด

    สกลุ Acriopsis, Chiloschista, Coelogyne, Cymbidium, Pomatocalpa, Tainia, Trichoglottis, Trichotosia พบสกลุละ 2 ชนิด

  • กล้วยไม้ทีมี่จ านวนประชากรน้อยมากเส่ียงต่อการสูญพนัธ์ุในพืน้ทีอุ่ทยานฯ

    ตรวจสอบสถานภาพพชื

    พชืถิ่นเดยีว 5 ชนิด

    พชืหายาก 2 ชนิด

    พชืทีถู่กคุกคาม 6 ชนิด

    พชืทีม่แีนวโน้มใกล้สูญพนัธ์ุ 1 ชนิด

    พบ 13 ชนิด

  • Bulbophyllum tricornoides Seidenf.

    พบเขตการกระจายพนัธ์ุเพิม่เตมิในเขตพืน้ทีอุ่ทยานแห่งชาตแิก่งกระจาน จ านวน 3 ชนิด

    Pholidota longibulba Holttum

    Bulbophyllum nanopetalum Seidenf.

  • ควรท าการศึกษาเพิม่เติม ในพืน้ที่ศึกษาและพืน้ที่อืน่ ๆ ของอุทยานฯ

    ข้อเสนอแนะ

  • ขอขอบคุณ

    ภาควิชาชีววิทยาป่าไม้ คณะวนศาสตร ์มหาวิทยาลยัเกษตรศาสตร ์

    นายวินัย สมประสงค ์ ผูอ้ านวยการกลุ่มวิจยัพฤกษศาสตรแ์ละพิพิธภณัฑพื์ช ส านักคุ้มครองพนัธุพื์ช กรมวิชาการเกษตร

    นายชยัวฒัน์ ล้ิมลิขิตอกัษร หวัหน้าอทุยานแห่งชาติแก่งกระจาน จงัหวดัเพชรบรีุ

    เจ้าหน้าท่ีหอพรรณไม้และพิพิธภณัฑพื์ช (BK, BKF, QBG, BCU, CMU) ทกุท่าน