ph11#1 (เอกสารประกอบฯ5)...

31
ภาคผนวก 1 ความสัมพันธของขั้นตอนการจัดทําแผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติ ฉบับที10 กับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที10 ..2550 - 2554 สรุปสถานการณปญหาและแนวโนม และรางวิสัยทัศน เปาหมาย และยุทธศาสตรการพัฒประชุมประจําป 2548 ของ สศช. สํารวจความเห็นชุมชน 108 หมูบาน ะดมความคิดเห็นระดับภาค 4 ภาค Focus Group (จังหวัดอยุธยา) ประชุมคณะทํางานประสานการจัดทําแผนฯ 10 สํารวจความคิดเห็นจากแบบสอบถามและ ประชาสัมพันธแผนฯ 10 เสนอคณะกรรมการประสานการจัดทําแผนฯ 10 พิจารณา เสนอคณะกรรมการอํานวยการจัดทําแผนฯ 10 พิจารณา จัดเวทีเปดตัวแผนฯ 10 จัดเวทีสมัชชาสุขภาพพอเพียง จัดเวทีสรางการยอมรับในแผนฯ 10 นําเสนอคณะกรรมการประสานการจัดทําแผนฯ 10 และ คณะกรรมการอํานวยการจัดทําแผนฯ 10 พิจารณา นําเสนอ ครม. ประกาศใชแผนฯ 10 อนุมัติและประกาศใช แผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติ ฉบับที10 ยกรางรายละเอียดยุทธศาสตรและ รางแผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติ ฉบับที10 กําหนดวิสัยทัศน และทิศทางการพัฒนา บูรณาการเชื่อมโยงทิศทางของแผนพัฒนาฯ 10 เสนอ ครม. พิจารณา เสนอคณะกรรมการ สศช. พิจารณา ประชุมประจําป 2549 ของ สศช. ยกรางรายละเอียดยุทธศาสตรและรางแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที10 สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ใหความเห็นและขอเสนอแนะรางแผนพัฒนาฯ 10 นําเสนอ ครม. ลงพระปรมาภิไธย ประกาศใชแผนพัฒนาฯ 10 อนุมัติและประกาศใช แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที10 58 แผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติ ฉบับที10 .. 2550 - 2554 ปที3 ความสัมพันธของขั้นตอนการจัดทํา แผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติ ฉบับที10 กับ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที10

Upload: api-27122369

Post on 16-Nov-2014

553 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: PH11#1 (เอกสารประกอบฯ5) แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 10-5

ภาคผนวก 1

ความสมัพันธของขั้นตอนการจัดทําแผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติ ฉบับที่ 10

กับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงัคมแหงชาติ ฉบับที่ 10 พ.ศ.2550 - 2554

สรุปสถานการณปญหาและแนวโนม และรางวิสัยทัศน

เปาหมาย และยุทธศาสตรการพัฒนา

ประชุมประจําป 2548 ของ สศช.

สํารวจความเห็นชุมชน 108 หมูบาน

ระดมความคิดเห็นระดับภาค 4 ภาค

Focus Group (จังหวัดอยุธยา)

ประชุมคณะทํางานประสานการจัดทําแผนฯ 10

สํารวจความคิดเห็นจากแบบสอบถามและ

ประชาสัมพันธแผนฯ 10

เสนอคณะกรรมการประสานการจัดทําแผนฯ 10

พิจารณา

เสนอคณะกรรมการอํานวยการจัดทําแผนฯ 10

พิจารณา

จัดเวทีเปดตัวแผนฯ 10

จัดเวทีสมัชชาสุขภาพพอเพียง

จัดเวทีสรางการยอมรับในแผนฯ 10

นําเสนอคณะกรรมการประสานการจัดทําแผนฯ 10 และ

คณะกรรมการอํานวยการจัดทําแผนฯ 10 พิจารณา

นําเสนอ ครม.

ประกาศใชแผนฯ 10

อนุมัติและประกาศใช

แผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติ ฉบับที่ 10

ยกรางรายละเอียดยุทธศาสตรและ

รางแผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติ ฉบับที่ 10

กําหนดวิสัยทัศน และทิศทางการพัฒนา

บูรณาการเชื่อมโยงทิศทางของแผนพัฒนาฯ 10

เสนอ ครม. พิจารณา

เสนอคณะกรรมการ สศช. พิจารณา

ประชุมประจําป 2549 ของ สศช.

ยกรางรายละเอียดยุทธศาสตรและรางแผนพัฒนา

เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 10

สภาท่ีปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ

ใหความเห็นและขอเสนอแนะรางแผนพัฒนาฯ 10

นําเสนอ ครม.

ลงพระปรมาภิไธย ประกาศใชแผนพัฒนาฯ 10

อนุมัติและประกาศใช

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 10

58 แผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติ ฉบับที่ 10 พ.ศ. 2550 - 2554

รูปที่ 3 ความสมัพันธของขั้นตอนการจัดทํา

แผนพัฒนาสขุภาพแหงชาติ ฉบับที ่10 กับ

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ

ฉบับที่ 10

Page 2: PH11#1 (เอกสารประกอบฯ5) แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 10-5

ภาคผนวก 2

ความสมัพันธของเปาหมาย ยุทธศาสตรและกลไกการพัฒนาในแผนพัฒนาสขุภาพแหงชาติ

ฉบับที่ 10 กบัแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 10 พ.ศ. 2550-2554

ยุทธศาสตรที่ 1 : การสรางเอกภาพธรรมาภิบาลในการจัดการ

ระบบสุขภาพ

ยุทธศาสตรที่ 2 : การสรางวัฒนธรรมสุขภาพและวิถีชีวิต

ที่มีความสุขในสังคมแหงสุขภาวะ

ยุทธศาสตรที่ 3 : การสรางระบบบริการสุขภาพและการแพทย

ที่ผูรับบริการอุนใจ ผูใหบริการมีความสุข

ยุทธศาสตรที่ 4 : การสรางระบบภูมิคุมกันเพ่ือลดผลกระทบ

จากโรคและภัยคุกคามสุขภาพ

ยุทธศาสตรที่ 5 : การสรางทางเลือกสุขภาพที่หลากหลายผสมผสาน

ภูมิปญญาไทยและสากล

ยุทธศาสตรที่ 1 : การพัฒนาคุณภาพคนและสังคมไทยสูสังคม

แหงภูมิปญญาและการเรียนรู

ยุทธศาสตรที่ 2 : การสรางความเขมแข็งของชุมชนและสังคมใหเปนรากฐาน

ที่มั่นคงของประเทศ

ยุทธศาสตรที่ 3 : การปรับโครงสรางเศรษฐกิจใหสมดุลและยั่งยืน

ยุทธศาสตรที่ 4 : การพัฒนาบนฐานความหลากหลายทางชีวภาพและ

การสรางความมั่นคงของฐานทรัพยากรและสิ่งแวดลอม

ยุทธศาสตรที่ 5 : การเสริมสรางธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการประเทศ

หมายเหตุ : 1. ลูกศรเสนทึบ หมายถึง การแสดงความสัมพันธโดยตรง

2. ลูกศรเสนปะ หมายถึง การแสดงความสัมพันธที่หนุน

เสริมกัน

ยุทธศาสตรที่ 6 : การสรางระบบสุขภาพฐานความรู

ดวยการจัดการความรู

ยุทธศาสตรแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 10 ยุทธศาสตรแผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติ ฉบับที่ 10

รูปที่ 4 ความสมัพันธของยุทธศาสตรการพัฒนาในแผนพัฒนาสุขภาพแหงชาต ิฉบับที่ 10 กบั

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที ่ 10

59 แผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติ ฉบับที่ 10 พ.ศ. 2550 - 2554

Page 3: PH11#1 (เอกสารประกอบฯ5) แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 10-5

ตารางที่ 1 ความสัมพันธของเปาหมายยุทธศาสตรการพัฒนาในแผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติ

ฉบับที่ 10 กบัแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 10 พ.ศ. 2550-

2554

แผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติ ฉบับที่ 10 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 10

ยุทธศาสตร เปาหมายหลักที่สําคัญ ยุทธศาสตร เปาหมายหลักที่สําคัญ

1. การสรางเอกภาพและธรรมาภิบาลในการ

จัดการระบบสุขภาพ

1.1 ประกาศใช พรบ. สขุภาพแหงชาติและ

ผลักดันสูการปฏิบตัิอยางไดผล

1.2 การกระจายอํานาจและการถายโอน

ภารกิจดานสุขภาพ การแพทยและการ

สาธารณสุขใหแกองคกรปกครองสวน

ทองถ่ิน

1.3 มีกลไกการเฝาระวังวัฒนธรรมการ

ปฏิบัติตนและปฏิบตัิงานใหเปนไปใน

ลักษณะที่เหมาะสม

1.4 มีการสงเสริมและเผยแพรเร่ืองราวของ

บุคคลตนแบบที่เปนแบบอยางที่ด ี

1.5 สงเสริมใหเกิดหนวยงานตัวอยางดาน

วัฒนธรรมองคกรขึน้ในทุกระดับกรม

และทุกจังหวัด

1.6 สนับสนุนใหเกิดการคนหาและชื่นชม

เรื่องราวเกี่ยวกับความดี คุณภาพของ

วิชาชีพและอุดมคตขิองชีวิตที่แฝงอยู

ในระบบงาน

1. การพัฒนาคุณภาพ

คนและสังคมไทยสู

สังคมแหงภูมิ

ปญญาและการ

เรียนรู

1.1 อายุคาดเฉลี่ยของคนไทยสูงขึน้เปน 80 ป

1.2 ลดอัตราเพิ่มของการเจ็บปวยดวยโรคที่

ปองกันได 5 อันดับแรก ไดแก โรคหัวใจ

โรคความดนัโลหิตสูง โรคเบาหวาน

โรคหลอดเลือดสมอง โรคมะเร็ง

1.3 ผูอยูในเศรษฐกิจนอกระบบไดรับการ

คุมครองทางสังคมอยางทั่วถึง

1.4 จํานวนบุคลากรดานการวิจัยและพัฒนา

เพิ่มขึ้นเปน 10 คนตอประชากร 10,000

คน

1.5 ลดคดีอาชญากรรมลงรอยละ 10

1.6 เพิ่มกําลังแรงงานระดับกลางทีม่ีคุณภาพ

เปนไมต่ํากวารอยละ 60 ของกําลัง

แรงงานทั้งประเทศ

2. การสรางวัฒนธรรม

สุขภาพและวิถีชีวิตที่มี

ความสุขในสังคมแหง

สุขภาวะ

2.1 พัฒนาและใชดัชนีชี้วัดสุขภาพ

ความสุขและความอยูเย็นเปนสุขของ

สังคม

2.2 มีความปลอดภัยของดานอาหาร

โภชนาการ ยา ผลติภัณฑสุขภาพ

ความปลอดภัยในการประกอบอาชีพ

และสิ่งแวดลอม

2.3 มีกิจกรรมดานการสรางเสริมสุขภาพ

ครอบคลุมอยางรอบดาน

2.4 การเติบโตและขยายบทบาทขององคกร

สาธารณะและประชาสังคมสุขภาพ

2.5 มีการพัฒนารูปแบบใหมๆ ของ

อาสาสมัครดานสุขภาพเพิ่มขึ้น

2.6 ชุมชนเขมแขง็และมสีวนรวมในกิจกรรม

ดานสุขภาพ

2.7 มีการพัฒนารูปแบบกิจกรรมสงเสรมิ

สุขภาวะทางจิตวิญญาณและสุขภาวะ

2. การสรางความ

เขมแข็งของชุมชน

และสังคมใหเปน

รากฐานที่มั่นคงของ

ประเทศ

2.1 ชุมชนอยูเย็นเปนสขุ

2.2 ทุกชุมชนมีแผนชุมชนแบบมีสวนรวม

60 แผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติ ฉบับที่ 10 พ.ศ. 2550 - 2554

Page 4: PH11#1 (เอกสารประกอบฯ5) แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 10-5

ทางปญญาตามแนวทางศาสนา

แผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติ ฉบับที่ 10 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 10

ยุทธศาสตร เปาหมายหลักที่สําคัญ ยุทธศาสตร เปาหมายหลักที่สําคัญ

3. การสรางระบบบริการสุขภาพและการแพทย

ที่ผูรับบริการอุนใจ

ผูใหบริการมีความสขุ

3.1 ขยายและยกระดับคุณภาพและระบบ

บริการปฐมภูม ิ

3.2 ลดระยะเวลาการรอตรวจที่โรงพยาบาล

ของรัฐลงใหเหลือนอยกวา 30 นาที

3.3 มีระบบบริการปฐมภูมิใกลบานรองรับ

ผูปวยนอกที่มีคุณภาพมาตรฐานอยาง

ทั่วถึง และใหโรงพยาบาลตติยภูมิรับ

ตรวจและรักษาพยาบาลเฉพาะผูปวยที่

ไดรับการสงตอหรือนัดหมายจาก

แพทย

3.4 มีระบบการชดเชยและไกลเกลี่ย

ขอพิพาททางการแพทย

3.5 ลดจํานวนกรณีการรองเรียนใหมีอัตรา

เพิ่มไมเกินรอยละ 15

3.6 โรงพยาบาลที่ขึ้นทะเบียนในระบบ

หลักประกันสุขภาพถวนหนาทุกแหง

ผานเกณฑการรับรองคุณภาพตาม

ระบบ HA หรือเกณฑคุณภาพ

มาตรฐานตามที่กําหนด

3.7 ลดความแตกตางระหวางระบบประกัน

สุขภาพ

3.8 ผลิตและพัฒนาบุคลากรทางการแพทย

และสาธารณสุขใหมศีักยภาพและ

กระจายอยางเหมาะสม

3.9 มีการประเมินความพึงพอใจทั้งใน

ผูรับบริการและผูใหบริการ

3.10 ผูปวย คนทุกขคนยากหรือผูพิการ

ไมถูกทอดทิ้ง

3. การปรับโครงสราง

เศรษฐกิจใหสมดลุ

และยั่งยืน

3.1 ผลิตภาพการผลิตรวมสูงขึน้เฉลี่ยไมต่ํา

กวารอยละ 3 ตอป (ภาคอุตสาหกรรม

ภาคการเกษตรและภาคการบริการ)

3.2 ลงทุนเพื่อการวิจัยและพัฒนาเปนรอยละ

0.5 ของผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศ

3.3 อัตราการวางงานต่ําไมเกินรอยละ 2 ของ

กําลังแรงงาน

3.4 ผลิตภัณฑและบริการที่ผลิต และ

ใหบริการโดยวิสาหกิจขนาดกลางและ

ขนาดยอม มสีัดสวนไมต่าํกวารอยละ

40 ของผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศ

3.5 มีการกระจายรายไดที่ดีขึ้น กลุมที่มีรายได

สูงสดุรอยละ 20 แรกมีสัดสวนไมเกิน

10 เทาของรายไดของกลุมที่มีรายได

ต่ําสุดรอยละ 20

4. การสรางระบบภูมิคุมกันเพื่อลด

ผลกระทบจากโรคและ

ภัยคุกคามสุขภาพ

4.1 มีระบบการแพทยฉกุเฉินและ

ความพรอมรับมือภยัพิบัติตาง ๆ

4.2 มีการจัดทําเปาหมายและระบบการ

ติดตามเฝาระวงัปจจยัเสีย่งดานสขุภาพ

4.3 มีกลไกดานการควบคุมปองกันโรค

อุบัติใหมและอุบัติซํ้า

4.4 สามารถควบคุมปองกันโรคที่มีสาเหตุ

การปวยและตายทีส่ําคัญ

4.5 มีการประกาศใช พรบ. ควบคุมการ

บริโภคสุราและดําเนินมาตรการทาง

สังคม

4. การพัฒนาบนฐาน

ความหลากหลาย

ทางชีวภาพและการ

สรางความมัน่คง

ของฐานทรัพยากร

และสิ่งแวดลอม

4.1 ของเสียอันตรายจากชุมชนและ

อุตสาหกรรมไดรับการจัดการอยาง

ถูกตอง รอยละ 80 ของปริมาณของเสีย

อันตรายที่เกิดขึ้นทัง้หมด

4.2 มีการนําขยะมูลฝอยกลับมาใชใหมไม

นอยกวารอยละ 30 ของปริมาณมูลฝอย

ที่เกิดขึ้นทั้งประเทศ

4.3 ลดการนําเขาปุยและสารเคมทีางการ

เกษตรใหไมเกินปละ 3.5 ลานตัน รวมทั้ง

มีระบบจัดการสารเคมีอยางครบวงจร

ตั้งแตการผลิต การนําเขาจนถึงการกําจดั

61 แผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติ ฉบับที่ 10 พ.ศ. 2550 - 2554

Page 5: PH11#1 (เอกสารประกอบฯ5) แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 10-5

4.6 มีมาตรการควบคุมพฤติกรรมเสี่ยงที่

สําคัญ

ทําลาย

แผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติ ฉบับที่ 10 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 10

ยุทธศาสตร เปาหมายหลักที่สําคัญ ยุทธศาสตร เปาหมายหลักที่สําคัญ

4.7 นโยบายสําคัญ ๆ และโครงการขนาด

ใหญที่อาจมีผลกระทบตอสุขภาพไดรับ

การประเมินผลกระทบดานสุขภาพ

4.8 มีระบบภูมิคุมกันที่ลดผลกระทบจาก

กระแสโลกาภิวัตนและการคาเสรี

4.4 ควบคุมรักษาคุณภาพน้ําในลุมน้าํตาง ๆ

และแหลงน้ําธรรมชาติใหอยูในเกณฑ

พอใชและดี รวมกนัไมต่าํกวารอยละ

85 และฟนฟูคุณภาพน้ําในแมน้ําสาย

หลักไมใหอยูในเกณฑเสื่อมโทรมมาก

4.5 ควบคุมคุณภาพอากาศทั้งในเขตเมือง ชนบท และเขตอุตสาหกรรมใหอยูใน

เกณฑมาตรฐาน

4.6 มีระบบฐานขอมลูความหลากหลายทางชีวภาพทีส่มบูรณระดับประเทศ 1 ระบบ

4.7 เกิดเครือขายชุมชนพึ่งตนเองที่มคีวาม

มั่นคงดานอาหารและสุขภาพ จากการ

จัดการทรัพยากรความหลากหลายทาง

ชีวภาพในทองถ่ิน ไมนอยกวา 1,500

ชุมชน

5. การสรางทางเลือก

สุขภาพที่หลากหลาย

ผสมผสานภมูิปญญา

ไทยและสากล

5.1 มีการจัดสรรงบประมาณสนับสนนุดาน

การพัฒนาการแพทยแผนไทย

การแพทยพื้นบานและการแพทย

ทางเลือก ไมนอยกวารอยละ 0.5 ของ

งบประมาณรัฐดานสุขภาพ

5.2 โรงพยาบาลทั่วไปและโรงพยาบาลชุมชน

มีการใชยาสมุนไพรไมนอยกวารอยละ

5 และ 10 ของมูลคาการใชยาใน

โรงพยาบาลตามลําดับ

5.3 การแพทยแผนไทย การแพทยพื้นบาน

และการแพทยทางเลือกเปนทางเลือก

หนึ่งในระบบประกันสุขภาพ

5.4 ยา ผลิตภัณฑสุขภาพและวิถีการดูแล

รักษาสุขภาพจากภมูิปญญาไทย ที่

ปลอดภยั มีคณุภาพ เปนที่ยอมรับและ

ไดรบัการอนุรักษและคุมครอง

5.5 มีการจัดตั้งและพัฒนา

สถาบันการศึกษาสถาบันดานการจัดการ

ความรูภูมิปญญาสุขภาพไทยเพื่อผลิต

พัฒนากําลังคน การวิจัยและพัฒนา

5.6 มีการสนับสนุนการวิจัยและพัฒนา

5. การเสริมสรางธรร

มาภิบาลในการ

บริหารจัดการ

ประเทศ

5.1 ธรรมาภิบาลของประเทศทั้งในสวน

ภาครัฐและภาคธุรกจิเอกชนเปรียบเทียบ

กับนานาชาติดีขึ้น โดยมีคะแนนระดับ

ความโปรงใสไมนอยกวา 5.0 คะแนน

5.2 ประชาชนมีศักยภาพที่จะเขารวมในการ

บริหารจัดการประเทศเพิม่ขึ้น

5.3 ลดกําลังคนภาคราชการไดรอยละ 10

5.4 สามารถเพิ่มบทบาทขององคกรปกครอง

สวนทองถ่ินในการจัดบริการสาธารณะ

ใหประชาชนในทองถ่ินอยางมี

ประสทิธภิาพ

5.5 ใหมีการศึกษาวิจัยพัฒนาองคความรู

ดานวัฒนธรรมประชาธิปไตย วัฒนธรรม

ธรรมาภิบาลและวฒันธรรมสันติวิธี

เพิ่มขึ้น

62 แผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติ ฉบับที่ 10 พ.ศ. 2550 - 2554

Page 6: PH11#1 (เอกสารประกอบฯ5) แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 10-5

วิทยาศาสตรการแพทยและเทคโนโลยี

ทางการแพทยที่จําเปน

แผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติ ฉบับที่ 10 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 10

ยุทธศาสตร เปาหมายหลักที่สําคัญ ยุทธศาสตร เปาหมายหลักที่สําคัญ

5.7 มีระบบการประเมินเทคโนโลยีและ

การวางแผนทรัพยากรทางการแพทย

6. การสรางระบบสุขภาพฐานความรูดวยการ

จัดการความรู

6.1 มีระบบขอมูลและระบบประเมินและ

ตัวชี้วัด บนพื้นฐานของความรอบคอบ

ความระมัดระวังและใชความรูทาง

วิชาการที่เหมาะสมพอเพียง

6.2 มีการพัฒนาองคกรเรียนรูและการ

ประยุกตใชแนวคิดการจัดการความรู

ในองคกรดานสุขภาพ

6.3 มีการพัฒนาระบบขอมูลองคความรู

และนวัตกรรมดานนโยบายและการ

ปฏิบัต ิ

6.4 มีการพัฒนาระบบการตรวจสอบ ตดิตาม

ประเมินผลนโยบาย แผนงานและการ

บริหารที่มีประสิทธภิาพและมคีุณธรรม

จริยธรรม

หมายเหตุ : 1. ตัวอักษรตรงในชองเปาหมายหลักท่ีสําคัญในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 10

หมายถึง เปาหมายที่มีความสัมพันธโดยตรงกับเปาหมายในแผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติ ฉบับที่ 10

2. ตัวอักษรเอนในชองเปาหมายหลักที่สําคัญในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 10 หมายถึง เปาหมายที่มีความสัมพันธหนุนเสริมกันในแผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติ ฉบับที่ 10

3. ดูรายละเอียดเปาหมายการพัฒนาในแผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติ ฉบับที่ 10 และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 10 ประกอบดวย

63 แผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติ ฉบับที่ 10 พ.ศ. 2550 - 2554

Page 7: PH11#1 (เอกสารประกอบฯ5) แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 10-5

ตารางที่ 2 หนวยงาน/องคกรรวมพัฒนาตามเปาหมายหลักทีส่ําคัญรายยุทธศาสตรใน

แผนพัฒนาสขุภาพแหงชาติ ฉบับที ่10 พ.ศ.2550 - 2554

แผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติ ฉบับที่ 10

ยุทธศาสตร เปาหมายหลักที่สําคัญ หนวยงานรวม

รับผิดชอบหลัก

หนวยงาน

ที่เกีย่วของ

1. การสรางเอกภาพและธรรมาภิบาลในการ

จัดการระบบสุขภาพ

1.1 ประกาศใช พรบ. สขุภาพแหงชาติและ

ผลักดันสูการปฏิบตัิอยางไดผล

ก.สาธารณสุข, สํานกังาน

คณะกรรมการสุขภาพแหงชาติ

(คสช.)

สํานักนายกรัฐมนตรี (สศช., สงป.,

กพร., กพ., สสส., สคบ., สพน.),สสม.,

สศ., ก.มหาดไทย, ก.การพัฒนา

สังคมฯ, ก.เกษตรฯ, ก.แรงงาน,

ก.การทองเที่ยวฯ, ก.ศึกษาธิการ,

ก.วิทยาศาสตรฯ, ก.ทรัพยากร

ธรรมชาติฯ, ก.พาณิชย, ก.

อุตสาหกรรม, ก.คมนาคม, ก.

พลังงาน,

ก.เทคโนโลยีสารสนเทศฯ, ก.กลาโหม,

ก.การตางประเทศ, ก.วัฒนธรรม,

ก.ยุติธรรม, ก.การคลัง, กทม.,

อปท.

1.2 การกระจายอํานาจและการถายโอนภารกิจดานสุขภาพ การแพทยและการ

สาธารณสุขใหแกองคกรปกครองสวน

ทองถ่ิน

สํานักนายกรัฐมนตรี (สกถ.),

ก.สาธารณสุข, ก.มหาดไทย (กรม

สงเสริมการปกครองทองถ่ิน,

อปท.)

ก.ศึกษาธิการ, ก.กลาโหม,

สถานพยาบาลในสังกัดอ่ืน

1.3 มีกลไกการเฝาระวังวัฒนธรรมการปฏิบัติตนและปฏิบตัิงานใหเปนไปใน

ลักษณะที่เหมาะสม

ก.สาธารณสุข สํานักนายกรัฐมนตรี (กพร., กพ.),

พศ., ปปช., ก.การพัฒนาสังคมฯ,

ก.วัฒนธรรม, ก.ยุติธรรม, ก.

ศึกษาธิการ, ก.กลาโหม, ก.

มหาดไทย, กทม., สถานพยาบาล

ในสงักัดอ่ีน

1.4 มีการสงเสริมและเผยแพรเร่ืองราวของบุคคลตนแบบที่เปนแบบอยางที่ด ี

ก.สาธารณสุข สํานักนายกรัฐมนตรี (กพร., กพ.),

พศ., ปปช., ก.การพัฒนาสังคมฯ,

ก.วัฒนธรรม, ก.ยุติธรรม, ก.

ศึกษาธิการ, ก.กลาโหม, ก.

มหาดไทย, กทม., สถานพยาบาล

ในสงักัดอ่ีน

1.5 สงเสริมใหเกิดหนวยงานตัวอยางดานวัฒนธรรมองคกรขึน้ในทุกระดับกรม

และทุกจังหวัด

ก.สาธารณสุข สํานักนายกรัฐมนตรี (กพร., กพ.),

พศ., ปปช., ก.การพัฒนาสังคมฯ,

ก.วัฒนธรรม, ก.ยุติธรรม, ก.

ศึกษาธิการ, ก.กลาโหม, ก.

มหาดไทย, กทม., สถานพยาบาล

ในสงักัดอ่ีน

1.6 สนับสนุนใหเกิดการคนหาและชื่นชม ก.สาธารณสุข สํานักนายกรัฐมนตรี (กพร., กพ.),

64 แผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติ ฉบับที่ 10 พ.ศ. 2550 - 2554

Page 8: PH11#1 (เอกสารประกอบฯ5) แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 10-5

แผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติ ฉบับที่ 10

ยุทธศาสตร เปาหมายหลักที่สําคัญ หนวยงานรวม

รับผิดชอบหลัก

หนวยงาน

ที่เกีย่วของ

เรื่องราวเกี่ยวกับความดี คุณภาพของ

วิชาชีพและอุดมคตขิองชีวิตที่แฝงอยู

ในระบบงาน

พศ., ปปช., ก.การพัฒนาสังคมฯ,

ก.วัฒนธรรม, ก.ยุติธรรม, ก.

ศึกษาธิการ, ก.กลาโหม, ก.

มหาดไทย, กทม., สถานพยาบาล

ในสงักัดอ่ีน

2. การสรางวัฒนธรรม

สุขภาพและวิถีชีวิตที่มี

ความสุขในสังคมแหง

สุขภาวะ

2.1 พัฒนาและใชดัชนีชี้วัดสุขภาพ

ความสุขและความอยูเย็นเปนสุขของ

สังคม

สศช., สํานักงานสถิติแหงชาติ,

ก.การพัฒนาสังคมฯ, ก.สาธารณสุข

สสส., ก.วัฒนธรรม, ก.มหาดไทย,

ก.ศึกษาธิการ, ก.กลาโหม, กทม.,

สถานพยาบาลในสังกัดอ่ีน

2.2 มีความปลอดภัยของดานอาหาร โภชนาการ ยา ผลติภัณฑสุขภาพ

ความปลอดภัยในการประกอบอาชีพ

และสิ่งแวดลอม

ก.อุตสาหกรรม, ก.ทรัพยากร

ธรรมชาติฯ, ก.เกษตรฯ,

ก.สาธารณสุข, ก.แรงงาน

ก.คมนาคม, ก.พลังงาน, ก.พาณิชย,

ก.มหาดไทย, ก.ศึกษาธิการ,

ก.กลาโหม, กทม.

2.3 มีกิจกรรมดานการสรางเสริมสุขภาพครอบคลุมอยางรอบดาน

ก.สาธารณสุข, สสส. ก.ศึกษาธิการ, ก.มหาดไทย,

ก.กลาโหม, ก.วัฒนธรรม,

ก.การพัฒนาสังคมฯ, ก.แรงงาน,

กทม.,อปท., กปส., อสมท., กสช.,

เครือขายประชาคมสุขภาพ

2.4 การเติบโตและขยายบทบาทขององคกรสาธารณะและประชาสังคมสุขภาพ

ก.สาธารณสุข, สสส. ก.มหาดไทย, ก.การพัฒนาสังคมฯ,

ก.ศึกษาธิการ, ก.กลาโหม,

ก.วัฒนธรรม, กทม., เครือขาย

ประชาคมสุขภาพ

2.5 มีการพัฒนารูปแบบใหมๆ ของ

อาสาสมัครดานสุขภาพเพิ่มขึ้น

ก.สาธารณสุข ก.มหาดไทย, ก.การพัฒนาสังคมฯ,

ก.ศึกษาธิการ, ก.กลาโหม,

ก.วัฒนธรรม, กทม., สสส.

2.6 ชุมชนเขมแขง็และมสีวนรวมในกิจกรรมดานสุขภาพ

ก.มหาดไทย, ก.สาธารณสุข ก.การพัฒนาสังคมฯ, ก.ศึกษาธิการ,

ก.เกษตรฯ, ก.ทรัพยากรธรรมชาติฯ,

ก.วัฒนธรรม, ก.กลาโหม, กทม.,

พศ., สสส.

2.7 มีการพัฒนารูปแบบกิจกรรมสงเสรมิสุขภาวะทางจิตวิญญาณและสุขภาวะ

ทางปญญาตามแนวทางศาสนา

พศ., สบร., ก.วัฒนธรรม,

ก.สาธารณสุข

ก.มหาดไทย, ก.การพัฒนาสังคมฯ,

ก.ศึกษาธิการ, ก.กลาโหม, กทม.

3. การสรางระบบบริการสุขภาพและการแพทย

ที่ผูรับบริการอุนใจ

ผูใหบริการมีความสขุ

3.1 ขยายและยกระดับคุณภาพและระบบบริการปฐมภูม ิ

ก.สาธารณสุข, ก.ศึกษาธิการ,

ก.กลาโหม, ก.มหาดไทย, กทม.,

สถานพยาบาลในสังกัดอ่ืน

สปสช., สปส.

3.2 ลดระยะเวลาการรอตรวจที่โรงพยาบาล ก.สาธารณสุข, ก.ศึกษาธิการ, สปสช., สปส.

65 แผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติ ฉบับที่ 10 พ.ศ. 2550 - 2554

Page 9: PH11#1 (เอกสารประกอบฯ5) แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 10-5

แผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติ ฉบับที่ 10

ยุทธศาสตร เปาหมายหลักที่สําคัญ หนวยงานรวม

รับผิดชอบหลัก

หนวยงาน

ที่เกีย่วของ

ของรัฐลงใหเหลือนอยกวา 30 นาที ก.กลาโหม, ก.มหาดไทย, กทม.,

สถานพยาบาลในสังกัดอ่ืน

3.3 มีระบบบริการปฐมภูมิใกลบานรองรับผูปวยนอกที่มีคุณภาพมาตรฐานอยาง

ทั่วถึง และใหโรงพยาบาล

ก.สาธาณสุข, ก.ศึกษาธิการ,

ก.กลาโหม, ก.มหาดไทย, กทม.,

สถานพยาบาลในสังกัดอ่ืน

ก.การคลัง, สปสช., สปส.

ตติยภูมิรับตรวจและรักษาพยาบาล

เฉพาะผูปวยที่ไดรับการสงตอหรือ

นัดหมายจากแพทย

3.4 มีระบบการชดเชยและไกลเกลี่ย ขอพิพาททางการแพทย

สปสช., สปส., ก.การคลัง, สงป. ก.สาธารณสุข, ก.ศึกษาธิการ,

ก.กลาโหม, ก.มหาดไทย, กทม.,

สถานพยาบาลในสังกัดอ่ืน, สสส.,

สคบ., สสม., สภาวชิาชีพ

3.5 ลดจํานวนกรณีการรองเรียนใหมีอัตราเพิ่มไมเกินรอยละ 15

ก.สาธารณสุข, ก.ศึกษาธิการ,

ก.กลาโหม, ก.มหาดไทย, กทม.,

สถานพยาบาลในสังกัดอ่ืน

สปสช., สปส., ก.การคลัง, สคบ.,

สสม., สภาวิชาชีพ

3.6 โรงพยาบาลที่ขึ้นทะเบียนในระบบหลักประกันสุขภาพถวนหนาทุกแหง

ผานเกณฑการรับรองคุณภาพตาม

ระบบ HA หรือเกณฑคุณภาพ

มาตรฐานตามที่กําหนด

ก.สาธารณสุข, ก.ศึกษาธิการ,

ก.กลาโหม, กทม., สถานพยาบาล

ในสงักัดอ่ืน

พรพ., สปสช., สปส., ก.การคลัง,

ก.อุตสาหกรรม

3.7 ลดความแตกตางระหวางระบบประกันสุขภาพ

คสช., สปสช., สปส. ก.สาธารณสุข, ก.ศึกษาธิการ,

ก.กลาโหม, กทม., สถานพยาบาล

ในสงักัดอ่ืน

3.8 ผลิตและพัฒนาบุคลากรทางการแพทยและสาธารณสุขใหมี

ศักยภาพและกระจายอยางเหมาะสม

ก.ศึกษาธิการ, ก.สาธารณสุข ก.มหาดไทย, ก.กลาโหม, กทม.,

สถานพยาบาลในสังกัดอ่ืน,

สภาวิชาชีพ

3.9 มีการประเมินความพึงพอใจทั้งใน

ผูรับบริการและผูใหบริการ

คสช., สปสช., สปส., พรพ.,

กพร., ก.การคลัง

ก.สาธารณสุข, ก.ศึกษาธิการ,

ก.กลาโหม, กทม., สถานพยาบาล

ในสงักัดอ่ืน

3.10 ผูปวย คนทุกขคนยากหรือผู

พิการ ไมถูกทอดทิ้ง

คสช., สปสช., สปส., ก.การคลัง ก.การพัฒนาสังคมฯ, ก.สาธารณสุข,

ก.ศึกษาธิการ, ก.กลาโหม, กทม.,

สถานพยาบาลในสังกัดอ่ืน

4. การสรางระบบภูมิคุมกันเพื่อลด

ผลกระทบจากโรคและ

ภัยคุกคามสุขภาพ

4.1 มีระบบการแพทยฉกุเฉินและ ความพรอมรับมือภยัพิบัติตาง ๆ

สํานักนายกรัฐมนตรี (กปอ., สมช.

, กอส.), ตช., ก.มหาดไทย (กรม

ปองกันและบรรเทาสาธารณภัย),

ก.สาธารณสุข

ก.ศึกษาธิการ, ก.กลาโหม, กทม.,

สถานพยาบาลในสังกัดอ่ืน, สปสช.,

สปส., ก.พาณิชย, ก.ยุติธรรม

(สถาบนันิติวทิยาศาสตร),

ก.คมนาคม, ก.เทคโนโลยี

66 แผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติ ฉบับที่ 10 พ.ศ. 2550 - 2554

Page 10: PH11#1 (เอกสารประกอบฯ5) แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 10-5

แผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติ ฉบับที่ 10

ยุทธศาสตร เปาหมายหลักที่สําคัญ หนวยงานรวม

รับผิดชอบหลัก

หนวยงาน

ที่เกีย่วของ

สารสนเทศฯ

4.2 มีการจัดทําเปาหมายและระบบการ ติดตามเฝาระวงัปจจยัเสีย่งดานสขุภาพ

ก.สาธารณสุข ก.ศึกษาธิการ, ก.การพัฒนาสังคมฯ,

ก.มหาดไทย, ก.กลาโหม, กทม.,

สสส., เครือขายประชาคมสุขภาพ

4.3 มีกลไกดานการควบคุมปองกันโรคอุบัติใหมและอุบัติซํ้า

ก.สาธารณสุข, ก.เกษตรฯ, (กรม

ปศุสัตว)

ก.มหาดไทย, ก.ศึกษาธิการ,

ก.กลาโหม, กทม., ก.การ

ทองเที่ยวฯ, ก.การตางประเทศ,

ก.พาณิชย

4.4 สามารถควบคุมปองกันโรคที่มีสาเหตุการปวยและตายทีส่ําคัญ

ก.สาธารณสุข, สสส. ก.ศึกษาธิการ, ก.กลาโหม,

ก.มหาดไทย, กทม., สถานพยาบาล

ในสงักัดอ่ืน, ก.การพัฒนาสังคมฯ,

ก.แรงงาน, ก.เกษตรฯ, ก.การ

ทองเที่ยวฯ, ตช.

4.5 มีการประกาศใช พรบ. ควบคุมการ

บริโภคสุราและดําเนินมาตรการทาง

สังคม

ก.สาธารณสุข, ก.การคลัง, สสส. ก.ศึกษาธิการ, ก.การพัฒนาสังคมฯ

, ก.มหาดไทย, ก.ยุติธรรม, ก.

พาณิชย, กทม., ตช.

4.6 มีมาตรการควบคุมพฤติกรรมเสี่ยงที่สําคัญ

ก.สาธารณสุข, สสส. ก.ศึกษาธิการ, ก.กลาโหม,

ก.มหาดไทย, กทม., สถานพยาบาล

ในสงักัดอ่ืน, ก.การพัฒนาสังคมฯ,

ก.แรงงาน, ก.เกษตรฯ, ก.วัฒนธรรม,

ก.การทองเที่ยวฯ, ตช.

4.7 นโยบายสําคัญ ๆ และโครงการขนาด

ใหญที่อาจมีผลกระทบตอสุขภาพ

ไดรับการประเมนิผลกระทบดาน

สุขภาพ

สํานักนายกรัฐมนตรี (สศช., สพน.

สงป., สกว., คสช.), สศ.,

ก.สาธารณสุข, ก.การพัฒนา

สังคมฯ, ก.มหาดไทย

ก.คมนาคม, ก.อุตสาหกรรม,

ก.เกษตรฯ, ก.พาณิชย, ก.

วิทยาศาสตรฯ, ก.

ทรัพยากรธรรมชาติฯ, ก.พลังงาน,

เครือขายประชาคม

สุขภาพ

4.8 มีระบบภูมิคุมกันทีว่ัดผลกระทบจากกระแสโลกาภิวัตนและการคาเสรี

สํานักนายกรัฐมนตรี (สศช., สพน.

สงป., สกว., คสช.), สศ.,

ก.สาธารณสุข, ก.ศึกษาธิการ,

ก.พาณิชย

ก.ทรัพยากรธรรมชาติฯ, ก.

อุตสาหกรรม, ก.เกษตรฯ, ก.การ

ตางประเทศ, ก.วิทยาศาสตรฯ,

ก.เทคโนโลยีสารสนเทศฯ

5. การสรางทางเลือก สุขภาพที่หลากหลาย

ผสมผสานภมูิปญญา

ไทยและสากล

5.1 มีการจัดสรรงบประมาณสนับสนนุดานการพัฒนาการแพทยแผนไทย

การแพทยพื้นบานและการแพทย

ทางเลือก ไมนอยกวารอยละ 0.5 ของ

งบประมาณรัฐดานสุขภาพ

สงป., ก.สาธารณสขุ, ก.การคลัง ก.ศึกษาธิการ, ก.วิทยาศาสตรฯ,

องคการเภสัชกรรม

5.2 โรงพยาบาลทั่วไปและโรงพยาบาลชุมชน ก.สาธารณสุข, ก.ศึกษาธิการ, สปสช., สปส., องคการเภสัชกรรม,

67 แผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติ ฉบับที่ 10 พ.ศ. 2550 - 2554

Page 11: PH11#1 (เอกสารประกอบฯ5) แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 10-5

แผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติ ฉบับที่ 10

ยุทธศาสตร เปาหมายหลักที่สําคัญ หนวยงานรวม

รับผิดชอบหลัก

หนวยงาน

ที่เกีย่วของ

มีการใชยาสมุนไพรไมนอยกวารอยละ

5 และ 10 ของมูลคาการใชยาใน

โรงพยาบาลตามลําดับ

ก.กลาโหม, ก.มหาดไทย, กทม.,

สถานพยาบาลในสังกัดอ่ืน

ก.เกษตรฯ

5.3 การแพทยแผนไทย การแพทยพื้นบานและการแพทยทางเลือกเปนทางเลือก

หนึ่งในระบบประกันสุขภาพ

สปสช., สปส., ก.การคลัง ก.สาธารณสุข, ก.ศึกษาธิการ,

ก.กลาโหม, ก.มหาดไทย, กทม.,

สถานพยาบาลในสังกัดอ่ืน

5.4 ยา ผลิตภัณฑสุขภาพและวิถีการดูแลรักษาสุขภาพจากภมูิปญญาไทย ที่

ปลอดภยั มีคณุภาพ เปนที่ยอมรับและ

ไดรบัการอนุรักษและคุมครอง

ก.สาธารณสุข, องคการเภสัชกรรม ก.ศึกษาธิการ, ก.วิทยาศาสตรฯ,

ก.อุตสาหกรรม, สมาพันธสปาไทย,

สมาคมผูผลิตยาสมนุไพร, สมาคม

ผูผลิตอาหารเสริมเพื่อสุขภาพ,

สมาคมผูผลิตเครื่องสําอางค,

สมาคมอุตสาหกรรมสมุนไพรไทย

5.5 มีการจัดตั้งและพัฒนาสถาบันการศึกษาสถาบันดานการ

จัดการความรูภูมปิญญาสุขภาพไทย

เพื่อผลิตพัฒนากําลงัคน การวิจัยและ

พัฒนา

ก.สาธารณสุข, ก.ศึกษาธิการ,

กพร., กพ.

สงป., สบร., ก.วิทยาศาสตรฯ,

ก.เทคโนโลยีสารสนเทศฯ,สมาพันธ

สปาไทย, สมาคมผูผลิตยาสมุนไพร,

สมาคมผูผลิตอาหารเสริมเพื่อ

สุขภาพ, สมาคมผูผลิต

เครื่องสําอางค, สมาคม

อุตสาหกรรมสมุนไพรไทย

5.6 มีการสนับสนุนการวิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตรการแพทยและเทคโนโลยี

ทางการแพทยที่จําเปน

ก.ศึกษาธิการ, ก.วิทยาศาสตรฯ,

ก.สาธารณสุข

สงป., สกว., วช.

5.7 มีระบบการประเมินเทคโนโลยีและ การวางแผนทรัพยากรทางการแพทย

ก.สาธารณสุข, ก.ศึกษาธิการ สปสช., สปส., ก.มหาดไทย,

ก.กลาโหม, กทม., สถานพยาบาล

ในสงักัดอ่ืน

6. การสรางระบบสุขภาพฐานความรูดวยการ

จัดการความรู

6.1 มีระบบขอมูลและระบบประเมินและตัวชี้วัด บนพื้นฐานของความรอบคอบ

ความระมัดระวังและใชความรูทาง

วิชาการที่เหมาะสมพอเพียง

ก.สาธารณสุข, กพร. ก.ศึกษาธิการ, ก.กลาโหม,

ก.มหาดไทย, กทม., สถานพยาบาล

ในสงักัดอ่ืน

6.2 มีการพัฒนาองคกรเรียนรูและการประยุกตใชแนวคิดการจัดการความรู

ในองคกรดานสุขภาพ

ก.สาธารณสุข, ก.ศึกษาธิการ,

ก.กลาโหม, ก.มหาดไทย, กทม.,

สถานพยาบาลในสังกัดอ่ืน

กพร., สบร., สคส.

6.3 มีการพัฒนาระบบขอมูลองคความรูและนวัตกรรมดานนโยบายและการ

ปฏิบัต ิ

คสช., สกว., วช., กพร.,

ก.สาธารณสุข, ก.ศึกษาธิการ

ก.มหาดไทย, ก.กลาโหม, กทม.,

สถานพยาบาลในสังกัดอ่ืน,

ก.วิทยาศาสตรฯ

6.4 มีการพัฒนาระบบการตรวจสอบ ติดตาม

ประเมินผลนโยบาย แผนงานและการ

กพร., ปปช., ตผ., สพน., สงป.,

ก.สาธารณสุข

ก.ศึกษาธิการ,

ก.กลาโหม, ก.มหาดไทย, กทม.,

68 แผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติ ฉบับที่ 10 พ.ศ. 2550 - 2554

Page 12: PH11#1 (เอกสารประกอบฯ5) แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 10-5

แผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติ ฉบับที่ 10

ยุทธศาสตร เปาหมายหลักที่สําคัญ หนวยงานรวม

รับผิดชอบหลัก

หนวยงาน

ที่เกีย่วของ

บริหารที่มปีระสิทธภิาพและมีคุณธรรม

จริยธรรม

สถานพยาบาลในสังกัดอ่ืน,

เครือขายประชาคมสุขภาพ

69 แผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติ ฉบับที่ 10 พ.ศ. 2550 - 2554

Page 13: PH11#1 (เอกสารประกอบฯ5) แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 10-5

รูปที่ 5 โครงสรางความสมัพันธของกลไกและเครือขายภาคีรวมพฒันาในชวงแผนพัฒนาสุขภาพ

แหงชาติ ฉบบัที่ 10 และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 10

รัฐบาล ครม. รัฐสภา สภานติิบัญญัติแหงชาติ สภาที่ปรึกษาฯ คณะกรรมการ สศช. คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน

แหงชาติ

• • • • •

รัฐธรรมนูญ นโยบายรัฐบาล นโยบายระดับประเทศและนานาชาติ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม

แหงชาติ ฉบับที่ 10 แผนบริหารราชการแผนดิน

• • • •

• คณะกรรมการนโยบายสังคม

นโยบายและแผนยุทธศาสตร

การพัฒนาสุขภาพระดับชาติ

• •

คณะกรรมการขับเคลื่อนยุทธศาสตร

สังคม

คณะกรรมการอํานวยการจัดทําแผนฯ

10

คณะกรรมการประสานการจัดทําแผนฯ 10

คณะกรรมการอํานวยการแผนฯ 10

• •

นโยบายและแผนยุทธศาสตรการพัฒนา

สังคม นโยบายสุขภาพนานาชาต ิกฎหมายที่เก่ียวของ แผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติ ฉบับที่ 10

นโยบาย แผนยุทธศาสตร

การพัฒนาสุขภาพและกลไกสู

การปฏิบัติในระดับหนวยงาน /

องคกร / ชุมชน / ทองถ่ิน / สังคม

นโยบายและทิศทาง

การพัฒนาประเทศ

หนวยงานภาครัฐ / รัฐวิสาหกิจ /

องคกรรูปแบบตาง ๆ สวนกลางและ

ภูมิภาค

สํานักนายกรัฐมนตรี (สศช., คสช.

,สมช., กอส., กพ., กพร., กปอ.,

สคบ., กปส., อสมท., สสส., สบร.,

สกว., สคส., สพน., สกถ., สงป.),

พศ., วช., ตช., สสม., ปปช., ตผ.,

กสช.

ก.การพัฒนาสังคมฯ, ก.สาธารณสุข,

(กรม, สปสช., สวรส., สปรส., พรพ.,

องคการเภสัชกรรม, รพ.บานแพว),

ก.ศึกษาธิการ, ก.กลาโหม, ก.การ

ทองเที่ยวฯ, ก.วัฒนธรรม, ก.

วิทยาศาสตรฯ, ก.เกษตรฯ, ก.

อุตสาหกรรม, ก.

ทรัพยากรธรรมชาตฯิ, ก.มหาดไทย, ก.

คมนาคม, ก.พลังงาน, ก.แรงงาน, ก.

ยุติธรรม, ก.พาณชิย, ก.เทคโนโลยี

สารสนเทศฯ,ก.การตางประเทศ,

ก.การคลัง

หนวยงานสวนทองถ่ิน

กทม., เมืองพัทยา, อบจ. เทศบาล,

แผนยุทธศาสตร / แผนบริหารราชการ

แผนดิน / แผนปฏิบตัิราชการ /

แผนปฏิบัติการ (ระดับกระทรวง/กรม/องคกร)

แผนยุทธศาสตร/แผนปฏิบัติการ /

แนวทางการดําเนินงาน/แนวปฏิบัติ (ระดับจังหวัด/อําเภอ/ตําบล/ทองถ่ิน/

ชุมชน/บุคคล)

องคกรระดับบุคคล / ชุมชน / ทองถ่ิน/

สังคมในและตางประเทศ

• •

• •

ประชาชน, อาสาสมคัร

กลุม/ชุมชน/สหกรณ/ธนาคาร/

ประชาสังคม

มูลนิธิ/สมาพันธ/สถาบัน/องคกร

วิชาชีพและวิชาการ

องคกรภาคเอกชนสาธารณะ

ประโยชน/ธุรกิจเอกชน

สื่อมวลชน

องคกรนานาชาต ิ

70 แผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติ ฉบับที่ 10 พ.ศ. 2550 - 2554

Page 14: PH11#1 (เอกสารประกอบฯ5) แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 10-5

ภาคผนวก 3

สาระสําคัญของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 10

พ.ศ. 2550-2554

แนวคิดและทิศทางการปรับตัวของประเทศไทย

• แนวคิดหลัก

ไดปรับกระบวนทัศนการพัฒนาตามหลกัปรัชญาเศรษฐกจิพอเพยีง การพัฒนาแบบ

บูรณาการเปนองครวมทีย่ึด “คนเปนศูนยกลางการพัฒนา” และสอดคลองกับรัฐธรรมนญูแหง

ราชอาณาจกัรไทย พ.ศ.2540

เช่ือมโยงวถิีชีวิต/เศรษฐกจิ/สังคม/ส่ิงแวดลอม/การเมอืง สรางสมดุล/มั่นคง/เปนธรรม/ยั่งยืน

พรอมรบัการเปลี่ยนแปลง

คุณธรรม

ซื่อสัตย สุจริต

ความเพียร

อดทน ขยันหมั่นเพียร มีสติ

ความรอบรู ความรูในตัวคน ใน หลักวิชา รอบคอบ

ระมัดระวัง

มีภูมิคุมกัน ในตัวที่ดี

มีเหตุผล

พอประมาณ

เปา ประสงค

เงื่อนไข

หลักการ

แนวคิด ทางสายกลาง

แนวทางการดาํรงอยู การปฏิบัติตน ในทกุระดบั ครอบครัว ชุมชน รัฐ – ในการพัฒนา บรหิารประเทศ

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยีง

รูปที่ 6 แนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

71 แผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติ ฉบับที่ 10 พ.ศ. 2550 - 2554

Page 15: PH11#1 (เอกสารประกอบฯ5) แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 10-5

ปรับจาก มุงพัฒนา เศรษฐกิจ

สู คนเปนศูนยกลาง

ความอยูดีมีสุข

สู องครวมบูรณาการ

เช่ือมโยงทุกมิติ

สู กระบวนการพัฒนา

จากลางขึ้นบน

ปรับกระบวน การพัฒนา จากบน ลงลาง

ปรับวิธีคิด แบบแยกสวน รายสาขา

ยึดคนเปนตัวตั้ง ประชาชนไดรับประโยชน มีความอยูดีมีสุข

ผล ประโยชน ประชาชน

ค นการมีสวน รวมของ ประชาชน เริ่มพัฒนา “ตามลําดับขั้น”

ดวยการพึ่งพาตนเอง-รวมกลุม- สรางเครือขาย-เช่ือมสูภายนอก “ระเบิดจากขางใน”

การอยูรวมกันดวยสันติสุขระหวางคนกับคน ระหวางคนกับธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน

ยึดหลัก “ภูมิสังคม” ตามความ แตกตางหลากหลายของ สภาพแวดลอมทางกายภาพ ของพื้นท่ี กับวิถีชีวิตชุมชน

กระบวนทรรศนการพัฒนาที่ปรับเปลี่ยน…สูความพอเพียง

รูปที่ 7 กระบวนทรรศนการพัฒนาที่ปรับเปลี่ยนสูความพอเพียง

วิสัยทัศนและพันธกิจการพัฒนาประเทศ

วิสัยทัศนประเทศไทย

มุงพัฒนาประเทศไทยสู “สังคมอยูเย็นเปนสุขรวมกัน (Green and Happiness Society)

คนไทยมีคุณธรรมนําความรอบรู รูเทาทันโลก ครอบครัวอบอุน ชุมชนเขมแข็ง สังคมสันติสุข เศรษฐกจิ

มีคุณภาพ เสถียรภาพ และเปนธรรม ส่ิงแวดลอมมีคุณภาพ และทรัพยากรธรรมชาติยั่งยืน อยูภายใต

ระบบบริหารจัดการประเทศที่มีธรรมาภิบาล ดํารงไวซึ่งระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรง

เปนประมุข และอยูในประชาคมโลกไดอยางมีศักดิ์ศรี”

พันธกิจ

1. พัฒนาคนใหมีคุณภาพ คุณธรรม นําความรอบรูอยางเทาทัน มีสุขภาวะที่ดีอยูใน

ครอบครัวที่อบอุน ชุมชนที่เขมแข็ง พึ่งตนเองได มีความมั่นคงในการดํารงชีวิตอยางมีศักดิ์ศรีภายใต

ดุลยภาพของความหลากหลายทางทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม

2. เสริมสรางเศรษฐกิจใหมีคุณภาพ เสถียรภาพ และเปนธรรม มุงปรับโครงสราง

เศรษฐกิจของประเทศใหสามารถแขงขันได มีภูมิคุมกันความเสี่ยงจากความผันผวนของสภาพแวดลอม

ในยุคโลกาภิวัตน บนพื้นฐานการบริหารเศรษฐกิจสวนรวมอยางมีประสิทธิภาพ มีระดับการออมที่

พอเพียง มีการปรับโครงสรางการผลิตและบริการบนฐานความรูและนวัตกรรม ใชจุดแข็งของความ

72 แผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติ ฉบับที่ 10 พ.ศ. 2550 - 2554

Page 16: PH11#1 (เอกสารประกอบฯ5) แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 10-5

หลากหลายทางชีวภาพและเอกลักษณะความเปนไทย ควบคูกับการเชื่อมโยงกับตางประเทศ และการ

พัฒนาปจจัยสนับสนุนดานโครงสรางพื้นฐาน และโลจิสติกส พลังงาน กฎกติกา และกลไกสนับสนุน

การแขงขันและกระจายผลประโยชนอยางเปนธรรม

3. ดํารงความหลากหลายทางชีวภาพ และสรางความมั่นคงของฐานทรัพยากรธรรมชาติ

และคุณภาพสิ่งแวดลอม สรางความสมดุลระหวางการอนุรักษและการใชประโยชนอยางยั่งยืน เปน

ธรรม และมีการสรางสรรคคุณคา สนับสนุนใหชุมชนมีองคความรูและสรางภูมิคุมกันเพื่อคุมครองฐาน

ทรัพยากร คุมครองสิทธิและสงเสริมบทบาทของชุมชนในการบริหารจัดการทรัพยากร ปรับแบบ

แผนการผลิตและการบริโภคที่เปนมิตรกับส่ิงแวดล?อม ตลอดจนรักษาผลประโยชนของชาติจาก

ขอตกลงตามพันธกรณีระหวางประเทศ

4. พัฒนาระบบบริหารจัดการประเทศใหเกิดธรรมาภิบาลภายใตระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข มุงสรางกลไกและกฎระเบียบที่เอื้อตอการกระจายผลประโยชน

จากการพัฒนาสูทุกภาคี ควบคูกับการเสริมสรางความโปรงใส สุจริต ยุติธรรม รับผิดชอบตอ

สาธารณะ มีการกระจายอํานาจและกระบวนการที่ทุกภาคสวนมีสวนรวมในการตัดสินใจ สู

ความเปน

ธรรมทางเศรษฐกิจ สังคม และการใชทรัพยากร

วัตถุประสงคและเปาหมายหลัก

วัตถุประสงค

1. เพื่อสรางโอกาสการเรียนรูคูคุณธรรม จริยธรรมอยางตอเนื่องที่ขับเคลื่อนดวยการ

เชื่อมโยงบทบาทครอบครัว สถาบันศาสนาและสถาบันการศึกษา เสริมสรางบริการสุขภาพอยางสมดุล

ระหวางการสงเสริม การปองกัน การรักษา และการฟนฟูสมรรถภาพ และสรางความปลอดภัยในชีวิต

และทรัพยสิน

2. เพื่อเพิ่มศักยภาพของชุมชน เชื่อมโยงเปนเครือขาย เปนรากฐานการพัฒนาเศรษฐกจิ

คุณภาพชีวิต และอนุรักษ ฟนฟู ใชประโยชนทรัพยากรธรรมชาติส่ิงแวดลอมอยางยั่งยืน นําไปสูการ

พึ่งตนเองและลดปญหาความยากจนอยางบูรณาการ

3. เพื่อปรับโครงสรางการผลิตสูการเพิ่มคุณคาของสินคาและบริการบนฐานความรูและนวัตกรรม รวมทั้งสนับสนุนใหเกิดความเชื่อมโยงระหวางสาขาการผลิตเพื่อทําใหมูลคาการผลิตสูงขึ้น

4. เพื่อสรางภูมิคุมกัน และระบบบริหารความเสี่ยงใหกับภาคการเงิน การคลัง พลังงาน

ตลาดปจจัยการผลิต ตลาดแรงงาน และการลงทุน

5. เพื่อสรางระบบการแขงขันดานการคาและการลงทุนใหเปนธรรม และคํานึงถึง

ผลประโยชนของประเทศ รวมทั้งสรางกลไกในการกระจายผลประโยชนจากการพัฒนาสูประชาชนใน

ทุกภาคสวนอยางเปนธรรม

73 แผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติ ฉบับที่ 10 พ.ศ. 2550 - 2554

Page 17: PH11#1 (เอกสารประกอบฯ5) แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 10-5

6. เพื่อเสริมสรางความอุดมสมบูรณของทรพัยากรธรรมชาติและคุณคาความหลากหลายทางชีวภาพ ควบคูกับการรกัษาคุณภาพสิ่งแวดลอมใหเปนฐานที่มัน่คงของการพฒันาประเทศ และ

การดํารงชวีิตของคนไทยทั้งในรุนปจจุบนัและอนาคต รวมทัง้สรางกลไกในการรักษาผลประโยชนของ

ชาติอยางเปนธรรมและอยางยั่งยืน

7. เพื่อเสริมสรางธรรมาภิบาลในการบรหิารจดัการประเทศสูภาครัฐ ภาคธุรกิจเอกชน

และภาคประชาชน และขยายบทบาทขีดความสามารถขององคกรปกครองสวนทองถิน่ ควบคูกับการ

เสริมสรางกลไกและกระบวนการมีสวนรวมในการพัฒนาวฒันธรรมประชาธิปไตยใหเกิดผลในทาง

ปฏิบัติตอการอยูรวมกนัอยางสนัติสุข

• เปาหมาย

1. เปาหมายการพัฒนาคุณภาพคนและความเขมแขง็ของชุมชน 1.1 การพัฒนาคน

(1) คนไทยทุกคนไดรับการพัฒนาใหมีความพรอมทัง้ดานรางกาย สติปญญา

คุณธรรม จริยธรรม อารมณ มีความสามารถในการแกปญหา มีทกัษะในการประกอบอาชีพ มีความ

มั่นคงในการดํารงชีวิตอยางมีศักดิ์ศรี และอยูรวมกนัอยางสงบสุข

(2) เพิ่มจาํนวนปการศึกษาเฉลีย่ของคนไทยเปน 10 ป พฒันากําลงัแรงงาน

ระดับกลางทีม่ีคุณภาพเพิม่เปนรอยละ 60 ของกําลังแรงงานทั้งหมด และเพิ่มสัดสวนบุคลากรดาน

การวิจยัและพฒันาเปน 10 คนตอประชากร 10,000 คน

(3) อายุคาดหมายเฉลี่ยของคนไทยสูงขึน้เปน 80 ป ควบคูกับการลดอตัราเพิ่ม

ของการเจ็บปวยดวยโรคปองกันไดใน 5 อันดับแรก คือ หัวใจ ความดนัโลหิตสงู เบาหวาน หลอดเลือด

สมอง และมะเร็ง นําไปสูการเพิม่ผลิตภาพแรงงานและลดรายจายดานสุขภาพของบุคคลลงในระยะ

ยาว

1.2 การพัฒนาชมุชนและแแกปญหาความยากจน ทกุชุมชนมีแผนชุมชนแบบมี

สวนรวม และองคกรปกครองสวนทองถิน่นําแผนชุมชนไปใชในการจัดทําแผนพัฒนาทองถิน่และ

ประกอบการจดัสรรงบประมาณ เพิ่มกิจกรรมสรางสรรคสังคมและบรรเทาปญหาอาชากรรม ยาเสพติด

และขยายโอกาสการเขาถึงแหลงทุน การมีสวนรวมในการตัดสินใจ และลดสัดสวนผูอยูใตเสนความ

ยากจนลงเหลอืรอยละ 4 ภายในป 2554 2. เปาหมายดานเศรษฐกจิ

2.1 โครงสรางเศรษฐกิจ สัดสวนภาคเศรษฐกิจในประเทศตอภาคการคาระหวาง

ประเทศเพิ่มข้ึนเปนรอยละ 75 ภายในป 2554 และสัดสวนภาคการผลิตเกษตรและอุตสาหกรรม

เกษตรเพิ่มข้ึนเปนรอยละ 15 ภายในป 2554

74 แผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติ ฉบับที่ 10 พ.ศ. 2550 - 2554

Page 18: PH11#1 (เอกสารประกอบฯ5) แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 10-5

2.2 เสถียรภาพเศรษฐกิจ อัตราเงินเฟอทั่วไปเฉลี่ยรอยละ 3.0-3.5 ตอป สัดสวน

หนี้สาธารณะตอผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศ ไมเกินรอยละ 50 และความยืดหยุนการใชพลังงาน

เฉล่ียไมเกิน 1 : 1 ในระยะของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10

2.3 ความเปนธรรมทางเศรษฐกิจ สัดสวนรายไดของกลุมที่มีรายไดสูงสุดรอยละ

20 แรกตอรายไดของกลุมมที่มีรายไดต่ําสุดรอยละ 20 ไมเกิน 10 เทา ภายในป 2554 และสัดสวน

ผลผลิตของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอมตอผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศ ไมต่ํากวารอยละ 40

ในระยะของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 3. เปาหมายการสรางความมั่นคงของฐานทรัพยากรและสิ่งแวดลอม

3.1 รักษาความอดุมสมบูรณของฐานทรพัยากรและความหลากหลายทางชวีภาพ ให

มีพื้นที่ปาไมไวไมนอยกวารอยละ 33 และตองเปนพืน้ที่ปาอนุรักษไมนอยกวารอยละ 18 ของพืน้ที่

ประเทศ รวมทั้งรักษาพื้นทีท่ําการเกษตรในเขตชลประทานไวไมนอยกวา 31,000,000 ไร

3.2 รักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมใหอยูในระดับที่เหมาะสมตอการดํารงคุณภาพชีวิตที่ดีและไมเปนภัยคุกคามตอระบบนิเวศ ตลอดจนคุณภาพชีวิตของคนไทย โดยรักษาคุณภาพน้ําใน

ลุมน้ําตาง ๆ และแหลงน้ําธรรมชาติใหอยูในเกณฑพอใชและดี รวมกนัไมต่ํากวารอยละ 85 คุณภาพ

อากาศอยูในเกณฑมาตรฐาน โดยเฉพาะฝุนละอองขนาดเล็ก (PM10 ) ตองมีคาเฉลีย่ 24 ชั่วโมงไมเกิน

120 มก./ลบ.ม. อัตราการปลอยกาซคารบอนไดออกไซดตอประชากรลดลงรอยละ 5 จากป 2546 คือ

ไมเกิน 3.5 ตัน/คน/ป ควบคุมอัตราการผลิตขยะในเขตเมืองไมใหเกนิ 1 กก./คน/วนั และของเสีย

อันตรายจากชมุชนและอุตสาหกรรมไดรับการจัดการอยางถกูตอง รอยละ 80 ของปริมาณของเสีย

อันตรายทั้งหมด รวมทัง้ใหมีระบบฐานขอมูลความหลากหลายทางชวีภาพที่สมบรูณระดับประเทศ

1 ระบบ 4. เปาหมายดานธรรมาภบิาล

4.1 มุงใหธรรมาภิบาลของประเทศดีข้ึน มีคะแนนภาพลักษณของความโปรงใสอยูที่

5.0 ภายในป 2554 ระบบราชการมีขนาดที่เหมาะสม และมีการดําเนินงานที่คุมคาเพิ่มข้ึน ลด

กําลังคนภาคราชการใหไดรอยละ 10 ภายในป 2554 ธรรมาภิบาลในภาคธุรกิจเอกชนเพิ่มข้ึน

ทองถิ่นมีขีดความสามารถในการจัดเก็บรายไดและมีอิสระในการพึ่งตนเองมากขึ้น ภาคประชาชน มี

ความเขมแข็ง รูสิทธิ หนาที่ และมีสวนรวมมากขึ้นในการตัดสินใจและรับผิดชอบในการบริหารจัดการ

ระเทศ

4.2 สรางองคความรูเกี่ยวกับประชาธิปไตยและธรรมาภิบาลในบริบทไทยใหมีการศึกษาวิจัย พัฒนาองคความรูในดานวัฒนธรรมประชาธิปไตย วัฒนธรรมธรรมาภิบาล และวัฒนธรรม

สันติวิธีเพิ่มข้ึนในระยะของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10

75 แผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติ ฉบับที่ 10 พ.ศ. 2550 - 2554

Page 19: PH11#1 (เอกสารประกอบฯ5) แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 10-5

ยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศ

การพัฒนาคุณภาพคน สังคม แหงศีลธรรม ฐานความรู

การสรางความเขมแข็งของชุมชนทองถิ่น พัฒนาเครือขาย เชื่อมโยงสูภายนอก

การพัฒนาเศรษฐกิจไทยบนฐานการผลิต ที่แขง็แกรงดวยองคความรู สรางคณุคาเพิ่ม

การสรางความมั่นคงของฐานทรัพยากร ความหลากหลายทางชีวภาพ คุณภาพสิ่งแวดลอม

การเสริมสรางระบบและวัฒนธรรม ธรรมาภิบาลและประชาธิปไตย

การประยุกตใชปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาประเทศในแผนพัฒนาฯ 10

คนเปนศูนยกลาง บนพื้นฐานดุลยภาพเชิงพลวัตร

พอประมาณ มีเหตุผล

มีภูมิคุมกัน

ความรอบรู คุณธรรม ความเพียร

คน สังคม ดุลยภาพจิตใจ-วัตถุ

พึ่งพาตนเอง

ปรับตัวรูเทาทันโลก

สรางภูมิคุมกันแก

ครอบครัว ชุมชน

สังคม ประเทศ

“สังคมอยูเย็นเปน

สุขรวมกัน”

ชุมชน ชนบท - เมือง

ดุลยภาพภายใน

เศรษฐกิจ จัดการความเสี่ยง/ภูมิคุมกัน

ดุลยภาพภายใน-โลกาภิวัตน

ทรัพยากร อนุรักษ - ใชประโยชน

ดุลยภาพภายใน

ธรรมาภิบาล แขงขัน-กระจายประโยชน

อยางเปนธรรม กระจายอํานาจอยางเปนธรรม

รูปที่ 8 การประยุกตใชปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาประเทศในแผนพัฒนาเศรษฐกิจ

และสังคมแหงชาติ ฉบับที ่10 พ.ศ.2550 - 2554

1. ยุทธศาสตรการพัฒนาคณุภาพคนและสังคมไทยสูสงัคมแหงภูมปิญญาและการเรียนรู ใหความสาํคัญกับการพัฒนาคนใหมีคุณธรรมนําความรู เกิดภูมิคุมกัน โดยพัฒนาจติใจควบคูกับการพัฒนาการเรียนรูของคนทุกกลุมวยัตลอดชวีิต และสามารถจัดการกับองคความรู ทั้งภูมิปญญาทองถิน่และองคความรูสมยัใหมเพื่อนาํไปใชในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม พรอมทั้งเสริมสรางสุขภาวะคนไทยใหมีสุขภาพแขง็แรงทัง้กายและใจ และอยูในสภาพแวดลอมที่นาอยู โดยเนนการพฒันาระบบสุขภาพอยางครบวงจร และการเสริมสรางคนไทยใหอยูรวมกนัในสงัคมไดอยางสันติสุข ดํารงชีวิตอยางมัน่คงทั้งในระดับครอบครัวและชุมชน สรางโอกาสในการเขาถงึแหลงทนุ สงเสริมการดํารงชีวิตที่มีความปลอดภัย นาอยู บนพืน้ฐานของความยุติธรรมในสังคม

2. ยุทธศาสตรการสรางความเขมแข็งของชุมชนและสังคมใหเปนรากฐานที่มั่นคงของประเทศ ใหความสําคัญกับการบริหารจัดการกระบวนการชุมชนเขมแข็งดวยการสงเสริมการรวมตัว รวมคิด รวมทํา ในรูปแบบที่หลากหลาย และจัดกิจกรรมอยางตอเนื่องตามความพรอมของชุมชน การสรางความมั่นคงของเศรษฐกิจชุมชนที่เนนการผลิตเพื่อการบริโภคอยางพอเพียง สงเสริม

76 แผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติ ฉบับที่ 10 พ.ศ. 2550 - 2554

Page 20: PH11#1 (เอกสารประกอบฯ5) แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 10-5

การรวมลงทุนระหวางเครือขายองคกรชุมชนกับองคกรปกครองสวนทองถิ่น พรอมทั้งสรางระบบบมเพาะวิสาหกิจชุมชนควบคูกับการพัฒนาความรูและทักษะในการประกอบอาชีพ ตลอดจนการเสริมสรางศักยภาพของชุมชนในการอยูรวมกันกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอยางสันติและเกื้อกูล และการสรางกลไกในการปกปองคุมครองทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมในทองถิ่น

3. ยุทธศาสตรการปรับโครงสรางการผลิตใหสมดุลและยั่งยืน ใหความสําคัญกับการปรับโครงสรางเพื่อสรางความเขมแข็งของภาคการผลิตและบริการ บนฐานการเพิ่มคุณคาสินคาและบริการจากองคความรูสมัยใหม ภูมิปญญาทองถิ่นและนวัตกรรม และการบริหารจัดการที่ดี รวมทั้งสรางบรรยากาศการลงทุนที่ดีดวยการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานและระบบโลจิสติกส การปฏิรูปองคกร การปรับปรุงกฎระเบียบ การพัฒนามาตรฐานในดานตางๆ และการดําเนินนโยบายการคาระหวางประเทศใหสนับสนุนการเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศ พรอมทั้งการสรางภูมิคุมกัน และระบบบริหารความเสี่ยงของระบบเศรษฐกิจที่มีประสิทธิภาพ โดยการบริหารเศรษฐกิจสวนรวม การสงเสริมการออม การพัฒนาพลังงานทางเลือก และใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพ ตลอดจนสนับสนุนใหเกิดการแขงขันอยางเปนธรรม และการกระจายผลประโยชนอยางทั่วถึง เพื่อใหการปรับโครงสรางเศรษฐกิจชวยแกปญหาความยากจนและมีการกระจายรายไดที่ดีข้ึน

4. ยุทธศาสตรการพัฒนาบนฐานความหลากหลายทางชีวภาพและการสรางความมั่นคงของฐานทรัพยากรและสิ่งแวดลอม ใหความสําคัญกับการรักษาฐานทรัพยากรและความสมดุลของระบบนิเวศเพื่อรักษาสมดุลระหวางการอนุรักษและการใชประโยชน การสรางสภาพแวดลอมที่ดี เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตและการพัฒนาที่ยั่งยืน ดวยการปรับแบบแผนการผลิตและพฤติกรรมการบริโภค เพื่อลดผลกระทบตอฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม รวมทั้งพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการเพื่อลดมลพิษและควบคุมกิจกรรมที่จะสงผลกระทบตอคุณภาพชีวิต และการพัฒนาคุณคาความหลากหลายทางชีวภาพและภูมิปญญาทองถิ่นดวยการจัดการองคความรูและสรางภูมิคุมกัน ตลอดจนสงเสริมการใชความหลากหลายทางชีวภาพในการสรางความมั่นคงของภาคเศรษฐกิจทองถิ่นและชุมชน และพัฒนาขีดความสามารถและสรางนวัตกรรมจากทรัพยากรชีวภาพที่เปนเอกลักษณของประเทศ

5. ยุทธศาสตรการเสริมสรางธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการประเทศ มุงเสริมสรางความเปนธรรมในสังคมอยางยัง่ยนื โดยใหความสําคญักับการพฒันาวัฒนธรรมประชาธิปไตย และธรรมาภิบาลใหเปนสวนหนึง่ของวถิีการดาํเนนิชีวิตในสังคมไทย เสริมสรางความเขมแข็งของภาคประชาชนใหสามารถเขารวมในการบริหารจัดการประเทศ พรอมทัง้สรางภาคราชการที่มีประสิทธภิาพ และมีธรรมาภิบาล โดยเนนการบริการแทนการกํากบัควบคุมและทํางานรวมกับหุนสวนการพฒันา รวมทัง้กระจายอํานาจการบริหารจัดการประเทศสูภูมิภาค ทองถิน่และชุมชนเพิ่มข้ึนตอเนื่อง ตลอดจนสงเสริมภาคธรุกิจเอกชนใหเกิดความเขมแข็ง สุจริต และมีธรรมาภิบาล นอกจากนัน้ดําเนินการปฏิรูปกฎหมาย กฎระเบียบ และข้ันตอน กระบวนการเกี่ยวกับการพัฒนาเศรษฐกิจและสงัคมเพื่อสรางความ

77 แผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติ ฉบับที่ 10 พ.ศ. 2550 - 2554

Page 21: PH11#1 (เอกสารประกอบฯ5) แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 10-5

สมดุลในการจัดสรรประโยชนจากการพัฒนา รวมทั้งการรักษาและเสริมสรางความมั่นคงเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการประเทศสูดุลยภาพและความยัง่ยนื การขับเคลื่อนยุทธศาสตรสูการปฏิบัติและการติดตามประเมินผล

1. เสริมสรางบทบาทการมีสวนรวมของภาคพีัฒนา จัดทาํแผนปฏิบัติการในระดับตาง ๆ ที่บูรณาการเชือ่มโยงกับยทุธศาสตรของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 ภายใตหลกัปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยีง

2. กําหนดแนวทางการลงทุนทีสํ่าคัญตามยทุธศาสตรการพฒันาในแผนพฒันาฯ ฉบับที ่10 3. เรงปรับปรุงและพัฒนากฎหมายเพื่อสนบัสนุนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร ใหบังเกิดผล

ในทางปฏิบัตอิยางมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล 4. ศึกษาวจิัยองคความรูและกระบวนการเรียนรูเพื่อหนนุเสริมการขับเคลื่อนยุทธศาสตร

แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 สูการปฏิบัติ 5. พัฒนาระบบการติดตามประเมินผลและสรางดัชนีชี้วัดความสําเร็จของการพัฒนาในทุก

ระดับ 6. สนับสนุนการพัฒนาระบบฐานขอมูลในทุกระดับและการเชื่อมโยงโครงขายขอมูลขาวสาร

ระหวางหนวยงานกลางระดบันโยบาย ตลอดจนระดับพืน้ที่และทองถิน่

78 แผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติ ฉบับที่ 10 พ.ศ. 2550 - 2554

Page 22: PH11#1 (เอกสารประกอบฯ5) แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 10-5

ภาคผนวก 4

คณะกรรมการอํานวยการจัดทําแผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติ ฉบับที่ 10 คณะกรรมการประสานการจัดทําแผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติ ฉบับที่ 10 คณะทํางานประสานการจัดทําแผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติ ฉบับที่ 10

(สําเนา)

คําสั่งกระทรวงสาธารณสุข ที่ 272 / 2549

เรื่อง แตงตั้งคณะกรรมการอํานวยการจดัทําแผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติ ฉบับที ่10 ...........................................................

ดวย ขณะนี้อยูในชวงที่จะตองเตรียมการ เพื่อจัดทําแผนพัฒนาสขุภาพแหงชาติ ฉบับที ่

10 เพื่อใชเปนเครื่องมือในการดําเนนิงานพัฒนาสุขภาพอนามัยของประชาชน

เพื่อใหแผนพฒันาสุขภาพแหงชาติฉบับที ่ 10 เปนแผนที่เกิดจากการมีสวนรวมของทุกฝาย

และเปนทีย่อมรับของหนวยงานที่เกี่ยวของในการศึกษาพัฒนาสุขภาพอนามัยของประชาชนและ

สามารถนําไปสูการปฏิบัติไดจึงแตงตั้งคณะกรรมการอํานวยการจัดทําแผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติ

ฉบับที่ 10 ดังนี ้

1. รัฐมนตรีวาการกระทรวงสาธารณสุข ประธานคณะกรรมการ

2. รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงสาธารณสุข รองประธานคณะกรรมการ

3. ประธานคณะกรรมาธิการการสาธารณสุข วุฒิสภา กรรมการ

4. ประธานคณะกรรมาธิการการสาธารณสุข สภาผูแทนราษฎร กรรมการ

5. ศาสตราจารยนายแพทยประเวศ วะสี กรรมการ

6. ศาสตราจารยนายแพทย จรัส สุวรรณเวลา กรรมการ

7. ศาสตราจารยนายแพทยเกษม วฒันชัย กรรมการ

8. เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ กรรมการ

9. ผูอํานวยการสํานกังบประมาณ กรรมการ

10. เลขาธิการคณะกรรมการขาราชการพลเรือน กรรมการ

11. ปลัดกระทรวงสาธารณสุข กรรมการ

79 แผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติ ฉบับที่ 10 พ.ศ. 2550 - 2554

Page 23: PH11#1 (เอกสารประกอบฯ5) แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 10-5

12. ปลัดกระทรวงมหาดไทย กรรมการ

13 ปลัดกระทรวงกลาโหม กรรมการ

14. ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ กรรมการ

15. ปลัดกระทรวงพาณิชย กรรมการ

16. ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม กรรมการ

17. ปลัดกระทรวงศกึษาธิการ กรรมการ

18. ปลัดกระทรวงการพฒันาสงัคมและความมัน่คงของมนษุย กรรมการ

19. ปลัดกระทรวงแรงงาน กรรมการ

20. ปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม กรรมการ

21. ปลัดกรุงเทพมหานคร กรรมการ

22. อธิบดีกรมสงเสริมการปกครองทองถิน่ หรือผูแทน กรรมการ

23. อธิบดีกรมอนามัย กรรมการ

24. อธิบดีกรมการแพทย กรรมการ

25. อธิบดีกรมควบคุมโรค กรรมการ

26. อธิบดีกรมวิทยาศาสตรการแพทย กรรมการ

27. อธิบดีกรมสุขภาพจิต กรรมการ

28. อธิบดีกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กรรมการ

29. อธิบดีกรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก กรรมการ

30. เลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา กรรมการ

31. เลขาธิการสํานักงานหลกัประกันสุขภาพแหงชาติ กรรมการ

32. ผูอํานวยการสถาบนัวิจยัระบบสาธารณสุข กรรมการ

33. ผูจัดการสาํนักงานกองทนุสนับสนนุการสรางเสริมสุขภาพ กรรมการ

34. เลขาธิการมูลนิธิสุขภาพไทย กรรมการ

35. ผูอํานวยการสํานกังานปฏิรูประบบสุขภาพแหงชาต ิ กรรมการ

36. หวัหนาสาํนักตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข กรรมการ

37. ผูอํานวยการสถาบนัวิจยัเพื่อการพัฒนาประเทศไทย กรรมการ

38. นายแพทยสุวิทย วิบุลผลประเสริฐ กรรมการและเลขานุการ

นักวิชาการสาธารณสุข 10 (ดานเศรษฐศาสตรสาธารณสุข)

39. ผูอํานวยการสํานกัพัฒนาสังคมและคณุภาพชีวิต กรรมการและผูชวยเลขานุการ

สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ

80 แผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติ ฉบับที่ 10 พ.ศ. 2550 - 2554

Page 24: PH11#1 (เอกสารประกอบฯ5) แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 10-5

40. ผูอํานวยการสํานกันโยบายและยทุธศาสตร กรรมการและผูชวยเลขานุการ

สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

41. นายแพทยโกมาตร จึงเสถียรทรัพย กรรมการและผูชวยเลขานกุาร

ผูอํานวยการสํานกัวิจยัสงัคมและสุขภาพ

42. ผูอํานวยการกลุมพฒันายุทธศาสตร กรรมการและผูชวยเลขานกุาร

สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

โดยมีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี ้

1. กําหนด นโยบาย กรอบทศิทางการพัฒนาสาธารณสขุของประเทศ เพื่อเปนแนวทางใน

การวางแผนพฒันาสุขภาพแหงชาติ ฉบับที ่10

2. พิจารณาใหความเหน็ชอบ / ใหขอเสนอแนะตอยทุธศาสตรการพัฒนาสาธารณสุข

3. พิจารณาใหความเห็นชอบ ใหขอเสนอแนะในการจัดทําแผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติ ฉบับที่

10

กับหนวยงานที่เกี่ยวของทั้งภาครัฐและเอกชน

4. แตงตั้งคณะอนุกรรมการคณะทํางานไดตามความเหมาะสม

ทั้งนี้ ตั้งแตบดันี้เปนตนไป

ส่ัง ณ วันที ่ 16 มีนาคม พ.ศ. 2549

(ลงชื่อ) พินจิ จารุสมบัติ

(นายพนิิจ จารุสมบัติ)

รัฐมนตรีวาการกระทรวงสาธารณสุข

รับรองสําเนาถูกตอง

(ลงชื่อ) จุฑาธิป วิวฒันาพนัธุ

(นางจุฑาธปิ วิวฒันาพันธุ)

เจาหนาที่วิเคราะหนโยบายและแผน 8 ว.

81 แผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติ ฉบับที่ 10 พ.ศ. 2550 - 2554

Page 25: PH11#1 (เอกสารประกอบฯ5) แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 10-5

17 มีนาคม 2549

82 แผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติ ฉบับที่ 10 พ.ศ. 2550 - 2554

Page 26: PH11#1 (เอกสารประกอบฯ5) แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 10-5

(สําเนา) คําสั่งกระทรวงสาธารณสุข

ที่ 433 / 2549 เรื่อง แตงตั้งคณะกรรมการอํานวยการจดัทําแผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติ ฉบับที่ 10 (เพิ่มเติม)

….........................................................

อนุสนธิคาํสั่งกระทรวงสาธารณสุข ที ่272 / 2549 เร่ือง แตงตัง้คณะกรรมการอํานวยการ

จัดทําแผนพฒันาสุขภาพแหงชาติ ฉบับที่ 10

ในการนี ้ จงึแตงตั้งคณะกรรมการอาํนวยการจัดทาํแผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติ ฉบับที ่10

(เพิ่มเติม) ดังนี ้

1. รองปลัดกระทรวงสาธารณสขุ หัวหนากลุมภารกิจดานบรหิาร

2. รองปลัดกระทรวงสาธารณสขุ หัวหนากลุมภารกิจดานพฒันาการสาธารณสุข

3. รองปลัดกระทรวงสาธารณสขุ หัวหนากลุมภารกิจดานพฒันาการแพทย

4. รองปลัดกระทรวงสาธารณสขุ หัวหนากลุมภารกิจดานสนับสนนุงานบริการสุขภาพ

ทั้งนี้ ตั้งแตบดันี้เปนตนไป

ส่ัง ณ วันที ่ 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2549

(ลงช่ือ) นายพินิจ จารุสมบัติ

(นายพินจิ จารุสมบัต)ิ

รัฐมนตรีวาการกระทรวงสาธารณสุข

รับรองสําเนาถูกตอง

(ลงชื่อ) สิริมา อาจบานสราง

(นางสิริมา อาจบานสราง)

เจาหนาที่เวชสถิติ 6

5 พฤษภาคม 2549

83 แผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติ ฉบับที่ 10 พ.ศ. 2550 - 2554

Page 27: PH11#1 (เอกสารประกอบฯ5) แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 10-5

(สําเนา) คําสั่งกระทรวงสาธารณสุข ที่ 257 / 2549

เรื่อง แตงตั้งคณะกรรมการประสานการจัดทําแผนพฒันาสุขภาพแหงชาต ิ ฉบับที่ 10 ............................................................

ดวยแผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติ ฉบับที่ 9 ซึ่งไดดําเนนิการมาตั้งแต ป 2545 และจะสิ้นสุดใน

ป 2549 ซึ่งจะมีการประกาศใชแผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติ ฉบับที่ 10 พ.ศ.2550 – 2554 ในเดือน

ตุลาคม 2549 นั้น

เนื่องจากในการจัดทําแผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติฉบับที่ 10 ตองอยูภายในกรอบแนวคิดของ

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติและตั้งอยูบนฐานขององคความรู ทั้งในเชงิสากลและความรู

ที่เปนภูมิปญญาของชาติซึง่ตองอาศัยการมีสวนรวมของทุกภาคสวน

ฉะนั้นเพื่อใหแผนพัฒนาสุขภาพแหงชาต ิ ฉบับที ่ 10 บรรลุเปาประสงคจึงไดแตงตั้ง

คณะกรรมการประสานการจัดทําแผนพฒันาสุขภาพแหงชาติฉบับที ่ 10 ดังนี ้

1. ปลัดกระทรวงสาธารณสขุ ประธานคณะกรรมการ 2. น.พ.สุวิทย วิบุลผลประเสริฐ รองประธานคณะกรรมการ นักวิชาการสาธรณสุข 10 (ดานเศรษฐศาสตรสาธารณสุข) 3. หัวหนาสํานักวชิาการสาธารณสุข กรรมการ สํานกังานปลัดกระทรวงสาธารณสุข 4. พ.ญ.เพชรศรี ศิรินิรันดร กรรมการ ผูทรงคุณวฒุิดานเวชกรรมปองกนั กรมควบคุมโรค 5. ผูอํานวยการสํานกัพัฒนาสังคมและคณุภาพชีวิต กรรมการ สํานกังานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ 6. ผูอํานวยการสํานกันโยบายและยทุธศาสตร กรรมการ สํานกังานปลัดกระทรวงสาธารณสุข 7. ผูอํานวยการสํานกัประสานและสงเสรมิกิจการอุดมศึกษา กรรมการ สํานกังานคณะกรรมการอุดมศึกษาแหงชาต ิ 8. ผูอํานวยการสํานกันโยบายและยทุธศาสตร กรรมการ กระทรวงการพัฒนาสงัคมและความมัน่คงของมนุษย 9. ผูอํานวยการสํานกันโยบายและยทุธศาสตร กระทรวงศึกษาธิการ กรรมการ

84 แผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติ ฉบับที่ 10 พ.ศ. 2550 - 2554

Page 28: PH11#1 (เอกสารประกอบฯ5) แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 10-5

10. ผูอํานวยการสํานกัอนามยั กรุงเทพมหานคร กรรมการ

11. ผูอํานวยการสวนสงเสรมิการจัดการดานสาธารณสขุและสวัสดิการสังคม กรรมการ

กรมสงเสริมการปกครองทองถิน่

12. ผูอํานวยการสํานกัระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กรรมการ

13. นางจงกลนี วทิยารุงเรอืงศรี ศูนยประสานงานกลุมภารกิจ กรรมการ

ดานสนับสนุนงานบริการสุขภาพและอาหารปลอดภัย กรมวิทยาศาสตรการแพทย

14. นายบารม ี ชัยรัตน สํานักเสมสิกขาลัย กรรมการ

15. น.พ.ปฐม สวรรคปญญาเลิศ ผูอํานวยการศูนยเทคโนโลยีชีวภาพ กรรมการ

ดานการแพทยและสาธารณสุข กรมวิทยาศาสตรการแพทย

16. น.พ.สุรเชษฐ สถิตนิรามัย นายแพทยสาธารณสขุจังหวัดปราจนีบุรี กรรมการ

17. ทนัตแพทยกฤษดา เรืองอารีรัตน กรรมการ

สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ

18. น.พ.พงษพิสุทธิ ์ จงอุดมสุข สํานักงานหลักประกนัสุขภาพแหงชาติ กรรมการ

19. น.พ.วิโรจน ตั้งเจริญเสถียร กรรมการ

ผูอํานวยการสํานกัพัฒนานโยบายสุขภาพระหวางประเทศ

20. ผูอํานวยการกองแผนงาน กรมการแพทย กรรมการ

21. ผูอํานวยการกองแผนงาน กรมอนามัย กรรมการ

22. ผูอํานวยการกองแผนงาน กรมสุขภาพจติ กรรมการ

23. ผูอํานวยการกองแผนงาน กรมควบคุมโรค กรรมการ

24. ผูอํานวยการกองแผนงานและวิชาการ กรมวิทยาศาสตรการแพทย กรรมการ

25. ผูอํานวยการกองแผนงานและวิชาการ สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา กรรมการ

26. น.พ. ปราโมทย เสถียรรัตน ผูอํานวยการสถาบนัการแพทยแผนไทย กรรมการ

27. น.พ.โกมาตร จึงเสถียรทรัพย กรรมการและเลขานกุาร

28. ผูอํานวยการกลุมพฒันายุทธศาสตร กรรมการและผูชวยเลขานุการ

โดยมีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี ้

1. เสนอแนวทางและขั้นตอนในการจัดทําแผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติ ฉบับที่ 10

2. พิจารณาเอกสารและขอมูลประกอบการจดัทําแผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติ ฉบับที ่10

3. ประสานการจดัทําแผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติ ฉบับที ่10 กับหนวยงานที่เกี่ยวของ

85 แผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติ ฉบับที่ 10 พ.ศ. 2550 - 2554

Page 29: PH11#1 (เอกสารประกอบฯ5) แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 10-5

4. พิจารณาและใหขอเสนอแนะตอการจัดประชุมระดมสมองประชุมสัมมนาตาง ๆ เพื่อการ

จัดทําแผนพฒันาสุขภาพแหงชาติ ฉบับที ่10

5. รายงานความกาวหนาในการจัดทําแผนพฒันาสุขภาพแหงชาติ ฉบับที ่ 10 ตอ

คณะกรรมการอํานวยการ เปนระยะ ๆ ตามความเหมาะสม

6. จัดทําแผนพฒันาสุขภาพแหงชาติ ฉบับที ่10 เพื่อเสนอตอผูบริหารใหความเห็นชอบ

7. แตงตั้งคณะทาํงานตามความเหมาะสม

8. อ่ืน ๆ ตามที่ไดรับมอบหมาย

ทั้งนี้ตั้งแตบัดนี้เปนตนไป

ส่ัง ณ วันที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2549

(ลงชื่อ) ปราชญ บุณยวงศวิโรจน

(นายปราชญ บุณยวงศวิโรจน)

รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข

รักษาราชการแทนปลดักระทรวงสาธารณสุข

รับรองสําเนาถูกตอง

(ลงชื่อ) จฑุาธิป ววิัฒนาพันธุ

(นางจุฑาธิป วิวัฒนาพันธุ)

เจาหนาทีว่ิเคราะหนโยบายและแผน 8 ว.

10 มีนาคม 2549

86 แผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติ ฉบับที่ 10 พ.ศ. 2550 - 2554

Page 30: PH11#1 (เอกสารประกอบฯ5) แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 10-5

(สําเนา) คําสั่งกระทรวงสาธารณสุข ที่ 258 / 2549

เรื่อง แตงตั้งคณะทํางานประสานการจัดทําแผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติ ฉบับที ่10 ............................................................

ดวยแผนพัฒนาสุขภาพแหงชาต ิ ฉบับที ่ 9 ซึ่ง ไดดําเนนิการมาตัง้แต ป 2545 ส้ินสุดในป

2549 และจะมีการประกาศใชแผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติ ฉบับที่ 10 พ.ศ.2550 – 2554 ในป 2550 นั้น

เพื่อใหแผนพฒันาสุขภาพแหงชาติฉบับที ่ 10 เปนแผนที่เกิดจากการมีสวนรวมของทุกฝาย

ที่เกี่ยวของกบัการพัฒนาสุขภาพอนามัยของประชาชน จงึไดแตงตั้งคณะทํางาน ประสานการจดัทํา

แผนพัฒนาสขุภาพแหงชาติ ฉบับที ่10 ดังนี ้

1. น.พ.สุวัช เซียศิริวัฒนา ผูอํานวยการสํานักนโยบายและยุทธศาสตร ประธานคณะทํางาน

2. น.พ.โกมาตร จึงเสถียรทรัพย ผูอํานวยการสํานกัวจิัยสังคมและสุขภาพ รองประธานคณะทํางาน

3. น.ส.พันธุทิพย ธรรมสโรช ผูอํานวยการกลุมติดตามประเมนิผล คณะทํางาน

4. นางรัมภา หทัยธรรม หัวหนากลุมงานพัฒนายุทธศาสตรฯ จ.สมุทรสาคร คณะทํางาน

5. นางสถาพร จิรัฐติกาลกิจ หวัหนากลุมงานพฒันายุทธศาสตรฯ จ.ระยอง คณะทํางาน

6. นางทิพาภรณ สังขพนัธ หัวหนากลุมงานพฒันายทุธศาสตรฯ จ.สมุทรปราการ คณะทํางาน

7 . นางจฑุาธปิ วิวฒันาพันธุ คณะทํางาน

8. น.ส.สุกัญญา ภัทรวิมล คณะทํางาน

9. น.ส.สุมาภรณ แซล่ิม คณะทํางาน

10. นางสุชาดา อติวานิชยพงศ คณะทํางาน

11. นางวีรวรรณ เสถยีรกาล คณะทํางาน

12. ผูแทนสาํนักงานกองทนุสนับสนนุการสรางเสริมสุขภาพ (สสส.) คณะทํางาน

13. ผูแทนสํานักงานหลกัประกันสุขภาพแหงชาติ คณะทํางาน

14. นางสุภวาร มนิมนากร คณะทํางาน

15. น.ส.นงลกัษณ ตรงศีลสัตย คณะทํางาน

16. นายประชาธิป กะทา คณะทํางาน

17. นางเยาวมาลย เสือแสงทอง คณะทาํงานและเลขานุการ

18. นางบุษกร นางงามสาํโรง คณะทํางานและผูชวยเลขานุการ

19. นางสิริมา อาจบานสราง คณะทํางานและผูชวยเลขานุการ

87 แผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติ ฉบับที่ 10 พ.ศ. 2550 - 2554

Page 31: PH11#1 (เอกสารประกอบฯ5) แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 10-5

โดยมีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี ้

1. กําหนดกรอบ แนวทาง แผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติ ฉบับที่ 10

2. จัดทําและวิเคราะหขอมูลในสวนที่เกีย่วของเพื่อเปนขอมลูในการจัดทําแผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติ ฉบับที่ 10

3. ประสานการจดัทําแผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติ ฉบับที ่10 กับหนวยงานที่เกี่ยวของ

4. จัดเตรียมเอกสารวิชาการและขอมูลตาง ๆ ประกอบการประชุมคณะกรรมการอํานวยการ

5. จัดประชุมระดมสมอง ประชมุสัมมนาของแผนพัฒนาการสาธารณสุขแหงชาติ ฉบับที ่10

6. ยกรางเอกสารแผนพัฒนาการสาธารณสุขแหงชาติ ฉบับที ่10

7. บรรณาธิการแผนพัฒนาการสาธารณสุขแหงชาติ ฉบับที ่10

8. จัดพิมพแผนพฒันาการสาธารณสุขแหงชาติ ฉบับที่ 10

9. อ่ืน ๆ ตามที่ไดรับมอบหมาย

ทั้งนี้ตั้งแตบัดนี้เปนตนไป

ส่ัง ณ วนัที ่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2549

(ลงชื่อ) นายปราชญ บุณยวงศวิโรจน

(นายปราชญ บุณยวงศวิโรจน)

รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข

รักษาราชการแทนปลดักระทรวงสาธารณสุข

รับรองสําเนาถูกตอง

(ลงชื่อ) จฑุาธิป ววิัฒนาพันธุ

(นางจุฑาธิป วิวัฒนาพันธุ)

เจาหนาทีว่ิเคราะหนโยบายและแผน 8 ว.

10 มีนาคม 2549

88 แผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติ ฉบับที่ 10 พ.ศ. 2550 - 2554