process instrumentation unit 10

28
เทคนิคและแนวทางในการปรับแต่ง ระบบควบค การวิเคราะห์และออกแบบระบบควบคุมต างๆ ต้องรู ้จักและศึกษาถึง พฤติกรรมของกระบวนการนั โดยปกติแล้ววิธีการศึกษา พฤติกรรมมีอยู ด้วยก 2 วิธี คือ 1. ด้วยวิธีการทดสอบ 2. ด้วยวิธีการทางสมการทางคณิตศาสตร์ วิชา อุปกรณ์วัดและควบคุมในกระบวนการ Process Instrumentation PAT.M. ดร.ปรัชญา มงคลไวย์ Dr.PRATYA MONGKOLWAI

Upload: rajamangala-university-of-technology-rattanakosin

Post on 13-Apr-2017

148 views

Category:

Engineering


5 download

TRANSCRIPT

Page 1: Process instrumentation unit 10

เทคนิคและแนวทางในการปรับแต่ง

ระบบควบคมุ

การวเิคราะห์และออกแบบระบบควบคุมต่างๆ ตอ้งรู้จกัและศึกษาถึง

“พฤตกิรรม” ของกระบวนการนั้น

โดยปกติแลว้วธิีการศึกษา “พฤติกรรม” มีอยูด่ว้ยกนั 2 วธิี

คือ 1. ดว้ยวธิีการทดสอบ

2. ดว้ยวธิีการทางสมการทางคณิตศาสตร์

วชิา อุปกรณ์วดัและควบคุมในกระบวนการ

Process Instrumentation

PAT.M.

ดร.ปรัชญา มงคลไวย์

Dr.PRATYA MONGKOLWAI

Page 2: Process instrumentation unit 10

การออกแบบอปุกรณ์ควบคมุ

แบบอนาลอกวชิา อุปกรณ์วดัและควบคุมในกระบวนการ

Process Instrumentation

หัวข้อ 1.แนวทางในการเลือกชนิดอุปกรณ์ควบคุม

2.ผลตอบสนองของกระบวนการต่อชนิดควบคุม

3.เทคนิคการปรับแต่งระบบควบคุม

3.1 โดยวิธี Ziegler-Nichols

3.2 โดยวิธี Damped oscillation

3.3 โดยวิธี ลองผิดลองถูก

PAT.M.

Page 3: Process instrumentation unit 10

1.แนวทางในการเลือกชนิดอุปกรณ์ควบคุม

P

I

D

PI

PDPID

PAT.M.

Page 4: Process instrumentation unit 10

1.แนวทางในการเลือกชนิดอุปกรณ์ควบคุม

การไหล

(flow)ระดับ

(level)

อุณหภูมิ

(temperature)

ความดัน

(pressure)

กระบวนการเคมี

(Chemical Process)

PAT.M.

Page 5: Process instrumentation unit 10

1.แนวทางในการเลือกชนิดอุปกรณ์ควบคุม

PAT.M.

Page 6: Process instrumentation unit 10

2.ผลตอบสนองของกระบวนการต่อชนิดควบคุม

ใช้เวลานานมาก

มี offset

กําจัด offset แต่เกิดการแกว่ง

ลดองศาของการแกว่งและลดเวลา

PAT.M.

Page 7: Process instrumentation unit 10

2.ผลตอบสนองของกระบวนการต่อชนิดควบคุม

ควบคุมแบบ P

PAT.M.

Page 8: Process instrumentation unit 10

2.ผลตอบสนองของกระบวนการต่อชนิดควบคุม

ควบคุมแบบ PI

PAT.M.

Page 9: Process instrumentation unit 10

2.ผลตอบสนองของกระบวนการต่อชนิดควบคุม

ควบคุมแบบ PID

PAT.M.

Page 10: Process instrumentation unit 10

3.เทคนิคการปรับแต่งระบบควบคุม

การปรับแต่งค่าพารามิเตอร์ในกระบวนการ

ควบคุมแบบ PID เพื่อให้ได้ผลตอบสนองที่ดี

ที่สุด สามารถทําได้หลายวิธี เช่น

-อาศัยการพิจารณาจากผลตอบสนอง

-อาศัยจากประสบการณ์ในการควบคุม

-อาศัยวิธีการทางคณิตศาสตร์

PAT.M.

Page 11: Process instrumentation unit 10

3.เทคนิคการปรับแต่งระบบควบคุม

3.1 โดยวิธี Ziegler-Nichols

นําเสนอขึ้นโดย

J. G. Ziegler และ N. B. Nichols

เพื่อการหาค่าพารามิเตอร์ KP, Ti, Td จะมีอยู่ 2 วิธีคือ

1. การคํานวณหาค่าโดยวิธี Process reaction curve

2. การคํานวณหาค่าโดยวิธี Ultimate methodPAT.M.

Page 12: Process instrumentation unit 10

3.เทคนิคการปรับแต่งระบบควบคุม

3.1 โดยวิธี Ziegler-Nichols

หลักการ เพื่อพยายามปรับแต่งผลตอบสนองของกระบวนการต่อสัญญาณ

อินพุตแบบสัญญาณระดับหนึ่งหน่วย มีอัตราส่วนระหว่างค่าพุงเกินสูงสุด (maximum

overshoot) ครั้งแรก (b) ต่อครั้งที่สอง (a) ให้มีค่าเท่ากับ 4/1 หรือให้อัตราเสื่อมเท่ากับ

25% ดังแสดงในรูป

PAT.M.

Page 13: Process instrumentation unit 10

3.เทคนิคการปรับแต่งระบบควบคุม

3.1 โดยวิธี Ziegler-Nichols

แบบ Process reaction curve

PAT.M.

Page 14: Process instrumentation unit 10

3.เทคนิคการปรับแต่งระบบควบคุม

3.1 โดยวิธี Ziegler-Nichols

แบบ Process reaction curve

คํานวณหา

ค่าพารามิเตอร์ที่

เหมาะสมของ

กระบวนการ

สามารถดูได้ใน

ตารางสรุป ต่อไปนี้

PAT.M.

Page 15: Process instrumentation unit 10

3.เทคนิคการปรับแต่งระบบควบคุม

3.1 โดยวิธี Ziegler-Nichols

แบบ Process reaction curve

PAT.M.

Page 16: Process instrumentation unit 10

3.เทคนิคการปรับแต่งระบบควบคุม

3.1 โดยวิธี Ziegler-Nichols

แบบ Process reaction curve

PAT.M.

Page 17: Process instrumentation unit 10

3.เทคนิคการปรับแต่งระบบควบคุม

3.1 โดยวิธี Ziegler-Nichols

แบบ Ultimate method

วิธีนี้ทําได้โดยการปรับค่า

อัตราขยายการควบคุมแบบ

P (หรือ KP) ไปจนกระทั่ง

เกิดการแกว่งอย่างต่อเนื่อง

(oscillate) ดังแสดงได้ดังรูป

เกิดการออสซิเลต

PAT.M.

Page 18: Process instrumentation unit 10

3.เทคนิคการปรับแต่งระบบควบคุม

3.1 โดยวิธี Ziegler-Nichols

แบบ Ultimate method

PAT.M.

Page 19: Process instrumentation unit 10

3.เทคนิคการปรับแต่งระบบควบคุม

3.1 โดยวิธี Ziegler-Nichols

แบบ Ultimate method

วิธีการ Ziegler-Nichols

แบบ Process reaction curve

หาค่าจากจุดตัดกราฟ (time domain) แล้ว

ไปแทนค่าในตาราง

ปรับค่า KP ให้เกิดการออซซิเลต แล้วหาค่า

คาบเวลา ไปแทนในตาราง

PAT.M.

Page 20: Process instrumentation unit 10

3.เทคนิคการปรับแต่งระบบควบคุม

3.2 โดยวิธี Damped oscillation

ปรับปรุงจากวิธีการ Ultimate method แต่เมื่อไม่ต้องการให้ผลตอบสนองของกระบวนการเกิดการออสซิเลต จึงปรับมาใช้วิธีการ

แบบ Damped oscillation

ปรับค่า KP ไปจนอัตราเสื่อม

แบบลูปเปิดมีค่าเทา่กับ ¼

แล้วหาค่า P มาคํานวณหา

ค่าพารามิเตอร์ที่เหมาะสม

PAT.M.

Page 21: Process instrumentation unit 10

3.เทคนิคการปรับแต่งระบบควบคุม

3.2 โดยวิธี Damped oscillation

ปรับค่า KP ไปจนอัตราเสื่อมแบบลูปเปิดมีค่าเทา่กับ ¼

แล้วหาค่า P มาคํานวณหาค่าพารามิเตอร์ที่เหมาะสม

Page 22: Process instrumentation unit 10

3.เทคนิคการปรับแต่งระบบควบคุม

3.3 โดยวิธี ลองผิดลองถูก

บางครั้งการทดลองเพื่อคํานวณหาค่าพารามิเตอร์สําหรับนําไปใช้ปรับแต่ง (แบบที่กล่าวมาข้างต้น) อาจมี

คุณสมบัติบางอย่างแตกต่างไปจากกระบวนการจริงที่ต้องการควบคมุ จึงได้มีวิธีการปรับแต่งระบบควบคุม

โดยใช้วิธีลองผิดลองถูก(สุ่ม) ขึ้น แต่เป็นวิธีที่อาศัยประสบการณ์ความชํานานของผู้ควบคุม

การปรับแต่งระบบควบคมุโดยใช้วิธีลองผิดลองถูก (Trial and error tuning)

PAT.M.

Page 23: Process instrumentation unit 10

3.เทคนิคการปรับแต่งระบบควบคุม

3.3 โดยวิธี ลองผิดลองถูก

การปรับแต่งระบบควบคมุโดยใช้วิธีลองผิดลองถูก (Trial and error tuning)

PAT.M.

Page 24: Process instrumentation unit 10

3.เทคนิคการปรับแต่งระบบควบคุม

3.3 โดยวิธี ลองผิดลองถูก

การปรับแต่งระบบควบคมุโดยใช้วิธีลองผิดลองถูก (Trial and error tuning)

PAT.M.

Page 25: Process instrumentation unit 10

3.เทคนิคการปรับแต่งระบบควบคุม

3.3 โดยวิธี ลองผิดลองถูก

การปรับแต่งระบบควบคมุโดยใช้วิธีลองผิดลองถูก (Trial and error tuning)

PAT.M.

Page 26: Process instrumentation unit 10

3.เทคนิคการปรับแต่งระบบควบคุม

3.3 โดยวิธี ลองผิดลองถูก

การปรับแต่งระบบควบคมุโดยใช้วิธีลองผิดลองถูก (Trial and error tuning)

PAT.M.

Page 27: Process instrumentation unit 10

การออกแบบอปุกรณ์ควบคมุ

แบบอนาลอกวชิา อุปกรณ์วดัและควบคุมในกระบวนการ

Process Instrumentation

หัวข้อ 1.แนวทางในการเลือกชนิดอุปกรณ์ควบคุม

2.ผลตอบสนองของกระบวนการต่อชนิดควบคุม

3.เทคนิคการปรับแต่งระบบควบคุม

3.1 โดยวิธี Ziegler-Nichols

3.2 โดยวิธี Damped oscillation

3.3 โดยวิธี ลองผิดลองถูก

PAT.M.

Page 28: Process instrumentation unit 10

ตาํราหลกัที่ใชส้อน

PAT.M.

-รศ.ดร.วรพงศ์ ตั้งศรีรัตน์, “การวัดและควบคุมกระบวนการ

(Process Control and Instrumentation)”, สํานักพิมพ์

ส.ส.ท.(สมาคมสง่เสริมเทคโนโลยี ไทย-ญี่ปุ่น), 2550.