production of natural liquid soap from virgin coconut oil

57
ปญหาพิเศษ การผลิตสบูเหลวธรรมชาติจากน้ํามันมะพราวบริสุทธิPRODUCTION OF NATURAL LIQUID SOAP FROM VIRGIN COCONUT OIL นางสาวพรพรรณ วิกยานนท สายวิชาวิทยาศาสตร คณะศิลปศาสตรและวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

Upload: others

Post on 18-Oct-2021

2 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: PRODUCTION OF NATURAL LIQUID SOAP FROM VIRGIN COCONUT OIL

ปญหาพิเศษ

การผลิตสบูเหลวธรรมชาติจากน้ํามันมะพราวบริสุทธิ์

PRODUCTION OF NATURAL LIQUID SOAP FROM VIRGIN

COCONUT OIL

นางสาวพรพรรณ วิกยานนท

สายวิชาวิทยาศาสตร คณะศิลปศาสตรและวิทยาศาสตร

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

Page 2: PRODUCTION OF NATURAL LIQUID SOAP FROM VIRGIN COCONUT OIL

พ.ศ. 2551

ใบรับรองปญหาพิเศษ

สายวิชาวิทยาศาสตร คณะศิลปศาสตรและวิทยาศาสตร

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

วิทยาศาสตรบัณฑิต

ปริญญา

วิทยาศาสตรชีวภาพ วิทยาศาสตร

สาขา สายวิชา

เร่ือง การผลิตสบูเหลวธรรมชาติจากนํ้ามันมะพราวบริสุทธิ์

Production of Natural Liquid Soap from Virgin Coconut Oil

นามผูวิจัย นางสาวพรพรรณ วิกยานนท

ไดพิจารณาเห็นชอบโดย

ประธานกรรมการ

( อาจารยปยะมาศ ศรีรัตน )

สายวิชาวิทยาศาสตร คณะศิลปศาสตรและวิทยาศาสตร

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรรับรองแลว

( อาจารยศลยา สุขสอาด )

หัวหนาสายวิชาวิทยาศาสตร

วันท่ี เดือน พ.ศ.

Page 3: PRODUCTION OF NATURAL LIQUID SOAP FROM VIRGIN COCONUT OIL

ปญหาพิเศษ

การผลิตสบูเหลวธรรมชาติจากน้ํามันมะพราวบริสุทธิ์

PRODUCTION OF NATURAL LIQUID SOAP FROM VIRGIN

COCONUT OIL

นางสาวพรพรรณ วิกยานนท

สายวิชาวิทยาศาสตร คณะศิลปศาสตรและวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

เพ่ือความสมบูรณแหงปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต (วิทยาศาสตรชีวภาพ)

พ.ศ. 2551

Page 4: PRODUCTION OF NATURAL LIQUID SOAP FROM VIRGIN COCONUT OIL

พรพรรณ วิกยานนท 2551: การผลิตสบูเหลวธรรมชาติจากนํ้ามันมะพราวบริสุทธิ์

ปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต (วิทยาศาสตรชีวภาพ) สาขาวิชาวิทยาศาสตรชีวภาพ สายวิชา

วิทยาศาสตร ประธานกรรมการที่ปรึกษา: อาจารยปยะมาศ ศรีรัตน, วท.ม. 46 หนา

ในการศึกษาคร้ังน้ีมีวัตถุประสงคเพื่อผลิตสบูเหลวธรรมชาติจากนํ้ามันมะพราว

บริสุทธิ์ที่มีคุณสมบัติในการใหความชุมชื้นและชวยบํารุงผิวโดยเนนการใชวัตถุดิบธรรมชาติเปน

องคประกอบ สบูเหลวธรรมชาติจากนํ้ามันมะพราวบริสุทธิ์ที่ผลิตไดมีกลิ่นหอมออน ๆ ของนํ้ามัน

มะพราวและภายหลังจากการใชจะใหกลิ่นเฉพาะตัวของมะพราว สบูเหลวธรรมชาติมีการแยกชั้น

เปน 2 ชั้น ชั้นบนมีลักษณะเปนชั้นบางๆ มีสีขาวขุน โดยสวนผสมทั้งสองชั้นมีคุณสมบัติในการชะ

ลางได ผลการวิเคราะหคุณภาพของสบูเหลวธรรมชาติ พบวาสบูเหลวธรรมชาติมีปริมาณสารที่

ระเหยที่อุณหภูมิ 105 องศาเซลเซียส เทากับ รอยละ 33.47 โดยนํ้าหนัก ไมมีปริมาณไฮดรอกไซด

อิสระเหลือตกคาง (คํานวณในรูป NaOH) และไมพบแบคทีเรีย ยีสต และราทั้งหมด ในผลิตภัณฑ

สบูเหลวตัวอยาง 1 กรัม ซึ่งสอดคลองกับมาตรฐานสบูเหลวทางการคา โดยสบูเหลวมีคา pH เทากับ

10.1 มีคุณสมบัติของฟองและความคงตัวของฟองที่ดี ในการทดสอบการยอมรับผลิตภัณฑสบูเหลว

ธรรมชาติจากนํ้ามันมะพราวบริสุทธิ์ (โดยวิธี home use test) พบวากลุมตัวอยางผูบริโภคใหการ

ยอมรับในดานปริมาณฟอง ความสามารถในการทําความสะอาด คุณสมบัติในการใหความชุมชื้นแก

ผิว และคุณสมบัติในการบํารุงผิวในระดับชอบเล็กนอยถึงชอบมาก และใหการยอมรับในดาน

ความชอบโดยรวมในระดับชอบเล็กนอย

/ /

ลายมือชื่อนิสิต ลายมือชื่อประธานกรรมการ

Page 5: PRODUCTION OF NATURAL LIQUID SOAP FROM VIRGIN COCONUT OIL

Pornpan Wiggayanon 2008: Production of Natural Liquid Soap from Virgin

Coconut Oil. Bachelor of Science (Biological Science), Major Field: Biological

Science, Department of Science. Special Problems Advisor: Ms. Piyamat Srirat, M.S.

46 pages.

The aimed of this study was to produced natural liquid soap from virgin coconut

oil which moisturizing and skin care property by using emphasize natural raw material. The liquid

soap were obtained had gentle aroma of coconut oil and after use had residual of individual

coconut aroma. Liquid soap had separate two layer that upper was thin layer and had white

however both layers had cleaning property. The result of quality analysis showed that the volatile

content at 105C was 33.47% by weigh, a residue of free-hydroxide (calculated as NaOH) and

total plate count in product sample 1g were not found according to the commercial standard.

Liquid soap had pH 10.1 and good foam property and stability. The acceptability test of natural

liquid soap from virgin coconut oil (by home use test) showed that consumer testers acceptance of

foam content, cleaning efficiency, moisturizer property and skin care property in liking level was

between like slightly and like very much and acceptance of overall in liking level was like

slightly.

/ /

Student’s signature Advisor’s signature

Page 6: PRODUCTION OF NATURAL LIQUID SOAP FROM VIRGIN COCONUT OIL

กิตติกรรมประกาศ

ขอกราบขอบพระคุณ อาจารยปยะมาศ ศรีรัตน ประธานกรรมการที่ปรึกษาปญหาพิเศษที่

ไดกรุณาใหคําปรึกษา แนะนํา และตรวจแกไขรายงานปญหาพิเศษฉบับน้ีใหลุลวงไปไดดวยดี

ขอกราบขอบพระคุณ ดร.วิชชุพร จันทรศรี ที่ไดกรุณาใหคําปรึกษา แนะนําและความ

ชวยเหลือ เกี่ยวกับทางดานการทดสอบดานจุลินทรียและการทําปญหาพิเศษ

ขอกราบขอบพระคุณ ผศ. อรพรรณ ศังขจันทรานนท ประธานกรรมการบริหารหลักสูตร

วท.บ.(วิทยาศาสตรชีวภาพ) ที่ไดกรุณาใหคําแนะนํา และตรวจแกไขรายงานปญหาพิเศษฉบับน้ีให

ลุลวงไปไดดวยดี

ขอขอบคุณเจาหนาประจําสาขาวิชาชีววิทยา และสาขาจุลชีววิทยา ทุกทาน ที่ใหความ

ชวยเหลือตลอดจนใหความสะดวกในการทําการทดลอง

ขอขอบคุณเจาหนาที่ประจําสาขาชีวเคมี ที่ใหความอนุเคราะหสารเคมีที่ใชทดสอบดาน

คุณภาพของสบูเหลว

ขอกราบขอบพระคุณบิดา มารดา และทุกคนครอบครัว ที่ชวยใหกําลังใจและใหการ

สนับสนุนเปนอยางดี จนกระทั่งสําเร็จการศึกษา

ขอขอบคุณพี่ ๆ เพื่อน ๆ และนอง ๆทุกคน ที่มีสวนชวยใหการทดลองน้ีสําเร็จลุรวงไป

ดวยดี

สุดทายน้ีขาพเจาขอมอบสวนที่ดีของปญหาพิเศษใหแกครูบาอาจารยและผูมีพระคุณทุก

ทาน หากปญหาพิเศษฉบับน้ีมีความผิดพลาดประการใด ขาพเจาขอรับไวเพียงผูเดียว

พรพรรณ วิกยานนท

เมษายน 2551

Page 7: PRODUCTION OF NATURAL LIQUID SOAP FROM VIRGIN COCONUT OIL

(1)

สารบัญ

หนา

สารบัญ (1)

สารบัญตาราง (3)

สารบัญภาพ (4)

คํานํา 1

วัตถุประสงค 3

การตรวจเอกสาร 4

สบู 4

สบูเหลวธรรมชาติ 6

นํ้ามันมะพราว 11

การทดสอบการยอมรับของผูบริโภคแบบ Home Use Test 12

อุปกรณและวิธีการ 15

อุปกรณ 15

วิธีการ 17

สถานที่และระยะเวลาทําการศึกษา 20

ผลและวิจารณผลการทดลอง 21

ผลการผลิตสบูเหลวธรรมชาติจากนํ้ามันมะพราวบริสุทธิ์ 21

ผลการทดสอบคุณลักษณะของสบูเหลวธรรมชาติจากนํ้ามันมะพราวบริสุทธิ์

ที่ผลิตได 22

ผลการศึกษาการยอมรับของผูบริโภคที่มีตอสบูเหลวธรรมชาติจากนํ้ามันมะพราว

บริสุทธิ์ที่ผลิตได 26

สรุปและขอเสนอแนะ 27

สรุป 27

ขอเสนอแนะ 29

เอกสารและสิ่งอางอิง 30

Page 8: PRODUCTION OF NATURAL LIQUID SOAP FROM VIRGIN COCONUT OIL

(2)

สารบัญ (ตอ)

หนา

ภาคผนวก 32

ภาคผนวก ก วิธีการทดสอบคุณลักษณะของสบูเหลวธรรมชาติจากนํ้ามันมะพราว

บริสุทธิ์ที่ผลิตได 33

ภาคผนวก ข แบบทดสอบการยอมรับของผูบริโภคที่มีตอสบูเหลวธรรมชาติจาก

นํ้ามันมะพราวบริสุทธิ์ 41

ภาคผนวก ค ภาพขั้นตอนการทําสบูเหลวธรรมชาติจากนํ้ามันมะพราวบริสุทธิ์ 43

ประวัติการศึกษา 47

Page 9: PRODUCTION OF NATURAL LIQUID SOAP FROM VIRGIN COCONUT OIL

(3)

สารบัญตาราง

ตารางท่ี หนา

1 ปริมาณโปแตสเซียมไฮดรอกไซด ที่ทําปฏิกิริยาพอดีกับไขมัน หนัก 1 กรัม 9

2 ผลการทดสอบการยอมรับของผูบริโภคที่มีตอสบูเหลวธรรมชาติจากนํ้ามัน

มะพราวบริสุทธิ์ 26

Page 10: PRODUCTION OF NATURAL LIQUID SOAP FROM VIRGIN COCONUT OIL

(4)

สารบัญภาพ

ภาพท่ี หนา

1 สมการของปฏิกิริยาสะปอนนิฟเคชัน (saponification) 8

2 ก. ภาพของสบูเหลวที่มีการแยกชั้น

ข. ภาพของสบูเหลวหลังการเขยาเพื่อใหสวนผสมทั้ง 2 ชั้น เปนเน้ือเดียว 22

3 ปริมาณฟองของสบูเหลวธรรมชาติที่ผลิตได ที่ระยะเวลา 30 นาที 23

4 ก. ภาพของสบูกอนการอบที่ 105C นาน 1 ชั่วโมง

ข. ภาพสบูหลังการอบที่ 105C นาน 1 ชั่วโมง 24

5 ก. ภาพเปรียบเทียบสบูเหลวที่เก็บไวเปนเวลา 2 สัปดาห ที่อุณหภูมิหองกับที่

อุณหภูมิ 50 องศาเซลเซียส

ข. ภาพเปรียบเทียบสบูเหลวที่เก็บไวเปนเวลา 4 สัปดาห ที่อุณหภูมิหองกับที่

อุณหภูมิ 50 องศาเซลเซียส 25

ภาพผนวกท่ี

ค1 อุนนํ้ามัน 44

ค2 ละลายดางดวยนํ้าที่เตรียมไวแลววางไวใหอุณหภูมิใกลเคียงกับอุณหภูมินํ้ามัน 44

ค3 เทสารละลายดางลงในนํ้ามัน 44

ค4 กวนสวนผสมใหเขากัน 45

ค5 สวนผสมเร่ิมมีลักษณะขน 45

ค6 มีลักษณะคลายผลไมกวน และใหกวนตอไปอีก 2 ชั่วโมง 45

ค7 สวนผสมมีลักษณะคลายผลไมกวน และใหกวนตอไปอีก 2 ชั่วโมง 46

ค8 เอาหมอสะอาดอีกใบมาตมนํ้าเดือด 46

ค9 ตักเน้ือสบูมาใสในนํ้าที่ตมเดือดเพื่อละลายเน้ือสบู 46

Page 11: PRODUCTION OF NATURAL LIQUID SOAP FROM VIRGIN COCONUT OIL

1

การผลิตสบูเหลวธรรมชาติจากน้ํามันมะพราวบริสุทธ์ิ

Production of Natural Liquid Soap from Virgin Coconut Oil

คํานํา

ปจจุบันกระแสความนิยมในผลิตภัณฑที่ผลิตจากวัตถุดิบจากธรรมชาติกําลังไดรับ

ความสนใจเปนอยางมาก เน่ืองจากผูบริโภคมีความตระหนักและใหความสําคัญตอสุขภาพมากขึ้น

จึงพยายามหลีกเลี่ยงการใชและการบริโภคผลิตภัณฑที่มีสารเคมีสังเคราะหผสมอยู กระแสความ

นิยมดังกลาวทําใหเกิดการพัฒนาผลิตภัณฑตางๆ ที่เนนการเปนผลิตภัณฑธรรมชาติ ที่มีคุณภาพ เพื่อ

ตอบสนองตอความตองการของผูบริโภค ผลิตภัณฑสบูเหลวเปนอีกผลิตภัณฑหน่ึงที่ไดรับความ

สนใจจากผูบริโภค เน่ืองจากความสะดวกในการใชงาน และปองกันการปะปนกับผูอ่ืน แต

ผลิตภัณฑสบูเหลวสวนใหญที่มีจําหนายในทองตลาดเปนสบูเหลวที่มีสารเคมีสังเคราะหที่เรียกวา

สารซักลาง (detergent) ซึ่งทําหนาที่เปนสารทําความสะอาด เปนองคประกอบหลัก ซึ่งสารเคมี

สังเคราะหเหลาน้ันสามารถเขาสูรางกายหรือทําใหเกิดการระคายเคืองตอผิวหนังสําหรับผูที่มีผิว

ออนหรือผิวที่แพงาย การพัฒนาผลิตภัณฑสบูเหลวธรรมชาติจึงถือวาเปนอีกทางเลือกหน่ึงของ

ผลิตภัณฑธรรมชาติที่สอดคลองกับความตองการของผูบริโภค

ในการใชผลิตภัณฑสบูเหลวมักจะพบปญหาในเร่ืองของผิวแหงตึง ขาดความชุมชื้น

ซึ่งสามารถแกไขปญหาน้ีได คือ การเติมสารสกัดจากธรรมชาติที่มีคุณสมบัติชวยใหความชุมชื้นแก

ผิว โดยนํ้ามันมะพราวบริสุทธิ์มีคุณสมบัติที่เหมาะในการชวยใหความชุมชื้นแกผิว เน่ืองจาก นํ้ามัน

มะพราวมีคุณสมบัติเปนสารใหความชุมชื้น (Moisturizer) ชวยใหผิวหนังนุมและเนียน อีกทั้งใน

นํ้ามันมะพราวมีวิตามินอีที่มีคุณสมบัติชวยตอตานอนุมูลอิสระซึ่งเปนสาเหตุของการเสื่อมของเซลล

ผิวหนัง ชวยปองกันการเสื่อมโทรมของเซลลจากขบวนการเติมออกซิเจน (Oxidation) ชวยกําจัด

เซลลผิวหนังที่ตายแลวและทับถมกันจนทําใหผิวแหง และชวยกระตุนใหมีการสรางเซลลใหม

ขึ้นมาแทนที่ ทําใหผิวพรรณดูออนกวาวัย นํ้ามันมะพราวบริสุทธิ์ เปนนํ้ามันที่มีลักษณะขาวใส

บริสุทธิ์ มีกลิ่นหอมออนๆ ของมะพราวสด มีความหนืดตํ่า ทนความรอนไดสูง มีอายุการเก็บนาน

โดยไมเปลี่ยนสภาพและไมหืนงาย จึงเปนนํ้ามันที่เหมาะนํามาใชพัฒนาเปนผลิตภัณฑเคร่ืองสําอาง

Page 12: PRODUCTION OF NATURAL LIQUID SOAP FROM VIRGIN COCONUT OIL

2

ในการศึกษาวิจัยคร้ังน้ีจึงนํานํ้ามันมะพราวบริสุทธิ์มาเปนวัตถุดิบในผลิตภัณฑสบูเหลว

ธรรมชาติ เพื่อใหไดสบูเหลวจากธรรมชาติที่มีคุณสมบัติในการใหความชุมชื้นและชวย ชวยบํารุงผิว

อีกทั้งเปนการนําวัตถุดิบทางการเกษตรในประเทศมาใชประโยชนและเพิ่มความหลากหลายใหกับ

ผลิตภัณฑสบูเหลวธรรมชาติ

Page 13: PRODUCTION OF NATURAL LIQUID SOAP FROM VIRGIN COCONUT OIL

3

วัตถุประสงค

เพื่อศึกษาวิธีการผลิตสบูเหลวธรรมชาติจากนํ้ามันมะพราวบริสุทธิ์

Page 14: PRODUCTION OF NATURAL LIQUID SOAP FROM VIRGIN COCONUT OIL

4

การตรวจเอกสาร

1. สบู (soap)

สบู หมายถึง เกลือโลหะ หรือ เกลือแอมโมเนียม หรือเกลือเอมีนของ กรดไขมันของ

นํ้ามันจากพืชและ/หรือ สัตว (สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม, 2531)

คําจํากัดความของคําวาสบู (มารศรี และ วิทยา, 2532) ในความรูสึกของคนทั่วๆไป คือ

สิ่งที่ใชทําความสะอาดกําจัดสิ่งสกปรก

สบู (พิมพร, 2532) เปนสารผสมของเกลือโซเดียมของกรดไขมันหลายตัว คือ

Stearic acid , palmitic acid และ oleic acid และมี myristic และ lauric acid จํานวนเล็กนอย สบูจัด

วาเปนสารทําความสะอาดที่เกาแก

1.1 ประเภทของสบู

ประเภทของสบูจะแบงตามหนาที่ หรือสวนผสมที่เปนองคประกอบน้ัน (Wilfried,

1991) สามารถแบงไดดังน้ี

1.1.1 สบูอาบนํ้า (Toilet Soap) สบูอาบนํ้ามีสวนผสมของนํ้ามันมะพราวประมาณ

20-50 % มีสวนผสมของ super fatted มากกวา 5 % และนํ้าหอม 0.5-2 % สวนของ super fatted

เติมลงไปเพื่อชวยใหไขมันออกจากผิว เพื่อใหผิวสะอาด โดยใชกรดไขมัน แอลกอฮอล ลาโนลิน

เลซิทิน ไขมันพืช กลีเซอไรด และสารคลายไขมัน (lipophilic)

1.1.2 สบูแข็ง (Hard Soap) มีสวนผสมของนํ้ามันมะพราวนอย ไมมีสีและสาร

Refatting มีกลิ่นธรรมชาติ เปนสบูที่ใชในครอบครัว สําหรับลางมือ หรือซักเสื้อผา สบูปกปองผิว

(Skin Protective Soaps) เปนสบูอาบนํ้าที่ประกอบดวยสาร refatting และ สวนผสมอ่ืนๆ เชน

โปรตีน และองคประกอบของนํ้านม วิตามินอี เปนตน สารเพิ่มน้ีมีสวน ชวยทําใหผิวชุมชื้น ชวย

บํารุงผิว

Page 15: PRODUCTION OF NATURAL LIQUID SOAP FROM VIRGIN COCONUT OIL

5

1.1.3 สบูใส (Transparent Soap) เปนสบูประเภทสวยงาม มีลักษณะใส ไดจากการ

ตกผลึกของ แปง สารละลายของสบูที่ supercooled โดยมีสวนผสมของกลีเซอรีน นํ้าตาล และ

เอทานอล

1.1.4 สบูสวยงาม (Luxury Soap) มีสวนผสมของไขมันตามธรรมชาติ แตมีการเพิ่ม

เปอรเซนต ของนํ้าหอม มากกวา 5 % ทําใหลดการจับตัวของไขมัน มีผลทําใหสบูมีลกัษณะออน

กวาปกติ เมื่อมีการเติมนํ้าหอมเพิ่มมากขึ้นตองมีการใชสารเพิ่มความคงตัวในอัลคาไลดของสบู

1.1.5 สบูดับกลิ่นตัว (Deodorant Soap) จัดอยูในกลุมของสบูอาบนํ้า ประกอบดวย

สาร active ingredients เพื่อทําใหรางกายสดชื้น ผลจากการมีสารดับกลิ่น ทําใหมีความสามารถ

ชวยยับยั้งการเจริญเติบโตของแบคทีเรียที่เปนสาเหตุใหเกิดกลิ่นตัว เมื่อมีเหงื่อออก โดยการใชสาร

3,4,4-Trichorocarboanilide (CTFA designation;tricocarbon)

1.1.6 สบูครีมหรือสบูมอยสเจอไรเซอร (Cream or Moisturizing Soap) เปนสบู

อาบนํ้าที่มีเปอรเซนตของสาร refatting สูง โดยไดจากปริมาณของนํ้ามันมะพราว เปนสวนของ

ไขมันสบู ชวยเพิ่มประสิทธิภาพ

1.1.7 สบูอาบนํ้าที่ใชสาร super fatted ทดแทนสวนของนํ้าหอมใหนอยลง มีสารเติม

เฉพาะ เชน คาโมไมล มีผลทําใหผลิตภัณฑออนโยน

1.1.8 สบูขัดตัว (Abrasive Soap) เปนสบูที่มีสวนผสมของสารขัดตัว ชวยกําจัดเซลล

ผิวที่ตายแลว หรือกําจัดสิ่งสกปรก ระดับของสารขัดตัวขึ้นอยูกับชนิด และความเขมขนของสาร

น้ัน รวมทั้งประโยชนในการขัดตัว

1.1.9 สบูลอย (Floating Soap) มีลักษณะพิเศษ คือ มีความถวงจําเพาะตํ่ากวา 1

g/cm3 ทําใหสบูลอยนํ้า การลดแรงโนมถวงจะชวยควบคุมการเขาของอากาศระหวางการผลิต และ

ชองอากาศภายในสบู

Page 16: PRODUCTION OF NATURAL LIQUID SOAP FROM VIRGIN COCONUT OIL

6

1.1.10 สบูโซเดียม (Sodium Soap) มีสวนผสมหลัก คือ เกลือที่ไดจากดางและกรด

ออน โดยเกลือจะไฮโดรไลซสารละลายในรูปของไฮดรอกซีไอออน ทําใหสารละลายสบูเปนดาง

คา pH ของสารละลายสบูอยูระหวาง 8-10 ความเปนดางชวยปรับใหผิวธรรมดาที่มีคา pH 5-6 เปน

pH ที่เปนกลาง คือ 7 ผิวธรรมดาจะมีการสราง pH ใหมใน 2-3 นาที เมื่อเกิดกลไกบัฟเฟอร ใน

กรณีของผิวที่ออนบางมากจะมีผลทําใหผิวแหง

2. สบูเหลวธรรมชาติ (Natural liquid soap)

สบูเหลวธรรมชาติ คือ ของเหลวที่มีสวนผสมของเน้ือสบู (soap) อยูเพียง 25 %

สวนผสมที่เหลือเปนนํ้า หรืออาจจะมีสวนประกอบอ่ืนๆเพียงเล็กนอย สบูเหลวธรรมชาติมี

คุณสมบัติพื้นฐานเหมือนกับสบูกอนธรรมชาติ คือ ใชชําระลางทําความสะอาดสวนตางๆของ

รางกาย แตสบูเหลวอาจมีการระคายเคืองตอผิวหนังนอยกวาสบูกอนเพราะมีสวนประกอบของนํ้า

มาก และมีโอกาสที่จะเพิ่มเติมสมุนไพร หรือสารจากธรรมชาติ เพื่อเพิ่มคุณสมบัติในการบํารุง

ผิวพรรณไดมากกวาสบูกอน และการที่อยูในรูปของเหลวก็สะดวกในการใช

สบูเหลวธรรมชาติมีกระบวนการผลิตเชนเดียวกับสบูกอนธรรมชาติ คือ เกิดขึ้นจาก

การใชไขมันสัตวหรือนํ้ามันจากพืชผสมกับสารละลายดาง ถาใชดางแก ไดแก โซเดียมไฮดรอก

ไซด (NaOH) จะไดสบูกอนแข็ง หรือสบูกอน ถาใชดางออน ไดแก โปแตสเซียมไฮดรอกไซด

(KOH) จะไดสบูที่น่ิม (Soft Soap) ไมเปนกอนแข็ง แลวจึงนําไปเจือจางดวยนํ้า จะไดสบูเหลว

การผลิตสบูเหลวจากดางออนจะยุงยากและใชเวลานาน แตสบูเหลวที่ไดมีคุณภาพดี (คมสัน, 2548)

Page 17: PRODUCTION OF NATURAL LIQUID SOAP FROM VIRGIN COCONUT OIL

7

2.1 คุณสมบัติที่ดีของสบูเหลว

สบูเหลวที่ดีควรมีคุณสมบัติดังน้ี

2.1.1 สามารถทําความสะอาดผิวหนังไดอยางสะอาดหมดจด (Rieger, 1985)

2.1.2 ไมทําลายไขมันตามธรรมชาติของผิวหนัง ไมทําใหผิวหนังแหง

2.1.3 เกิดปริมาณฟองมากและสม่ําเสมอ

2.1.4 ลางออกไดงายโดยนํ้าธรรมดา และนํ้ากระดาง

2.1.5 ไมทําใหเกิดอาการแพหรือระคายเคือง หรือผิวหนังอักเสบ

2.1.6 ไมทําใหแสบตาหรือเปนอันตรายตอเยื่อตา

2.1.7 มีกลิ่นนํ้าหอมซึ่งไมกอความระคายเคือง

2.1.8 มีความคงตัวดี (stable) สี กลิ่น และความหนืดไมเปลี่ยนแปลง

2.2 สวนประกอบหลักของสบูเหลวธรรมชาติ

สบูเกิดจากการทําปฏิกิริยาระหวางไขมันกับสารละลายดางในปริมาณที่เหมาะสม และ

ที่อุณหภูมิที่เหมาะสม โดยสามารถอธิบายปฏิกิริยาที่เกิดโดยใชสมการของปฏิกิริยา

สะปอนนิฟเคชัน (saponification) ดังสมการในภาพที่ 1 (คมสัน, 2548)

Page 18: PRODUCTION OF NATURAL LIQUID SOAP FROM VIRGIN COCONUT OIL

8

C H2 00CR C H2 OH

C HOOCR + 3 KOH 3 RCOONa + C H OH

C H2 00CR C H2 OH

ไขมัน ดาง สบู กลีเซอรีน

ภาพท่ี 1 สมการของปฏิกิริยาสะปอนนิฟเคชัน (saponification)

2.2.1 ไขมัน

ไขมันที่ใชสามารถเลือกใชไดทั้งจากไขมันสัตวและนํ้ามันพืช ไขมันจาก

สัตวและนํ้ามันจากพืชแตละชนิดที่เลือกใชในการผลิตสบูจะเปนตัวกําหนดคุณสมบัติที่แตกตางกัน

ของสบูที่ได เชน สีของสบู ลักษณะของฟองสบู เปนตน ตัวอยางเชน ไขมันวัว จะไดเน้ือสบูสี

ขาว มีปริมาณฟองปานกลาง นุมนวล ฟองคงทนอยูนาน ทําความสะอาดไดดี นํ้ามันมะพราว จะ

ไดเน้ือสบูสีขาวขน มีฟองเปนครีม ฟองคงทนอยูนาน ทําความสะอาดไดดี การเลือกใชไขมันใน

การผลิตสบูอาจเลือกใชเพียงชนิดเดียวหรือหลายชนิดรวมกันก็ได เพื่อใหไดสบูที่มีคุณสมบัติตามที่

ตองการ

2.2.2 ดาง

ดางที่ใชในการผลิต คือ โปแตสเซียมไฮดรอกไซด (KOH) ในการกําหนดปริมาณ

ดางที่การผลิตสบูมีความสําคัญมาก ดางที่ใชตองมีปริมาณที่เหมาะสม จึงจะทําปฏิกิริยากับไขมัน

ไดอยางพอดีและเกิดสบูเปนผลิตภัณฑสุดทาย หากใชปริมาณดางสูงเกินไป สบูที่ไดจะมีความเปน

ดางมาก ซึ่งจะทําใหเกิดการระคายเคืองตอผิว หากใชปริมาณดางนอยเกินไป อาจจะไมสามารถ

ผลิตเปนสบูไดหรือถาสามารถผลิตสบูไดอาจจะไดสบูที่มีลักษณะเยิ้มเหนียวหรือมีกลิ่นเหม็นหืน

ของไขมันเน่ืองจากไขมันทําปฏิกิริยาไมหมด

การกําหนดปริมาณดางที่ใชขึ้นอยูกับปจจัย 2 ปจจัย คือ ปริมาณของไขมันที่ใช

และคาเฉพาะที่ปริมาณของดางจะทําปฏิกิริยากับปริมาณของนํ้ามันไดพอดีเพื่อใหเกิดเปนสบูหรือที่

เรียกวาคา saponification ในตารางที่ 1 แสดงคา ปริมาณโปแตสเซียมไฮดรอกไซดที่ทําปฏิกิริยา

พอดีกับไขมัน หนัก 1 กรัม

Page 19: PRODUCTION OF NATURAL LIQUID SOAP FROM VIRGIN COCONUT OIL

9

ตารางท่ี 1 ปริมาณโปแตสเซียมไฮดรอกไซด ที่ทําปฏิกิริยาพอดีกับไขมัน หนัก 1 กรัม

ไขมัน ปริมาณโปแตสเซียมไฮดรอกไซด (กรัม)

ไขมันวัว 0.186

ไขมันหมู 0.185

นํ้ามันมะพราว 0.245

นํ้ามันปาลม 0.189

นํ้ามันมะกอก 0.180

นํ้ามันรําขาว 0.193

นํ้ามันเมล็ดดอกทานตะวัน 0.182

นํ้ามันถั่วเหลือง 0.181

นํ้ามันละหุง 0.171

นํ้ามันงา 0.182

ที่มา : คมสัน (2548)

2.2.3 นํ้า

คุณภาพของนํ้าที่ใชในการผลิตสบูมีความสําคัญเปนอยางมาก นํ้าที่

เหมาะสมในการผลิตสบูควรเปนนํ้าสะอาด ไมควรใชนํ้ากระดางในการผลิตสบูเน่ืองจากในนํ้า

กระดางจะมีแรธาตุปนอยู ซึ่งจะสงผลใหไมสามารถผลิตสบูได

ปริมาณนํ้าที่ใชในการผลิตสบูสามารถคํานวณไดจากสมการ

นํ้าหนักนํ้า (กรัม) = [นํ้าหนักดาง(กรัม) × 3.33] - นํ้าหนักดาง (กรัม)

Page 20: PRODUCTION OF NATURAL LIQUID SOAP FROM VIRGIN COCONUT OIL

10

2.3 คุณภาพของสบูเหลว

ตามมาตรฐานคุณภาพผลิตภัณฑอุตสาหกรรม สบูเหลว มอก.1403-2540

(สํานักงานมาตรฐานคุณภาพผลิตภัณฑอุตสาหกรรม, 2541) ไดกาํหนดคุณลักษณะของสบูเหลว

ดังน้ี

2.3.1 การระคายเคืองตอผิวหนัง สบูเหลวจะตองไมระคายเคืองตอผิว

2.3.2 คุณลักษณะทางจุลินทรีย จุลินทรียอาจมีในสบูเหลว ใหเปนดังน้ี

1) จํานวนแบคทีเรีย ยีสต และราทั้งหมด (total plate count) ตอง

นอยกวา 1000 โคโลนี ตอ ตัวอยาง 1 ลูกบาศกเซนติเมตร

2) จุลินทรียอ่ืน ๆ ที่ทําใหเกิดการแปรสภาพ (fault producing

organisms) ซึ่งเปนจุลินทรียที่ไมตองการอากาศ เชน ครอสตริเดียม (Cloustridium spp.) ตอง

ไมพบ

3) สตาฟโลค็อกคัส ออเรียส โรเซนบัก (Staphylococcus aureus

Rosenbach) ตองไมพบ

4) ซาลโมเนลลา (Salmonella) ตองไมพบ

5) ซูโดโมแนส แอรูจิโนซา (ชโรเตอร) มิกูลา (Pseudomonas

aeruginosa (Schroeter) Migula) ตองไมพบ

Page 21: PRODUCTION OF NATURAL LIQUID SOAP FROM VIRGIN COCONUT OIL

11

2.3.3 คุณลักษณะทางเคมี

1) สารที่ระเหยที่อุณหภูมิ 105 องศาเซลเซียส ตามเกณฑที่กําหนด

จะตองมีไมเกินรอยละ 85 โดยนํ้าหนัก

2) ดางอิสระ (คํานวณเปนNaOH) ตามเกณฑที่กาํหนด จะตองมีดาง

อิสระไมเกินรอยละ 0.05 โดยนํ้าหนัก

2.3.4 เสถียรภาพตอการเก็บ

3. นํ้ามันมะพราว

3.1 ประเภทของนํ้ามันมะพราว แบงออกเปน 2 ประเภทใหญ ๆ ตามกระบวนการ

ผลิต (ณรงค, 2548)

3.1.1 นํ้ามันมะพราว RBD สกัดไดจากเน้ือมะพราวหาวโดยการบีบ หรือใชตัว

ทําละลายผานความรอนสูง และขบวนการทางเคมี RBD คือการทําใหบริสุทธิ์ (refining) ฟอกสี

(bleaching) และกําจัดกลิ่น (deodorization) หลังจากที่สกัดได เพื่อใหเหมาะสําหรับการบริโภค

ไดนํ้ามันสีเหลืองออน ไมมีกลิ่นและรส ปราศจากวิตามินอี (เพราะถูกขจัดออกไปโดย

ขบวนการทางเคมี) มีปริมาณกรดไขมันอิสระ (free fatty acid) ไมเกิน 0.1 % ปจจุบันไมคอยมี

จําหนาย เพราะโรงงานสกัดนํ้ามันมะพราวประเภทน้ีสวนใหญเลิกดําเนินกิจการไปนานแลว

3.1.2 นํ้ามันมะพราวบีบเย็น (cold-pressed coconut oil) โดยขบวนการบีบไม

ผานความรอนสูงผลิตจากเน้ือมะพราวสดเปนนํ้ามันมะพราวที่บริสุทธิ์ที่สุด สีใสเหมือนนํ้า มี

วิตามินอี และไมผานขบวนการเติมออกซิเจน (oxidation) มีคา peroxide และกรดไขมันอิสระ

ตํ่า มีกลิ่นมะพราวอยางออน ๆ ถึงแรง (ขึ้นอยูกับขบวนการการผลิต) มีความชื้นไมเกิน 0.1 %

เรียกนํ้ามันมะพราวชนิดน้ีวา นํ้ามันมะพราวพรหมจรรย หรือ นํ้ามันมะพราวบริสุทธิ์

(Virgin Coconut Oil) เปนนํ้ามันที่ผลิตโดยอุตสาหกรรมขนาดเล็ก หรือในครัวเรือน

Page 22: PRODUCTION OF NATURAL LIQUID SOAP FROM VIRGIN COCONUT OIL

12

นํ้ามันมะพราวบริสุทธิ์เปนนํ้ามันมะพราวเกรดดีที่สุด ซึ่งเหมาะที่จะนํามาทาํ

เคร่ืองสําอาง เน่ืองจากมีลักษณะขาวใสบริสุทธิ์ มีกลิ่นหอมออนๆ ของมะพราวสด มีความ

หนืดตํ่า มีสวนประกอบของวิตามินอี ใหความชุมชื้นมีคุณสมบัติของการตานอนุมูลอิสระ ทน

ความรอนไดสูง มีอายุการเก็บนานโดยไมเปลี่ยนสภาพและไมหืนงาย (ฉันทรา, 2548)

นํ้ามันมะพราวมีบทบาทสาํคัญในดานสุขภาพและความงาม โดยณรงค (2548) ได

รายงานวา นํ้ามันมะพราวชวยทําใหผิวพรรณดูออนวัย ทั้งน้ีเพราะนํ้ามันมะพราวมีวิตามินอีที่

ชวยตอตานอนุมูลอิสระที่ทําใหเกิดการเสื่อมของเซลลผิวหนัง ชวยปองกันการเสื่อมโทรมของ

เซลลจากขบวนการเติมออกซิเจน (Oxidation) ชวยกําจัดเซลลผิวหนังที่ตายแลวและทับถมกัน

จนทําใหผิวแหงขณะเดียวกันชวยกระตุนใหมีการสรางเซลลใหมขึ้นมาแทนที่จึงทําใหผิวพรรณ

ดูออนกวาวัยและนํ้ามันมะพราวมีคุณสมบัติเปนสารรักษาความชุมชื้น (Moisturizer) จึงชวยให

ผิวหนังนุมและเนียน

4. การทดสอบการยอมรับของผูบริโภคแบบ Home Use Test

4.1 การทดสอบแบบ Home Use Test หรือเรียกวา Home Placement Method

วิธีการทดสอบน้ีจะใหผูบริโภคไดทดสอบตัวอยางที่บานหรือในลักษณะที่ใชหรือ

บริโภคอยูเปนประจํา (เพ็ญขวัญ, 2536) ขั้นตอนการทดสอบ Home Use Test ทําไดดังน้ี

4.1.1 เลือกกลุมผูบริโภคเปาหมาย

4.1.2 เตรียมตัวอยางที่มีรหัสตัวอยางพรอมวิธีการใช สวนมากตัวอยางจะมี

เพียงพอสําหรับบริโภคภายในเวลากําหนด เชน 1 – 2 สัปดาห

4.1.3 แจกตัวอยางใหกับผูบริโภคและแบบสอบถาม การแจกอาจจะโดยทาง

ไปรษณียหรือสงไปตามบานที่ถูกเลือก การรายงานผลการทดสอบทําโดยใชใบรายงานผลหรือตอบ

คําถามจากผูสัมภาษณ ซึ่งอาจเปนโทรศัพทหรือแบบตัวอยาง

Page 23: PRODUCTION OF NATURAL LIQUID SOAP FROM VIRGIN COCONUT OIL

13

4.1.4 เน่ืองจากผูที่ทําการทดสอบตองเสียเวลาในการทดสอบจึงจําเปนตองมี

รางวัลเปนสิ่งตอบแทน ซึ่งอาจจะเปนของขวัญเล็ก ๆ นอย ๆ หรืออาจใหผลิตภัณฑตัวอยางน้ันดวย

4.2 การทดสอบการยอมรับของผูบริโภคแบบ Home Use Test มีขอดีและขอเสีย คือ

4.2.1 ขอดี

1) ผูบริโภคไดมีโอกาสสัมผัสกับคุณภาพของผลิตภัณฑในระหวางการ

ใชจริง

2) การชอบหรือการยอมรับในผลิตภัณฑเกิดขึ้นจากการใชซ้ํา ๆ กัน

แทนที่จะเกิดจากความรูสึกคร้ังแรกเหมือนในวิธี Central Location Test

3) ผลจากการยอมรับอาจมีผลไปถึงวาผูบริโภคกลุมใดกลุมหน่ึงที่

จะเปนผูบริโภคที่จะซื้อผลิตภัณฑน้ีซ้ํา ๆ ได

4) เศรษฐกิจของผูบริโภคแตละคนจะเปนตัวชี้ถึงแหลงที่จะ

วางตลาดของผลิตภัณฑตอไปในอนาคต

5) ทัศนคติของผูบริโภคเกี่ยวกับรายละเอียดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ เชน

ราคา ภาชนะบรรจุ จะไดรับการยอมรับมากขึ้นเน่ืองจากวิธีน้ีใหเวลาทดสอบมาก

4.2.2 ขอเสีย

1) ใชเวลานาน

2) ทําไดกับผูทดสอบไมมาก

3) การตอบสนองในวิธีน้ีมีนอยถาได 50 % ก็ใชไดแลว

Page 24: PRODUCTION OF NATURAL LIQUID SOAP FROM VIRGIN COCONUT OIL

14

4) ทําไดกับผลิตภัณฑนอยชนิด อาจเปน 1 หรือ 2 เทาน้ัน

5) วิธีน้ีคอนขางเสียคาดําเนินการสูง

Page 25: PRODUCTION OF NATURAL LIQUID SOAP FROM VIRGIN COCONUT OIL

15

อุปกรณและวิธีการ

อุปกรณ

1. วัตถุดิบและสารเคมีสําหรับการผลิตสบู

1.1 นํ้ามันมะพราวบริสุทธิ์

1.2 โปแตสเซียมไฮดรอกไซด

1.3 นํ้ากลั่น

2. สารเคมีสําหรับวิเคราะหคุณภาพของสบูเหลว

2.1 เอทานอล

2.2 สารละลายกรดไฮโดรคลอริก 0.05 โมลตอลูกบาศกเดซิเมตร

2.3 สารละลายฟนอลฟทาลีนในเอทานอล 0.01 กรัมตอลูกบาศกเซนติเมตร

2.4 อาหารเลี้ยงเชื้อ Tryptone Glucose Yeast extract agar (TGY)

3. อุปกรณสําหรับการผลิตสบูเหลว

3.1 เคร่ืองชั่ง ทศนิยม 2 ตําแหนง

3.2 หมอตมสแตนเลส 2 ชั้น (หรือใชหมอสแตนเลส 2 ใบ ซอนกัน)

3.3 เทอรโมมิเตอร 2 อัน

3.4 ชุดเคร่ืองแกว

3.5 ไมพายพลาสติก

Page 26: PRODUCTION OF NATURAL LIQUID SOAP FROM VIRGIN COCONUT OIL

16

4. อุปกรณสําหรับการวิเคราะหคุณภาพของสบูเหลว

4.1 เคร่ืองมือวิเคราะหคาความเปนกรดดาง (pH meter)

4.2 บิวเรต ขนาด 100 มิลลิลิตร

4.3 กระบอกตวง ขนาด 50 และ 1000 มิลลิลิตร

4.4 ตูควบคุมอุณหภูมิ

4.5 ปเปต ขนาด 1 มิลลิลิตร

4.6 แทงแกวรูปตัวแอล

4.7 ตู Lamina flow

4.8 ตะเกียงแอลกอฮอล

4.9 จานอาหารเลี้ยงเชื้อ

4.10 ตูอบฆาเชื้อความดันสูง (autoclave)

Page 27: PRODUCTION OF NATURAL LIQUID SOAP FROM VIRGIN COCONUT OIL

17

วิธีการ

1. การผลิตสบูเหลวธรรมชาติจากนํ้ามันมะพราวบริสุทธิ์

ในการผลิตสบูเหลวธรรมชาติจากนํ้ามันมะพรางบริสุทธิ์ใชวิธีการที่ดัดแปลงจากวิธีของ

คมสัน (2548)

1.1 วัตถุดิบในการผลิตสบูเหลวธรรมชาติ

นํ้ามันมะพราว ปริมาตร 500 มิลลิลิตร

โปแตสเซียมไฮดรอกไซด (KOH) ปริมาณ 122.5 กรัม

นํ้าที่ใชผสมกับ KOH ปริมาตร 285.5 มิลลิลิตร

นํ้าที่ใชในการเจือจางสบู ปริมาตร 1,000 มิลลิลิตร

1.2 วิธีการผลิตสบูเหลวธรรมชาติ

1.2.1 อุนนํ้ามันใหไดอุณหภูมิ ประมาณ 50 องศาเซลเซียส

1.2.2 ละลายโปแตสเซียมไฮดรอกไซดปริมาณ 122.5 กรัม ดวยนํ้าปริมาตร 285.5

มิลลิลิตร ต้ังสารละลายโปแตสเซียมไฮดรอกไซดทิ้งไวจนกระทั่งสารละลายมีอุณหภูมิประมาณ 50

องศาเซลเซียส

1.2.3 เทสารละลายโปแตสเซียมไฮดรอกไซดลงในนํ้ามัน และใชไมพายกวน

สวนผสมใหเขากัน นําสวนผสมที่ไดไปทําการตุนสบูในหมอตมสองชั้น โดยใชไฟปานกลาง

1.2.4 กวนสวนผสมสบูไปเร่ือยๆ สวนผสมจะเร่ิมทําปฏิกิริยารวมกันเปนสบูซึ่ง

จะมีลักษณะเปนของเหลวขนคลายนมขนหรือครีมสลัด เมื่อกวนตอไปสวนผสมสบูจะเปลี่ยนเปน

ของเหลวเหนียวขนคลายแปงเปยกหรือผลไมกวน จากน้ันกวนตอไปอีกเปนเวลา 2 ชั่วโมง เน้ือ

สบูที่ไดจะมีสีใสขึ้น

Page 28: PRODUCTION OF NATURAL LIQUID SOAP FROM VIRGIN COCONUT OIL

18

1.2.5 นําหมออีกใบขึ้นต้ังไฟเติมนํ้าสะอาด ปริมาตร 1,000 มิลลิลิตร จากน้ันตม

นํ้าใหเดือด

1.2.6 ตักเน้ือสบูทั้งหมดที่ไดจากขอ 4) ลงในหมอที่มีนํ้าเดือด กวนสวนผสมเบาๆ

ประมาณ 5 นาที โดยใชไฟปานกลาง

1.2.7 ปดฝา ต้ังสวนผสมที่ไดจากขอ 6) ทิ้งไวขามคืน

2. การทดสอบคุณลักษณะของสบูเหลวธรรมชาติจากนํ้ามันมะพราวบริสุทธิ์ท่ีผลิตได

นําสบูเหลวธรรมชาติจากนํ้ามันมะพราวบริสุทธิ์ที่ผลิตไดไปวิเคราะหคุณลักษณะ ดังน้ี

2.1 คุณลักษณะทั่วไปของสบู

2.1.1 ปริมาณฟองและความคงตัวของฟอง โดยดัดแปลงจากวิธี Ross Miles

foam test (Anthony, 1993) วิธีการทดสอบดังภาคผนวก ก

2.1.2 กลิ่นของสบูเหลว โดยการดมกลิ่น

2.2 คุณลักษณะทางเคมี

2.2.1 สารที่ระเหยที่อุณหภูมิ 105 องศาเซลเซียส ตามมาตรฐานคุณภาพ

ผลิตภัณฑอุตสาหกรรม สบูเหลว มอก.1403-2540 (สํานักงานมาตรฐานคุณภาพ

ผลิตภัณฑอุตสาหกรรม, 2541) กําหนดใหสารที่ระเหยที่อุณหภูมิ 105 องศาเซลเซียส จะตองมี

ไมเกินรอยละ 85 โดยนํ้าหนัก วิธีการทดสอบดังภาคผนวก ก

2.2.2 ปริมาณดางอิสระ ตามมาตรฐานคุณภาพผลิตภัณฑอุตสาหกรรม สบู

เหลว มอก.1403-2540 (สํานักงานมาตรฐานคุณภาพผลิตภัณฑอุตสาหกรรม, 2541) กําหนดใหมี

ปริมาณดางอิสระ (คํานวณเปน NaOH)ไดไมเกิน 0.05 % โดยนํ้าหนัก วิธีการทดสอบดัง

ภาคผนวก ก

Page 29: PRODUCTION OF NATURAL LIQUID SOAP FROM VIRGIN COCONUT OIL

19

2.2.3 คา pH ของสบูเหลว วัดโดยใชเคร่ือง pH meter

2.3 คุณลักษณะทางจุลินทรีย

จํานวนแบคทีเรีย ยีสต และราทั้งหมด (total plate count) ตามมาตรฐาน

คุณภาพผลิตภัณฑอุตสาหกรรม สบูเหลว มอก.1403-2540 (สํานักงานมาตรฐานคุณภาพ

ผลิตภัณฑอุตสาหกรรม, 2541) กําหนดใหตองนอยกวา 1000 โคโลนี ตอ ตัวอยาง 1 ลูกบาศก

เซนติเมตร วิธีการทดสอบดังภาคผนวก ก

2.4 เสถียรภาพตอการเก็บ

วิธีการทดสอบเสถียรภาพตอการเก็บ ดัดแปลงจากวิธีการตามมาตรฐานคุณภาพ

ผลิตภัณฑอุตสาหกรรม สบูเหลว มอก.1403-2540 (สํานักงานมาตรฐานคุณภาพ

ผลิตภัณฑอุตสาหกรรม, 2541) โดยนําผลิตภัณฑสบูเหลวธรรมชาติจากนํ้ามันมะพราวบริสุทธิ์มา

บรรจุขวดแกว แลวนําไปเก็บรักษาไวที่อุณหภูมิหอง (28 – 35 องศาเซลเซียส) และที่อุณหภูมิ 50

องศาเซลเซียส เปนระยะเวลา 2 และ 4 สัปดาห ตามลําดับ จากน้ันนําสบูเหลวมาวิเคราะหและ

เปรียบเทียบ สี และความคงตัวของเน้ือสบูเหลว โดยการสังเกตดวยตา และวิเคราะหและ

เปรียบเทียบ กลิ่นของสบูเหลว โดยการดมกลิ่น

3. การศึกษาการยอมรับของผูบริโภคท่ีมีตอผลิตภัณฑสบูเหลวธรรมชาติจากนํ้ามันมะพราวบริสุทธิ์

การทดสอบการยอมรับผลิตภัณฑสบูเหลวธรรมชาติจากนํ้ามันมะพราวบริสุทธิ์ โดยใช

วิธีการทดสอบแบบ Home Use Test (HUT) ผูทดสอบกลุมเปาหมายคือ กลุมผูหญิงอายุ 20 – 40

ป จํานวน 30 คน โดยเตรียมผลิตภัณฑสบูเหลวธรรมชาติจากนํ้ามันมะพราวบริสุทธิ์ ปริมาตร

40 มิลลิลิตร ใสในขวดพลาสติก ทําการทดสอบโดยใหผูทดสอบนําสบูเหลวไปทดลองใชที่บาน

เปนเวลา 1 สัปดาห จากน้ันใหผูทดสอบใหคะแนนความชอบในคุณลักษณะของสบูเหลวในดาน

ตาง ๆ ไดแก กลิ่น ปริมาณฟอง ความสามารถในการทําความสะอาด ความยากงายในการลาง

ออกดวยนํ้า ความชุมชื้นหลังใชผลิตภัณฑ และความชอบโดยรวมตอผลิตภัณฑ โดยผูทดสอบจะ

ใหคะแนนความชอบ 5 อันดับ (1 = ไมชอบมาก, 2 = ไมชอบเล็กนอย, 3 = เฉย ๆ, 4 = ชอบ

เล็กนอย และ5 = ชอบมาก) ตอคุณลักษณะของสบูในดานตาง ๆ

Page 30: PRODUCTION OF NATURAL LIQUID SOAP FROM VIRGIN COCONUT OIL

20

4. สถานท่ีทําการวิจัย

- สาขาวิชาชีววิทยา คณะศิลปศาสตรและวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

วิยาเขตกําแพงแสน

- สาขาวิชาจุลชีววิทยา คณะศิลปศาสตรและวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

วิยาเขตกําแพงแสน

5. ระยะเวลาทําการวิจัย

เร่ิมต้ังแตเดือน กรกฎาคม 2550 สิ้นสุดเดือน เมษายน 2551

Page 31: PRODUCTION OF NATURAL LIQUID SOAP FROM VIRGIN COCONUT OIL

21

ผลและวิจารณ

1. ผลการผลิตสบูเหลวธรรมชาติจากนํ้ามันมะพราวบริสุทธิ์

ในการผลิตสบูเหลวธรรมชาติจากนํ้ามันมะพราวบริสุทธิ์ ใชวัตถุดิบ คือ นํ้ามันมะพราว

ปริมาตร 500 มิลลิลิตร โปแตสเซียมไฮดรอกไซด ปริมาณ 122.5 กรัม นํ้าที่ใชผสมกับโปแตสเซียม

ไฮดรอกไซด ปริมาตร 285.5 มิลลิลิตร และ นํ้าที่ใชในการเจือจางสบู ปริมาตร 1,000 มิลลิลิตร ได

สบูเหลวธรรมชาติปริมาตร 1,800 ± 50 มิลลิลิตร โดยในขั้นตอนการผลิตสบูมีการควบคุมความรอน

ในการผลิตใหมีอุณหภูมิไมเกิน 50 องศาเซลเซียส

ในขั้นตอนการผลิตสบูเหลวธรรมชาติจากนํ้ามันมะพราวบริสุทธิ์ พบวา เน้ือสบูที่ไดกอน

การเติมนํ้ามีลักษณะคลายครีม เน้ือนุม สีขาวขุน และมีกลิ่นของนํ้ามันมะพราวออน ๆ เมื่อเจือจาง

สบูดวยนํ้าเพื่อใหไดสบูเหลว และต้ังทิ้งไวจนกระทั่งเน้ือสบูละลายจนหมด (ใชเวลาประมาณ 1 –

2 วัน) สังเกตสบูเหลวที่ได พบวาสบูเหลวแยกชั้นเปน 2 ชั้น โดยชั้นบนจะมีปริมาตรนอยกวาชั้น

ลาง คือ มีปริมาตรประมาณ 10 % ของปริมาตรสบูเหลวทั้งหมด สวนผสมชั้นบนมีลักษณะเปน

ของเหลวหนืด สีขาวขุน มีกลิ่นของนํ้ามันมะพราวมากกวาสวนผสมในชั้นลาง ในขณะที่

สวนผสมในชั้นลางเปนของเหลวคอนขางใส และจะคอย ๆ ใสขึ้น ไมมีสี ใชเวลาประมาณ 14

วัน

เมื่อต้ังสบูทิ้งไว 2 สัปดาห เพื่อใหดางที่ยังคงเหลืออยูเล็กนอยไดสลายตัว ทําใหคา pH มี

ความคงที่ (ฉันทรา, 2551) สังเกตลักษณะของสบูเหลวที่ไดพบวา สบูเหลวยังคงแยกเปน 2 ชั้น

แตสวนผสมในชั้นบนจะมีลักษณะขนและหนืดมากขึ้น เมื่อเขยาใหสวนผสมทั้ง 2 ชั้นเขากัน เน้ือ

สบูเหลวจะผสมเขากัน และมีลักษณะเปนของเหลวสีขาวขุน แตเมื่อต้ังทิ้งไว เน้ือสบูจะแยกเปน 2

ชั้นเชนเดิม ซึ่งลักษณะของเน้ือสบูที่แยกเปน 2 ชั้น ดังกลาว ถือวาเปนลักษณะปกติของสบูเหลว

ธรรมชาติที่ไมมีการเติมแตงสารเคมีที่ทําใหสบูเหลวไมเกิดการแยกชั้น (chemical emulsion) โดย

หากตองการใหเน้ือสบูเหลวไมแยกเปน 2 ชั้น อาจทําการเติมบอแรกซลงไปในสวนผสมของสบู

(นิรนาม, 2549) แตในการศึกษาคร้ังน้ีมุงเนนการทําสบูเหลวธรรมชาติ ดังน้ันจึงจะไมมีการเติม

สารเคมีเพื่อชวยใหเน้ือสบูเหลวไมเกิดการแยกชั้น

Page 32: PRODUCTION OF NATURAL LIQUID SOAP FROM VIRGIN COCONUT OIL

22

ภาพท่ี 2 ก. ภาพของสบูเหลวที่มีการแยกชั้น

ข. ภาพของสบูเหลวหลังการเขยาเพื่อใหสวนผสมทั้ง 2 ชั้น เปนเน้ือเดียว

เมื่อนําสวนผสมในแตละชั้น มาทดสอบการชําระลางโดยการถูสวนผสมน้ันบนฝามือ

สวนผสมทั้ง 2 ชั้น ใหผลการชําระลางไมแตกตางกัน คือ สวนผสมในแตละชั้นทําใหเกิดฟอง

และมีความลื่น เมื่อลางฟองออกดวยนํ้า พบวา สวนผสมในแตละชั้นสามารถถูกลางออกไดและไม

มีความเหนียวเหนอะและไมมีความรูสึกคลายนํ้ามันติดคางที่ฝามือ

2. ผลการทดสอบคุณลักษณะของสบูเหลวธรรมชาติจากนํ้ามันมะพราวบริสุทธิ์ท่ีผลิตได

2.1 คุณลักษณะทั่วไปของสบู

2.1.1 ปริมาณฟองและความคงตัวของฟอง

ฟองสบูเหลวที่ไดมีลักษณะเปนฟองขนาดเล็ก เมื่อสัมผัสใหความรูสึก

นุมและเนียนละเอียด และผลการทดสอบปริมาณฟองของสบูเหลวธรรมชาติที่ผลิตได พบวา มีคา

อยูในชวง 184.5 – 190 มิลลลิิตร ซึ่งสอดคลองกับคาปริมาณฟองของสบูเหลวทั่วไปตามทองตลาด

ที่มีคาอยูในชวง 128 – 225 มิลลิลิตร (ภาณุ, 2540) และเมื่อทดสอบความคงตัวของฟอง พบวา

สบูเหลวที่ผลิตไดมีความคงตัวของฟองที่ดี คือ ที่ระยะเวลา 30 นาที ปริมาณฟองลดลงรอยละ 2

จากปริมาณฟองเร่ิมตน

ก ข

Page 33: PRODUCTION OF NATURAL LIQUID SOAP FROM VIRGIN COCONUT OIL

23

ภาพท่ี 3 ปริมาณฟองของสบูเหลวธรรมชาติที่ผลิตได ที่ระยะเวลา 30 นาที

2.1.2 กลิ่นของสบูเหลว

จากการทดสอบกลิ่นของสบูเหลว โดยการดมกลิ่น พบวา สบูเหลวธรรมชาติ

จากนํ้ามันมะพราวบริสุทธิ์ที่ผลิตได มีกลิ่นหอมออน ๆ ของนํ้ามันมะพราว แตเมื่อนําสบูเหลวมา

ทดสอบการชําระลางที่ฝามือ แลวดมกลิ่นที่ติดที่ฝามือ พบวา มีกลิ่นเฉพาะตัวออน ๆ ของมะพราว

คลายกลิ่นมะพราวแหงติดอยูที่ฝามือ

2.2 คุณภาพทางเคมี

2.2.1 สารที่ระเหยไดที่อุณหภูมิ 105 องศาเซลเซียส

จากผลการทดสอบ พบวา สบูเหลวธรรมชาติที่ผลิตได มีสารที่ระเหยไดที่

อุณหภูมิ 105 องศาเซลเซียส รอยละ 33.47 โดยนํ้าหนัก ซึ่งเปนไปตามมาตรฐานคุณภาพ

ผลิตภัณฑอุตสาหกรรม สบูเหลว มอก.1403-2540 (สํานักงานมาตรฐานคุณภาพ

ผลิตภัณฑอุตสาหกรรม, 2541) ที่กําหนดใหสารที่ระเหยที่อุณหภูมิ 105 องศาเซลเซียส จะตอง

มีไมเกินรอยละ 85 โดยนํ้าหนัก

Page 34: PRODUCTION OF NATURAL LIQUID SOAP FROM VIRGIN COCONUT OIL

24

ภาพท่ี 4 ก. ภาพของสบูกอนการอบที่ 105C นาน 1 ชั่วโมง

ข. ภาพสบูหลังการอบที่ 105C นาน 1 ชั่วโมง

2.2.2 ปริมาณดางอิสระ (คํานวณเปน NaOH)

จากผลการทดสอบ พบวา สบูเหลวธรรมชาติที่ผลิตได ไมมีปริมาณดาง

อิสระ (คํานวณเปน NaOH) เหลือตกคาง ซึ่งเปนไปตามมาตรฐานคุณภาพผลิตภัณฑอุตสาหกรรม

สบูเหลว มอก.1403-2540 (สํานักงานมาตรฐานคุณภาพผลิตภัณฑอุตสาหกรรม, 2541) ที่

กําหนดใหมีปริมาณดางอิสระ (คํานวณเปน NaOH)ไดไมเกิน 0.05 % โดยนํ้าหนัก ซึ่งหากมี

ปริมาณไฮดรอกไซดอิสระที่เหลือตกคางในสบูเหลวเกินกวาที่กําหนดอาจสงผลใหเกิดการระคาย

เคืองที่ผิวหนัง (คมสัน, 2548)

2.2.3 คา pH

สบูเหลวที่ผลิตไดมีคา pH เทากับ 10.1 ซึ่งอยูในชวงของคา pH ของสบู

เหลวทั่วไปตามทองตลาดที่มีคา pH อยูระหวาง 5.21 – 10.62 (ภาณุ, 2540)

2.3 คุณลักษณะทางจุลินทรีย

จากการตรวจวิเคราะหจํานวนแบคทีเรีย ยีสต และราทั้งหมดในสบูเหลว ดวย

วิธี Total plate count โดยการทํา pour plate พบวา ไมมีปริมาณจุลินทรียปนเปอนอยูในสบูเหลว

ที่ผลิตได โดยตามมาตรฐานคุณภาพผลิตภัณฑอุตสาหกรรม สบูเหลว มอก.1403-2540

(สํานักงานมาตรฐานคุณภาพผลิตภัณฑอุตสาหกรรม, 2541) กําหนดวา อาจมีจุลินทรียใน

Page 35: PRODUCTION OF NATURAL LIQUID SOAP FROM VIRGIN COCONUT OIL

25

สบูเหลว ในกรณีของจํานวนแบคทีเรีย ยีสต และราทั้งหมด อาจมีไดแตตองนอยกวา 1000

โคโลนี ตอ ตัวอยาง 1 ลูกบาศกเซนติเมตร

2.4 เสถียรภาพตอการเก็บ

จากการสังเกต สี และ ความคงตัวของสบูเหลวที่เก็บรักษาไวเปนเวลา 2 สัปดาห

และ 4 สัปดาห พบวา สบูเหลวที่เก็บไวที่อุณหภูมิหอง และที่อุณหภูมิ 50 องศาเซลเซียส เปนเวลา

2 สัปดาห มีสีและความคงตัวของสบูเหลวที่ไมแตกตางกัน โดยสบูเหลวมีการแยกชั้นเปน 2 ชั้น

ชั้นบนเปนของเหลวมีสีขาวขุน และขนหนืด สวนชั้นลางเปนของเหลวใสไมมีสี มีลักษณะขุน

เล็กนอย ในขณะที่สบูเหลวที่เก็บไวที่อุณหภูมิหอง และที่อุณหภูมิ 50 องศาเซลเซียส เปนเวลา 4

สัปดาห พบวา สบูเหลวที่เก็บไวที่อุณหภูมิหองมีลักษณะเชนเดียวกับสบูเหลวที่เก็บไวเปนเวลา 2

สัปดาห ในขณะที่สบูเหลวที่เก็บไวที่อุณหภูมิ 50 องศาเซลเซียส มีการแยกชั้นเชนเดิม แตชั้นลาง

ของเหลวมีสีเหลือง

จากการทดสอบกลิ่นโดยการดมกลิ่น พบวา สบูเหลวที่เก็บไวเปนเวลา 2 สัปดาห ที่

อุณหภูมิหอง และที่อุณหภูมิ 50 องศาเซลเซียส ยังคงมีกลิ่นหอมออน ๆ ของนํ้ามันมะพราวอยู

ในขณะที่สบูเหลวที่เก็บไวที่อุณหภูมิหอง และที่อุณหภูมิ 50 องศาเซลเซียส เปนเวลา 4 สัปดาห

พบวา สบูเหลว ไมมีกลิ่นหอมออน ๆ ของนํ้ามะพราว

ภาพท่ี 5 ก. ภาพเปรียบเทียบสบูเหลวที่เก็บไวเปนเวลา 2 สัปดาห ที่อุณหภูมิหองกับที่อุณหภูมิ 50

องศาเซลเซียส

ข. ภาพเปรียบเทียบสบูเหลวที่เก็บไวเปนเวลา 4 สัปดาห ที่อุณหภูมิหองกับที่อุณหภูมิ 50

องศาเซลเซียส

ก ข

อุณหภูมิหองอุณหภูมิหอง

50C50C

Page 36: PRODUCTION OF NATURAL LIQUID SOAP FROM VIRGIN COCONUT OIL

26

3. ผลการศึกษาการยอมรับของผูบริโภคท่ีมีตอสบูเหลวธรรมชาติจากนํ้ามันมะพราวบริสุทธิ์

ในทดสอบผลิตภัณฑสบูเหลวธรรมชาติจากนํ้ามันมะพราวบริสุทธิ์โดยวิธี Home Use

Test (HUT) กลุมตัวอยางผูบริโภค คือ ผูหญิงอายุ 25 – 40 ป จํานวน 30 คน ที่อาศัยอยูบริเวณ

ตลาดปฐมมงคล อําเภอเมือง จังหวัดนครปฐม โดยกลุมตัวอยางผูบริโภคนําผลิตภัณฑสบูเหลว

ธรรมชาติจากนํ้ามันมะพราวบริสุทธิ์ ไปใชทดลองทําความสะอาดรางกายที่บานเปนเวลา 1

สัปดาห

จากผลการทดสอบ พบวา กลุมตัวอยางผูบริโภคใหการยอมรับปริมาณฟอง ความสามารถ

ในการทําความสะอาด คุณสมบัติในการใหความชุมชื้นแกผิวหลังใช และคุณสมบัติในการบํารุงผิว

(ความนุมเนียนของผิวหลังใช) อยูในระดับชอบเล็กนอยถึงชอบมาก และใหการยอมรับสี ความ

ยากงายในการลางออก และความชอบโดยรวมอยูในระดับชอบเล็กนอย

ตารางท่ี 2 ผลการทดสอบการยอมรับของผูบริโภคที่มีตอสบูเหลวธรรมชาติจากนํ้ามันมะพราว

บริสุทธิ์

คุณลักษณะของสบูเหลว คะแนนความชอบ

- สี 4.2

- กลิ่น 3.4

- ความหนืด 3.8

- ปริมาณฟอง 4.57

- ความสามารถในการทําความสะอาด 4.47

- ความยากงายในการลางออก 4.07

- คุณสมบัติในการใหความชุมชื้นแกผิวหลังใช 4.5

- คุณสมบัติในการบํารุงผิว

(ความนุมเนียนผิวหลังใช) 4.47

- ความชอบโดยรวม 4.07

หมายเหตุ : คะแนนความชอบ 1 = ไมชอบมาก, 2 = ไมชอบเล็กนอย, 3 = เฉย ๆ, 4 = ชอบเล็กนอย

และ5 = ชอบมาก

Page 37: PRODUCTION OF NATURAL LIQUID SOAP FROM VIRGIN COCONUT OIL

27

สรุปและขอเสนอแนะ

1. ในการผลิตสบูเหลวธรรมชาติจากนํ้ามันมะพราวบริสุทธิ์ ใชวัตถุดิบ คือ นํ้ามันมะพราว

ปริมาตร 500 มิลลิลิตร โปแตสเซียมไฮดรอกไซด ปริมาณ 122.5 กรัม นํ้าที่ใชผสมกับโปแตสเซียม

ไฮดรอกไซด ปริมาตร 285.5 มิลลิลิตร และ นํ้าที่ใชในการเจือจางสบู ปริมาตร 1,000 มิลลิลิตร ได

สบูเหลวธรรมชาติปริมาตร 1,800 ± 50 มิลลิลิตร โดยในขั้นตอนการผลิตสบูมีการควบคุมความรอน

ใหมีอุณหภูมิไมเกิน 50 องศาเซลเซียส สบูเหลวที่ไดมีการแยกชั้นเปน 2 ชั้น โดยชั้นบนจะมี

ปริมาตรนอยกวาชั้นลาง ซึ่งสวนผสมทั้ง 2 ชั้น มีความสามารถในการชําระลางได

2. ในการทดสอบคุณลักษณะของสบูเหลว พบวา สบูเหลวธรรมชาติจากนํ้ามันมะพราว

บริสุทธิ์ที่ผลิตได มีคุณสมบัติของฟองและความคงตัวของฟองที่ดี สบูเหลวธรรมชาติจากนํ้ามัน

มะพราวบริสุทธิ์ที่ผลิตได มีกลิ่นหอมออน ๆ ของนํ้ามันมะพราว แตเมื่อนําสบูเหลวมาทดสอบการ

ชําระลางที่ฝามือ จะมีกลิ่นเฉพาะตัวออน ๆ ของมะพราวติดอยูที่ฝามือ คลายกลิ่นของมะพราวแหง

ในการทดสอบคุณลักษณะทางเคมีและคุณลักษณะทางจุลินทรียของสบูเหลว

ธรรมชาติจากนํ้ามันมะพราวบริสุทธิ์ที่ผลิตได พบวา มีสารที่ระเหยไดที่อุณหภูมิ 105 องศาเซลเซียส

รอยละ 33.47 โดยนํ้าหนัก ไมมีปริมาณดาง อิสระ (คํานวณเปน NaOH) เหลือตกคาง และ ไมพบ

การปนเปอนของแบคทีเรีย ยีสต และราทั้งหมดในสบูเหลว ซึ่งเปนไปตามมาตรฐานคุณภาพ

ผลิตภัณฑอุตสาหกรรม สบูเหลว มอก.1403-2540

ในดานเสถียรภาพตอการเก็บ พบวา สบูเหลวที่เก็บไวเปนเวลา 2 สัปดาห ที่อุณหภูมิหอง

และที่อุณหภูมิ 50 องศาเซลเซียส มีลักษณะที่เหมือนกันคือ มีการแยกชั้น ชั้นบนมีสีขาวขุน ชั้น

ลางไมมีสีแตขุนเล็กนอย มีกลิ่นหอมออน ๆ ของนํ้ามันมะพราว ในขณะที่สบูเหลวที่เก็บไวเปน

เวลา 4 สัปดาห ที่อุณหภูมิหองมีลักษณะเชนเดียวกับสบูเหลวที่เก็บไวเปนเวลา 2 สัปดาห แตไมมี

กลิ่นหอมของนํ้ามันมะพราวเหลืออยู ในสวนของสบูเหลวที่เก็บไวที่อุณหภูมิ 50 องศาเซลเซียส

เปนเวลา 4 สัปดาห พบวา ชั้นลางของสบูเหลวเปลี่ยนเปนสีเหลือง และไมมีกลิ่นของนํ้ามัน

มะพราว

Page 38: PRODUCTION OF NATURAL LIQUID SOAP FROM VIRGIN COCONUT OIL

28

3. จากการศึกษาการยอมรับของผูบริโภคที่มีตอสบูเหลวธรรมชาติจากนํ้ามันมะพราว

บริสุทธิ์ โดยวิธี Home Use Test (HUT) กลุมตัวอยางผูบริโภค คือ ผูหญิงอายุ 25 – 40 ป

จํานวน 30 คน พบวา กลุมตัวอยางผูบริโภคใหการยอมรับในดานปริมาณฟอง ความสามารถใน

การทําความสะอาด คุณสมบัติในการใหความชุมชื้นแกผิวหลังใช และคุณสมบัติในการบํารุงผิว

(ความนุมเนียนผิวหลังใช) ในระดับชอบเล็กนอยถึงชอบมาก และใหการยอมรับสี ความยากงาย

ในการลางออก และความชอบโดยรวม ในระดับชอบเล็กนอย ในขณะที่กลุมตัวอยางผูบริโภคให

การยอมรับกลิ่นและความหนืดของสบูเหลวในระดับเฉย ๆ

Page 39: PRODUCTION OF NATURAL LIQUID SOAP FROM VIRGIN COCONUT OIL

29

ขอเสนอแนะ

1. ควรมีการศึกษาและพัฒนาสบูเหลวธรรมชาติจากนํ้ามันมะพราวบริสุทธิ์ ในดานกลิ่น

และความหนืด เน่ืองจากกลิ่นเปนลักษณะสําคัญของสบูเหลวที่มีผลตอการยอมรับของผูบริโภค

และหากสบูเหลวมีความหนืดนอยอาจทําใหผูบริโภครูสึกวาตองใชสบูเหลวในปริมาณมาก ดังน้ัน

จึงควรพัฒนาสบูเหลวธรรมชาติจากนํ้ามันมะพราวบริสุทธิ์ใหมีความหนืดที่เหมาะสมสอดคลองกับ

ความตองการของผูบริโภค

2. ควรมีการศึกษาหาสารสกัดจากธรรมชาติที่มีคุณสมบัติเปนสารเพิ่มความคงตัว

(Stabilizer) เติมในสบูเหลวเพื่อใหสบูเหลวไมเกิดการแยกชั้น

Page 40: PRODUCTION OF NATURAL LIQUID SOAP FROM VIRGIN COCONUT OIL

30

เอกสารและสิ่งอางอิง

คมสัน หุตะแพทย. 2548. สะอาดและสวยดวยสบูธรรมชาติ. สาํนักพิมพเกษตรธรรมชาติ,

กรุงเทพฯ. 67 น.

ฉันทรา พูนศิริ. มปป. การผลิตสบูนํ้ามันมะพราวบริสุทธิ์. แหลงที่มา:

opac.tistr.or.th/Multimedia/STJN/4802/4802-13.pdf. 26 มีนาคม 2551

ณรงค โฉมเฉลา. 2550. มหัศจรรยนํ้ามันมะพราว. เอกสารวิชาการ ฉบับที่ 1 ป 2550,

กรุงเทพฯ

นิรนาม. 2549. ลักษณะของสบูเหลวธรรมชาติ. แหลงที่มา:

http://arbimproducts.com/@%20liquid%20soap.html, 27 มีนาคม 2551.

พิมพร ลีลาพรพิสิฐ. 2532. เคร่ืองสําอางเพื่อทําความสะอาด. ภาควิชาเทคโนโลยีเภสัชกรรม,

คณะเภสัชศาสตร, มหาวิทยาลัยเชียงใหม, เชียงใหม. 254 น.

เพ็ญขวัญ ชมปรีดา. 2536. การประเมินคุณภาพทางประสาทสัมผัส. ภาควิชาพัฒนาผลิตภัณฑ,

คณะอุตสาหกรรมเกษตร, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ. 123 น.

ภาณุ อุปถัมภ. 2544. การพัฒนาผลิตภัณฑสบูเหลวผสมโปรตีนรําขาว. วิทยานิพนธปริญญาโท.

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ.

มารศรี มังกรกนก และ วิทยา จันทสูตร. 2532. สบู. คูมือการอบรมวิทยาการเคร่ืองสําอาง,

คณะเภสัชศาสตร, จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ. 11 น.

สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม. 2531. มอก. 29-2531. กรุงเทพฯ

Page 41: PRODUCTION OF NATURAL LIQUID SOAP FROM VIRGIN COCONUT OIL

31

สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม. 2541. มาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม สบูเหลว.

มอก. 1403 – 2531. กรุงเทพฯ

Anthony, L.L. 1993. Bath and Shower Products. Poucher’s Perfumes,Cosmetics and Soap

Vol.3, Cosmetics Chapman & Hall, New York. 751 p.

Enig, M.E. 1999. Coconut : In Support of Good Health in the 21st Century. Paper

presented at the 36th Meeting of APCC

Rieger, M.M. 1985. Sulfactants in Cosmetic. Marcel Dekker, Inc., New York and Basel.

488 p.

Welfried, U. 1991. Cosmetics and Toiletries (BGI Translation). San Francisco,

California, USA. 364 p.

Page 42: PRODUCTION OF NATURAL LIQUID SOAP FROM VIRGIN COCONUT OIL

32

ภาคผนวก

Page 43: PRODUCTION OF NATURAL LIQUID SOAP FROM VIRGIN COCONUT OIL

33

ภาคผนวก ก

วิธีการทดสอบคุณลักษณะของสบูเหลวธรรมชาติจากนํ้ามันมะพราวบริสุทธิ์ที่ผลิตได

Page 44: PRODUCTION OF NATURAL LIQUID SOAP FROM VIRGIN COCONUT OIL

34

1. ปริมาณฟองและความคงตัวของฟอง โดยดัดแปลงจากวิธี Ross Miles foam test

(Anthony, 1993)

1. เคร่ืองมือ

1.1 บิวเรตพรอมขาต้ัง

1.2 กระบอกตวง

2. วิธีทดสอบ

เจือจางสบูเหลวใหไดความเขมขน 1% ใสลงในบิวเรตจํานวน 200 มิลลิลิตร

จากน้ันไขบิวเรตเพื่อใหสารละลายสบูไหลลงในกระบอกตวงที่มีสบูเจือจางระดับเดียวกัน 50

มิลลิลิตร วัดความสูงของฟองทันที ใชหนวยเปนมิลลิลิตร

Page 45: PRODUCTION OF NATURAL LIQUID SOAP FROM VIRGIN COCONUT OIL

35

2. การทดสอบสารระเหยที่อุณหภูมิ 105 องศาเซลเซียส (สํานักงานมาตรฐานคุณภาพ

ผลิตภัณฑอุตสาหกรรม, 2541)

1. เคร่ืองมือ

1.1 ถวยฟรอยด

1.2 ตูอบที่ควบคุมอุณหภูมิไดที่ 105 ± 2 องศาเซลเซียส

2. วิธีทดสอบ

ชั่งตัวอยางประมาณ 5 กรัม ใหทราบนํ้าหนักแนนอน ใสลงในถวยฟรอยด

นําไปอบในตูควบคุมอุณหภูมิที่ 105 ± 2 องศาเซลเซียส เปนเวลา 1 ชั่วโมง ชั่งแลวอบซ้ําจน

นํ้าหนักคงที่

3. วิธีคํานวณ

คํานวณหาปริมาณสารที่ระเหยที่อุณหภูมิ 105 องศาเซลเซียส จากสูตร

สารระเหยที่อุณหภูมิ 105 องศาเซลเซียส = m1 – m2 × 100

รอยละโดยนํ้าหนัก m1

เมื่อ m1 คือ นํ้าหนักตัวอยางกอนอบ เปนกรัม

m2 คือ นํ้าหนักตัวอยางหลังอบ เปนกรัม

Page 46: PRODUCTION OF NATURAL LIQUID SOAP FROM VIRGIN COCONUT OIL

36

3. การทดสอบดางอิสระ (สาํนักงานมาตรฐานคุณภาพผลิตภัณฑอุตสาหกรรม, 2541)

1. สารเคมีและสารละลาย

1.1 เอทานอล

1.2 สารละลายมาตรฐานกรดไฮโดรคลอริก 0.05 โมลตอลูกบาศกเดซิเมตร

1.3 สารละลายฟนอลฟทาลนีในเอทานอล 0.01 กรัมตอลูกบาศกเซนติเมตร

2. วิธีทดสอบ

ชั่งตัวอยางประมาณ 10 กรัม ใหทราบนํ้าหนักแนนอน ใสลงในขวดแกวรูป

กรวยขนาด 250 ลูกบาศกเซนติเมตร เติมเอทานอลที่ตมเดือดและทําใหเปนกลางแลว 100

ลูกบาศกเซนติเมตร ปดดวยกระจกนาฬิกา อุนบนเคร่ืองอังไอนํ้าจนผสมเปนเน้ือเดียวกัน เติม

สารละลายฟนอลฟทาลีนในเอทานอล 0.5 ลูกบาศกเซนติเมตร ตรวจดูสีของสารละลาย

- ถาสีของสารละลายไมเปลีย่นเปนสีชมพู ใหยุติการทดสอบ แลวรายงานวา “ไมพบ”

- ถาสีของสารละลายเปลี่ยนเปนสีชมพู ใหไทเทรตดวยสารละลายมาตรฐานกรดไฮโดร

คลอริกแลว บันทึกปริมาตรของสารละลายมาตรฐานกรดไฮโดรคลอริกที่ใช และคํานวณปริมาณ

ดางอิสระ

3. วิธีคํานวณ

คํานวณหาปริมาณดางอิสระ จากสูตร

ดางอิสระ (คํานวณเปน NaOH) = 0.20 V

รอยละโดยนํ้าหนัก m

Page 47: PRODUCTION OF NATURAL LIQUID SOAP FROM VIRGIN COCONUT OIL

37

เมื่อ V คือ ปริมาตรของสารละลายมาตรฐานกรดไฮโดรคลอริกที่ใชไทเทรต

เปนลูกบาศกเซนติเมตร

m คือ นํ้าหนักของตัวอยาง เปนกรัม

Page 48: PRODUCTION OF NATURAL LIQUID SOAP FROM VIRGIN COCONUT OIL

38

4. การวิเคราะหจํานวนแบคทีเรีย ยีสต และราทั้งหมด (Total plate count) ดัดแปลงจากวิธีการ

ตามมาตรฐานคุณภาพผลิตภัณฑอุตสาหกรรม สบูเหลว มอก.1403-2540 (สํานักงานมาตรฐาน

คุณภาพผลิตภัณฑอุตสาหกรรม, 2541)

1. เคร่ืองมือ

1.1 จานเลี้ยงเชื้อ

1.2 ปเปต

1.3 แทงแกวรูปตัวแอล

1.4 ตะเกียงแอลกอฮอล

1.5 หลอดทดลอง

1.6 หมอสําหรับเตรียมอาหารเลี้ยงเชื้อ

1.7 เคร่ือง autoclave

2. สูตรอาหาร TGY (Tryptone Glucose Yeast extract agar)

Tryptone 5 กรัม

Glucose 1 กรัม

Yeast extract 2.5 กรัม

Agar 15 กรัม

นํ้ากลั่น 1000 มิลลิลิตร

Page 49: PRODUCTION OF NATURAL LIQUID SOAP FROM VIRGIN COCONUT OIL

39

3. วิธีการทดสอบ

ชั่งอาหารเลี้ยงเชื้อตามสูตรมาผสมกับนํ้ากลั่นที่เตรียมไวแลวนําไปต้ังไฟใหอาหาร

และวุนละลายเปนเน้ือเดียวกัน (โดยดูที่แทงแกวที่ใชคนอาหาร จะไมมีเปนเม็ดของวุนติดอยู) นํา

อาหารเลี้ยงเชื้อที่ไดมาเทใสในขวดแกว แลวปนสําลีปดจุกขวดแกวกอนปดฝา (ฝาปดไมตองแนน)

แลวนําขวดที่มีอาหารเขาเคร่ือง autoclave ที่อุณหภูมิ 121 องศาเซลเซียส ความดัน 15 ปอนดตอ

ตารางน้ิว นาน 15 นาที เมื่อนําขวดอาหารออกมาจากเคร่ือง autoclave ใหนําไปไวใน water

bath ทําการเจือจางสบูเหลวที่ความเขมขน 1, 10-1, 10-2, 10-3 ใชปเปตดูดมาอยางละ 1 มิลลิลิตร

ใสในจานอาหารเลี้ยงเชื้ออยางละ 3 ซ้ํา แลวเทอาหารเลี้ยงเชื้อที่มีอุณหภูมิประมาณ 50 องศา

เซลเซียส ลงในจานอาหาร แลวทําการผสมใหสบูเหลวกับอาหารเลี้ยงเชื้อเขากัน รอจนอาหารแข็ง

แลวนําไปบมเปนเวลา 48 ชั่วโมง

Page 50: PRODUCTION OF NATURAL LIQUID SOAP FROM VIRGIN COCONUT OIL

40

5. การทดสอบเสถียรภาพตอการเก็บ ดัดแปลงจากวิธีการตามมาตรฐานคุณภาพ

ผลิตภัณฑอุตสาหกรรม สบูเหลว มอก.1403-2540 (สํานักงานมาตรฐานคุณภาพ

ผลิตภัณฑอุตสาหกรรม, 2541)

1. เคร่ืองมือ

1.1 ขวดแกวใสมีฝาปดสนิท

1.2 ตูอบที่ควบคุมอุณหภูมิไดที่ 50 ± 2 องศาเซลเซียส

2. วิธีการทดสอบ

เทตัวอยางลงในขวดแกว 10 ขวด แบงเก็บไวที่อุณหภูมิหอง 5 ขวด และที่

อุณหภูมิ 50 องศาเซลเซียส 5 ขวด เปนเวลา 4 สัปดาห ทําการตรวจผลทุก 2 สัปดาห โดยคร้ัง

แรกดึงตัวอยางออกมาอยางละ 3 ขวด เพื่อทําการตรวจผล

Page 51: PRODUCTION OF NATURAL LIQUID SOAP FROM VIRGIN COCONUT OIL

41

ภาคผนวก ข

แบบทดสอบการยอมรับของผูบริโภคที่มีตอสบูเหลวธรรมชาติจากนํ้ามันมะพราวบริสุทธิ์

Page 52: PRODUCTION OF NATURAL LIQUID SOAP FROM VIRGIN COCONUT OIL

42

แบบทดสอบการยอมรับผลิตภัณฑสบูเหลวธรรมชาติจากน้ํามันมะพราวบริสุทธ์ิ

คําชี้แจง : แบบทดสอบชุดน้ีจัดทําขึ้นเพื่อสํารวจการยอมรับของผูบริโภคตอผลิตภัณฑสบูเหลว

ธรรมชาติจากนํ้ามันมะพราวบริสุทธิ์ เพื่อประกอบปญหาพิเศษของนางสาวพรพรรณ วิกยานนท

นิสิตปริญญาตรี ภาควิชา วิทยาศาสตรชีวภาพ คณะศิลปะศาสตรและวิทยาศาสตร

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน คําตอบของทานจะไมมีผลใดๆทั้งสิ้นตอตัวทาน

คําแนะนํา : กรุณาทดสอบตัวอยางผลิตภัณฑสบูเหลวธรรมชาติจากนํ้ามันมะพราวบริสุทธิ์ โดย

การใชนํ้าลางมือทั้งสองขางใหเปยก จึงเทตัวอยางออกจากขวด ***ควรเขยาผลิตภัณฑกอนใช

(ผลิตภัณฑจะมีการแยกชั้นระหวางชั้นของเน้ือสบูกับชั้นของนํ้า ซึ่งเปนลักษณะปกติของผลิตภัณฑ

สบูธรรมชาติ) ฟอกตัวอยางบนมือที่เปยกแลวลางออกดวยนํ้าจนสะอาดเช็ดมือใหแหง เปนเวลา 1

สัปดาห แลวใหคะแนนความชอบที่มีตอลักษณะตางๆของผลิตภัณฑโดยที่กําหนดให

1 = ไมชอบมาก 2 = ไมชอบเล็กนอย 3 = เฉย ๆ

4 = ชอบเล็กนอย 5 = ชอบมาก

คุณสมบัติ / ระดับความชอบ 1 2 3 4 5

ความชอบรวม

สี

กลิ่น

ความหนืด

ปริมาณฟอง

ความสามารถในการทําความสะอาด

ความยากงายในการลางออก

ความชุมชื้นของผิวหลังใช

ความนุมเนียนผิวหลังใช

ขอคิดเห็นที่มีตอผลิตภัณฑ

.............................................................................................................................................................

.............................................................................................................................................................

.............................................................................................................................................................

2. ทานยอมรับผลิตภัณฑสบูเหลวธรรมชาติจากนํ้ามันมะพราวบริสุทธิ์ น้ีหรือไม

( ) ยอมรับ ( ) ไมยอมรับ

Page 53: PRODUCTION OF NATURAL LIQUID SOAP FROM VIRGIN COCONUT OIL

43

ภาคผนวก ค

ภาพขั้นตอนการทําสบูเหลวธรรมชาติจากนํ้ามันมะพราวบริสุทธิ์

Page 54: PRODUCTION OF NATURAL LIQUID SOAP FROM VIRGIN COCONUT OIL

44

ภาพผนวกท่ี ค1 อุนนํ้ามัน (อุณหภูมิไมควรเกิน 50 C)

ภาพผนวกท่ี ค2 ละลายดางดวยนํ้าที่เตรียมไวแลววางไวใหอุณหภูมิใกลเคียงกับอุณหภูมินํ้ามัน

ภาพผนวกท่ี ค3 เทสารละลายดางลงในนํ้ามัน

Page 55: PRODUCTION OF NATURAL LIQUID SOAP FROM VIRGIN COCONUT OIL

45

ภาพผนวกท่ี ค4 กวนสวนผสมใหเขากัน

ภาพผนวกท่ี ค5 สวนผสมเร่ิมมีลักษณะขน

ภาพผนวกท่ี ค6 สวนผสมมีลักษณะคลายครีมสลัด

Page 56: PRODUCTION OF NATURAL LIQUID SOAP FROM VIRGIN COCONUT OIL

46

ภาพผนวกท่ี ค7 สวนผสมมีลักษณะคลายผลไมกวน และใหกวนตอไปอีก 2 ชั่วโมง

ภาพผนวกท่ี ค8 เอาหมอสะอาดอีกใบมาตมนํ้าเดือด

ภาพผนวกท่ี ค9 ตักเน้ือสบูมาใสในนํ้าที่ตมเดือดเพื่อละลายเน้ือสบู

Page 57: PRODUCTION OF NATURAL LIQUID SOAP FROM VIRGIN COCONUT OIL

47

ประวัติการศึกษา

ชื่อ - นามสกุล นางสาวพรพรรณ วิกยานนท

วัน เดือน ป เกิด 16 กรกฎาคม 2527

สถานที่เกิด จังหวัดนครปฐม

ประวัติการศึกษา

มัธยมศึกษาตอนตน โรงเรียนราชินีบูรณะ อําเภอเมือง จังหวัดนครปฐม

มัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนราชินีบูรณะ อําเภอเมือง จังหวัดนครปฐม