prototype production of feed pellets - pnurms.pnu.ac.th/rdbms/fulltext/061117_123603f.pdf1)...

34
เครื่องต้นแบบสาหรับผลิตอาหารสัตว์อัดเม็ด Prototype production of feed pellets ถาวร สังข์สุวรรณ์ รายงานผลวิจัยนี้ได้รับทุนจากมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ ประจาปีงบประมาณ 2559

Upload: others

Post on 29-Dec-2019

8 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: Prototype production of feed pellets - PNUrms.pnu.ac.th/rdbms/fulltext/061117_123603f.pdf1) มอเตอร ไฟฟ ากระแสสล บชน ด 1 เฟส หร อเร

เครื่องต้นแบบส าหรับผลิตอาหารสัตวอ์ัดเม็ด Prototype production of feed pellets

ถาวร สังข์สุวรรณ ์

รายงานผลวิจัยนี้ได้รับทุนจากมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร ์

ประจ าปีงบประมาณ 2559

Page 2: Prototype production of feed pellets - PNUrms.pnu.ac.th/rdbms/fulltext/061117_123603f.pdf1) มอเตอร ไฟฟ ากระแสสล บชน ด 1 เฟส หร อเร

บทคัดย่อ

หัวข้อโครงการ : เครื่องต้นแบบส าหรับผลิตอาหารสัตว์อัดเม็ด ผู้วิจัย : ถาวร สังข์สุวรรณ์ พ.ศ. : 2559

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพ่ือสร้างเครื่องต้นแบบส าหรับผลิตอาหารสัตว์อัดเม็ด และเพ่ือประสิทธิภาพการท างานของเครื่องต้นแบบส าหรับผลิตอาหารสัตว์อัดเม็ดและในสถานการณ์ที่ผู้เลี้ยงสัตว์โดยเฉพาะสุกรและสัตว์ปีกเช่น ไก่เนื้อ ไก่ไข่ ฯลฯ ประสบกับปัญหาราคาอาหารสัตว์ หรือวัตถุดิบอาหารสัตว์มีราคาแพงในขณะเดี่ยวกันผลผลิตที่ได้จากการเลี้ยงสัตว์มีราคาไม่สมดุลกับต้นทุนค่าอาหารสัตว์ที่สูงขึ้น ดังนั้น เกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์ไม่ว่าจะเป็นฟาร์มขนาดเล็กหรือฟาร์มขนาดใหญ่จ าเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องหาวิธีการลดค่าใช้จ่ายหรือต้นทุนในการเลี้ยงสัตว์ จากการทดลองการอัดอาหารสัตว์อัดเม็ด โดยท าการทดลองของส่วนผสมทั้งหมดที่มีน้ าหนัก 2.0กิโลกรัมใช้เวลาเฉลี่ย 2.02 นาที จากการทดลองสรุปได้ว่า ส่วนผสมที่น้ าหนัก 5 กิโลกรัม ใช้เวลาในการอัดน้อยที่สุดได้มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.13 นาทีถือว่าส่วนผสมที่มีน้ าหนัก 5 กิโลกรัมเป็นน้ าหนักที่เหมาะสมที่สุด

กิตติกรรมประกาศ

Page 3: Prototype production of feed pellets - PNUrms.pnu.ac.th/rdbms/fulltext/061117_123603f.pdf1) มอเตอร ไฟฟ ากระแสสล บชน ด 1 เฟส หร อเร

โครงการส าเร็จลุล่วงได้ด้วยดี เพราะด้วยความกรุณาของ คณาจารย์ วิทยาลัยเทคนิคนราธิวาส มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ ซึ่งได้ให้ค าปรึกษาค าแนะน าข้อชี้แนะตลอดจนแนวทางการแก้ปัญหาต่างๆ และความช่วยเหลือในหลายๆสิ่งหลายอย่าง ขอกราบขอบพระคุณเป็นอย่างสูงมา ณ ที่นี้

สุดท้ายนี้คณะผู้จัดท าขอกราบขอบพระคุณมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ ที่ให้โอกาสได้รับทุนวิจัย และพ่ีน้องทุกคนที่ให้ก าลังใจ ให้การสนับสนุนจนสามารถส าเร็จลุล่วงไปด้วยดี

ผู้จัดท าโครงการ

ถาวร สังข์สุวรรณ์

สารบัญ

เรื่อง หน้า บทคัดย่อ ก กิตติกรรมประกาศ ฃ สารบัญ ค สารบัญตาราง ง

Page 4: Prototype production of feed pellets - PNUrms.pnu.ac.th/rdbms/fulltext/061117_123603f.pdf1) มอเตอร ไฟฟ ากระแสสล บชน ด 1 เฟส หร อเร

สารบัญภาพ จ บทที่ 1 บทน า

1.1 ความเป็นมาและความส าคัญของโครงการ 1 1.2 วัตถุประสงค์ของโครงการ 1 1.3 เป้าหมายของโครงการ 2 1.4 ประโยชน์ที่ขาดว่าจะได้รับ 2 1.5 ขอบเขตของโครงการ 2 1.6 ระยะเวลาในการด าเนินโครงการ 2 1.7 แผนการด าเนินโครงการ 3

บทที่ 2 ทฤษฎีและเอกสารที่เกี่ยวข้อง 2.1 มอเตอร์ไฟฟ้า 4 2.2 เซอร์กิตเบรกเกอร์ 6 2.3 ล้อสายพาน 7 2.4 สายพาน 7 2.5 ตลับลูกปืน 9 2.6 เหล็กกล่อง 10 2.7 เกียร์ทด 11

บทที่ 3 วิธีการด าเนินงาน 3.1 ขั้นตอนการศึกษาข้อมูลเบื้องต้น 12 3.2. ขั้นตอนการการออกแบบ 12 3.3 ขั้นตอนการค านวณ 13 3.4. ขั้นตอนการออกแบบและสร้างเครื่องอัดอาหารสัตว์อัดเม็ด 15 3.5 การออกแบบเครื่องต้นแบบส าหรับผลิตอาหารสัตว์อัดเม็ด 16 3.6 การออกแบบชุดเครื่องต้นแบบส าหรับผลิตอาหารสัตว์อัดเม็ด 17

สารบัญ )ต่อ( 3.7 การออกแบบชุดส่งก าลัง

18

บทที่ 4 ผลกาท าโครงการ 4.1 ผลการทดลอง 19

บทที่ 5 สรุปผลและข้อเสนอแนะ

5.1 สรุปผล 23 5.2 ข้อเสนอแนะ 23

Page 5: Prototype production of feed pellets - PNUrms.pnu.ac.th/rdbms/fulltext/061117_123603f.pdf1) มอเตอร ไฟฟ ากระแสสล บชน ด 1 เฟส หร อเร

บรรณานุกรม 24 ภาพผนวก 25

สารบัญตาราง

ตารางท่ี หน้า 1.1 แผนการด าเนินโครงการในระยะที่ 1

3

สารบัญภาพ

ภาพที่ หน้า 2.1 มอเตอร์ไฟฟ้า 4 2.2 เซอร์กิตเบรกเกอร์ 6 2.3 ล้อสายพาน 7 2.4 สายพาน 8 2.5 ตลับลูกปืน 9 2.6 เหล็กกล่อง 10 2.7 เกียร์ทด 11 3.1 เครื่องอัดอาหารเม็ด 14 3.2 แสดงการตัดเหล็กเพ่ือท าโครงสร้าง 16 3.3 แสดงการเชื่อมต่อโครงสร้าง 16 3.4 แสดงการเชื่อมถาดรองอาหารเม็ด 17 3.5 แบบโครงสร้างเครื่องต้นแบบส าหรับผลิตอาหารสัตว์อัดเม็ด 17 3.6 ชุดอัดอาหาร 18

Page 6: Prototype production of feed pellets - PNUrms.pnu.ac.th/rdbms/fulltext/061117_123603f.pdf1) มอเตอร ไฟฟ ากระแสสล บชน ด 1 เฟส หร อเร

Page 7: Prototype production of feed pellets - PNUrms.pnu.ac.th/rdbms/fulltext/061117_123603f.pdf1) มอเตอร ไฟฟ ากระแสสล บชน ด 1 เฟส หร อเร

1

บทท่ี 1 บทน า

1.1ความเป็นมาและความส าคัญ ในสถานการณ์ที่ผู้เลี้ยงสัตว์โดยเฉพาะโค ประสบกับปัญหาราคาอาหารสัตว์ ที่หาซื้อตามท้องตลาดมีราคาแพง เมื่อผู้ใช้ต้องซื้อผลิตภัณฑ์อัดเม็ดต่างๆเหล่านั้นทั้งหมด ต้นทุนของการผลิตไม่ว่าจะเป็นต้นทุนทางการเกษตรหรือต้นทุนของการเลี้ยงสัตว์ก็จะสูงตามไปด้วย ท าให้ผู้ลงทุน เกิดสภาวะการขาดทุน ดังนั้นเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์ไม่ว่าจะเป็นฟาร์มขนาดเล็กหรือฟาร์มขนาดใหญ่จ าเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องหาวิธีการลดค่าใช้จ่ายหรือต้นทุนการเลี้ยงสัตว์ เพ่ือให้สามารถผ่านพ้นวิกฤตการณ์นี้ได้ สิ่งที่เกษตรกรจะสามารถลดต้นทุนได้มากก็คือค่าอาหารที่ใช้เลี้ ยงสัตว์ เนื่องจากต้นทุนส่วนใหญ่ในการเลี้ยงสัตว์จะเป็นค่าอาหาร ดังนั้นหากเกษตรกรผสมอาหารสัตว์ใช้เองจะช่วยให้สามารถลดต้นทุนค่าอาหารได้มาก โดยใช้วัสดุในชุมชน มาช่วยในการลดต้นทุนค่าอาหารสัตว์ เครื่องอัดเม็ดแบบแม่พิมพ์ใช้ระบบลูกกลิ้งอัด ขับเคลื่อนด้วยมอเตอร์ไฟฟ้า ซึ่งท าให้ประหยัดพลังงานมากยิ่งขึ้นและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เครื่องชนิดนี้มีขนาดเล็กและมีโครงสร้างที่เหมาะสมผลิตเม็ดอาหารสัตว์มีผลผลิตประมาณ 200-400 กิโลกรัมต่อวัน ลูกกลิ้งและแม่พิมพ์ใช้วัสดุที่ท ามาจากเหล็กผสมสังกะสีที่มีคุณภาพสูง ท าให้ชิ้นส่วนประกอบมีความทนทานมากและไม่แตกง่าย ดังนั้น ผู้จัดท าโครงงานนี้ มีเป้าหมายในการพัฒนาเทคโนโลยีทางด้านอาหารของเกษตรกรที่ประกอบอาชีพเป็นเกษตรกรเลี้ยงสัตว์ ซึ่งในการเลี้ยงสัตว์นี้เกษตรกรส่วนใหญ่จะประสบปัญหาในเรื่องอาหาร เนื่องจากราคาอาหารส าเร็จรูปนั้นมีราคาสูงขึ้นท าให้เกษตรกรที่เลียงสัตว์มีต้นทุนในการเลี้ยงสัตว์เพ่ิมข้ึน ซึ่งปัจจุบันการเลี้ยงสัตว์ได้ปรับปรุงแบบจากการเลี้ยงแบบครัวเรือนมาเป็นการเลี้ยงแบบธุรกิจนิยม โดยใช้อาหารส าเร็จรูปมากขึ้น

1.2วัตถุประสงค์ 1.2.1 ศึกษา ออกแบบ และสร้าง เครื่องต้นแบบส าหรับผลิตอาหารสัตว์อัดเม็ด 1.2.2 ทดสอบ เครื่องต้นแบบส าหรับผลิตอาหารสัตว์อัดเม็ด 1.2.3 ลดต้นทุนและเพ่ิมผลผลิตให้กับกลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์ในพ้ืนที่

1.3 เป้าหมายของโครงการ 1.3.1 ได้เครื่องต้นแบบส าหรับผลิตอาหารสัตว์อัดเม็ด 1.3.2 ผลการทดสอบ เครื่องต้นแบบส าหรับผลิตอาหารสัตว์อัดเม็ด

1.4ประโยชน์คาดว่าจะได้รับ 1.4.1 สามารถผลิตอาหารสัตว์อัดเม็ดได้ในภาคเกษตรกร และ ในภาคอุตสาหกรรมครัวเรือ

Page 8: Prototype production of feed pellets - PNUrms.pnu.ac.th/rdbms/fulltext/061117_123603f.pdf1) มอเตอร ไฟฟ ากระแสสล บชน ด 1 เฟส หร อเร

2

1.4.2 สามารถช่วยลดระยะเวลาในการอัดอาหารสัตว์อัดเม็ด ได้เป็นอย่างดี 1.4.3 สามารถเพ่ิมประสิทธิภาพให้แก่ผู้ประกอบด้านอาหารสัตว์

1.5ขอบเขตของโครงการ 1.5.1วัตถุดิบทีใช้ในการท าอาหารเม็ดมีลักษณะเป็นผงและผ่านการบด เช่นร าปลายข้าว 1.5.2 ผลิตภัณฑ์อาหารสัตว์อัดเม็ดมีลักษณะทรงกระบอกขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง5มิลลิเมตร ยาวประมาณ15 มิลลิเมตร 1.5.3 ต้นก าลังขับเครื่องต้นแบบส าหรับผลิตอาหารสัตว์อัดเม็ดใช้มอเตอร์ ขนาด 3 แรงม้า

1.6 ระยะเวลาในการด าเนินโครงการ 1.6.1 ระยะที่ 1 พฤษภาคม 2559 – ตุลาคม 2559

1.. แผนการด าเนินโครงการ

ตารางท่ี 1.1 แผนการด าเนินโครงการ ระยะที่ 1 พฤษภาคม 2559 – ตุลาคม 2559

ล าดับที่ เนื้อหา 1. จัดหาวัสดุอุปกรณ์ 2. จัดท าโครงสร้างเครื่องต้นแบบส าหรับผลิตอาหารสัตว์อัดเม็ด 3. สั่งซื้ออุปกรที่ใช้ในการท าเครื่องต้นแบบส าหรับผลิตอาหารสัตว์อัดเม็ด 4. ประกอบอุปกรณ์เข้ากับโครงสร้าง 5. ท าการทดลองเครื่องต้นแบบส าหรับผลิตอาหารสัตว์อัดเม็ด

Page 9: Prototype production of feed pellets - PNUrms.pnu.ac.th/rdbms/fulltext/061117_123603f.pdf1) มอเตอร ไฟฟ ากระแสสล บชน ด 1 เฟส หร อเร

3

6. ปรับปรุงแก้ไข้เครื่องต้นแบบส าหรับผลิตอาหารสัตว์อัดเม็ด 7. ท าการทดลองและเก็บผลครั้งที่ 1 8. ท าการทดลองและเก็บผลครั้งที่ 2 9. ท าการทดลองและเก็บผลครั้งที่ 3 10. สรุปผลการจัดท าโครงการครั้งที่ 1 11. สรุปผลการจัดท าโครงการครั้งที่ 2 12. สรุปผลการจัดท าโครงการครั้งที่ 3

บทท่ี 2 ทฤษฎีและเอกสารทีเ่กี่ยวข้อง

ในบทนี้จะกล่าวถึงทฤษฎีการออกแบบเครื่องและชิ้นส่วนที่เกี่ยวข้องกับ เครื่องต้นแบบส าหรับผลิตอาหารสัตว์อัดเม็ดของผู้ที่ ใช้ประกอบอาหารสัตว์ในภาคเกษตรกรและ หรือในภาคอุตสาหกรรมการเกษตร ดังนั้น เพ่ือให้ได้เครื่องต้นแบบส าหรับผลิตอาหารสัตว์อัดเม็ด ที่มีประสิทธิภาพจึงต้องมีทฤษฎีที่เกี่ยวข้องต่างๆ ดังต่อไปนี้

2.1 มอเตอร์ไฟฟ้า 2.2 เซอร์กิตเบรกเกอร์ 2.3 ล้อสายพาน 2.4 สายพาน 2.5 ตลับลูกปืน 2.6 เหล็กกล่อง 2.7 เกียร์ทด

2.1 มอเตอร์ไฟฟ้า

Page 10: Prototype production of feed pellets - PNUrms.pnu.ac.th/rdbms/fulltext/061117_123603f.pdf1) มอเตอร ไฟฟ ากระแสสล บชน ด 1 เฟส หร อเร

4

มอเตอร์ไฟฟ้าหมายถึงอุปกรณ์ไฟฟ้าที่เปลี่ยนพลังกลมอเตอร์ที่ใช้งานในปัจจุบัน แสดงดังรูปที่ 2.1 แต่ละชนิดก็จะมีคุณสมบัติที่แตกต่างออกไปต้องการความเร็วรอบหรือก าลังงานที่แตกต่างกันซึ่งมอเตอร์แต่ละชนิดจะแบ่งได้เป็น 2 ชนิดตามลักษณะการใช้งานกระแสไฟฟ้าแบ่งออกตามการใช้ของกระแสไฟฟ้าได้ 2 ชนิดดังนี้

ภาพที่ 2.1 มอเตอร์ไฟฟ้า 2.1.1 มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับ (Alternating Current Motor) หรือเรียกว่าเอ.ซี มอเตอร์ (A.C.MOTOR) การแบ่งชนิดของมอเตอร์ไฟฟ้าสลับแบ่งออกเป็น 3 ชนิดได้แก่ 1) มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับชนิด 1 เฟส หรือเรียกว่าชิงเกิลเฟสมอเตอร์ (A.C. Sing Phase) จะใช้กับแรงดันไฟฟ้า 220 โวลต์มีสายไฟ เข้า 2 สาย มีแรงม้าไม่สูง ส่วนใหญ่ตามบ้านเรือนมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับแบ้งออกได้ ดังนี้

-สปลิทเฟส มอเตอร์ (Split-Phase motor) - คาปาซิเตอร์ มอเตอร์ (Capacitor motor) -รีพัลชั่นมอเตอร์ (Repulsion-type motor) - ยุนิเวอร์แวซลมอเตอร์ (Universal motor) - เช็ดเดดโพล มอเตอร์ (Shaded-pole motor) 2) มอเตอร์ ไฟฟ้ากระแสลับสลับชนิด 2 เฟส หรือเรียกว่ าทู เฟสมอเตอร์ (A.C.Twophas motor) 3) มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับชนิด 3 เฟส ใช้แรงดัน 380 โวลต์ มีสายไฟเข้ามอเตอร์ 3 สาย 2.1.2 มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current Motor) หรือเรียกว่าดี.ซี มอเตอร์ (C.Dmotor) การแบ่งชนิดของมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงแบ่งออกได้ดังนี้ 1) มอเตอร์แบบอนุกรมหรือเรียกว่าซีรีส์มอเตอร์ (Series motor) 2) มอเตอร์แบบอนุขนานหรือเรียกว่าชันท์มอเตอร์ (Shunt motor) 3) มอเตอร์ไฟฟ้าแบบผสมหรือเรียกว่าคอมเปาด์มอเตอร์ (Compound motor)

2.1.3 ชุดควบคุมวงจรมอเตอร์

Page 11: Prototype production of feed pellets - PNUrms.pnu.ac.th/rdbms/fulltext/061117_123603f.pdf1) มอเตอร ไฟฟ ากระแสสล บชน ด 1 เฟส หร อเร

5

ชุดควบคุมวงจรมอเตอร์ไฟฟ้า มีดังต่อไปนี้ 2.2 เซอร์กิตเบรกเกอร์ (CIRCUIT BREAKER) เซอร์กิตเบรกเกอร์ เป็นอุปกรณ์ปลดวงจร และป้องกันการลัดวงจร มีหลายขนาด หลายแบบ ขึ้นอยู่กับแรงดัน, กระแสโหลด, กระแสขณะตัดวงจร (Interrupting Current) มีทั้งชนิดท างานด้วยความร้อนและชนิดท างานด้วย แม่เหล็กแสดงดังรูปที่ 2.4 เซอร์กิตเบรกเกอร์ ท าหน้าที่ตัดวงจรไฟฟ้าคล้ายฟิวส์แต่ไม่มีการหลอมละลาย ของฟิวส์ จะท าการตัดกระแสออกจากวงจรเมื่อเกิดการลัดวงจร หรือกระแสมากเกินขีดจ ากัดของเบรกเกอร์ หรือเกิดความร้อน มากเกินไป เมื่อเซอร์กิตเบรกเกอร์ตัดวงจร (Trip) แล้ว สามารถ ท าให้วงจรท างานกลับมาท างานใหม่ได้โดยการรีเซ็ท หรือกด เบรกเกอร์ให้ลงมาอยู่ในต าแหน่ง OFF ก่อน แล้วจึง ON ใหม ่

ภาพที่ 2.2 เซอร์กิตเบรกเกอร์

2.3 ล้อสายพาน ล้อสายพานที่ใช้กับสายพานวีใหญ่ท ามาจากเหล็กกล้า หรือเหล็กหล่อชนิดต่างๆ ล้อสายพานร่องลิ่มตามมาตรฐานโดยปกติจะมีร่องลิ่ม การท าร่องลิ่มเพ่ือให้สายพานมีมุมลิ่มกับมุมของร่องได้แนบแน่นยิ่งขึ้น การใช้งานล้อสายพานร่องลิ่มที่ท าจากเหล็กกล้าจะใช้สายพานที่รับภาระบรรทุกไม่มากนักโดยใช้สายพาน รหัส 2L 3L 4L และ5L ล้อสายพานร่องลิ่มที่ท าจากเหล็กหล่อสามารถใช้กับสายพานทุกชนิด ขนาดของสายพานมีผลต่อการส่งก าลังด้วยเช่นกัน สายพานจะมีความสามารถส่งถ่ายก าลังได้เต็มที่ก็ต่อเมื่อใช้อัตราทดที่ถูกต้อง คือ ตั้งแต่ 1 ถึง 3 หรือน้อยกว่านี้ เพราะถ้าหากใช้อัตราทดที่สูดกว่านี้จะท าให้มุมด็อบของสายพานน้อยลงเป็นเหตุเกิดการลื่นไถลและสูญเสียก าลัง 2.3.1 ล้อสายพานแบน ตามแต่ประโยชน์การใช้งานจะมีการผลลิตล้อสายพานแบนจากเหล็กหล่อ เหล็กกล้า โลหะเบา พลาสติก หรือไม้ บนผิวล้อที่รองรับสายพานจะต้องลื่นมิฉะนั้นจะท าให้สายพานสึกหรอเร็วมากจากการลื่นเสียดสีโดยให้มีผิวความหยาบอยู่ระหว่าง 4 ถึง 10 ไมล์โคเมตรล้อสายพานตามแบบ Z (รูปทรงกระบอก) ดังรูปที่ ก และแบบ G (ผิวรูปโค้ง) ดังรูปที่ ข

Page 12: Prototype production of feed pellets - PNUrms.pnu.ac.th/rdbms/fulltext/061117_123603f.pdf1) มอเตอร ไฟฟ ากระแสสล บชน ด 1 เฟส หร อเร

6

ล้อสายพานแบบ G ที่มีผิวโค้งนี้จะช่วยประคองสายพานให้อยู่ตรงกลางเสมอในขณะส่งก าลังป้องกันมิให้ดิ้นออกไปทางน้อยซึ่งก็หมายความว่าแรงตึงหรือแรงดึงของสายพานที่มากที่สุดจะอยู่ตรงกึ่งกลางความกว้างของล้อสายพานจึงสามารถส่งก าลังด้วยความเร็วขอบถึง 20 เมตรต่อนาที เหมาะส าหรับน ามาใช้งานเป็นล้อตาม ล้อสายพานยังแบ่งเป็นตามลักษณะรูปร่างแบบโครงเป็นแผ่นกลมทึบหรื อเจาะรู ดังรูปที่ 2.3 หรือแบบโครงเป็นซี่ถอดออกเป็น 2 ชิ้นได้ แสดงดังรูปที่ 2.6 ที่ช่วยในการถอดประกอบระหว่างรองเพลาได้ง่ายข้ึน รวมทั้งท าให้สะดวกต่อการขนส่งและขนถ่ายอีก

ภาพที่ 2.3 ล้อสายพานแบน 2.4 สายพาน สายพานเป็นอุปกรณ์ส่งก าลังชนิดหนึ่ง ที่ใช้กันอย่างแพร่หลาย แบ่งประเภทการส่งก าลังได้ ดังนี้ 2.4.1 กรส่งถ่ายก าลังด้วยสายพาน เป็นการส่งถ่ายก าลังอย่างง่าย และไม่แพงมีการใช้กันแพร่หลายทั้งในชนบทและเมือง การส่งถ่ายก าลังด้วยสายพานเป็นการส่งถ่ายก าลังที่อ่อนตัวได้ดีซึ่งมีข้อดีราคาถูกและใช้งานง่ายรับแรงกระตุกและสะเทือนได้ดี ขณะการใช้งานไม่มีเสียงดังเหมาะส าหรับการส่งถ่ายก าลังระหว่างเพลาที่อยู่ห่างกันมาก และค่าใช้จ่ายในการบ ารุงรักษาต่ า เป็นต้น แต่มีข้อเสียคือไม่ปลอดภัยเมื่อใช้ใกล้กับความร้อน ถูกน้ ามันและจาระบี ทนความเร็วรอบที่แน่นอนไม่ได้ ยกเว้นสายพานเฟ่ืองลื่นได้เมื่อหย่อนและมีภาระมากๆ 2.4.2 คุณสมบัติของสายพานส่งก าลัง สายพานส่งถ่ายก าลังได้โดยอาศัยความฝืดจากผิวสัมผัสระหว่าง สายพานกับล้อสายพาน วัสดุที่ใช้ท าสายพานจะต้องมีค่าความต้านทานสูง วัสดุที่ใช้ท าสายพานที่ใช้กันมากคือหนัง Oak Tanned Leather แต่ถ้าเป็นการใช้งานพิเศษ เช่น อยู่ในบรรยากาศที่มีความชื้น มีสารเคมี หรือน้ ามันอยู่ด้วย มักใช้สายพานแบบ Chrome Leather เพ่ือให้สายพานมีอายุการใช้งานมากขึ้น จึงมักใช้ค่าความเค้นในการออกแบบต่ ากว่าความต้านทานจากแรงดึงสูงสุดของสายพานมากโดยทั่งไปจะใช้ค่าความปลอดภัยประมาณ 10 ค่าสัมประสิทธิ์ ความเสียดทานของสายพานหนังจะมีค่าประมาณ 0.40 - 0.50 และมีความเร็วใช้งานของสายพานควรจะอยู่ช่วง

Page 13: Prototype production of feed pellets - PNUrms.pnu.ac.th/rdbms/fulltext/061117_123603f.pdf1) มอเตอร ไฟฟ ากระแสสล บชน ด 1 เฟส หร อเร

7

1,000 - 2,000 เมตรต่อนาที ปัจจุบันมีการออกแบบให้เหมาะสมกับการก้าวหน้าทางวิชาการหลายรูปแบบ ซึ่งสามารถจ าแนกได้หลายลักษณะดังนี้ 2.4.2 การส่งถ่ายก าลังด้วยสายพานลิ่ม สายพานลิ่มส่วนใหญ่จะผลิตแบบ ไม่มีปลายเป็นสายพานท าจากยาง มีภาคตัดขวางเป็นรูปสี่เหลี่ยมคางหมูครึ่งหนึ่ง ด้านบนมีเส้นโพลีเอสเตอร์ ที่ผ่านการวัดเคไนเซชั่นมาแล้วแทรกอยู่ ท าให้ค่าความต้านแรงดึงเพ่ิมสูงขึ้น สายพานลิ่มชนิดที่มีชั้นใยสิ่งทอหุ้มอยู่รอบๆจะช่วยป้องกันการสึกหรอได้อีกด้วย สายพานลิ่มจะไม่รับแรงตามแนวรัศมีโดยตรงเหมือนสายพานแบน แต่จะรับแรงตามแนวตั้งฉากกับด้านข้างของสายพานลิ่มแสดงดังรูปที่ 2.7

ภาพที่ 2.4 โครงสร้างแรงปฎิกิรยิาและขนาดของสายพานลิ่ม แรงปกติ FN สายพานลิ่มที่มีความดึงและค่าสัมประสิทธิ์ความเสียดทานเท่ากับสายพานแบน จะสามารถส่งก าลังได้ดีกว่าสายพานแบนได้ถึง 3 เท่า ซึ่งข้อดีและข้อเสียของสายพานลิ่มเมื่อเทียบสายพานแบนมีดังนี้คือ

ข้อดี -ส่งก าลังได้ดีในขณะที่รองเพลารับภาระน้อยกว่า -มีการลื่นไถลขณะส่งก าลังน้อยมาก -มีมุมโอบน้อย แต่ให้อัตราทดได้มากถึง 15:1 โดยที่ไม่ต้องมีลูกกลิ้งกดสายพาน -เปลืองที่น้อย, มีระยะห่างระหว่างแกนเพลาน้อยกว่า -ส่งถ่ายก าลังงานได้สูงที่ขนาดล้อสายพานและเพลาเล็กน้อย -สามารถให้หมุนย้อนทิศทางได้ -สามารถจัดเรียงสายพานลิ่มได้หลายเส้นท าให้ส่งถ่ายก าลังงานได้มาก ข้อเสีย -ต้นทุนผลิตสูงกว่าสายพานแบน -มีระยะห่างระหว่างแกนเพลาจ ากัด -ไม่สามารถจัดสายพานส่งก าลังให้ลักษณะไขว้สลับได้ตามมาตรฐาน

Page 14: Prototype production of feed pellets - PNUrms.pnu.ac.th/rdbms/fulltext/061117_123603f.pdf1) มอเตอร ไฟฟ ากระแสสล บชน ด 1 เฟส หร อเร

8

2.4.3 สายพานแบน จะผลิตจากหนัง สิ่งทอ หรือท าจากชั้นต่างๆของหนังพลาสติกและเส้นใยหลายๆชั้น สายพานแบนสามารถน ามาใช้งานในลักษณะไขว้หรือกึ่งไขว้ได้ แต่การสึกหรอของสายพานดังกล่าวจะเกิดขึ้นมากกว่าการใช้ของสายพานลักษณะเปิด อัตราทดจะไม่เปลี่ยนแปลงแต่ล้อสายพานจะหมุนไปในทิศทางตรงกันข้ามเนื่องจากสายพานไขว้สัมผัสกันจึงท าให้เกิดการสึกหรอค่อนข้างเร็ว สายพานลักษณะกึ่งไขว้จะท าให้มีมุมโอบล้อสายพานมากกว่าแบบลักษณะเปิดล้อสายพาน ซึ่งจะว่างในทิศทางการหมุนเหมือนกันเพ่ือให้การหมุนของสายพานบนล้อสายพานมั่งคงจะก าหนดให้ความกว้างของของล้อสายพานขับโตกว่าประมาณ 1/4 เท่าของล้อแบบลักษณะเปิด และให้ล้อสายพานโตกว่าประมาณ 1/3 เท่าของล้อสายพานแบบลักษณะเปิดแสดงดังรูปที่ 2.8

ภาพที่ 2.5 สายพานแบน

2.5 ตลับลูกปืน (Bearing) ตลับลูกปืนเป็นอุปกรณ์ที่ใช้รองรับการหมุนของเพลา โดยตลับลูกปืนมีหน้าที่ถ่ายทอดแรงที่เกิดข้ึนจากเพลาลงไปสู่ฐานเครื่องยนต์ และลดแรงเสียดทานระหว่างผิวสัมผัสท าให้ช่วยเพ่ิมสมรรถนะของเครื่องจักรกลต่างๆลดการสึกหรอแต่ตลับลูกปืนมักจะเสื่อมสภาพเร็วเนื่องจากตลับลูกปืนถือว่าเป็นจุดวิกฤตของเครื่องมือกลแสดงดังรูปที่ 2.9

ภาพที่ 2.6 ตลับลูกปืน

2.6 เหล็กกล่อง (Steel Tube) เหล็กกล่องหรือเหล็กแป๊บ จัดอยู่ในประเภท เหล็กรูปพรรณ เหล็กที่มีรูปร่างแบบต่างๆ เพ่ือตอบสนองต่อการใช้งาน โดยมีจุดประสงค์หลักคือ การเพ่ิมคุณสมบัติของหน้าตัด เพ่ือรับแรงต้านทาน

Page 15: Prototype production of feed pellets - PNUrms.pnu.ac.th/rdbms/fulltext/061117_123603f.pdf1) มอเตอร ไฟฟ ากระแสสล บชน ด 1 เฟส หร อเร

9

การเสียรูปขณะใช้งานได้ดีขึ้น ใช้เป็นเหล็กในโครงสร้างหลักหรือโครงสร้างอ่ืนๆ เช่น โครงหลังคาเหล็ก คานเหล็ก เหล็กกล่องสี่เหลี่ยม หรือ เหล็กแป๊บโปร่ง (Square Steel Tube) เป็นเหล็กโครงสร้างรูปพรรณกลวงแบบสี่เหลี่ยมจัตุรัส มีความยาว 6,000 มิลลิเมตร/เส้น มีลักษณะเป็นท่อสี่เหลี่ยม มีมุมฉากที่เรียบคม ไม่มนได้มุมฉาก 90 องศา ผิวเรียบไม่หยาบ ขนาดความยาวต้องวัดได้หน่วยมิลลิเมตร ผิดพลาดไม่เกิน 2 เปอร์เซ็นต์ขนาดต้องเท่ากันทุกเส้น เหล็กกล่องสี่เหลี่ยม เหมาะส าหรับงานโครงสร้างทั่วไปที่ไม่รับน้ าหนักมาก เช่น เสา ,นั่งร้าน เป็นต้น สามารถน าไปประยุกต์ใช้ในงานทั่วไป ทดแทนการใช้ไม้ คอนกรีต และเหล็กรูปพรรณชนิดอื่นๆ น้ าหนักเบา และมีคุณสมบัติที่แข็งแรงทนทนแสดงดังรูปที่ 2.10

ภาพที่ 2.7 เหล็กกล่อง

2.7 เกียร์ทด เกียร์ทดรอบ CPG รุ่น PA –เพลาออกข้าง เกียร์ทดทรงตั้ง เพลาเข้าอยู่ด้านล่าง เพลาออกด้านข้างส าหรับมอเตอร์ขนาด 1/4 แรงม้า (#40) - 20 แรงม้า (#175 ) อัตราทดรอบเลือกใช้ ตั้งแต่ 1:10 - 1:60 เลือกรุ่นต่างๆ ได้ที่ช่องด้านล่าง

Page 16: Prototype production of feed pellets - PNUrms.pnu.ac.th/rdbms/fulltext/061117_123603f.pdf1) มอเตอร ไฟฟ ากระแสสล บชน ด 1 เฟส หร อเร

10

ภาพที่ 2.8 เกียร์ทด

บทท่ี 3 วิธีการด าเนินการ

การศึกษาโครงการเรื่องการสร้างเครื่องอัดอาหารเม็ด เพ่ือจะช่วยอ านวยความสะดวกให้แก่เกษตรกร ที่เลี้ยงสัตว์ จึงได้มีการศึกษาเก็บข้อมูลที่เป็นประโยชน์และเกี่ยวข้องกับการจัดสร้างโครงงาน โดยสามารถแบ่งเป็นขั้นตอนดังต่อไปนี้ 3.1. ขั้นตอนการศึกษาข้อมูลเบื้องต้น 3.2. ขั้นตอนการการออกแบบ 3.3. ขั้นตอนการค านวณ 3.4. ขั้นตอนการด าเนินการ

Page 17: Prototype production of feed pellets - PNUrms.pnu.ac.th/rdbms/fulltext/061117_123603f.pdf1) มอเตอร ไฟฟ ากระแสสล บชน ด 1 เฟส หร อเร

11

3.1. ขั้นตอนการศึกษาข้อมูลเบื้องต้น 3.1.1 ศึกษาคุณลักษณะของวัตถุที่น ามาใช้ในการสร้างเครื่องอัดอาหารเม็ด 3.1.2 ศึกษาวิธีท าโครงงานตลอดจนวิธีการเก็บข้อมูล วิธีวิเคราะห์ข้อมูลจากต าราและผู้ประเมิน 3.2. ขั้นตอนการการออกแบบ ส่วนประกอบของเครื่องจะเป็นไปตามรูป ซึ่งเป็นรูปสมบูรณ์ของเครื่องอัดอาหารเม็ดการสร้างจะแบ่งเป็นส่วนต่าง ๆ ที่ส าคัญดังนี้ 3.2.1 ส่วนของโครงสร้าง โครงสร้าง ท าหน้าที่รองรับส่วนประกอบต่างๆของเครื่องอัดอาหารเม็ดโดยการออกแบบนั้นความแข็งแรงและกะทัดรัดโครงสร้างท าด้วย เหล็กกล่องขนาด 5 เซนติเมตร หนา 2 เซนติเมตรเชื่อมติดกันเป็นฐานรองรับ ชุดอัดเม็ดและแท่นวางเครื่องยนต์ โครงสร้าง ขนาดความยาว 75 เซนติเมตร ความกว้าง 35 เซนติเมตร ความสูง 70 เซนติเมตร 3.2.2 ส่วนประกอบของชุดอัดเม็ด ชุดอัดเม็ด ท าหน้าที่ รับส่วนผสมของวัตถุดิบที่ผสมในภาชนะที่การผสมคลุกเคล้าเข้ากันแล้วไปท าการอัดเป็นเม็ดต่อไป ซึ่งส่วนประกอบของชุดอัดเม็ดประกอบด้วยส่วนประกอบดังนี้ แผ่นอัดเม็ด ท าหน้าที่ ท าการอัดเม็ดผ่านรูของหัวอัดเม็ด หัวอัดเม็ด ท าด้วยแผ่นเหล็กวงกลมที่มีความหนา 8 มิลลิเมตรและมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 13 เซนติเมตร 3.2.3 การสร้างเครื่องมือในการท าโครงงาน ผู้ท าโครงงานได้ด าเนินการสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการท าโครงงานจ านวน 3 ส่วน 3.2.3.1 เครื่องอัดอาหารเม็ด 3.2.3.2 แบบประเมินคุณภาพการใช้งาน 3.2.3.3 แบบบันทึกข้อมูลเพื่อประเมินคุณภาพ 3.3 ขั้นตอนการค านวณ 3.3.1 การค านวณหาขนาดล้อขับสายพานของเพลาชุดอัดเม็ดจากการออกแบบการท างานของเครื่องอัดอาหารเม็ด ได้ก าหนดรอบท างานของเพลาชุดอัดเม็ดที่เหมาะสมต่อการท างานของเครื่องและสามารถท างานได้ตามวัตถุประสงค์ท่ีตั้ง จึงได้ก าหนดความเร็วรอบการท างานประมาณ 400-500 รอบ/นาที โดยที่เครื่องยนต์ต้นก าลังท างานด้วยความเร็วรอบ 800 – 1000 รอบ/นาที และขนาดล้อขับสายพานของเครื่องยนต์ต้นก าลังมีขนาด 3 นิ้ว ดังนั้นจะสามารถค านวณหาขนาดองล้อสายพานของเพลาชุดอัดเม็ดได้จากสมการดังนี้ จากสมการ N1/N2 = D2/D1 เมื่อก าหนดให ้ N1 = ความเร็วรอบของเครื่องยนต์ต้นก าลัง N2 = ความเร็วรอบของเพลาขับชุดอัดเม็ด D1 = ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของล้อขับสายพานของเครื่องยนต์ต้นก าลัง D2 = ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของล้อขับสายพานของเพลาชุดอัดเม็ด ดังนั้นสามารถหาขนาดของล้อขับสายพานของชุดเพลาอัดเม็ดได้จาก N2 = (N1 x D1) /D2

Page 18: Prototype production of feed pellets - PNUrms.pnu.ac.th/rdbms/fulltext/061117_123603f.pdf1) มอเตอร ไฟฟ ากระแสสล บชน ด 1 เฟส หร อเร

12

N2 = (1450 x 10) / 15 N2 = 966.66 rpm ความเร็วของ N2 = 966.66 rpm อัตราทดของเกียร์ทด = 50:1 ความเร็วรอบท่ีใช้งาน = 966.66 50 = 19.33 rpm ชุดโครงสร้าง ในการทดลองครั้งนี้ผู้จัดท าโครงงานได้ใช้เหล็กกลองขนาด 1 เซนติเมตร เป็นโครงสร้างโดยมีขนาดโครงสร้างกว้าง ×ยาว×สูงเท่ากับ 35 เซนติเมตร ×75 เซนติเมตร ×70 เซนติเมตร

ภาพที่ 3.1 เครื่องอัดอาหารเม็ด

Page 19: Prototype production of feed pellets - PNUrms.pnu.ac.th/rdbms/fulltext/061117_123603f.pdf1) มอเตอร ไฟฟ ากระแสสล บชน ด 1 เฟส หร อเร

13

ขั้นตอนการออกแบบเครื่องอัดอาหารเม็ด

เริ่ม

ออกแบบ

จัดเตรียมอุปกรณ์

สร้างเครื่องอัดอาหารเม็ด

ทดลองใช้ ไม่ผ่าน

ปรับปรุงแก้ไข

เก็บผลการทดลอง

วิเคราะห์ผลการทดลอง

สรุปผลการทดลอง

ผ่าน

Page 20: Prototype production of feed pellets - PNUrms.pnu.ac.th/rdbms/fulltext/061117_123603f.pdf1) มอเตอร ไฟฟ ากระแสสล บชน ด 1 เฟส หร อเร

14

3.4. ขั้นตอนการออกแบบและสร้างเครื่องอัดอาหารสัตว์อัดเม็ด 3.4.1 การออกแบบและสร้างเครื่อง ผู้ท าโครงงานได้ศึกษาเกี่ยวกับการออกแบบเครื่องจักร การออกแบบเพลาที่ติดกับเหล็กแผ่น ความแข็งแรงของวัสดุและได้ปรึกษาผู้ประเมินสาขาเครื่องกล 3.4.2 การเชื่อมต่อชิ่นส่วนและการเจาะรูเหล็กแผ่น ผู้ท าโครงงานศึกษาเกี่ยวกับงานเชื่อมโลหะแผ่นได้ปรึกษาผู้ประเมินจากวิชาสาขาเครื่องกล

ภาพที่ 3.2 แสดงการตัดเหล็กเพ่ือท าโครงสร้าง

จบ

Page 21: Prototype production of feed pellets - PNUrms.pnu.ac.th/rdbms/fulltext/061117_123603f.pdf1) มอเตอร ไฟฟ ากระแสสล บชน ด 1 เฟส หร อเร

15

ภาพที ่3.3 แสดงการเชื่อมต่อโครงสร้าง

ภาพที่ 3.4 แสดงการเชื่อมถาดรองอาหารเม็ด

3.5 การออกแบบเครื่องต้นแบบส าหรับผลิตอาหารสัตว์อัดเม็ด การออกแบบเครื่องอัดอาหารเม็ดให้มีประสิทธิภาพที่ดีต้องค านึง ความสะดวกของผู้ใช้และผู้ศึกษา มีความแข็งแรง และขณะปฏิบัติงานต้องมีความปลอดภัยต่อผู้ปฏิบัติงาน ออกแบบชุดโครงสร้างเครื่องต้นแบบส าหรับผลิตอาหารสัตว์อัดเม็ด ออกแบบชุดโครงสร้างเครื่องต้นแบบส าหรับผลิตอาหารสัตว์อัดเม็ดโดยในการออกแบบชุดโครงสร้างจะใช้เหล็กกล่องสี่เหลี่ยม ขนาดที่เหมาะสม ขนาด 5 นิ้ว หนา 2 เซนติเมตร น ามาตัดและเชื่อมให้ติดกัน โดยมีความกว้าง 35 เซนติเมตร ยาว 75 เซนติเมตร และสูง 70

Page 22: Prototype production of feed pellets - PNUrms.pnu.ac.th/rdbms/fulltext/061117_123603f.pdf1) มอเตอร ไฟฟ ากระแสสล บชน ด 1 เฟส หร อเร

16

เซนติเมตร เมื่อน าไปติดตั้งกับเครื่องต้นแบบส าหรับผลิตอาหารสัตว์อัดเม็ดก็จะมีขนาดที่เหมาะสม แสดงดังรูปที่ 3.5

ภาพที่ 3.5 แบบโครงสร้างเครื่องต้นแบบส าหรับผลิตอาหารสัตว์อัดเม็ด

3.6 การออกแบบชุดเครื่องต้นแบบส าหรับผลิตอาหารสัตว์อัดเม็ด การออกแบบชุดอัดเม็ดอาหารสัตว์โดยการน าเอาเหล็กท่อที่มีเส้นผ่านศูนย์กลาง 6.5 นิ้ว ความยาวขนาดชุดล้าง 200 มิลลิเมตร และความยาวขนาดชุดบน 10 นิ้ว เจาะรูทางออกของอาหาร ยาว 11 นิ้ว สูง 4 นิ้ว เจาะรูส าหรับยึด แม่พิมพ์ 4 รู ขนาดของรู 10 มิลลิเมตร จากนั้นน าเหล็กแผ่นหนา 1.5 นิ้ว มาท าแม่พิมพ์โดยมาตัดเป็นวงกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 10.5 นิ้ว เจาะรูตรงกลางขนาด 1 นิ้ว และเจาะรูขนาด 7 มิลลิเมตร เพ่ือที่จะเป็นรูอัดของอาหาร จากนั้นน าเหล็กกลมตัด เส้นผ่านศูนย์กลาง 20 มิลลิเมตร ยาว 132 มิลลิเมตร เจาะรูตรงกลางขนาด 1 นิ้ว และเจาะลูกกลิ้ง 20 มิลลิเมตร ความลึก 37 มิลลิเมตร แสดงดังรูปที่ 3.6

Page 23: Prototype production of feed pellets - PNUrms.pnu.ac.th/rdbms/fulltext/061117_123603f.pdf1) มอเตอร ไฟฟ ากระแสสล บชน ด 1 เฟส หร อเร

17

ภาพที่ 3.6 ชุดอัดอาหาร

3.7 การออกแบบชุดส่งก าลัง ชุดส่งก าลัง ใช้สายพานขับร่อง B ใช้มอเตอร์ขนาด 3 แรงม้า เป็นต้นก าลังในการถ่ายถอด

ก าลังแก่อุปกรณ์ต่างๆ ของเครื่องอัดอาหารสัตว์อัดเม็ด เลือกใช้มู่เล่ส่งถ่ายก าลังขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 3 นิ้ว 1 ตัว และมู่เล่ขนาด 4 นิ้ว 1 ตัว

บทท่ี 4 ผลการทดลอง

การออกแบบและการสร้างเครื่องอัดอาหารเม็ด ผู้จัดท าโครงงานได้จัดท าและวิเคราะห์ผลการทดลองของเครื่องอัดอาหารเม็ด ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพ่ือแก้ปัญหาเกี่ยวกับการลดต้นทุ่น และหาได้ในท้องตลาด

ทั่วไป จากเครื่องอัดอาหารเม็ดการทดลองและเก็บข้อมูลได้ดังนี้

4.1 ผลการทดลอง ตารางที่ 4.1 การทดลองการอัดอาหารเม็ดของส่วนผสมข้าวโพดบด กากถั่วเหลือง และ

ร าละเอียด น้ า

Page 24: Prototype production of feed pellets - PNUrms.pnu.ac.th/rdbms/fulltext/061117_123603f.pdf1) มอเตอร ไฟฟ ากระแสสล บชน ด 1 เฟส หร อเร

18

ภาพที่ 4.1แสดงผลการทดลองการอัดอาหารเม็ดของส่วนผสมข้าวโพดบดกากถั่วเหลือง และร าละเอียดน้ า จากภาพที่ 4-1 เห็นได้ว่าล าดับการทดลองที่ 1 น้ าหนักของส่วนผสมรวมกันทั้งหมด 2 กิโลกรัม ประกอบด้วยข้าวโพดบดกากถั่วเหลือง และร าบดละเอียดน้ า 0.1 ลิตร สามารถอัดส่วนผสมเป็นเม็ดได้ในเวลา 1.02 นาที ล าดับการทดลองครั้งท่ี 2 น้ าหนักของส่วนผสมรวมกันทั้งหมด 4กิโลกรัมประกอบด้วยข้าวโพดบดกากถั่วเหลือง และร าบดละเอียด น้ า 0.3 ลิตร สามารถอัดส่วนผสม

เป็นเม็ดได้ในเวลา 3.01 นาที ค่าเฉลี่ย น้ าหนักของส่วนผสมรวมกันทั้งหมด 4 กิโลกรัม ประกอบด้วยข้าวโพบดกากถั่วเหลือง และร าบดละเอียด สามารถอัดส่วนผสมเป็นเม็ดได้ในเวลา 2.02 นาท ี

ตารางที่4.2การทดลองการอัดอาหารเม็ดของส่วนผสมข้าวโพดบดกากถั่วเหลือง และร าละเอียดน้ า

02468

1 2 3 เฉลีย

น้ าหน

ักของ

ส่วนผ

สม

ล าดับผลการทดลอง

การทดลองเครื่องอัดอาหารเม็ด

น้ าหนัก(กิโลกรัม)

เวลา(นาที)

ล าดับที่ น้ าหนัก(กิโลกรัม) เวลาที่ใช้(นาที) 1 2 1.02 2 4 2.03 3 6 3.01

เฉลี่ย 4 2.02

ล าดับที่ น้ าหนัก(กิโลกรัม) เวลาที่ใช้(นาที) 1 2.5 1.04 2 5.2 2.15 3 7.4 3.20

เฉลี่ย 5.0 2.13

Page 25: Prototype production of feed pellets - PNUrms.pnu.ac.th/rdbms/fulltext/061117_123603f.pdf1) มอเตอร ไฟฟ ากระแสสล บชน ด 1 เฟส หร อเร

19

ภาพที่ 4.2แสดงผลการทดลองการอัดอาหารเม็ดของส่วนผสมข้าวโพดบดกากถั่วเหลือง และร าละเอียดน้ า จากภาพที่ 4-2 เห็นได้ว่าล าดับการทดลองที่ 1 น้ าหนักของส่วนผสมรวมกันทั้งหมด 2.5กิโลกรัม ประกอบด้วยข้าวโพดบดกากถั่วเหลือง และร าบดละเอียด น้ า 0.2 ลิตร สามารถอัดส่วนผสมเป็นเม็ดได้ในเวลา 1.04 นาที ล าดับการทดลองครั้งที่ 2 น้ าหนักของส่วนผสมรวมกันทั้งหมด 5.2กิโลกรัมประกอบด้วยข้าวโพดบดกากถั่วเหลือง และร าบดละเอียด น้ า 0.4 ลิตร สามารถอัดส่วนผสมเป็นเม็ดได้ในเวลา 2.15 นาที ล าดับการทดลองครั้งที่ 3 น้ าหนักของส่วนผสมรวมกันทั้งหมด 7.4กิโลกรัม ประกอบด้วยข้าวโพดบดกากถั่วเหลือง และร าบดละเอียด น้ า 0.6 ลิตรสามารถอัดส่วนผสมเป็นเม็ดได้ในเวลา 3.13 นาที ค่าเฉลี่ย น้ าหนักของส่วนผสมรวมกันทั้งหมด 5 กิโลกรัม ประกอบด้วย ข้าวโพดบดกากถั่วเหลือง และร าบดละเอียด สามารถอัดส่วนผสมเป็นเม็ดได้ในเวลา 2.13 นาท ี

ตารางที่4.3การทดลองการอัดอาหารเม็ดของส่วนผสมข้าวโพดบดกากถั่วเหลือง และร าละเอียด

02468

10

1 2 3 เฉลีย

น้ าหน

ักของ

ส่วนผ

สม

ล าดับการทดลอง

การทดลองเครื่องอัดอาหารเม็ด

น้ าหนัก(กิโลกรัม)

เวลา(นาที)

ล าดับที่ น้ าหนัก(กิโลกรัม) เวลาที่ใช้(นาที) 1 3 1.12 2 6 2.25 3 9 3.50

เฉลี่ย 6 2.29

Page 26: Prototype production of feed pellets - PNUrms.pnu.ac.th/rdbms/fulltext/061117_123603f.pdf1) มอเตอร ไฟฟ ากระแสสล บชน ด 1 เฟส หร อเร

20

ภาพที่4.3แสดงผลการทดลองการอัดอาหารเม็ดของส่วนผสมข้าวโพดบดกากถั่วเหลือง และร าละเอียดน้ า จากภาพที่ 4.3 เห็นได้ว่าล าดับการทดลองที่ 1 น้ าหนักของส่วนผสมรวมกันทั้งหมด 3 กิโลกรัม ประกอบด้วยข้าวโพดบดกากถั่วเหลือง และร าบดละเอียด น้ า 0.45 ลิตร สามารถอัดส่วนผสมเป็นเม็ดได้ในเวลา 1.11 นาที ล าดับการทดลองครั้งที่ 2 น้ าหนักของส่วนผสมรวมกันทั้งหมด 6 กิโลกรัมประกอบด้วยข้าวโพดบดกากถั่วเหลือง และร าบดละเอียด น้ า 0.65 ลิตรสามารถอัดส่วนผสมเป็นเม็ดได้ในเวลา 2.25 นาที ล าดับการทดลองครั้งที่ 3 น้ าหนักของส่วนผสมรวมกันทั้งหมด 9 กิโลกรัม ประกอบด้วยข้าวโพดบดกากถั่วเหลือง และร าบดละเอียด น้ า 0.85 ลิตร สามารถอัดส่วนผสมเป็นเม็ดได้ในเวลา 3.50 นาที ค่าเฉลี่ย น้ าหนักของส่วนผสมรวมกันทั้งหมด 6 กิโลกรัม ประกอบด้วยข้าวโพดบดกากถั่วเหลือง และร าบดละเอียด สามารถอัดส่วนผสมเป็นเม็ดได้ในเวลา 2.29 นาท ี

0

2

4

6

8

10

1 2 3 เฉลีย

น้ าหน

ักของ

ส่วนผ

สม

ล าดับการทดลอง

การทดลองเครื่องอดอาหารเม็ด

น้ าหนัก(กิโลกรัม)

เวลา(นาที)

Page 27: Prototype production of feed pellets - PNUrms.pnu.ac.th/rdbms/fulltext/061117_123603f.pdf1) มอเตอร ไฟฟ ากระแสสล บชน ด 1 เฟส หร อเร

21

บทท่ี 5 สรุปผลและเสนอแนะ

การจัดท าโครงงานเครื่อง การสร้างเครื่องต้นแบบส าหรับผลิตอาหารสัตว์อัดเม็ด มีวัตถุประสงค์เพ่ือสร้างเครื่องอัดอาหารสัตว์อัดเม็ดใช้แก้ปัญหาเพ่ือลดต้นทุนในการผลิตอาหารสัตว์อัดเม็ด เป็นการประหยัดค่าใช้จ่ายของกลุ่มเกษตรกร 5.1 การสรุปผลการจัดท างานวิจัย จากการทดลองการอัดอาหารสัตว์อัดเม็ด โดยท าการทดลองของส่วนผสมทั้งหมดที่มีน้ าหนัก 2.0 กิโลกรัมใช้เวลาเฉลี่ย 2.02 นาที จากการทดลองสรุปได้ว่า ส่วนผสมที่น้ าหนัก 5 กิโลกรัม ใช้เวลาในการอัดน้อยที่สุดได้มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.13 นาทีถือว่าส่วนผสมที่มีน้ าหนัก 5 กิโลกรัมเป็นน้ าหนักที่เหมาะสมที่สุด 5.2 ข้อเสนอแนะในการจัดท างานวิจัยครั้งต่อไป 5.3.1 การออกแบบโครงสร้างของเครื่องอัดอาหารเม็ดควรออกแบบให้มีขนาดเล็กกะทัดรัดและให้มีน้ าหนักน้อยลงโดยขนาดของต้นเครื่องควรมีขนาดเคลื่อนย้ายได้ง่าย 5.3.2 การออกแบบควรที่จะให้ดูลักษณะการท างานได้ชัดเจน

Page 28: Prototype production of feed pellets - PNUrms.pnu.ac.th/rdbms/fulltext/061117_123603f.pdf1) มอเตอร ไฟฟ ากระแสสล บชน ด 1 เฟส หร อเร

22

บรรณานุกรม ประพนธ์ ศิริพลับพลา.เครื่องต้นแบบส าหรับผลิตอาหารสัตว์อัดเม็ด ส านักงานปลัดกระทรวง. ส านักงานส่งเสริมและถ่ายถอดเทคโนโลยี. ถ.พระราม. 6 ราชเทวี กทม. 10400 0-2333-3917,3918 http://www.t4rbm.ac.th http://www.neutron.rmutphysics.com http://webdee.8m.com/motor3.html https://th.wikipedia.org/wiki http://heiphar.blogspot.com http://www.pagesthai.com

Page 29: Prototype production of feed pellets - PNUrms.pnu.ac.th/rdbms/fulltext/061117_123603f.pdf1) มอเตอร ไฟฟ ากระแสสล บชน ด 1 เฟส หร อเร

23

ภาคผนวก

ขั้นตอนการสร้างเครื่องต้นแบบส าหรับผลิตอาหารสัตว์อัดเม็ด

ภาพที่ 1 การตัดกรวย

ภาพที่ 2 ชุดลูกกลิ้ง

Page 30: Prototype production of feed pellets - PNUrms.pnu.ac.th/rdbms/fulltext/061117_123603f.pdf1) มอเตอร ไฟฟ ากระแสสล บชน ด 1 เฟส หร อเร

24

ภาพที่ 3 ออกแบบเพ่ือเจาะรู

ภาพที่ 4 เตรี่ยม อุปกรณ์

Page 31: Prototype production of feed pellets - PNUrms.pnu.ac.th/rdbms/fulltext/061117_123603f.pdf1) มอเตอร ไฟฟ ากระแสสล บชน ด 1 เฟส หร อเร

25

ภาพที่ 5 การเจาะรู

ภาพที่ 6 เชื่อมโครงสร้าง

Page 32: Prototype production of feed pellets - PNUrms.pnu.ac.th/rdbms/fulltext/061117_123603f.pdf1) มอเตอร ไฟฟ ากระแสสล บชน ด 1 เฟส หร อเร

26

ภาพที่ 7 กลึงลูกท ากลิ้ง

ภาพที่ 8 การประกอบ

Page 33: Prototype production of feed pellets - PNUrms.pnu.ac.th/rdbms/fulltext/061117_123603f.pdf1) มอเตอร ไฟฟ ากระแสสล บชน ด 1 เฟส หร อเร

27

ภาพที่ 9 ทาสีเครื่อง

ภาพที่ 10 ประกอบเสร็จ

Page 34: Prototype production of feed pellets - PNUrms.pnu.ac.th/rdbms/fulltext/061117_123603f.pdf1) มอเตอร ไฟฟ ากระแสสล บชน ด 1 เฟส หร อเร

28