โจทย์การเมืองไทยที่เปลี่ยนไปในสองทศวรรษ...

13
โจทย์การเมืองไทยที่เปลี่ยนไปในสองทศวรรษ จากพฤษภาฯ ๒๕๓๕ ถึงปัจจุบัน โดย ศาสตราจารย์ ดร. เกษียร เตชะพีระ กีรตยาจารย์แห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สาขาสังคมศาสตร์ ประจําปี ๒๕๕๕ 27/06/56 ปาฐกถากีรตยาจารย์สังคมศาสตร์ ๒๕๕๕ 1

Upload: kan-yuenyong

Post on 28-May-2015

471 views

Category:

Education


0 download

DESCRIPTION

โจทย์การเมืองไทยที่เปลี่ยนไปในสองทศวรรษ จากพฤษภาฯ 2535 ถึงปัจจุบัน ปาฐกถากีรตยาจารย์สังคมศาสตร์ 2555 เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน 2556 ที่ห้องประชุมสัญญา ธรรมศักดิ์ ตึกโดม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์

TRANSCRIPT

Page 1: โจทย์การเมืองไทยที่เปลี่ยนไปในสองทศวรรษ จากพฤษภาฯ 2535 ถึงปัจจุบัน

โจทย์การเมืองไทยที่เปลี่ยนไปในสองทศวรรษ���จากพฤษภาฯ ๒๕๓๕ ถึงปัจจุบัน

โดย ศาสตราจารย์ ดร. เกษียร เตชะพีระ

กีรตยาจารย์แห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สาขาสังคมศาสตร์ ประจําปี ๒๕๕๕

27/06/56 ปาฐกถากีรตยาจารย์สังคมศาสตร์ ๒๕๕๕ 1

Page 2: โจทย์การเมืองไทยที่เปลี่ยนไปในสองทศวรรษ จากพฤษภาฯ 2535 ถึงปัจจุบัน

เกริ่นนํา •  ในโอกาส ๒๑ ป พฤษภาประชาธิปไตย ๒๕๓๕ และทามกลางกระแส

ความขัดแยงรุนแรงทางการเมืองเส้ือสีปจจุบัน ผมอยากทบทวนโจทย

ทางการเมืองและความพยายามหาคำตอบที่เปลี่ยนไปในรอบ ๒ ทศวรรษ

โดยฝายตาง ๆ ที่มีบทบาทสำคัญในความขัดแยง โดยแบงหัวขอยอยเปน: Y

•  ๑) บริบทความคิดการเมืองหลังพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๓๕Y

๒) โจทยใหญทางการเมืองของฝายเส้ือเหลืองและพันธมิตรY

๓) โจทยใหญทางการเมืองของฝายเส้ือแดงและแนวรวมY

๔) ปญหาความสัมพันธระหวางการเมืองกับศีลธรรมY

Y27/06/56 ปาฐกถากีรตยาจารย์สังคมศาสตร์ ๒๕๕๕ 2

Page 3: โจทย์การเมืองไทยที่เปลี่ยนไปในสองทศวรรษ จากพฤษภาฯ 2535 ถึงปัจจุบัน

งานวิชาการที่บันดาลใจและเป็นฐานคิดข้อมูล

•  พัชราภา ตันตราจิน. ความคิดทางสังคมการเมืองของเสกสรรค ประเสริฐ

กุล. (๒๕๕๖)Y

•  อุเชนทร เชียงเสน. “ประวัติศาสตรการเมืองภาคประชาชน: ความคิดและ

ปฏิบัติการของ “นักกิจกรรมทางการเมือง” ในปจจุบัน.” (๒๕๕๖)Y

•  โครงการวิจัย “ทบทวนภูมิทัศนการเมืองไทย” ของทีมอาจารยอภิชาต

สถิตนิรามัย, ยุกติ มุกดาวิจิตรกับคณะ (๒๕๕๓-๒๕๕๖)Y

•  Andrew Walker. Thailand’s Political Peasants: Power in the Modern

Rural Economy. (2012)Y

27/06/56 ปาฐกถากีรตยาจารย์สังคมศาสตร์ ๒๕๕๕ 3

Page 4: โจทย์การเมืองไทยที่เปลี่ยนไปในสองทศวรรษ จากพฤษภาฯ 2535 ถึงปัจจุบัน

๑) บริบทความคิดการเมืองหลังพฤษภาคม ๒๕๓๕  

การเมืองหลัง ๒๕๓๕/ เศรษฐกิจหลัง ๒๕๓๕/

วิกฤตY รัฐประหาร รสช. ๒๕๓๔ &

การลุกฮือพฤษภา ๒๕๓๕Y

วิกฤตตมยำกุง ก.ค. ๒๕๔๐ &

เงินกูพวงเง่ือนไข IMF Y

ปญหาY นักเลือกต้ัง/ระบอบเลือกต้ังธิปไตยY ทุนนิยมโลกาภิวัตนY

คำตอบY การเมืองภาคประชาชนY เศรษฐกิจทางเลือกชุมชน/พอเพียงY

ทักษิณY ประชาธิปไตยแบบตัวแทนที่กินไดY ประชานิยมเพื่อทุนนิยมY

27/06/56 ปาฐกถากีรตยาจารย์สังคมศาสตร์ ๒๕๕๕ 4

Page 5: โจทย์การเมืองไทยที่เปลี่ยนไปในสองทศวรรษ จากพฤษภาฯ 2535 ถึงปัจจุบัน

๒) โจทย์ใหญ่ทางการเมืองของฝ่ายเสื้อเหลืองและพันธมิตร

27/06/56 ปาฐกถากีรตยาจารย์สังคมศาสตร์ ๒๕๕๕ 5

Page 6: โจทย์การเมืองไทยที่เปลี่ยนไปในสองทศวรรษ จากพฤษภาฯ 2535 ถึงปัจจุบัน

ความคิดของเสกสรรค์ในบริบทกระแสความคิดการเมืองปัจจุบัน  

•  อำนาจทุน: ทุนนิยมโลกาภิวัตน à sovereignty เส่ือม à nationalism เส่ือม à political consensus & consent เส่ือม = ความไรเสถียรภาพทางการเมืองเรื้อรังเพราะรัฐขาดพรองความชอบธรรม, ฉันทมติและฉันทานุมัติจากสังคมภาคสวนตาง ๆ นอกคูหาเลือกต้ังY

•  เหลืองเห็น แดงมองขาม นิติราษฎรจบแค มิ.ย. - ธ.ค. ๒๔๗๕ (อำนาจรัฐ, เครือขายอำมาตย) ไมข้ึนม.ค. - มี.ค. ๒๔๗๕ ดวยซ้ำ (เคาโครงเศรษฐกิจของ หลวงประดิษฐมนูธรรม ซ่ึงมีที่มาจากวิกฤตเศรษฐกิจทุนนิยมตกต่ำใหญทั่วโลก ค.ศ. ๑๙๒๙) ขณะที่อำนาจทุนโลกสำคัญข้ึนเรื่อย ๆ และเปนเนื้อเดียวกับอำนาจรัฐ (ดูตอนน้ำทวม)Y

•  แตวิธีแกของเหลืองคือเผด็จการทหารหรืออำนาจพิเศษของคนดีผูมีความเปนไทยมากกวา ซ่ึงไม work Y

27/06/56 ปาฐกถากีรตยาจารย์สังคมศาสตร์ ๒๕๕๕ 6

Page 7: โจทย์การเมืองไทยที่เปลี่ยนไปในสองทศวรรษ จากพฤษภาฯ 2535 ถึงปัจจุบัน

๓) โจทยใหญทางการเมืองของฝายเสื้อแดงและแนวรวม

27/06/56 ปาฐกถากีรตยาจารย์สังคมศาสตร์ ๒๕๕๕ 7

Page 8: โจทย์การเมืองไทยที่เปลี่ยนไปในสองทศวรรษ จากพฤษภาฯ 2535 ถึงปัจจุบัน

มุมมองต่อชนบทที่เปลี่ยนไป  ภาพเดิมกอนรัฐประหาร ๒๕๔๙/ ภาพใหมหลังรัฐประหาร ๒๕๔๙/

ชนบท = เกษตรY เกษตรเปนสวนรองที่ลดนอยถอยลงของเศรษฐกิจชนบทY

ชาวนายากจน ทำไดไมพอกินY ชาวนารายไดปานกลางผลิตภาพต่ำพยุงไวดวยเงินอุดหนุนจากรัฐ ปญหาหลักคือความ

เหลื่อมล้ำภายในและภายนอกมิติตาง ๆY

อยูภายใตระบบอุปถัมภY ดึงอำนาจภายนอก (ไมวาผี,รัฐ,ทุน,ชุมชน) มาตะลอมใชเพื่อดูดเอาทรัพยากร, ทุนและ

เทคโนโลยีมาเพิ่มผลิตภาพY

ขาดความรูการศึกษาY รอบรูโลกกวางผานเครือขายสายใยชาวบานนอกถิ่น (แรงงานอพยพไปทำงานตางถิ่น

แลวสงเงินกลับบาน)Y

ซ้ือสิทธ์ิขายเสียงY สังคมการเมืองชนบทที่ตอรองตะลอมกดดันอำนาจภายนอกและขัดแยงตรวจสอบถวง

ดุลกันภายในตามธรรมนูญชนบทY

การเมืองภาคประชาชนเปนทางออกY การเลือกต้ังระดับตาง ๆ เปนทางหลักในการตอรองกดดันชวงชิงนโยบายและ

ทรัพยากรจากรัฐ การเมืองภาคประชาชนเปนสวนนอยY

เศรษฐกิจพอเพียง/ชุมชนเปนทางเลือกY เศรษฐกิจการคาที่ดึงดูดปจจัยภายนอกมาเพิ่มผลิตภาพชวยใหประคองฐานะคนชั้น

กลางไวไดY27/06/56 ปาฐกถากีรตยาจารย์สังคมศาสตร์ ๒๕๕๕ 8

Page 9: โจทย์การเมืองไทยที่เปลี่ยนไปในสองทศวรรษ จากพฤษภาฯ 2535 ถึงปัจจุบัน

จุดอับตันของสังคมการเมืองชนบท  1)  ในทางเศรษฐกิจ ภาวะรัฐโอบอุมอุดหนุนจุนเจือชาวนารายไดปานกลางผลิต

ภาพต่ำดังที่เปนอยูจะยั่งยืนยาวนานไดยาก มีขีดจำกัด รัฐจะกระเตงอุมเลี้ยง

ไขเลี้ยงตอยพวกเขาซ่ึงเปนประชากรสวนใหญในชนบทไปไดนานแคไหน?

ปญหาขาดทุนและเส่ียงสูงจากนโยบายจำนำขาวทุกเม็ดเปนตัวอยางY

2)  คานิยมธรรมนูญชนบทของสังคมการเมืองชนบทมีลักษณะคับแคบ เฉพาะ

สวน parochial และแตกตางตรงขามกับประชาสังคมอยางที่เปนอยู หากไม

ปรับเปลี่ยนคลี่คลายขยายตัว ก็ยากจะพาไปสูสังคมการเมืองรวมกันในระดับ

ชาติอันเปนที่รับไดของหลักการเมืองสากลสมัยใหม เชน ทาทีไมใสใจไยดี

เรื่องสิทธิมนุษยชนในกรณีฆาตัดตอนยาเสพติด เปนตนY

27/06/56 ปาฐกถากีรตยาจารย์สังคมศาสตร์ ๒๕๕๕ 9

Page 10: โจทย์การเมืองไทยที่เปลี่ยนไปในสองทศวรรษ จากพฤษภาฯ 2535 ถึงปัจจุบัน

๔) ปัญหาความสัมพันธ์ระหว่างการเมืองกับศีลธรรม

27/06/56 ปาฐกถากีรตยาจารย์สังคมศาสตร์ ๒๕๕๕ 10

Page 11: โจทย์การเมืองไทยที่เปลี่ยนไปในสองทศวรรษ จากพฤษภาฯ 2535 ถึงปัจจุบัน

คําถามต่อธรรมวิทยาแห่งพลเมืองใหม่ ���ที่แยกสังคมการเมืองออกจากศีลธรรม  

•  ผูเขียนใชกรอบแนวคิดเรื่องธรรมวิทยาแหงพลเมือง (civic หรือ civil religion) ของ Robert Bellah เพื่อศึกษาความคิดซ่ึงอยูเบื้องหลังความขัดแยงทางการเมืองปจจุบันระหวางเส้ือเหลือง -เส้ือแดง โดยพบวาอุดมการณของพวกเส้ือแดงหลัก ๆ แลวเปนผลผลิตทางความคิดของนักประวัติศาสตร ซ่ึงปฏิเสธคานิยมแบบจารีตของไทยทั้งที่เปนคานิยมทางศีลธรรมและการเมือง ที่ผูกโยงอยางใกลชิดกับพุทธศาสนาและระบบกษัตริย เหลาประกาศกของธรรมวิทยาแหงพลเมืองใหมซ่ึงสวนใหญเปนนักประวัติศาสตรอาชีพชั้นนำของไทย เลือกที่จะทดแทนส่ิงเหลานี้ดวยตัวระบอบประชาธิปไตยที่เนนความเทาเทียมกัน ซ่ึงก็ตองอาศัยการดำรงอยูของ มวลมหาประชาชนผูลวงรูแจงและความแนนอนวาจะตองเกิดข้ึนของกระบวนการทางประวัติศาสตรอีกทีหนึ่งกอน ในขณะที่ความต่ืนตัวทางการเมืองและความใฝฝนในความเสมอภาค (ทั้งในแงของผลประโยชนและส่ิงอื่นใด) อาจถือไดวาเปนคุณสมบัติอยางหนึ่งของการเปน พลเมืองที่ดี แตเปนเรื่องไมงายนักที่จะเห็นวาธรรมวิทยาแหงพลเมืองที่ปราศจากเนื้อหาทาง ศาสนาหรือจริยธรรมเลยจะสามารถยึดโยงประชาชาติใดใหอยูดวยกันไดเปนเวลาที่นานพอ สังคมในอุดมคติที่ไมตองการสำนึกทางศีลธรรมนี้อาจเกิดข้ึนไดจริง แตจะเหมาะหรือไมกับการพัฒนาจิตวิญญาณของมนุษยเปนเรื่องที่ยังตองการคำตอบ[

สมบัติ จันทรวงศ, “ความแตกแยกของธรรมวิทยาแหงพลเมืองกับมุมมองทางปรัชญาการเมืองฯ”, ๒๕๕๕ Y

27/06/56 ปาฐกถากีรตยาจารย์สังคมศาสตร์ ๒๕๕๕ 11

Page 12: โจทย์การเมืองไทยที่เปลี่ยนไปในสองทศวรรษ จากพฤษภาฯ 2535 ถึงปัจจุบัน

วิจารณ์แห่งวิจารณ:์ ���

ปัญหาของสังคมการเมืองที่ถือลัทธิยึดศีลธรรมเป็นเจ้าเรือน  

•  “...คนชั่วที่แอบอางเปนคนไทย...” :

[ศีลธรรม+ชาตินิยม+การเมือง

วัฒนธรรม+กฎหมาย+ความเปน

พลเมือง+เอกลักษณชาติ]Y

•  Politics + Morality in a free

marketplace of moral ideas ✔ Y

•  Politics + Moralism esp. a self-

centered, coercive one ?

Y

27/06/56 ปาฐกถากีรตยาจารย์สังคมศาสตร์ ๒๕๕๕ 12

“ตามรอยพระยุคลบาทกับการมีสวนรวมในการพัฒนาประเทศของทหารอาชีพ”Y

อาคารรณภากาศ โรงเรียนนายเรืออากาศ เขตสายไหม กรุงเทพฯ ๓๑ ส.ค. ๒๕๔๙Y

Page 13: โจทย์การเมืองไทยที่เปลี่ยนไปในสองทศวรรษ จากพฤษภาฯ 2535 ถึงปัจจุบัน

วิจารณ์แห่งวิจารณ:์ ���

ปัญหาของสังคมการเมืองที่ถือลัทธิยึดศีลธรรมเป็นเจ้าเรือน  

•  Irreducible moral pluralism in the modern world Y

•  No free marketplace of moral ideas in Thai society Y

•  Moralizing pretensions of the political eliteY

•  Unchecked & unbalanced self-proclaimed arbiter of public morality/

Moral Thainess ISOY

•  The irresoluble contradiction between [the principle of “the end

justifies the means” à la politics] & [the principle of “the moral unity of

means and end” à la moral life]Y

27/06/56 ปาฐกถากีรตยาจารย์สังคมศาสตร์ ๒๕๕๕ 13