4.8 4.8.1 สถานการณ ด านอุตสาหกรรมในป...

26
โครงการจัดทําฐานขอมูลและวิเคราะหเพื่อวางผังอนุภาค รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย กลุมจังหวัดอางทอง พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี นนทบุรี ชัยนาท สิ่งบุรี ลพบุรี และสระบุรี บทที4 การศึกษาและวิเคราะหขอมูลรายสาขา บริษัท ไทยวิคตอรี่ไชน จํากัด 4.8 -1 ธันวาคม 2550 4.8 ดานอุตสาหกรรม 4.8.1 สถานการณดานอุตสาหกรรมในปจจุบันของพื้นที่อนุภาค 8 จังหวัด อุตสาหกรรมถือเปนสาขาการผลิตหนึ่งที่มีความสําคัญในการพัฒนาอนุภาค ในฐานะที่เปน ตัวเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจระหวางอนุภาคและภูมิภาคอื่นๆ ในระยะเริ่มตนแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแหงชาติ ไดมีการกําหนดนโยบายใหใชการพัฒนาอุตสาหกรรมเปนตัวนําการพัฒนาเศรษฐกิจ ทําใหกรุงเทพมหานครมีการเติบทางดานอุตสาหกรรมอยางรวดเร็ว นอกจากนี้รัฐบาลยังมีนโยบาย พัฒนาระบบโครงสรางพื้นฐานทางเศรษฐกิจ เพื่อรองรับการกระจายการพัฒนาอุตสาหกรรมสูภูมิภาค โดยการพัฒนาเสนทางคมนาคมสายหลักระหวางเมืองใน 3 ทิศทาง ไดแก ถนนพหลโยธิน ทางดาน เหนือ ถนนสุขุมวิทและถนนบางนา-ตราด ทางทิศตะวันออก และถนนเพชรเกษมและถนนพระราม สอง ทางทิศตะวันตก ประกอบกับนโยบายการกระจายอุตสาหกรรมออกจากกรุงเทพมหานครไปยัง จังหวัดปริมณฑล ทําใหมีการขยายตัวของอุตสาหกรรมไปตาม 3 เสนทางหลักอยางรวดเร็ว สําหรับใน พื้นที่อนุภาค ผลจากนโยบายการกระจายอุตสาหกรรมออกจากกรุงเทพมหานคร กอใหการพัฒนา อุตสาหกรรมอยางรวดเร็วในจังหวัดปทุมธานี นนทบุรี และพระนครศรีอยุธยา โดยมีอุตสาหกรรมทีสําคัญคืออุตสาหกรรมเครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส อุตสาหกรรมไมและเฟอรนิเจอร และ อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม เปนตัวนําการพัฒนา สวนในพื้นที่ตอนบนของอนุภาค ก็มีการ พัฒนาอุตสาหกรรมจากแรอโลหะและวัสดุกอสรางอยางมากในจังหวัดสระบุรี 4.8.1.1 ศักยภาพและปญหาในการพัฒนาอุตสาหกรรมของอนุภาค จากการประเมินศักยภาพในการพัฒนาทางดานอุตสาหกรรมของอนุภาค พบวา การที่พื้นทีสวนใหญของอนุภาคเปนพื้นที่ทําการเกษตรที่มีความอุดมสมบูรณสูง มีการทําการเกษตรอยาง หลากหลาย ทั้งการปลูกขาว การเลี้ยงสัตว การทําประมง เพาะเลี้ยงสัตวน้ําจืด และปลูกผักผลไม โดยเฉพาะในจังหวัด ชัยนาท สิงหบุรี สระบุรี ลพบุรีและพระนครศรีอยุธยา ดังนั้นจึงควรกําหนดให พื้นที่ในกลุมจังหวัดดังกลาวเปนพื้นที่เพื่ออุตสาหกรรมแปรรูปผลิตผลทางการเกษตรเปนเสมือนครัว โลก ในการผลิตอาหารใหกับทั้งคนไทยและประชากรโลก สวนกลุมอุตสาหกรรมไฟฟา อิเล็กทรอนิกส และชิ้นสวนอุปกรณตางๆ แมจะสรางมูลคาเพิ่มทางเศรษฐกิจเปนอยางมาก แตก็ควรมี การจํากัดการขยายตัวของพื้นที่ไมใหรุกล้ําเขาไปยังพื้นที่ที่มีศักยภาพในการพัฒนาดานเกษตรกรรม เพราะเปนการใชประโยชนที่ดินที่ไมตรงกับศักยภาพของพื้นทีแตสามารถเพิ่มการลงทุนในเขตพื้นทีกําหนดไวได เชนในเขตพื้นที่นิคมหรือศูนยอุตสาหกรรมตางๆ อยางไรก็ตาม แมจะมีการพัฒนาดานอุตสาหกรรมอยางตอเนื่องในอนุภาคในชวง 20 ปทีผานมา แตก็ยังพบวา อุตสาหกรรมในพื้นที่อนุภาคนั้น ยังมีปญหาที่จําเปนที่ตองรีบดําเนินการแกไข ดังนี

Upload: others

Post on 06-Jan-2020

5 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: 4.8 4.8.1 สถานการณ ด านอุตสาหกรรมในป ...eservices.dpt.go.th/eservice_6/ebook/data/055/01/... · 2015-09-14 · 4.8.1 สถานการณ

โครงการจัดทําฐานขอมูลและวิเคราะหเพื่อวางผังอนุภาค รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย กลุมจังหวัดอางทอง พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี นนทบุรี ชัยนาท สิ่งบุรี ลพบุรี และสระบุรี บทที่ 4 การศึกษาและวิเคราะหขอมูลรายสาขา

บริษัท ไทยวิคตอรี่ไชน จํากัด 4.8 -1 ธันวาคม 2550

4.8 ดานอุตสาหกรรม

4.8.1 สถานการณดานอตุสาหกรรมในปจจุบันของพืน้ท่ีอนุภาค 8 จังหวัด อุตสาหกรรมถือเปนสาขาการผลิตหนึ่งที่มีความสําคัญในการพัฒนาอนุภาค ในฐานะที่เปนตัวเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจระหวางอนุภาคและภูมิภาคอื่นๆ ในระยะเริ่มตนแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ไดมีการกําหนดนโยบายใหใชการพัฒนาอุตสาหกรรมเปนตัวนําการพัฒนาเศรษฐกิจ ทําใหกรุงเทพมหานครมีการเติบทางดานอุตสาหกรรมอยางรวดเร็ว นอกจากนี้รัฐบาลยังมีนโยบายพัฒนาระบบโครงสรางพื้นฐานทางเศรษฐกิจ เพื่อรองรับการกระจายการพัฒนาอุตสาหกรรมสูภูมิภาค โดยการพัฒนาเสนทางคมนาคมสายหลักระหวางเมืองใน 3 ทิศทาง ไดแก ถนนพหลโยธิน ทางดานเหนือ ถนนสุขุมวิทและถนนบางนา-ตราด ทางทิศตะวันออก และถนนเพชรเกษมและถนนพระรามสอง ทางทิศตะวันตก ประกอบกับนโยบายการกระจายอุตสาหกรรมออกจากกรุงเทพมหานครไปยังจังหวัดปริมณฑล ทําใหมีการขยายตัวของอุตสาหกรรมไปตาม 3 เสนทางหลักอยางรวดเร็ว สําหรับในพื้นที่อนุภาค ผลจากนโยบายการกระจายอุตสาหกรรมออกจากกรุงเทพมหานคร กอใหการพัฒนาอุตสาหกรรมอยางรวดเร็วในจังหวัดปทุมธานี นนทบุรี และพระนครศรีอยุธยา โดยมีอุตสาหกรรมที่สําคัญคืออุตสาหกรรมเครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส อุตสาหกรรมไมและเฟอรนิเจอร และอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม เปนตัวนําการพัฒนา สวนในพื้นที่ตอนบนของอนุภาค ก็มีการพัฒนาอุตสาหกรรมจากแรอโลหะและวัสดุกอสรางอยางมากในจังหวัดสระบุรี

4.8.1.1 ศักยภาพและปญหาในการพัฒนาอุตสาหกรรมของอนุภาค จากการประเมินศักยภาพในการพัฒนาทางดานอุตสาหกรรมของอนุภาค พบวา การที่พื้นที่สวนใหญของอนุภาคเปนพื้นที่ทําการเกษตรที่มีความอุดมสมบูรณสูง มีการทําการเกษตรอยางหลากหลาย ทั้งการปลูกขาว การเลี้ยงสัตว การทําประมง เพาะเลี้ยงสัตวน้ําจืด และปลูกผักผลไม โดยเฉพาะในจังหวัด ชัยนาท สิงหบุรี สระบุรี ลพบุรีและพระนครศรีอยุธยา ดังนั้นจึงควรกําหนดใหพื้นที่ในกลุมจังหวัดดังกลาวเปนพื้นที่เพื่ออุตสาหกรรมแปรรูปผลิตผลทางการเกษตรเปนเสมือนครัวโลก ในการผลิตอาหารใหกับทั้งคนไทยและประชากรโลก สวนกลุมอุตสาหกรรมไฟฟา อิเล็กทรอนิกส และชิ้นสวนอุปกรณตางๆ แมจะสรางมูลคาเพิ่มทางเศรษฐกิจเปนอยางมาก แตก็ควรมีการจํากัดการขยายตัวของพื้นที่ไมใหรุกลํ้าเขาไปยังพื้นที่ที่มีศักยภาพในการพัฒนาดานเกษตรกรรม เพราะเปนการใชประโยชนที่ดินที่ไมตรงกับศักยภาพของพื้นที่ แตสามารถเพิ่มการลงทุนในเขตพื้นที่กําหนดไวได เชนในเขตพื้นที่นิคมหรือศูนยอุตสาหกรรมตางๆ อยางไรก็ตาม แมจะมีการพัฒนาดานอุตสาหกรรมอยางตอเนื่องในอนุภาคในชวง 20 ปที่ผานมา แตก็ยังพบวา อุตสาหกรรมในพื้นที่อนุภาคนั้น ยังมีปญหาที่จําเปนที่ตองรีบดําเนินการแกไข ดังนี้

Page 2: 4.8 4.8.1 สถานการณ ด านอุตสาหกรรมในป ...eservices.dpt.go.th/eservice_6/ebook/data/055/01/... · 2015-09-14 · 4.8.1 สถานการณ

โครงการจัดทําฐานขอมูลและวิเคราะหเพื่อวางผังอนุภาค รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย กลุมจังหวัดอางทอง พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี นนทบุรี ชัยนาท สิ่งบุรี ลพบุรี และสระบุรี บทที่ 4 การศึกษาและวิเคราะหขอมูลรายสาขา

บริษัท ไทยวิคตอรี่ไชน จํากัด 4.8 -2 ธันวาคม 2550

- ปญหามลพิษจากอุตสาหกรรม เปนปญหาสําคัญที่ตองรีบแกไข โรงงานที่เขาขายเปนอันตราย สวนใหญจะเปนอุตสาหกรรมขาดกลางและขนาดเล็ก ซ่ึงมักแฝงอยูภายในเขตชุมชน สําหรับโรงงานที่อยูในเขต/นิคมอุตสาหกรรมมักจะมีการจัดการที่ดีกวา - การขาดแคลนแรงงานฝมือในภาคอุตสาหกรรมโดยเฉพาะอุตสาหกรรมไฮเทคโนโลยี และขาดแคลนแรงงานระดับลางในอุตสาหกรรม 3D เชนอุตสาหกรรมตอเนื่องจากประมง หรือในโรงสีขาว เปนตน - ผูประกอบการอุตสาหกรรมสวนใหญเปนวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม หรือ SMEs ทําใหการระดมทุนไมสามารถทําไดโดยงาย เชน การลงทุนเครื่องจักรและเทคโนโลยีที่มีราคาสูง รวมไปถึงกิจกรรมที่เกี่ยวกับการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ เชน เทคโนโลยีการผลิตแบบอัตโนมัติ การตรวจสอบคุณภาพอยางทั่วถึง (Total Quality Management - TQM) ระบบบําบัดของเสีย เปนตน เนื่องจากขนาดการผลิตไมใหญพอที่จะคุมกับการลงทุน เชน อุตสาหกรรมอาหารแปรรูป ผูผลิตช้ินสวนรถยนต โดยผูประกอบการที่สามารถลงทุนดังกลาวไดมักเปนบริษัทขนาดใหญหรือมีการรวมทุนกับตางชาติ จากการระดมความคิดในป 2548 เพื่อปรับโครงสรางเศรษฐกิจและสังคมของกลุมอนุภาคนี้ จะเห็นไดวา มีการใหความสําคัญกับภาคเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมเปนอยางมาก โดยเฉพาะกลุมจังหวัดนนทบุรี ปทุมธานี พระนครศรีอยุธยา และอางทอง ซ่ึงมีความตองการที่จะพัฒนาเปนศูนยกลางความเปนเลิศดานการผลิตแหงอนาคต (Excellent Center for Future Manufacturing) มีการกําหนดยุทธศาสตร ใหพัฒนาความรูและจัดการทางดานเทคโนโลยีเพื่อสรางมูลคาเพิ่มในการพัฒนาสินคาเกษตรและอุตสาหกรรม โดยมีกลยุทธดานอุตสาหกรรมดังนี้ - สงเสริมการพัฒนาผูประกอบการอุตสาหกรรม โดยเฉพาะผูประกอบการ SMEs สูระดับมาตรฐานสากล - การเสริมสรางการรวมกลุมดานอุตสาหกรรม (Cluster) โดยใชผังเมืองที่ถูกรูปแบบเปนตัวกําหนด ประกอบดวย (1) การสรางโครงสรางพื้นฐานเพื่อสนับสนุนการพัฒนา Cluster เชน นิคมอุตสาหกรรม เฉพาะทาง (2) การสรางจิตสํานึกและพัฒนาผูประกอบการ โดยการใหความรู/วิทยาการสมัยใหม (3) การพัฒนาศักยภาพแรงงานเพื่อรองรับการแขงขัน - สนับสนุนงานวิจัยและพัฒนาเพื่อปรับเปลี่ยนกระบวนการผลิตจากการมุงเนนใชทรัพยากรเปนหลัก (Resource-base) ใหเปนการผลิตโดยเนนเทคโนโลยีเขามาชวย (Technology-base) - การพัฒนาดานเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อเปนเครื่องมือในการสรางขีดความสามารถในการแขงขันและความไดเปรียบทางธุรกิจ

Page 3: 4.8 4.8.1 สถานการณ ด านอุตสาหกรรมในป ...eservices.dpt.go.th/eservice_6/ebook/data/055/01/... · 2015-09-14 · 4.8.1 สถานการณ

โครงการจัดทําฐานขอมูลและวิเคราะหเพื่อวางผังอนุภาค รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย กลุมจังหวัดอางทอง พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี นนทบุรี ชัยนาท สิ่งบุรี ลพบุรี และสระบุรี บทที่ 4 การศึกษาและวิเคราะหขอมูลรายสาขา

บริษัท ไทยวิคตอรี่ไชน จํากัด 4.8 -3 ธันวาคม 2550

4.8.1.2 โครงสรางอุตสาหกรรม การวิเคราะหโครงสรางของอุตสาหกรรมในพื้นที่อนุภาค ใชขอมูลสถิติการจดทะเบียนโรงงานอุตสาหกรรมของกรมโรงงานอุตสาหกรรมเปนฐานในการวิเคราะห โดยจะทําการวิเคราะหจํานวนโรงงานอุตสาหกรรม จําแนกตามประเภทกิจการ เงินลงทุน การใชเครื่องจักร ดังนี้

1) จํานวนโรงงานอุตสาหกรรม จําแนกตามประเภทและขนาดของกิจการ ตารางที่ 4.8-1 แสดงจํานวนโรงงานอุตสาหกรรมในอนุภาคจําแนกตามขนาดและประเภทกิจการ

ป 2540 – 2548 หนวย: โรง พ.ศ. 2540 พ.ศ. 2548 อัตราขยายตัว (เฉลีย่ตอป)

เล็ก กลาง ใหญ รวม เล็ก กลาง ใหญ รวม เล็ก กลาง ใหญ รวม เหมืองแรและเหมืองหิน 188 8 1 197 349 12 2 363 8.0 5.2 9.1 7.9 อาหารและเครื่องดื่ม 694 90 74 858 1,159 186 101 1,446 6.6 9.5 4.0 6.7 ผลิตภัณฑยาสูบ สิ่งทอ 36 48 36 120 79 74 42 195 10.3 5.6 1.9 6.3 เคร่ืองแตงกาย 9 21 20 50 37 51 36 124 19.3 11.7 7.6 12.0 เคร่ืองหนัง กระเปา และรองเทา 16 17 24 57 25 29 26 80 5.7 6.9 1.0 4.3 ไมและผลิตภัณฑจากไม ยกเวนเฟอรนิเจอร 490 78 28 596 887 128 37 1,052 7.7 6.4 3.5 7.4 กระดาษและผลิตภัณฑกระดาษ 26 15 16 57 85 28 18 131 16.0 8.1 1.5 11.0 การพิมพโฆษณา การพิมพ 30 6 36 74 24 1 99 11.9 18.9 13.5 ปโตรเลียม ถานโคก เชื้อเพลิง ปรมาณ ู 16 2 18 38 8 46 11.4 18.9 12.4 เคม ี 122 42 30 194 304 70 40 414 12.1 6.6 3.7 9.9 ยางและพลาสติก 132 74 33 239 383 132 40 555 14.2 7.5 2.4 11.1 ผลิตภัณฑจากแรอโลหะ 373 78 65 516 632 110 84 826 6.8 4.4 3.3 6.1 โลหะขั้นมูลฐาน 27 22 7 56 39 24 10 73 4.7 1.1 4.6 3.4 โลหะประดิษฐ 312 56 17 385 767 108 26 901 11.9 8.6 5.5 11.2 เคร่ืองจักรและอุปกรณ 286 53 19 358 467 94 25 586 6.3 7.4 3.5 6.4 เคร่ืองจักรสํานักงาน 1 6 23 30 9 8 29 46 31.6 3.7 2.9 5.5 เคร่ืองจักรและเครื่องอุปกรณไฟฟา 31 27 24 82 60 45 33 138 8.6 6.6 4.1 6.7 เคร่ืองอุปกรณวิทย ุโทรทัศน และการสื่อสาร 11 16 57 84 54 52 87 193 22.0 15.9 5.4 11.0 อุปกรณที่ใชทางการแพทย การวัดความเที่ยง 5 8 12 25 18 11 14 43 17.4 4.1 1.9 7.0 ยานยนต 84 21 17 122 127 46 24 197 5.3 10.3 4.4 6.2 อุปกรณการขนสงอื่นๆ 23 5 3 31 45 8 4 57 8.8 6.1 3.7 7.9 เฟอรนิเจอร 135 36 23 194 281 80 39 400 9.6 10.5 6.8 9.5 การนําผลิตภัณฑเกามาผลิตเปนวัตถุดิบใหม 120 10 2 132 การไฟฟา กาซ ไอน้ํา และน้ํารอน 3 3 6 12 10 3 9 22 16.2 5.2 7.9 การเก็บน้ํา การทําน้ําใหบริสุทธิ์ การจายน้ํา 3 1 1 5 3 2 5 10 9.1 22.3 9.1 การขายสง ขายปลกี การซอมแซมยานยนต 245 19 2 266 455 45 4 504 8.0 11.4 9.1 8.3

รวม 3,298 752 538 4,588 6,507 1,388 738 8,633 8.9 8.0 4.0 8.2 ท่ีมา: กรมโรงงานอุตสาหกรรม, 2550 หมายเหตุ: การแบงขนาดโรงงาน ใชเกณฑการกําหนดในภาคการผลิตตามจํานวนคนงานของกระทรวงอุตสาหกรรม ดังนี้

ขนาดเล็ก จํานวนคนงานไมเกิน 50 ราย ขนาดกลาง จํานวนคนงาน 51 ถึง 200 ราย ขนาดใหญ จํานวนคนงานมากกวา 200 รายขึ้นไป

Page 4: 4.8 4.8.1 สถานการณ ด านอุตสาหกรรมในป ...eservices.dpt.go.th/eservice_6/ebook/data/055/01/... · 2015-09-14 · 4.8.1 สถานการณ

โครงการจัดทําฐานขอมูลและวิเคราะหเพื่อวางผังอนุภาค รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย กลุมจังหวัดอางทอง พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี นนทบุรี ชัยนาท สิ่งบุรี ลพบุรี และสระบุรี บทที่ 4 การศึกษาและวิเคราะหขอมูลรายสาขา

บริษัท ไทยวิคตอรี่ไชน จํากัด 4.8 -4 ธันวาคม 2550

จากตารางที่ 4.8-1 ขอมูลสถิติการจดทะเบียนโรงงานอุตสาหกรรม พบวา ในป 2548 มีโรงงานอุตสาหกรรม ในอนุภาครวมทั้งสิ้น 8,633 โรง โดยโรงงานอุตสาหกรรมสวนใหญเปนโรงงานขนาดเล็ก (รอยละ 75.5) และเปนโรงงานในอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่มมากที่สุด จํานวน 1,446 โรง (รอยละ 16.8) รองลงมาไดแกอุตสาหกรรมการไมและผลิตภัณฑจากไม โลหะประดิษฐ ผลิตภัณฑจากแรอโลหะ และการซอมแซมยานยนต ตามลําดับ เมื่อวิเคราะหแนวโนมการเพิ่มขึ้นของโรงงานอุตสาหกรรมในอนุภาค พบวา นับตั้งแตป 2540 เปนตนมา จํานวนโรงงานอุตสาหกรรมในอนุภาคมีการขยายตัวเฉลี่ยถึงรอยละ 8.2 ตอป โดยอุตสาหกรรมที่มีแนวโนมการขยายตัวของโรงงานเพิ่มมากที่สุดไดแกอุตสาหกรรมการพิมพ มีอัตราการขยายตัวเฉลี่ยรอยละ 13.5 ตอป เนื่องจากในป 2540 ยังมีโรงงานไมมากนัก เพียง 36 โรง และเพิ่มเปน 99 โรงงาน ในป 2548 โดยเกือบทั้งหมดเปนโรงงานขนาดเล็ก สวนอุตสาหกรรมที่มีการขยายตัวของจํานวนโรงงานมากรองลงมาไดแกปโตรเลียมและเชื้อเพลิง (รอยละ 12.4) อุตสาหกรรมเครื่องแตงกาย (รอยละ 12.0) อุตสาหกรรมโลหะประดิษฐ (รอยละ 11.2) และอุตสาหกรรมยางและพลาสติก (รอยละ 11.1) ตามลําดับ (แผนภูมิที่ 4.8-1) ทั้งนี้อุตสาหกรรมที่มีการอัตราการขยายตัวของจํานวนโรงงานมาก สวนใหญจะเปนอุตสาหกรรมที่มีจํานวนโรงงานในอนุภาคจํานวนไมมากนัก ยกเวนแตอุตสาหกรรมโลหะประดิษฐและอุตสาหกรรมยาง สวนอุตสาหกรรมที่เปนแกนหลักของอนุภาคและมีโรงงานเปนจํานวนมากอยางอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม และอุตสาหกรรมไมและผลิตภัณฑจากไมนั้นแมจะไมไดมีการขยายตัวเพิ่มขึ้นของจํานวนโรงงานอยูใน 5 อันดับแรก ก็มีการขยายตัวของจํานวนโรงงานคอนขางมากเชนกัน โดยอุตสาหกรรมอาหารขยายตัวในอัตรารอยละ 6.7 ตอป และอุตสาหกรรมไมขยายตัวในอัตรารอยละ 7.4 ตอป

แผนภูมิท่ี 4.8-1 แสดงประเภทอุตสาหกรรม 5 อันดับท่ีมีการขยายตัวสงูท่ีสุดในพื้นท่ีอนุภาค 8 จังหวัด ชวงป 2540-2548

ท่ีมา: กรมโรงงานอุตสาหกรรม, 2550

12.013.5

12.411.1 11.2

2.04.06.08.0

10.012.014.016.0

ประเภทอุตสาหกรรม

เคร่ืองแตงกายการพิมพโฆษณา การพิมพปโตรเลียม และเช้ือเพลิงยางและพลาสติกโลหะประดิษฐ

อัตราเติบโต:รอยละ

Page 5: 4.8 4.8.1 สถานการณ ด านอุตสาหกรรมในป ...eservices.dpt.go.th/eservice_6/ebook/data/055/01/... · 2015-09-14 · 4.8.1 สถานการณ

โครงการจัดทําฐานขอมูลและวิเคราะหเพื่อวางผังอนุภาค รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย กลุมจังหวัดอางทอง พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี นนทบุรี ชัยนาท สิ่งบุรี ลพบุรี และสระบุรี บทที่ 4 การศึกษาและวิเคราะหขอมูลรายสาขา

บริษัท ไทยวิคตอรี่ไชน จํากัด 4.8 -5 ธันวาคม 2550

แผนที่ 4.8 - 1 แสดงเขตนิคมอุตสาหกรรมในพื้นท่ีอนภุาค 8 จังหวัด

Page 6: 4.8 4.8.1 สถานการณ ด านอุตสาหกรรมในป ...eservices.dpt.go.th/eservice_6/ebook/data/055/01/... · 2015-09-14 · 4.8.1 สถานการณ

โครงการจัดทําฐานขอมูลและวิเคราะหเพื่อวางผังอนุภาค รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย กลุมจังหวัดอางทอง พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี นนทบุรี ชัยนาท สิ่งบุรี ลพบุรี และสระบุรี บทที่ 4 การศึกษาและวิเคราะหขอมูลรายสาขา

บริษัท ไทยวิคตอรี่ไชน จํากัด 4.8 -6 ธันวาคม 2550

2) จํานวนโรงงานอุตสาหกรรม จําแนกตามประเภทและขนาดของกิจการรายจังหวัด เมื่อพิจารณาจําแนกเปนรายจังหวัด พบวา จังหวัดปทุมธานีเปนจังหวัดที่มีโรงงานอุตสาหกรรมมากที่สุดในอนุภาค จํานวน 2,350 โรง ในป 2548 รองลงมาไดแกจังหวัดนนทบุรี 1,947 โรง และจังหวัดอยุธยา 1,457 โรง โดยจังหวัดสิงหบุรี จังหวัดที่มีโรงงานอุตสาหกรรมนอยที่สุด 292 โรง (ตารางที่ 4.8-2) ทั้งนี้โรงงานอุตสาหกรรมสวนใหญในทั้ง 8 จังหวัดเปนโรงงานขนาดเล็ก โดยในแตละจังหวัดจะมีอุตสาหกรรมเดนที่แตกตางกันไป (รายละเอียดเพิ่มเติม จํานวนโรงงานจําแนกตามประเภทอุตสาหกรรมและขนาดโรงงานโดยละเอียดของจังหวัดอางทอง อยุธยา ปทุมธานี นนทบุรี ชัยนาท สิงหบุรี ลพบุรี และสระบุรี นําเสนอไวในรายงานเลมฐานขอมูล) เมื่อดูแนวโนมการขยายตัวของจํานวนโรงงานอุตสาหกรรมในชวงป 2540-2548 พบวา จังหวัดปทุมธานี นนทบุรี และอยุธยา มีการขยายตัวของของจํานวนโรงงานอุตสาหกรรมในอัตราที่สูงกวาคาเฉลี่ยของอนุภาค โดยเฉพาะจังหวัดปทุมธานี มีการขยายตัวของจํานวนโรงงานมากที่สุดในอนุภาค เฉลี่ยรอยละ 9.3 ตอป ในขณะที่จังหวัดชัยนาทเปนจังหวัดที่มีการขยายตัวของจํานวนโรงงานนอยที่สุด เฉลี่ยรอยละ 5.2 ตอป (แผนภูมิที่ 4.8-2)

แผนภูมิท่ี 4.8-2 แสดงอัตราการขยายตัวเฉล่ียตอปของจํานวนโรงงานอุตสาหกรรมในพื้นท่ีอนุภาค 8 จังหวัด ชวงป 2540-2548

ท่ีมา: กรมโรงงานอุตสาหกรรม, 2550

0

2

4

6

8

10

12

14

อางทอง

อยุธยา

ปทุมธาน

ีนนท

บุรีชัยน

าทสิงห

บุรี ลพบุรี

สระบุรี

รวมอนุภ

าค

เล็กกลางใหญรวม

อัตราเติบโต:รอยละ

Page 7: 4.8 4.8.1 สถานการณ ด านอุตสาหกรรมในป ...eservices.dpt.go.th/eservice_6/ebook/data/055/01/... · 2015-09-14 · 4.8.1 สถานการณ

โครงการจัดทําฐานขอมูลและวิเคราะหเพื่อวางผังอนุภาค รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย กลุมจังหวัดอางทอง พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี นนทบุรี ชัยนาท สิ่งบุรี ลพบุรี และสระบุรี บทที่ 4 การศึกษาและวิเคราะหขอมูลรายสาขา

บริษัท ไทยวิคตอรี่ไชน จํากัด 4.8 -7 ธันวาคม 2550

แผนที่ 4.8-2 แสดงที่ตัง้โรงงานอุตสาหกรรม

Page 8: 4.8 4.8.1 สถานการณ ด านอุตสาหกรรมในป ...eservices.dpt.go.th/eservice_6/ebook/data/055/01/... · 2015-09-14 · 4.8.1 สถานการณ

โครงการจัดทําฐานขอมูลและวิเคราะหเพื่อวางผังอนุภาค รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย กลุมจังหวัดอางทอง พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี นนทบุรี ชัยนาท สิ่งบุรี ลพบุรี และสระบุรี บทที่ 4 การศึกษาและวิเคราะหขอมูลรายสาขา

บริษัท ไทยวิคตอรี่ไชน จํากัด 4.8 -8 ธันวาคม 2550

ตารางที่ 4.8-2 แสดงจํานวนโรงงานอตุสาหกรรมจําแนกตามขนาดกจิการในพื้นท่ีอนุภาค 8 จังหวัด จําแนกตามขนาด ป 2540 – 2548

จํานวนโรงงาน (โรง) ป 2540 จํานวนโรงงาน (โรง) ป 2548 อัตราขยายตัวเฉล่ียตอป (%) จังหวัด เล็ก กลาง ใหญ รวม เล็ก กลาง ใหญ รวม เล็ก กลาง ใหญ รวม อางทอง 206 17 3 226 386 25 8 419 8.2 4.9 13.0 8.0 พระนครศรีอยุธยา 404 165 172 741 902 311 245 1,458 10.6 8.2 4.5 8.8 ปทุมธานี 706 269 180 1,155 1,630 494 231 2,355 11.0 7.9 3.2 9.3 นนทบุรี 788 137 58 983 1,593 278 77 1,948 9.2 9.2 3.6 8.9 ชัยนาท 209 12 7 228 306 28 8 342 4.9 11.2 1.7 5.2 สิงหบุรี 155 11 14 180 246 24 22 292 5.9 10.2 5.8 6.2 ลพบุรี 338 39 23 400 522 66 37 625 5.6 6.8 6.1 5.7 สระบุรี 492 102 81 675 922 162 110 1,194 8.2 6.0 3.9 7.4

รวมอนุภาค 3,298 752 538 4,588 6,507 1,388 738 8,633 8.9 8.0 4.0 8.2 ท่ีมา: กรมโรงงานอุตสาหกรรม, 2550

จังหวัดอางทอง ในป 2548 จังหวัดอางทอง มีโรงงานอุตสาหกรรมทั้งสิ้น 419 แหง โดยอําเภอที่มี

โรงงานอุตสาหกรรมมากที่สุดไดแกอําเภอปาโมก มีโรงงานรวมทั้งสิ้น 116 โรง (รอยละ 27.7) สวนอําเภอที่มีจํานวนโรงงานอุตสาหกรรมนอยที่สุดไดแก อําเภอสามโก มีโรงงานเพียง 11 โรงเทานั้น

เมื่อวิเคราะหความเขมขนของการลงทุน แรงงาน และการใชเครื่องจักร พบวา ในเขตอําเภอเมืองจะเปนพื้นที่ซ่ึงมีการลงทุน การใชแรงงาน และการใชเครื่องจักรในโรงงานอุตสาหกรรมมากที่สุด โดยมีการลงทุนรวม 5,095 ลานบาท (รอยละ 58) และมีแรงงานรวม 1,700 คน (รอยละ (รอยละ 29) เนื่องจากมีโรงงานขนาดใหญเชน บริษัท ไทยเรยอน และบริษัท ไทยคารบอนแบล็ค ตั้งอยู (ตารางที่ 4.8-3) ตารางที่ 4.8-3 แสดงจํานวนโรงงานอุตสาหกรรมจําแนกรายอําเภอในจังหวัดอางทอง ป 2540 – 2548

ป 2540 ป 2548 อําเถอ จํานวนโรงงาน

(โรง) เงินลงทุน

(บาท) จํานวนแรงงาน

(คน) แรงมา รวม

จํานวนโรงงาน (โรง)

เงินลงทุน (บาท)

จํานวนแรงงาน (คน)

แรงมา รวม

รวม 226 6,102,159,680 3,998 255,658 419 8,793,431,478 6,312 308,284 ไชโย 9 113,482,000 193 634 20 333,902,000 631 7,265 ปาโมก 68 580,267,622 1,166 42,214 116 1,794,271,527 1,562 65,577 โพธิ์ทอง 23 107,639,759 205 3,718 43 230,859,759 427 7,348 เมือง 44 4,715,527,475 1,402 193,832 80 5,095,380,475 1,700 197,635 วิเศษชัยชาญ 60 390,255,146 642 12,605 108 787,764,707 1,261 22,955 สามโก 5 13,436,000 57 216 11 229,412,000 121 817 แสวงหา 17 181,551,678 333 2,439 41 321,841,010 610 6,686 ท่ีมา: กรมโรงงานอุตสาหกรรม, 2550

Page 9: 4.8 4.8.1 สถานการณ ด านอุตสาหกรรมในป ...eservices.dpt.go.th/eservice_6/ebook/data/055/01/... · 2015-09-14 · 4.8.1 สถานการณ

โครงการจัดทําฐานขอมูลและวิเคราะหเพื่อวางผังอนุภาค รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย กลุมจังหวัดอางทอง พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี นนทบุรี ชัยนาท สิ่งบุรี ลพบุรี และสระบุรี บทที่ 4 การศึกษาและวิเคราะหขอมูลรายสาขา

บริษัท ไทยวิคตอรี่ไชน จํากัด 4.8 -9 ธันวาคม 2550

จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ในป 2548 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 1,458 เปนจังหวัดที่มีโรงงานอุตสาหกรรม

ขนาดใหญมากที่สุดในอนุภาค โดยอําเภอที่มีโรงงานอุตสาหกรรมมากที่สุดไดแกอําเภอบางประอิน 315 โรง (รอยละ 21.6) รองลงมาไดแกอําเภออุทัย อําเภอวังนอย และอําเภอนครหลวง สวนอําเภอที่มีโรงงานนอยที่สุดไดแกอําเภอ บานแพรก มีโรงงานเพียง 2 โรงเทานั้น

การวิเคราะหความเขมขนของการลงทุน แรงงาน และการใชเครื่องจักร พบวาเงินลงทุนและแรงงานสวนใหญจะกระจุกตัวอยูในพื้นที่อําเภอบางประอินมากที่สุด โดยมีเงินลงทุนรวมถึง 1.5 แสนลานบาท และมีแรงงานในโรงงานถึง 5.4 หมื่นคน ทั้งนี้เนื่องจากมีนิคมอุตสาหกรรมถึง 2 แหงตั้งอยูในพื้นที่ ไดแกนิคมอุตสาหกรรมบางประอิน และนิคมอุตสาหกรรมไฮเทค นอกจากนี้แลวในพื้นที่อําเภออุทัย อําเภอวังนอย และอําเภอมหานครก็มีการลงทุนในโรงงานอุตสาหกรรมและแรงงานในโรงงานเปนจํานวนมากเชนเดียวกัน เพราะตางก็มีพื้นที่ศูนยรวมอุตสาหกรรมตั้งอยูในพื้นที่ ไดแก สวนอุตสาหกรรมโรจนะในอําเภออุทัย นิคมอุตสาหกรรมสหรัตนนคร ในอําเภอนครหลวง นิคมอุตสาหกรรมชุติกาญจน แฟคตอรี่เฮาส และเขตประกอบการอุตสาหกรรมแฟคตอรี่แลนดวังนอย ในอําเภอวังนอย (ตารางที่ 4.8-4) ตารางที่ 4.8-4 แสดงจํานวนโรงงานอุตสาหกรรมจําแนกรายอําเภอในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ป 2540 – 2548

ป 2540 ป 2548 อําเภอ จํานวน โรงงาน (โรง)

เงินลงทุน (บาท)

จํานวน แรงงาน

(คน)

แรงมา รวม

จํานวน โรงงาน (โรง)

เงินลงทุน (บาท)

จํานวน แรงงาน

(คน)

แรงมา รวม

รวม 741 215,406,972,881 116,723 1,370,200 1,458 271,951,763,849 156,264 1,955,210 ในแมน้ําเจาพระยา 16 6,400,000 87 2,400 16 6,400,000 87 2,400 ทาเรือ 35 1,105,559,000 3,048 45,121 50 2,062,705,042 3,540 63,613 นครหลวง 67 10,890,050,000 9,537 109,662 132 20,128,553,547 13,141 134,905 บางซาย 10 315,517,761 994 8,926 19 473,356,761 1,228 12,489 บางไทร 41 2,875,843,000 2,970 240,434 56 3,617,361,605 3,513 244,214 บางบาล 23 7,473,262,500 1,320 33,572 59 7,896,568,750 1,560 46,613 บางปะหัน 32 491,783,078 832 17,222 90 757,595,652 1,855 26,256 บางปะอิน 156 133,526,218,438 44,303 487,332 315 150,681,656,838 54,087 567,424 บานแพรก 2 2,560,000 7 125 2 2,560,000 7 125 ผักไห 17 109,860,000 333 3,235 34 508,210,000 612 8,134 พระนครศรีอยุธยา 89 692,983,936 2,146 24,788 125 2,366,953,526 3,678 46,634 ภาชี 9 59,450,000 214 2,297 12 73,400,000 331 3,406 มหาราช 6 42,752,307 97 1,949 14 173,542,307 186 2,446 ลาดบัวหลวง 29 715,660,664 1,228 18,399 56 1,293,810,664 2,401 30,160 วังนอย 51 23,482,177,250 7,430 87,608 166 31,132,226,963 14,386 151,733 เสนา 54 3,078,551,124 12,047 68,772 95 3,821,442,861 13,232 73,594 อุทัย 104 30,538,343,823 30,130 218,358 217 46,955,419,333 42,420 541,063 ท่ีมา: กรมโรงงานอุตสาหกรรม, 2550

Page 10: 4.8 4.8.1 สถานการณ ด านอุตสาหกรรมในป ...eservices.dpt.go.th/eservice_6/ebook/data/055/01/... · 2015-09-14 · 4.8.1 สถานการณ

โครงการจัดทําฐานขอมูลและวิเคราะหเพื่อวางผังอนุภาค รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย กลุมจังหวัดอางทอง พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี นนทบุรี ชัยนาท สิ่งบุรี ลพบุรี และสระบุรี บทที่ 4 การศึกษาและวิเคราะหขอมูลรายสาขา

บริษัท ไทยวิคตอรี่ไชน จํากัด 4.8 -10 ธันวาคม 2550

จังหวัดปทุมธานี จังหวัดปทุมธานีเปนจังหวัดที่มีโรงงานอุตสาหกรรมมากที่สุดในอนุภาค จํานวน

2,355 โรง ในป 2548 โดยมีการกระจุกตัวอยางหนาแนนในพื้นที่อําเภอคลองหลวง อําเภอเมือง และอําเภอลําลูกกา โดยอําเภอที่มีโรงงานมากที่สุดไดแกอําเภอคลองหลวง 754 โรง (รอยละ 32.0) สวนอําเภอที่มีโรงงานนอยที่สุดไดแกอําเภอหนองเสือ มีโรงงานรวมทั้งสิ้น 53 โรง (ตารางที่ 4.9-5)

การวิเคราะหความเขมขนของการลงทุน แรงงาน และการใชเครื่องจักร พบวา อําเภอคลองหลวงเปนอําเภอที่มีเงินลงทุน แรงงาน และการใชเครื่องจักรในโรงงานอุตสาหกรรมมากที่สุด เนื่องจากมีเขตสงเสริมอุตสาหกรรมนวนครตั้งอยูในพื้นที่ ทั้งนี้เขตอุตสาหกรรมนวนคร นับเปนเขตอุตสาหกรรมที่สมบูรณแบบแหงแรกของประเทศไทย โดยมีการพัฒนามาอยางตอเนื่องนับตั้งแตป 2514 โดยในปจจุบัน มีโรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญซ่ึงมีทุนจดทะเบียนเกินกวา 1,000 ลานบาทตั้งอยูหลายโรงงาน เชน บริษัท อเกีย ซิสเต็มส ไมโครอีเล็คทรอนิคส (ไทย) จํากัด บริษัท ฟูจิตสึ (ประเทศไทย) จํากัด บริษัท พานาโซนิค อีเล็คทริค เวิรคส (ไทยแลนด) จํากัด บริษัท เนสทเล (ไทย) จํากัด บริษัท ไทย-เยอรมัน เซรามิค อินดัสทรี่ จํากัด (มหาชน) และ บริษัท ทอสเท็มไทย จํากัด เปนตน

ตารางที่ 4.8-5 แสดงจํานวนโรงงานอุตสาหกรรมจําแนกรายอําเภอในจังหวัดปทุมธานี ป 2540 – 2548

ป 2540 ป 2548 อําเภอ จํานวน โรงงาน (โรง)

เงินลงทุน (บาท)

จํานวน แรงงาน

(คน)

แรงมา รวม

จํานวน โรงงาน (โรง)

เงินลงทุน (บาท)

จํานวน แรงงาน

(คน)

แรงมา รวม

รวม 1,155 107,189,615,105 143,370 2,038,209 2,355 167,288,380,104 200,763 2,518,832 คลองหลวง 321 54,998,011,794 66,851 826,687 754 80,615,193,306 91,776 1,076,296 ธัญบุรี 171 9,176,765,591 12,362 173,950 269 11,759,428,005 14,862 200,948 เมือง 285 26,319,327,218 35,251 743,565 433 33,217,313,055 42,559 810,404 ลาดหลุมแกว 108 6,099,608,388 9,624 173,311 246 9,673,008,607 14,422 209,760 ลําลูกกา 193 6,989,197,891 17,148 89,561 427 25,130,658,279 31,320 139,091 สามโคก 65 3,479,314,223 1,740 24,370 173 6,142,048,852 4,238 68,083 หนองเสือ 12 127,390,000 394 6,765 53 750,730,000 1,586 14,250 ท่ีมา: กรมโรงงานอุตสาหกรรม, 2550

จังหวัดนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี มีโรงงานรวมทั้งสิ้น 1948 โรงในป 2548 มากเปนอันดับ 2 ใน

อนุภาค โดย โรงงานอุตสาหกรรมสวนใหญจะตั้งอยูในอําเภอเมืองนนทบุรี จํานวน 562 โรง และอําเภอบางบัวทอง 499 โรง สวนอําเภอที่มีโรงงานอุตสาหกรรมนอยที่สุดไดแกอําเภอบางกรวย มีโรงงานทั้งสิ้น 181 โรง

Page 11: 4.8 4.8.1 สถานการณ ด านอุตสาหกรรมในป ...eservices.dpt.go.th/eservice_6/ebook/data/055/01/... · 2015-09-14 · 4.8.1 สถานการณ

โครงการจัดทําฐานขอมูลและวิเคราะหเพื่อวางผังอนุภาค รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย กลุมจังหวัดอางทอง พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี นนทบุรี ชัยนาท สิ่งบุรี ลพบุรี และสระบุรี บทที่ 4 การศึกษาและวิเคราะหขอมูลรายสาขา

บริษัท ไทยวิคตอรี่ไชน จํากัด 4.8 -11 ธันวาคม 2550

เมื่อวิเคราะหความเขมขนของการลงทุน แรงงาน และการใชเครื่องจักร พบวา อําเภอ ที่มีการใชเงินลงทุนและเครื่องจักรในโรงงานรวมมากที่สุดไดแก อําเภอบางบัวทอง โดยมีเงินลงทุนรวมกวา 1.5 หมื่นลานบาท (กวาครึ่งเปนการลงทุนของ บริษัท ไมตรี เมทัล เวิรค จํากัด ซ่ึงดําเนินกิจการผลิตตูเย็น) สวนอําเภอที่มีจํานวนแรงงานรวมในโรงงานอุตสาหกรรมมากที่สุด ไดแกอําเภอ ปากเกร็ด โดยมีการจางงานกวา 2.2 หมื่นคน (ตารางที่ 4.8-6)

ตารางที่ 4.8-6 แสดงจํานวนโรงงานอุตสาหกรรมจําแนกรายอําเภอในจังหวัดนนทบุรี ป 2540 – 2548

ป 2540 ป 2548 อําเภอ จํานวน โรงงาน (โรง)

เงินลงทุน (บาท)

จํานวน แรงงาน

(คน)

แรงมา รวม

จํานวน โรงงาน (โรง)

เงินลงทุน (บาท)

จํานวน แรงงาน

(คน)

แรงมา รวม

รวม 983 24,261,603,637 50,650 821,311 1,948 56,569,001,264 75,600 1,318,705 ไทรนอย 110 4,145,888,263 5,327 70,719 251 11,619,275,853 10,702 156,361 บางกรวย 87 1,861,462,780 2,813 382,182 181 6,400,011,770 5,330 410,114 บางบัวทอง 214 4,056,147,827 7,596 94,743 499 15,856,563,942 14,086 420,071 บางใหญ 70 2,087,742,326 1,259 15,933 186 5,056,666,054 4,392 36,205 ปากเกร็ด 155 7,868,072,680 18,546 164,090 269 10,429,472,521 22,286 183,625 เมืองนนทบุรี 347 4,242,289,761 15,109 93,643 562 7,207,011,124 18,804 112,329 ท่ีมา: กรมโรงงานอุตสาหกรรม, 2550

จังหวัดชัยนาท ในป 2548 จังหวัดชัยนาท มีโรงงานอุตสาหกรรมทั้งสิ้น 342 โรง โดยไมมีอําเภอใด

เลยในจังหวัดที่มีโรงงานอุตสาหกรรมเกิน 100 โรง ทั้งนี้อําเภอที่มีโรงงานอุตสาหกรรมมากที่สุดไดแกอําเภอเมือง จํานวน 89 โรง (รอยละ 26.0) สวนอําเภอที่มีจํานวนโรงงานอุตสาหกรรมนอยที่สุดไดแก กิ่งอําเภอหนองมะโมง มีโรงงาน 8 โรงเทานั้น

เมื่อวิเคราะหความเขมขนของการลงทุน แรงงาน และการใชเครื่องจักร พบวา อําเภอ

มโนรมยมี เงินลงทุนรวมมากที่ สุด จํานวน 820 ลานบาท สวนอําเภอที่มีแรงงานในโรงงานอุตสาหกรรมมากที่สุดไดแกอําเภอสรรพยา มีแรงงานรวม 1,386 คน และอําเภอที่มีการใชเครื่องจักรในโรงงานอุตสาหกรรมมากที่สุด ไดแกอําเภอหันคา มีกําลังแรงมารวม 31,866 แรงมา โดยกวา 1 ใน 3 เปนการใชเครื่องจักรในโรงงานฟอกยอมของบริษัท คัลเลอร เทค อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (ตารางที่ 4.8-7)

Page 12: 4.8 4.8.1 สถานการณ ด านอุตสาหกรรมในป ...eservices.dpt.go.th/eservice_6/ebook/data/055/01/... · 2015-09-14 · 4.8.1 สถานการณ

โครงการจัดทําฐานขอมูลและวิเคราะหเพื่อวางผังอนุภาค รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย กลุมจังหวัดอางทอง พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี นนทบุรี ชัยนาท สิ่งบุรี ลพบุรี และสระบุรี บทที่ 4 การศึกษาและวิเคราะหขอมูลรายสาขา

บริษัท ไทยวิคตอรี่ไชน จํากัด 4.8 -12 ธันวาคม 2550

ตารางที่ 4.8-7 แสดงจํานวนโรงงานอุตสาหกรรมจําแนกรายอําเภอในจังหวัดชัยนาท ป 2540 – 2548 ป 2540 ป 2548 อําเภอ

จํานวน โรงงาน (โรง)

เงินลงทุน (บาท)

จํานวน แรงงาน

(คน)

แรงมา รวม

จํานวน โรงงาน (โรง)

เงินลงทุน (บาท)

จํานวน แรงงาน

(คน)

แรงมา รวม

รวม 228 1,275,493,824 5,277 63,790 342 3,744,402,710 7,032 114,216 กิ่งอําเภอเนินขาม 20 7,259,000 75 1,279 25 165,840,908 148 3,973 กิ่งอําเภอหนองมะโมง 5 546,000 15 341 8 2,546,000 82 707 มโนรมย 12 226,832,587 697 1,111 25 820,056,064 1,070 8,883 เมือง 62 238,015,658 990 7,060 89 449,912,658 1,187 11,481 วัดสิงห 24 127,100,450 120 17,505 31 182,650,450 183 29,095 สรรคบุรี 31 244,691,003 330 5,433 54 613,136,504 699 14,555 สรรพยา 24 92,591,030 1,265 8,850 37 256,166,030 1,386 13,656 หันคา 50 338,458,096 1,785 22,212 73 1,254,094,096 2,277 31,866 ท่ีมา: กรมโรงงานอุตสาหกรรม, 2550

จังหวัดสิงหบุรี สิงหบุรีเปนจังหวัดที่มีโรงงานอุตสาหกรรมนอยที่สุดในอนุภาค โดยในป 2548 มี

โรงงานเพียง 292 โรงเทานั้น โดยอยูในพื้นที่อําเภอเมืองมากที่สุด 89 โรง และอําเภออินทรบุรี 83 โรง สวนอําเภอที่มีจํานวนโรงงานอุตสาหกรรมนอยที่สุดไดแก อําเภอทาชาง มีโรงงาน 11 โรง

เมื่อวิเคราะหความเขมขนของการลงทุน แรงงาน และการใชเครื่องจักร พบวา อําเภอ พรหมบุรี เปนอําเภอที่มีการลงทุน การใชแรงงาน และการใชเครื่องจักรในโรงงานอุตสาหกรรมมากที่สุด แมวาจะมีโรงงานเพียง 35 โรงก็ตาม ทั้งนี้เนื่องจากมีโรงงานขนาดใหญหลายโรงงานตั้งอยู เชนโรงงานปนดาย ลัคกี้ สปนสนิ่ง โรงงานผลิตลูกถวยไฟฟา บริษัท อาเชียนอินซูเลเตอร จํากัด และโรงงาน และโรงงานผลิตตูแชของบริษัท สงเสริมซันเดน รีฟริเจอเรชั่น จํากัด เปนตน (ตารางที่ 4.8-8)

ตารางที่ 4.8-8 แสดงจํานวนโรงงานอุตสาหกรรมจําแนกรายอําเภอในจังหวัดสิงหบุรี ป 2540 – 2548

ป 2540 ป 2548 อําเภอ จํานวน โรงงาน

เงินลงทุน จํานวน แรงงาน

แรงมา จํานวน โรงงาน

เงินลงทุน จํานวน แรงงาน

แรงมา

รวม 180 6,948,157,534 6,059 155,857 292 10,468,491,409 11,697 229,687 คายบางระจัน 23 475,017,000 248 11,798 32 527,481,900 456 14,150 ทาชาง 9 146,985,000 69 1,307 11 155,535,000 80 1,652 บางระจัน 26 714,601,203 1,130 52,152 42 859,061,203 1,202 55,547 พรหมบุรี 20 2,299,311,005 2,225 28,395 35 4,880,382,386 5,420 87,387 เมือง 50 2,841,364,209 1,677 54,503 89 3,156,538,209 2,334 57,870 อินทรบุรี 52 470,879,117 710 7,703 83 889,492,711 2,205 13,080 ท่ีมา: กรมโรงงานอุตสาหกรรม, 2550

Page 13: 4.8 4.8.1 สถานการณ ด านอุตสาหกรรมในป ...eservices.dpt.go.th/eservice_6/ebook/data/055/01/... · 2015-09-14 · 4.8.1 สถานการณ

โครงการจัดทําฐานขอมูลและวิเคราะหเพื่อวางผังอนุภาค รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย กลุมจังหวัดอางทอง พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี นนทบุรี ชัยนาท สิ่งบุรี ลพบุรี และสระบุรี บทที่ 4 การศึกษาและวิเคราะหขอมูลรายสาขา

บริษัท ไทยวิคตอรี่ไชน จํากัด 4.8 -13 ธันวาคม 2550

จังหวัดลพบุรี ในป 2548 จังหวัดลพบุรีมีโรงงาน รวมทั้งสิ้น 625 โรง โดยอําเภอเมืองเปนอําเภอที่มี

โรงงานมากที่สุด 211 สวนอําเภอที่มีจํานวนโรงงานอุตสาหกรรมนอยที่สุดไดแก อําเภอโคกเจริญ มีโรงงาน 4 โรง และอําเภอลําสนธิ มีโรงงาน 6 โรง (ตารางที่ 4.8-9)

เมื่อวิเคราะหความเขมขนของการลงทุน แรงงาน และการใชเครื่องจักร พบวา อําเภอ พัฒนานิคม เปนอําเภอที่มีการลงทุน การใชแรงงาน และการใชเครื่องจักรในโรงงานอุตสาหกรรมมากที่สุด เนื่องจากมีโรงงานขนาดใหญที่มีทุนจดทะเบียนเกินกวา 2,000 ลานบาท อยางโรงงานเยื้อกระดาษ บริษัท เอเวอรกรีน พลัส จํากัด และโรงงานเหล็ก บริษัท น่ําเฮงสตีล จํากัด ตั้งอยู และยังมีโรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญที่มีทุนจดทะเบียนหลายรอยลานบาทตั้งอยูอีกหลายโรงงาน

ตารางที่ 4.8-9 แสดงจํานวนโรงงานอุตสาหกรรมจําแนกรายอําเภอในจังหวัดลพบุรี ป 2540 – 2548

ป 2540 ป 2548 อําเภอ จํานวน โรงงาน (โรง)

เงินลงทุน (บาท)

จํานวน แรงงาน

(คน)

แรงมา รวม

จํานวน โรงงาน (โรง)

เงินลงทุน (บาท)

จํานวน แรงงาน

(คน)

แรงมา รวม

รวม 400 18,897,847,459 24,262 409,924 625 30,633,559,855 32,960 588,462 โคกเจริญ 3 353,000 3 48 4 1,162,356 16 106 โคกสําโรง 46 92,744,700 218 3,368 68 400,724,200 430 8,208 ชัยบาดาล 63 2,068,797,600 6,218 32,818 96 3,400,331,138 8,835 69,047 ทาวุง 23 2,168,592,309 480 14,540 42 5,290,063,511 1,026 55,737 ทาหลวง 5 1,845,226,000 446 86,609 13 2,033,975,000 561 94,566 บานหมี่ 34 290,015,228 279 3,813 52 643,861,654 479 7,173 พัฒนานิคม 50 5,863,178,774 7,791 202,107 95 9,780,429,698 10,947 268,853 เมือง 142 6,369,987,956 7,826 53,375 211 8,679,780,406 9,503 68,436 ลําสนธิ 5 60,782,000 48 1,273 6 102,482,000 58 1,541 สระโบสถ 13 2,396,000 22 309 15 11,596,000 103 811 หนองมวง 16 135,773,892 931 11,663 23 289,153,892 1,002 13,985 ท่ีมา: กรมโรงงานอุตสาหกรรม, 2550

จังหวัดสระบุรี จังหวัดสระบุรีเปนจังหวัดที่มีโรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญอยูเปนจํานวนมาก

โดยเฉพาะโรงงานในอุตสาหกรรมวัสดุกอสราง โดยในป 2548 มีโรงงานรวมทั้งสิ้น 1,194 แหงตั้งอยูในอําเภอหนองแคมากที่สุด 266 แหงเนื่องจากเปนที่ตั้งของนิคมอุตสาหกรรมหนองแค รองลงมาไดแกอําเภอแกงคอย 181 แหง และอําเภอเฉลิมพระเกียรติ 179 แหง สวนอําเภอที่มีโรงงานนอยที่สุดไดแกอําเภอ ดอนพุด จํานวน 3 โรง และอําเภอหนองโดน จํานวน 4 โรง

เมื่อวิเคราะหความเขมขนของการลงทุน แรงงาน และการใชเครื่องจักร พบวา อําเภอแกงคอย เปนอําเภอที่มีการลงทุน แรงงาน และการใชเครื่องจักรมากที่สุด เนื่องจากมีงานอุตสาหกรรม

Page 14: 4.8 4.8.1 สถานการณ ด านอุตสาหกรรมในป ...eservices.dpt.go.th/eservice_6/ebook/data/055/01/... · 2015-09-14 · 4.8.1 สถานการณ

โครงการจัดทําฐานขอมูลและวิเคราะหเพื่อวางผังอนุภาค รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย กลุมจังหวัดอางทอง พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี นนทบุรี ชัยนาท สิ่งบุรี ลพบุรี และสระบุรี บทที่ 4 การศึกษาและวิเคราะหขอมูลรายสาขา

บริษัท ไทยวิคตอรี่ไชน จํากัด 4.8 -14 ธันวาคม 2550

ขนาดใหญตั้งอยู เปนจํานวนมาก เชน โรงงานปูนซีเมนตบริษัท ทีพีไอ จํากัด (มหาชน) บริษัทปูนซีเมนตไทย แกงคอย และบริษัทปูนซีเมนตนครหลวง จํากัด (มหาชน) เปนตน นอกจากนี้ยังมีโรงไฟฟาขนาดใหญอยางโรงไฟฟาแกงคอย 2 ที่มีมูลคาการลงทุนรวมกวา 2.8 หมื่นลานบาทตั้งอยูในพื้นที่อีกดวย ตารางที่ 4.8-10 แสดงจํานวนโรงงานอุตสาหกรรมจําแนกรายอําเภอในจังหวัดสระบุรี ป 2540 – 2548

ป 2540 ป 2548 อําเภอ จํานวน โรงงาน (โรง)

เงินลงทุน (บาท)

จํานวน แรงงาน

(คน)

แรงมา รวม

จํานวน โรงงาน (โรง)

เงินลงทุน (บาท)

จํานวน แรงงาน

(คน)

แรงมา รวม

รวม 675 81,246,300,287 52,375 6,265,297 1,194 142,379,888,080 67,484 8,449,582 แกงคอย 101 30,493,072,875 18,756 4,468,106 181 78,333,365,675 20,829 5,820,319 เฉลิมพระเกยีรติ 133 2,989,662,626 2,475 150,574 179 4,065,984,426 2,984 162,903 ดอนพุด 2 97,012,250 190 962 3 155,709,750 370 1,968 บานหมอ 39 6,664,835,548 2,912 157,020 60 7,377,694,548 3,244 272,124 พระพุทธบาท 84 12,252,477,638 3,623 658,605 146 14,031,619,561 4,691 747,226 มวกเหล็ก 10 742,813,500 269 6,984 43 967,181,120 656 11,038 เมือง 85 3,083,004,437 5,880 85,431 146 4,317,675,668 6,837 99,897 วังมวง 5 2,939,960,000 2,635 227,941 22 4,167,645,121 3,508 251,257 วิหารแดง 38 676,601,500 1,659 17,778 68 1,316,411,500 2,853 24,439 เสาไห 29 433,095,700 599 10,112 59 804,883,091 1,120 19,101 หนองแค 140 20,858,594,213 13,331 480,168 266 26,593,587,620 20,250 1,036,090 หนองแซง 7 13,710,000 27 872 17 242,420,000 113 2,202 หนองโดน 2 1,460,000 19 745 4 5,710,000 29 1,018 ท่ีมา: กรมโรงงานอุตสาหกรรม, 2550

3) สถานภาพของแตละอุตสาหกรรมในอนุภาค จากการวิเคราะหขอมูลสถิติการจดทะเบียนโรงงานอุตสาหกรรม โดยทําการวิเคราะหขนาดของเงินลงทุน จํานวนคนงานในโรงงาน ขนาดแรงมาของเครื่องจักร และขนาดพื้นที่ของโรงงาน จําแนกตามประเภทกิจการ เพื่อดูแนวโนมการขยายตัว และความเขมขนของการลงทุนในอุตสาหกรรมแตละประเภทในอนุภาค ไดผลการวิเคราะหดังตารางที่ 4.8-11 และ 4.8-12

Page 15: 4.8 4.8.1 สถานการณ ด านอุตสาหกรรมในป ...eservices.dpt.go.th/eservice_6/ebook/data/055/01/... · 2015-09-14 · 4.8.1 สถานการณ

โครงการจัดทําฐานขอมูลและวิเคราะหเพื่อวางผังอนุภาค รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย กลุมจังหวัดอางทอง พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี นนทบุรี ชัยนาท สิ่งบุรี ลพบุรี และสระบุรี บทที่ 4 การศึกษาและวิเคราะหขอมูลรายสาขา

บริษัท ไทยวิคตอรี่ไชน จํากัด 4.8 -15 ธันวาคม 2550

ตารางที่ 4.8-11 แสดงอตัราการขยายตัวของอุตสาหกรรมแตละประเภทในพื้นท่ีอนุภาค 8 จังหวัด ในชวงป 2540 – 2548

หนวย: โรง สถานภาพของอุตสาหกรรมในป 2548 อัตราขยายตัว

จํานวน โรงงาน (โรง)

เงินลงทุน รวม

(บาท)

คนงาน รวม (คน)

แรงมา รวม

(แรงมา)

พ้ืนที ่โรงงาน (ตร.ม)

จํานวน เงิน ลงทุน

คนงาน แรงมา พ้ืนที ่โรงงาน

เหมืองแรและเหมืองหนิ 363 4,316,904,341 3,246 179,495 27,358,758 7.9 7.0 4.0 5.9 10.6 อาหารและเครื่องดื่ม 1,446 82,979,895,110 72,059 1,819,339 27,618,785 6.7 4.0 3.7 3.2 5.3 ผลิตภัณฑยาสูบ ส่ิงทอ 195 19,967,125,829 33,886 738,068 5,583,146 6.3 2.0 4.8 7.2 1.9 เครื่องแตงกาย 124 5,291,630,804 31,412 54,833 979,494 12.0 5.9 7.1 3.1 3.9 เครื่องหนงั กระเปา และรองเทา 80 5,013,213,919 24,305 75,520 1,013,722 4.3 2.1 1.1 1.3 1.4 ไมและผลิตภัณฑจากไม ยกเวนเฟอรนิเจอร 1,052 15,503,417,061 34,513 363,132 8,415,899 7.4 10.3 4.7 4.9 5.3 กระดาษและผลติภัณฑกระดาษ 131 10,144,775,755 8,885 491,222 4,324,131 11.0 3.7 3.9 1.3 1.4 การพิมพโฆษณา การพมิพ 99 2,877,199,463 2,715 16,924 183,616 13.5 26.9 18.0 25.7 15.6 ปโตรเลียม ถานโคก และเชื้อเพลงิปรมาณ ู 46 1,269,048,618 677 41,944 14,419,951 12.4 12.5 6.9 5.8 0.3 เคมี 414 42,289,781,143 19,174 806,492 6,660,549 9.9 3.5 4.5 1.1 4.8 ยางและพลาสติก 555 25,504,288,817 30,638 477,574 20,422,344 11.1 5.3 4.4 3.2 22.3 ผลิตภัณฑจากแรอโลหะ 826 147,382,396,531 44,868 7,074,626 22,129,265 6.1 2.7 3.1 3.4 3.2 โลหะข้ันมูลฐาน 73 13,853,432,272 4,595 405,463 2,064,385 3.4 9.6 1.9 3.0 1.8 โลหะประดษิฐ 901 35,842,144,829 25,216 232,696 4,111,202 11.2 14.8 8.2 6.5 8.4 เครื่องจักรและอุปกรณ 586 16,690,821,981 20,986 166,639 2,889,578 6.4 5.3 5.1 4.6 4.1 เครื่องจักรสํานักงาน 46 33,814,673,432 28,618 155,739 1,801,287 5.5 3.7 1.9 2.8 0.6 เครื่องจักรและเครื่องอปุกรณไฟฟา 138 21,270,097,960 20,177 138,776 1,637,040 6.7 10.2 4.3 4.0 2.7 เครื่องอุปกรณวิทยุ โทรทัศน และการสื่อสาร 193 81,593,155,789 92,297 425,586 4,088,884 11.0 3.1 3.8 2.7 1.8 อุปกรณที่ใชทางการแพทย การวัดความเที่ยง 43 21,843,939,141 14,181 91,730 660,799 7.0 1.1 1.4 2.3 1.9 ยานยนต 197 14,369,883,280 12,062 119,292 1,755,727 6.2 6.8 5.9 6.2 4.2 อุปกรณการขนสงอืน่ๆ 57 1,240,127,000 3,915 30,673 418,713 7.9 7.8 1.8 3.3 2.1 เฟอรนิเจอร 400 21,105,483,035 19,922 105,156 5,578,015 9.5 16.9 4.9 9.5 9.3 การนําผลติภัณฑเกามาผลิตเปนวัตถุดิบใหม 132 1,896,089,000 1,879 22,130 810,644 การไฟฟา กาซ ไอน้ํา และน้ํารอน 22 51,529,628,589 1,038 1,394,702 955,534 7.9 12.7 3.0 9.2 21.6 การเก็บน้ํา การทําน้าํใหบริสุทธ์ิ และการจายน้ํา 10 6,136,802,396 149 26,222 1,107,752 9.1 12.0 6.7 17.6 26.7 การขายสง ขายปลีก การซอมแซมยานยนต 504 8,102,962,654 6,699 29,005 1,588,303 8.3 10.9 8.4 9.7 9.8

รวม 8,633 691,828,918,749 558,112 15,482,977 168,577,523 8.2 5.2 4.2 3.9 6.1 ท่ีมา: กรมโรงงานอุตสาหกรรม, 2550

- วิเคราะหการขยายตัวของการลงทุนในอุตสาหกรรมแตละประเภท จากตารางที่ 4.8-11 พบวา ประเภทของอุตสาหกรรมที่มีเงินลงทุนสูงที่สุดในอนุภาค

ไดแกอุตสาหกรรมผลิตภัณฑจากแรอโลหะ โดยมีการลงทุนรวมกวา 1.4 แสนลานบาท คิดเปนรอยละ 21.3 ของเงินลงทุนรวมในโรงงานอุตสาหกรรมทั้งหมดของอนุภาค รองลงมาไดแกอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม 8.2 หมื่นลานบาท อุตสาหกรรมเครื่องอุปกรณวิทยุ โทรทัศน และการสื่อสาร 8.1 หมื่นลานบาท และอุตสาหกรรมการไฟฟา กาซ ไอน้ํา และน้ํารอน 5.1 หมื่นลานบาท ตามลําดับ เมื่อดูแนวโนมการขยายตัวของเงินลงทุนรวมในแตละอุตสาหกรรม พบวาอุตสาหกรรมที่มีการขยายตัวของเงินลงทุนมากที่สุดไดแกอุตสาหกรรมการพิมพ โดยเติบโตเฉลี่ยรอยละ 26.9 ตอป แตทั้งนี้ ก็มีเงิน

Page 16: 4.8 4.8.1 สถานการณ ด านอุตสาหกรรมในป ...eservices.dpt.go.th/eservice_6/ebook/data/055/01/... · 2015-09-14 · 4.8.1 สถานการณ

โครงการจัดทําฐานขอมูลและวิเคราะหเพื่อวางผังอนุภาค รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย กลุมจังหวัดอางทอง พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี นนทบุรี ชัยนาท สิ่งบุรี ลพบุรี และสระบุรี บทที่ 4 การศึกษาและวิเคราะหขอมูลรายสาขา

บริษัท ไทยวิคตอรี่ไชน จํากัด 4.8 -16 ธันวาคม 2550

ลงทุนรวมไมมากนัก สวนอุตสาหกรรมที่มีการขยายตัวของเงินลงทุนรวมรองลงมาไดแกอุตสาหกรรม เฟอรนิเจอร อุตสาหกรรมปโตรเลียม และอุตสาหกรรมไฟฟา และอุตสาหกรรมไมและผลิตภัณฑจากไม ตามลําดับ

การใชพื้นที่ของอุตสาหกรรมแตละประเภท พบวาอุตสาหกรรมสวนใหญในอนุภาคมีการใชพื้นที่คอนขางมาก โดยอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม เปนอุตสาหกรรมที่มีการใชพื้นที่รวมมากที่สุด ประมาณ 27.6 ลานตารางเมตร รองลงมาไดแกอุตสาหกรรมเหมืองแรและเหมืองหิน 27.3 ลานตารางเมตร และอุตสาหกรรมผลิตภัณฑจากแรอโลหะ 22.1 ลานตารางเมตร ทั้งนี้เมื่อดูแนวโนมการขยายพื้นที่ของโรงงาน พบวา อุตสาหกรรมที่มีการขยายพื้นที่ของโรงงานมากที่สุดไดแกอุตสาหกรรมยางและพลาสติก โดยขยายตัวเฉลี่ยรอยละ 22.3 ตอป รองลงมาไดแกอุตสาหกรรมการไฟฟา อุตสาหกรรมการพิมพ และ อุตสาหกรรมเหมืองแร ตามลําดับ

- วิเคราะหความเขมขนของในการลงทุน การใชแรงงาน การใชเคร่ืองจักร และการใชพื้นท่ีของโรงงานของอุตสาหกรรมแตละประเภท

ในป 2548 อุตสาหกรรมในอนุภาคที่มีความการใชเงินลงทุนเฉลี่ยตอโรงงานสูงที่สุด ไดแกอุตสาหกรรมการผลิตไฟฟา กาซ ไอน้ํา และน้ํารอน โดยมีเงินลงทุนเฉลี่ย 2,342 ลานบาทตอโรงงาน รองลงมาไดแกเครื่องจักรสํานักงาน 735 ลานบาทตอโรง และการเก็บน้ํา ทําน้ําใหบริสุทธิ์ 613 ลานบาทตอโรง สวนอุตสาหกรรมอาหารที่มีจํานวนโรงงานมากที่สุดนั้น เนื่องจากสวนใหญเปนโรงงานขนาดกลางและขนาดเล็ก จึงมีเงินลงทุนเฉลี่ยตอโรงงานไมสูงมากนัก เฉลี่ยโรงงานละ 57 ลานบาท (ตารางที่ 4.8-12)

ในดานการใชแรงงาน พบวาอุตสาหกรรมในอนุภาคที่ยังเนนการพึ่งพิงแรงงานอยูมากที่สุด ไดแกอุตสาหกรรมเครื่องจักรสํานักงาน โดยมีการจางงานในโรงงานเฉลี่ยโรงงานละ 622 คน รองลงมาไดแกอุตสาหกรรมเครื่องอุปกรณวิทยุ โทรทัศน และการสื่อสาร มีการจางงานเฉลี่ยโรงงานละ 478 คนตอโรง และอุตสาหกรรมอุปกรณที่ใชทางการแพทย การวัดความเที่ยง 330 คนตอโรง

ความเขมขนของการใชเครื่องจักรในการผลิต พบวาอุตสาหกรรมการผลิตไฟฟา กาซ ไอน้ํา และน้ํารอน มีการใชเครื่องจักรมากที่สุด โดยมีกําลังแรงมาของเครื่องจักรเฉลี่ยโรงละ 63,396 แรงมา รองลงมาไดแกอุตสาหกรรมผลิตภัณฑจากแรอโลหะ 8,565 แรงมาตอโรง และอุตสาหกรรมโลหะขั้นมูลฐาน 5,554 แรงมาตอโรง

การใชพื้นที่ของอุตสาหกรรมแตละประเภท พบวาอุตสาหกรรมที่มีการใชพื้นที่เฉลี่ยตอโรงมากที่สุดในอนุภาค ไดแกอุตสาหกรรมปโตรเลียม ใชพื้นที่เฉลี่ย 313,477 ตารางเมตรตอโรง รองลงมาไดแกอุตสาหกรรมการเก็บน้ํา 110,775 ตารางเมตรตอโรง และเหมืองแร 75,368 ตารางเมตรตอโรง ตามลําดับ

Page 17: 4.8 4.8.1 สถานการณ ด านอุตสาหกรรมในป ...eservices.dpt.go.th/eservice_6/ebook/data/055/01/... · 2015-09-14 · 4.8.1 สถานการณ

โครงการจัดทําฐานขอมูลและวิเคราะหเพื่อวางผังอนุภาค รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย กลุมจังหวัดอางทอง พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี นนทบุรี ชัยนาท สิ่งบุรี ลพบุรี และสระบุรี บทที่ 4 การศึกษาและวิเคราะหขอมูลรายสาขา

บริษัท ไทยวิคตอรี่ไชน จํากัด 4.8 -17 ธันวาคม 2550

ตารางที่ 4.8-12 แสดงความเขมขนของในการลงทุน การใชแรงงาน การใชเคร่ืองจักร และการใชพื้นท่ีของโรงงานอุตสาหกรรมแตละประเภทในพื้นท่ีอนุภาค 8 จังหวัด ในป 2548

หนวย: โรง สถานภาพของอุตสาหกรรมในป 2548 ความเขมขนของอุตสาหกรรม

จํานวน โรงงาน (โรง)

เงินลงทุน รวม

(บาท)

คนงาน รวม (คน)

แรงมา รวม

(แรงมา)

พ้ืนที่โรงงาน (ตร.ม)

เงินลงทุน ตอโรง (บาท)

คนงาน ตอโรง (คน)

แรงมา ตอโรง

(แรงมา)

พ้ืนที ่(ตร.ม./โรง)

เหมืองแรและเหมืองหนิ 363 4,316,904,341 3,246 179,495 27,358,758 11,892,298 9 494 75,368 อาหารและเครื่องดื่ม 1,446 82,979,895,110 72,059 1,819,339 27,618,785 57,385,820 50 1,258 19,100 ผลิตภัณฑยาสูบ ส่ิงทอ 195 19,967,125,829 33,886 738,068 5,583,146 102,395,517 174 3,785 28,632 เครื่องแตงกาย 124 5,291,630,804 31,412 54,833 979,494 42,674,442 253 442 7,899 เครื่องหนงั กระเปา และรองเทา 80 5,013,213,919 24,305 75,520 1,013,722 62,665,174 304 944 12,672 ไมและผลิตภัณฑจากไม ยกเวนเฟอรนิเจอร 1,052 15,503,417,061 34,513 363,132 8,415,899 14,737,088 33 345 8,000 กระดาษและผลติภัณฑกระดาษ 131 10,144,775,755 8,885 491,222 4,324,131 77,441,036 68 3,750 33,009 การพิมพโฆษณา การพมิพ 99 2,877,199,463 2,715 16,924 183,616 29,062,621 27 171 1,855 ปโตรเลียม ถานโคก และเชื้อเพลงิปรมาณ ู 46 1,269,048,618 677 41,944 14,419,951 27,588,013 15 912 313,477 เคมี 414 42,289,781,143 19,174 806,492 6,660,549 102,149,230 46 1,948 16,088 ยางและพลาสติก 555 25,504,288,817 30,638 477,574 20,422,344 45,953,674 55 860 36,797 ผลิตภัณฑจากแรอโลหะ 826 147,382,396,531 44,868 7,074,626 22,129,265 178,429,051 54 8,565 26,791 โลหะข้ันมูลฐาน 73 13,853,432,272 4,595 405,463 2,064,385 189,773,045 63 5,554 28,279 โลหะประดษิฐ 901 35,842,144,829 25,216 232,696 4,111,202 39,780,405 28 258 4,563 เครื่องจักรและอุปกรณ 586 16,690,821,981 20,986 166,639 2,889,578 28,482,631 36 284 4,931 เครื่องจักรสํานักงาน 46 33,814,673,432 28,618 155,739 1,801,287 735,101,596 622 3,386 39,158 เครื่องจักรและเครื่องอปุกรณไฟฟา 138 21,270,097,960 20,177 138,776 1,637,040 154,131,145 146 1,006 11,863 เครื่องอุปกรณวิทยุ โทรทัศน และการสื่อสาร 193 81,593,155,789 92,297 425,586 4,088,884 422,762,465 478 2,205 21,186 อุปกรณที่ใชทางการแพทย การวัดความเที่ยง 43 21,843,939,141 14,181 91,730 660,799 507,998,585 330 2,133 15,367 ยานยนต 197 14,369,883,280 12,062 119,292 1,755,727 72,943,570 61 606 8,912 อุปกรณการขนสงอืน่ๆ 57 1,240,127,000 3,915 30,673 418,713 21,756,614 69 538 7,346 เฟอรนิเจอร 400 21,105,483,035 19,922 105,156 5,578,015 52,763,708 50 263 13,945 การนําผลติภัณฑเกามาผลิตเปนวัตถุดิบใหม 132 1,896,089,000 1,879 22,130 810,644 14,364,311 14 168 6,141 การไฟฟา กาซ ไอน้ํา และน้ํารอน 22 51,529,628,589 1,038 1,394,702 955,534 2,342,255,845 47 63,396 43,433 การเก็บน้ํา การทําน้าํใหบริสุทธ์ิ และการจายน้ํา 10 6,136,802,396 149 26,222 1,107,752 613,680,240 15 2,622 110,775 การขายสง ขายปลีก การซอมแซมยานยนต 504 8,102,962,654 6,699 29,005 1,588,303 16,077,307 13 58 3,151

รวม 8,633 691,828,918,749 558,112 15,482,977 168,577,523 80,137,718 65 1,793 19,527 ท่ีมา: กรมโรงงานอุตสาหกรรม, 2550 4.8.2 การเปล่ียนแปลงทางดานอุตสาหกรรมในอนาคตของพื้นท่ีอนภุาค 8 จังหวัด 4.8.2.1 แนวโนมการเจริญเติบโตของภาคอุตสาหกรรมในอนุภาค 8 จังหวัด

สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย ไดทําการคาดประมาณมูลคาผลิตภัณฑมวลรวมในภาคอุตสาหกรรมของประเทศและจังหวัดตางๆ ในชวงป 2550 ถึง 2600 เอาไว โดยผลการคาดประมาณผลิตภัณฑอนุภาค (กลุมจังหวัดอางทอง พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี นนทบุรี ชัยนาท สิงหบุรี ลพบุรี และสระบุรี) นําเสนอไวดังตารางที่ 4.8-13 (วิธีการคาดประมาณดูรายละเอียดไดในหัวขอ 4.6 สาขาเศรษฐกิจ)

Page 18: 4.8 4.8.1 สถานการณ ด านอุตสาหกรรมในป ...eservices.dpt.go.th/eservice_6/ebook/data/055/01/... · 2015-09-14 · 4.8.1 สถานการณ

โครงการจัดทําฐานขอมูลและวิเคราะหเพื่อวางผังอนุภาค รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย กลุมจังหวัดอางทอง พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี นนทบุรี ชัยนาท สิ่งบุรี ลพบุรี และสระบุรี บทที่ 4 การศึกษาและวิเคราะหขอมูลรายสาขา

บริษัท ไทยวิคตอรี่ไชน จํากัด 4.8 -18 ธันวาคม 2550

ตารางที่ 4.8-13 แสดงคาดประมาณมูลคาและอัตราการขยายตัวของผลิตภัณฑในพื้นท่ีอนุภาค 8 จังหวัด สาขาอุตสาหกรรม ในชวง ป 2550 - 2600

หนวย: ลานบาท มูลคา อัตราการขยายตัวเฉลี่ยตอป

2550 2555 2565 2580 2600 2550-55

2555-65

2565-80

2580-2600

ภาคอตุสาหกรรมการผลิต 373,506 475,266 783,263 1,419,139 2,422,258 4.94 5.12 4.04 2.71 อาหาร 11,019 13,134 14,978 21,340 49,613 3.57 1.32 2.39 4.31 สิ่งทอ เคร่ืองนุงหม 18,511 20,592 29,112 38,283 64,911 2.15 3.52 1.84 2.68 รองเทา และเครื่องหนัง 6,481 7,949 13,378 20,651 40,725 4.17 5.34 2.94 3.45 อุตสาหกรรมไม 569 695 1,094 1,897 2,017 4.07 4.64 3.74 0.31 กระดาษ และผลิตภัณฑกระดาษ 4,369 5,279 8,594 14,026 24,356 3.85 5.00 3.32 2.80 ปโตรเลียม เคมีและผลิตภัณฑเคมี 9,251 10,778 15,194 19,074 22,838 3.10 3.49 1.53 0.90 ยาง และพลาสติก 11,046 13,333 23,295 27,576 28,432 3.84 5.74 1.13 0.15 ผลิตภัณฑแรอโลหะ 48,854 64,760 112,402 229,036 200,258 5.80 5.67 4.86 -0.67 เหล็ก และเหล็กกลา 1,647 1,952 3,309 4,700 4,479 3.46 5.42 2.37 -0.24 ผลิตภัณฑที่ทําจากโลหะประดิษฐ 7,009 9,400 16,072 34,124 39,516 6.05 5.51 5.15 0.74 ไฟฟา และอิเลคทรอนิกส 124,238 167,536 308,153 584,561 699,163 6.16 6.28 4.36 0.90 ยานยนตและชิ้นสวน 54,454 64,896 93,463 144,203 166,801 3.57 3.72 2.93 0.73 อุตสาหกรรมการผลิตอื่นๆ 76,057 94,963 144,218 279,668 1,079,148 4.54 4.27 4.51 6.98 ท่ีมา: สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย, 2550

จากผลการคาดประมาณ พบวา ในระยะสั้น ป 2550-2555 มูลคาผลิตภัณฑภาคอุตสาหกรรม

การผลิตของอนุภาค มีแนวโนมขยายตัวเฉลี่ยรอยละ 4.9 ตอป อุตสาหกรรมไฟฟาและอิเลคทรอนิกส จะเปนอุตสาหกรรมที่มีการขยายตัวสูงที่สุด สวนในระยะกลาง ป 2555 – 2565 จะเปนชวงที่ภาคอุตสาหกรรมการผลิตมีการขยายตัวสูงที่สุด เฉลี่ยรอยละ 5.12 ตอป โดยอุตสาหกรรมไฟฟาและอิเลคทรอนิกสยังเปนสาขานําในการขยายตัว สวนในระยะยาว ตั้งแตป 2565 เปนตนไป แมวาภาคอุตสาหกรรมจะยังคงมีการขยายตัวอยางตอเนื่อง แตอัตราการขยายตัวจะนอยกวาในชวงระยะสั้นและระยะกลาง โดยขยายตัวเฉล่ียรอยละ 4.0 ตอป และจะลดลงเรื่อยๆ จนเหลือประมาณรอยละ 2.7 ตอป หลังจากป 2580

อยางไรก็ตาม การคาดประมาณขางตน เปนการคาดประมาณโดยวิเคราะหจากแนวโนมของการเจริญเติบโตของอุตสาหกรรมการผลิตแตละประเภทในอดีต ตลอดจนแนวทางการพัฒนาของภาคอุตสาหกรรมที่วางเอาไวในปจจุบัน ทั้งนี้ในอนาคต หากมีนโยบายในการพัฒนาอุตสาหกรรมเฉพาะทาง ประเภทใดประเภทหนึ่ง หรือมีโครงการลงทุนขนาดใหญที่เขามามีผลกระทบกับการเจริญเติบโตของอุตสาหกรรมในอนุภาค โครงสรางการผลิตของภาคอุตสาหกรรมก็อาจแตกตางไปจากที่คาดประมาณไวได

Page 19: 4.8 4.8.1 สถานการณ ด านอุตสาหกรรมในป ...eservices.dpt.go.th/eservice_6/ebook/data/055/01/... · 2015-09-14 · 4.8.1 สถานการณ

โครงการจัดทําฐานขอมูลและวิเคราะหเพื่อวางผังอนุภาค รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย กลุมจังหวัดอางทอง พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี นนทบุรี ชัยนาท สิ่งบุรี ลพบุรี และสระบุรี บทที่ 4 การศึกษาและวิเคราะหขอมูลรายสาขา

บริษัท ไทยวิคตอรี่ไชน จํากัด 4.8 -19 ธันวาคม 2550

เมื่อวิเคราะหความเปนไปไดในการขยายตัวของภาคอุตสาหกรรมของจังหวัดตางๆ ในอนุภาค พบวาแนวโนมการเจริญเติบโตของแตละจังหวัดจะเปนไปในทิศทางเดียวกับอนุภาค โดยจั งหวัดที่ มี มู ลค าผ ลิตภัณฑจั งหวัดในสาขาอุตสาหกรรมสู งที่ สุดในป 2 6 0 0 ยั งคง เปนพระนครศรีอยุธยา ในขณะที่จังหวัดที่แนวโนมการขยายตัวของภาคอุตสาหกรรมสูงที่สุดในอนุภาคในชวงป 2550-2580ไดแกจังหวัดสระบุรี แตหลังจากป 2580 ไปแลว การขยายตัวจะลดลงมาก โดยจังหวัดที่นาจะมีการขยายตัวมากในชวงป 2580 เปนตนไป คือจังหวัด นนทบุรี (ตารางที่ 4.8-14) แผนภูมิท่ี 4.8-3 แสดงอตัราการขยายตัวของภาคอุตสาหกรรมของจังหวัดตางๆ ในพืน้ท่ีอนุภาค 8 จังหวัด ในชวงป 2550-2600

ท่ีมา: สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย, 2550

ตารางที่ 4.8-14 แสดงการคาดประมาณมูลคาและอัตราการขยายตัวของผลิตภัณฑจังหวัดสาขาอุตสาหกรรมการผลิต ในพื้นท่ีอนุภาค 8 จังหวัด ในอนาคต ป 2550 - 2600

หนวย: ลานบาท มูลคา อัตราการขยายตัวฉล ี่ยตอป

2550 2555 2565 2580 2600 2550-55 2555-65 2565-80 2580-2600 อางทอง 11,699 14,632 23,185 47,419 102,820 4.58 4.71 4.89 3.95

พระนครศรีอยุธยา 239,582 306,445 501,789 927,892 1,709,175 5.05 5.06 4.18 3.10 ปทุมธานี 109,402 138,251 231,014 447,091 887,406 4.79 5.27 4.50 3.49 นนทบุรี 55,792 69,747 109,989 216,206 530,917 4.57 4.66 4.61 4.59 ชัยนาท 12,556 15,351 23,243 45,827 107,278 4.10 4.24 4.63 4.34 สิงหบุรี 10,842 13,441 20,850 40,142 87,065 4.39 4.49 4.46 3.95 ลพบุรี 42,988 54,318 87,631 166,864 300,590 4.79 4.90 4.39 2.99 สระบุรี 70,971 92,549 155,459 321,106 473,117 5.45 5.32 4.95 1.96 อนุภาค 373,506 475,266 783,263 1,419,139 2,422,258 4.94 5.12 4.04 2.71

ท่ีมา: สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย, 2550

0

1

2

3

4

5

6

2550-55 2555-65 2565-80 2580-2600

อางทองอยุธยาปทุมธานีนนทบุรีชัยนาทสิงหบุรีลพบุรีสระบุรี

อัตราขยายตัว:

Page 20: 4.8 4.8.1 สถานการณ ด านอุตสาหกรรมในป ...eservices.dpt.go.th/eservice_6/ebook/data/055/01/... · 2015-09-14 · 4.8.1 สถานการณ

โครงการจัดทําฐานขอมูลและวิเคราะหเพื่อวางผังอนุภาค รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย กลุมจังหวัดอางทอง พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี นนทบุรี ชัยนาท สิ่งบุรี ลพบุรี และสระบุรี บทที่ 4 การศึกษาและวิเคราะหขอมูลรายสาขา

บริษัท ไทยวิคตอรี่ไชน จํากัด 4.8 -20 ธันวาคม 2550

4.8.2.2 แนวโนมความตองการแรงงานในภาคอุตสาหกรรมในอนาคตของอนุภาค จากขอมูลการคาดประมาณความตองการแรงงานของสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย ในชวงป 2550 ถึง 2600 พบวาความตองการแรงงานโดยรวมของภาคอุตสาหกรรมการผลิตในอนุภาคจะมีแนวโนมลดลงหลัจากป 2580 เปนตนไป โดยผลการคาดประมาณนําเสนอไวดังตารางที่ 4.8-15 (วิธีการคาดประมาณดูรายละเอียดไดในหัวขอ 4.6 สาขาเศรษฐกิจ) จากผลการคาดประมาณขางตน ในระยะสั้นและระยะกลาง ป 2555 จนถึง 2565 ความตองการแรงงานในภาคอุตสาหกรรมการผลิตของอนุภาคมีแนวโนมเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากการขยายความตองการแรงงานของอุตสาหกรรมหลายประเภท เชนอุตสาหกรรมไฟฟาและอิเลคทรอนิกส และอุตสาหกรรมเซรามิกและแกวเปนตน เปนตน แตในระยะยาว ตั้งแตป 2580 เปนตนไป ความตองการแรงงานภาคอุตสาหกรรมการผลิตจะเริ่มลดลงเมื่อเทียบกับปจจุบัน โดยในป 2600 ความตองการโดยรวมจะลดลงเหลือประมาณ 6.8 แสนราย ใกลเคียงกับในป 2548 ที่เคยมีความตองการ 7.1 แสนราย ทั้งนี้สาเหตุมาจากจากการหดตัวลงของอุตสาหกรรมบางประเภทที่นาจะมีการปรับเปลี่ยนฐานการผลิตใหม เชนอุตสาหกรรมไมและเครื่องเรือน อุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุงหม และอุตสาหกรรมเซรามิก ที่นาจะมีการโยกยายฐานการผลิตบางสวนออกไปจากอนุภาค นอกจากนี้แรงงานบางสวนจะออกไปทํางานในภาคบริการเพิ่มมากขึ้น อีกดวย

ตารางที่ 4.8-15 แสดงการคาดประมาณจํานวนแรงงานในในพื้นท่ีอนุภาค 8 จังหวัด ในอนาคต ป 2555 - 2600

หนวย: คน กิจกรรมการผลิต 2548 2555 2565 2580 2600

ภาคอตุสาหกรรมการผลิต 708,994 781,361 890,413 860,549 689,611 อาหารและอาหารสัตว 85,426 90,035 75,926 61,155 63,581 สิ่งทอ เคร่ืองนุงหม 82,548 80,380 81,974 60,575 46,080 รองเทา และเครื่องหนัง 28,792 33,680 41,002 35,823 31,472 อัญมณีและเครื่องประดับ 6,841 6,649 7,294 7,935 13,835 อุตสาหกรรมไมและเครื่องเรือน 61,047 72,852 83,282 81,677 38,936 กระดาษและผลิตภัณฑกระดาษ 6,883 7,258 8,322 7,555 5,944 ปโตรเลียม 1,930 2,358 2,567 2,185 1,524 ปโตรเคมี 3,666 4,602 4,763 3,361 1,813 เคม ี 16,622 17,736 18,255 13,121 7,253 ยางพาราและผลิตภัณฑยาง 14,039 14,822 17,997 11,726 5,408 ผลิตภัณฑพลาสติก 17,897 19,335 23,929 15,879 7,405 เซรามิกและแกว 51,438 61,392 75,512 84,973 33,138 เหล็กและเหล็กกลา 8,989 9,639 11,656 9,325 4,070 แมพิมพ 20,492 24,123 28,887 34,157 17,705 ไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส 147,150 187,609 248,776 263,087 143,282 ยานยนตและชิ้นสวน 22,061 22,611 22,867 19,542 10,153 อุตสาหกรรมการผลิตอื่นๆ 133,174 126,278 137,404 148,471 258,014 ท่ีมา: สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย, 2550

Page 21: 4.8 4.8.1 สถานการณ ด านอุตสาหกรรมในป ...eservices.dpt.go.th/eservice_6/ebook/data/055/01/... · 2015-09-14 · 4.8.1 สถานการณ

โครงการจัดทําฐานขอมูลและวิเคราะหเพื่อวางผังอนุภาค รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย กลุมจังหวัดอางทอง พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี นนทบุรี ชัยนาท สิ่งบุรี ลพบุรี และสระบุรี บทที่ 4 การศึกษาและวิเคราะหขอมูลรายสาขา

บริษัท ไทยวิคตอรี่ไชน จํากัด 4.8 -21 ธันวาคม 2550

4.8.2.3 แนวโนมความตองการทักษะและความสามารถของแรงงาน จากกระแสโลกาภิวัตนการดําเนินธุรกิจและอุตสาหกรรมการผลิตในปจจุบันจําเปนตองมี

การปรับตัวอยางมากโดยเฉพาะอยางผูผลิตที่มีการสงออก ทั้งนี้เนื่องจากการรวมกลุมและความรวมมือทางเศรษฐกิจของกลุมตางๆ ทั่วโลก เชน WTO AFTA EU เปนตน ไดกําหนดมาตรฐานของสินคาในรูปขอกีดกันทางภาษีและที่ไมใชภาษี เชน ขอกําหนดเกี่ยวกับคุณภาพ ความปลอดภัย (Good Manufacturing Practices-GMP และ Hazard Analysis and Critical Control Point - HACCP) สุขอนามัยหรือส่ิงแวดลอม (Sanitary and Phytosanitary - SPS) เปนตน การผลิตสินคาอุตสาหกรรมจึงตองมีการปรับตัวเพื่อเปนการผลิตที่ตรงตามความตองการของตลาด ในการนี้จําเปนตองพัฒนาคุณภาพของบุคลากรในอุตสาหกรรม สําหรับในพื้นที่อนุภาค อุตสาหกรรมที่มีความสําคัญตอการพัฒนาเศรษฐกิจ มีมูลคาผลผลิตและมูลคาเพิ่มสูง และเปนอุตสาหกรรมเปาหมายตามยุทธศาสตรของประเทศ ไดแก อุตสาหกรรมอาหารอุตสาหกรรมผลิตยานยนตและชิ้นสวน อุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุงหม อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส อุตสาหกรรมเครื่องหนัง และอุตสาหกรรมเฟอรนิเจอร ความตองการทักษะของแรงงานเพื่อรองรับการพัฒนาในอนาคตมีดังนี้

อุตสาหกรรมอาหาร บุคลากรในอุตสาหกรรมอาหารที่มีบทบาทสําคัญในอนาคต ไดแก บุคลากรทางดาน

Food Science ที่มีความสามารถเฉพาะดาน เชน ดานการวิจัยและพัฒนาในดานการผลิตเพื่อคิดคนผลิตภัณฑใหมๆ และเพิ่มมูลคาสินคา ดานการตรวจสอบคุณภาพ (Quality Control - QC) เพื่อวิเคราะหคุณภาพและความปลอดภัยของอาหาร สําหรับแรงงานในกระบวนการผลิตและบรรจุภัณฑตองการแรงงานที่มีความสะอาด ละเอียดออนและประณีต และบุคลากรที่มีความรูดาน Logistics

อุตสาหกรรมผลิตยานยนตและชิ้นสวน ลักษณะของบุคลากรที่ตองการในอุตสาหกรรมนี้ ไดแก แรงงานระดับวิศวกร และระดับ

ชางเทคนิค ซ่ึงมีความเชี่ยวชาญเฉพาะทาง เชน ดานออกแบบ วิจัยและพัฒนา มีความสามารถในการส่ือสารภาษาตางประเทศโดยเฉพาะภาษาอังกฤษ ติดตามเทคโนโลยีและนํามาประยุกตใชไดโดยเฉพาะเทคโนโลยีการผลิตระดับสูงและซับซอน โดยในปจจุบันงานที่ใชทักษะสูงตองอาศัยการดําเนินการและควบคุมโดยผูเชี่ยวชาญตางประเทศแทบทั้งสิ้น การถายทอดความรูและเทคโนโลยีจากผูเชี่ยวชาญตางประเทศยังมีจํากัดและขาดกลไกในการดูดซับการถายทอดเทคโนโลยีที่ดี นอกจากนี้สถาบันการศึกษาควรมีบทบาทในการใหการฝกอบรมดานเทคนิค เชน โครงการฝกงาน เปนตน เนื่องจากพบวามีปญหาบัณฑิตจบใหมขาดประสบการณตรงในการทํางาน

อุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุงหม ในอุตสาหกรรมตนน้ําทักษะแรงงานที่ตองการ คือ วิศวกรและผูเชี่ยวชาญที่สามารถ

คิดคนนวัตกรรมและมีความชํานาญดานภาษาตางประเทศ โดยเฉพาะในสวนของเสนใยสังเคราะห ซ่ึงปจจุบันไดใชการวาจางชาวตางชาติ เชน อินเดีย จีน ไตหวัน และญี่ปุน ในสวนของอุตสาหกรรมกลางน้ําทักษะแรงงานที่ตองการ คือ ดีไซเนอรที่มีความสามารถในการสรางนวัตกรรมและออกแบบผืนผา

Page 22: 4.8 4.8.1 สถานการณ ด านอุตสาหกรรมในป ...eservices.dpt.go.th/eservice_6/ebook/data/055/01/... · 2015-09-14 · 4.8.1 สถานการณ

โครงการจัดทําฐานขอมูลและวิเคราะหเพื่อวางผังอนุภาค รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย กลุมจังหวัดอางทอง พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี นนทบุรี ชัยนาท สิ่งบุรี ลพบุรี และสระบุรี บทที่ 4 การศึกษาและวิเคราะหขอมูลรายสาขา

บริษัท ไทยวิคตอรี่ไชน จํากัด 4.8 -22 ธันวาคม 2550

เพื่อสรางมูลคาเพิ่ม มีความเขาใจแฟชั่นในระดับโลก (Global Context) วิศวกรที่มีความชํานาญเฉพาะดานสามารถทํางานกับเครื่องจักรและเทคโนโลยีที่ซับซอนได เชน Organic Chemical Physical Chemical Textile Fiber ผูเชี่ยวชาญทางดานสีฟอกยอม ผูเชี่ยวชาญดานวัสดุศาสตร สําหรับอุตสาหกรรมปลายน้ํา ตองการแรงงานที่มีความสามารถตัดเย็บและใชเครื่องจักรในการผลิตได ซ่ึงเปนกลุมที่ไมจําเปนตองมีทักษะการผลิตรอบดาน แตมีความสามารถและทักษะเฉพาะทาง (Specialization) เนื่องจากมีการพัฒนาเครื่องจักรมาชวยในการผลิต

อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส ทักษะที่ตองการของบุคลากรในอุตสาหกรรมนี้ ไดแก บุคลากรดานวิทยาศาสตรและ

เทคโนโลยี (Science and Technology - S&T) เชน วิศวกรและนักออกแบบดานที่มีความรูดาน Micro-Electronic Embedded System (ES) วงจรรวม (IC Design) และ Wafer Fabrication ชางเทคนิคระดับควบคุมเครื่องจักร Automation and Advanced Manufacturing Process

อุตสาหกรรมเครื่องหนัง ลักษณะของแรงงานที่ตองการในอุตสาหกรรมนี้ ไดแก นักออกแบบ วิศวกรเคมี และนัก

เคมีที่มีความสามารถในแงเทคนิคการผลิตและการออกแบบผลิตภัณฑใหมีมูลคาเพิ่มสูง มีการพัฒนาองคความรูทางดานวัตถุดิบ สารเคมีและกระบวนการผลิตที่สอดคลอง ควบคูไปกับการอบรมในดานการออกแบบอยางมีระบบ นักออกแบบควรมีความคิดสรางสรรคและมีความรูความเขาใจในดานวิทยาศาสตรอยางเพียงพอ การทํางานควรเปนในลักษณะประสานกัน เชน นักเคมีผูเชี่ยวชาญในสวนฟอกหนังกับนักออกแบบเพื่อผลิตหนังฟอกแบบใหมๆ ในปจจุบันบริษัทขนาดใหญที่มีการรวมทุนกบัตางชาติจะมีการสงวิศวกรเคมีและนักเคมีมาเปนที่ปรึกษาและควบคุมการผลิต หากเปนบริษัทคนไทยที่มีขนาดใหญจะมีการจางบุคลากรดังกลาวจากไตหวัน เยอรมัน และอิตาลี

อุตสาหกรรมเฟอรนิเจอร บุคลากรที่ตองการในอุตสาหกรรมนี้ ไดแก แรงงานในระดับเทคนิค เชน นักออกแบบที่

มีความคิดริเร่ิมสรางสรรค และมีทักษะในการใชคอมพิวเตอรชวยในการออกแบบ (Computer-Aided Design - CAD) แรงงานในระดับวิศวกรและผูควบคุมเครื่องจักร ในสวนของการผลิต ประกอบและตกแตงตองการแรงงานที่มีความประณีตและละเอียดออน

4.8.3 สรุปผลการวิเคราะหขอมูลสาขาอุตสาหกรรมในพืน้ท่ีอนุภาค 8 จังหวัด จากขอมูลดานอุตสาหกรรมที่นําเสนอไวขางตน จะเห็นไดวาสาขาอุตสาหกรรมมีความสําคัญตอการพัฒนาของอนุภาคเปนอยางมากตลอดชวง 10 ปที่ผานมา โดยมีอุตสาหกรรมไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส อุตสาหกรรมผลิตภัณฑจากแรอโลหะ อุตสาหกรรมอาหาร และอุตสาหกรรมสิ่งทอ เปนสาขาการผลิตหลักของอนุภาค และมีฐานการผลิตหลักอยูในบริเวณตอนลางของอนุภาค ไดแกพระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี และนนทบุรี

Page 23: 4.8 4.8.1 สถานการณ ด านอุตสาหกรรมในป ...eservices.dpt.go.th/eservice_6/ebook/data/055/01/... · 2015-09-14 · 4.8.1 สถานการณ

โครงการจัดทําฐานขอมูลและวิเคราะหเพื่อวางผังอนุภาค รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย กลุมจังหวัดอางทอง พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี นนทบุรี ชัยนาท สิ่งบุรี ลพบุรี และสระบุรี บทที่ 4 การศึกษาและวิเคราะหขอมูลรายสาขา

บริษัท ไทยวิคตอรี่ไชน จํากัด 4.8 -23 ธันวาคม 2550

จากการวิเคราะหแนวโนมของการขยายตัวของภาคอุตสาหกรรมและการจางงานในอนาคต จะเห็นไดวาในระยะสั้นและระยะกลาง (ป 2555-2580) ภาคอุตสาหกรรมยังสามารถที่จะเติบโตไดอยางตอเนื่องในเกือบทุกอุตสาหกรรม แตในระยะยาวหลังจากป 2580 เปนตนไป การพัฒนาจะมุงเนนไปในอุตสาหกรรมที่ใชเทคโนโลยีระดับสูงในการผลิตมากยิ่งขึ้น เชนอุตสาหกรรมไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส อุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวน ในขณะที่อุตสาหกรรมซึ่งเนนการพึ่งพาวัตถุดิบและแรงงาน เชนอุตสาหกรรมจากแรอโลหะ และอุตสาหกรรมไม จะมีแนวโนมการขยายตัวที่ลดลงจากในปจจุบัน สวนอุตสาหกรรมอาหารนั้น แมจะสรางมูลคาเพิ่มไดไมมากเทาอุตสาหกรรมไฮเทคโนโลยี แตก็เปนอุตสาหกรรมขั้นพื้นฐานที่สําคัญและเปนแหลงการจางงานขนาดใหญของอนุภาค ทั้งนี้สามารถสรุปประเภทของอุตสาหกรรมที่มีแนวโนมการพัฒนาที่ดีในอนาคตของอนุภาคไดดังนี้ 1) อุตสาหกรรมเครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส เปนอุตสาหกรรมการผลิตหลักของอนุภาคทั้งในปจจุบันและในอนาคต โดยเฉพาะการผลิตช้ินสวนอิเล็กทรอนิกส เซมิคอนดักเตอร และชิ้นสวนและอุปกรณประกอบคอมพิวเตอร โดยฐานการผลิตหลักจะอยูในนิคมและศูนยอุตสาหกรรมตางๆ ในพื้นที่ เชนเขตสงเสริมอุตสาหกรรมนวนคร ในจังหวัดปทุมธานี นิคมอุตสาหกรรมบางปะอิน และนิคมอุตสาหกรรมไฮเทค ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เปนตน 2) อุตสาหกรรมชิ้นสวนยานยนต คาดวาจะมีการขยายตัวอยางตอเนื่องในอนาคต โดยโรงงานสวนใหญตั้งอยูในพื้นที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ในเขตอําเภอบางปะอินและอําเภอวังนอย โดยเฉพาะในพื้นที่สวนอุตสาหกรรมโรจนะและนิคมอุตสาหกรรมไฮเทค และยังมีโรงงานขนาดเล็กที่ผลิตชิ้นสวนประกอบตางๆ และการซอมแซมยานยนตตั้งปะปนอยูทั่วไปในเขตชุมชน 3) อุตสาหกรรมแฟชั่น (เสื้อผา เคร่ืองนุงหม รองเทา และเครื่องหนัง) เปนอุตสาหกรรมที่ มี ฐานการผลิตขนาดใหญอยู ในพื้นที่ จั งหวัดปทุมธานีและพระนครศรีอยุธยา โดยเฉพาะบนเสนทางสายพหลโยธิน นอกจากนี้แลวยังมีโรงงานขนาดเล็กกระจายอยูโดยรอบเขตชุมชน ทั้งนี้แมวาในปจจุบันโรงงานจํานวนมากจะประสบกับปญหาการแข็งตัวของคาเงินบาท ทําใหรายไดจากการสงออกลดลง แตในระยะยาวการที่มีนโยบายสงเสริมจากภาครัฐอยางตอเนื่อง เชนโครงการกรุงเทพฯ เมืองแฟชั่น และการหาตลาดใหมๆ นาจะทําใหอุตสาหกรรมกลุมแฟชั่นนี้ยังสามารถขยายตัวตอไปไดอยางตอเนื่องในอนาคต 4) อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม เปนอุตสาหกรรมขั้นพื้นฐานของอนุภาค มีโรงงานขนาดกลางและขนาดเล็กกระจายตัวอยูทั่วทุกพื้นที่ นับเปนแหลงการจางงานที่สําคัญที่สุดแหลงหนึ่ง ทั้งนี้ในอนาคตคาดวาอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่มยังคงมีการขยายตัวของมูลคาการผลิตอยางตอเนื่องในอัตราคอนขางสูง แตแนวโนมการจางงานอาจมีลดลง เนื่องจากรูปแบบการผลิตสวนใหญจะเนนไปที่การใชเครื่องจักรเขามาแปรรูปวัตถุดิบทางการเกษตรมากยิ่งขึ้น อยางไรก็ตามอุตสาหกรรมในกลุมนี้แมวาจะสามารถ

Page 24: 4.8 4.8.1 สถานการณ ด านอุตสาหกรรมในป ...eservices.dpt.go.th/eservice_6/ebook/data/055/01/... · 2015-09-14 · 4.8.1 สถานการณ

โครงการจัดทําฐานขอมูลและวิเคราะหเพื่อวางผังอนุภาค รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย กลุมจังหวัดอางทอง พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี นนทบุรี ชัยนาท สิ่งบุรี ลพบุรี และสระบุรี บทที่ 4 การศึกษาและวิเคราะหขอมูลรายสาขา

บริษัท ไทยวิคตอรี่ไชน จํากัด 4.8 -24 ธันวาคม 2550

อนุญาตใหอยูในพื้นที่ชุมชนเมืองไดหากเปนโรงงานขนาดกลางและขนาดเล็ก แตก็จําเปนตองมีมาตรการในการควบคุมปญหาดานสิ่งแวดลอมที่เขมงวดมาบังคับใช เพื่อปองกันการกอมลพิษออกสูชุมชนโดยรอบ 5) อุตสาหกรรมผลิตภัณฑจากแรอโลหะ วัสดุกอสราง เปนอุตสาหกรรมหลักของจังหวัดสระบุรี ซ่ึงสรางมูลคาเพิ่มเปนอยางมากใหกับจังหวัดและประเทศมาเปนเวลานาน และในอนาคตระยะสั้นและระยะกลาง 2555-2580 คาดวาจะยังสามารถขยายตัวเพิ่มขึ้นไดอีก อยางไรก็ตามอุตสาหกรรมกลุมนี้จัดเปนอุตสาหกรรมที่กอใหเกิดผลกระทบตอส่ิงแวดลอมในระดับที่สูงมาก อีกทั้งยังใชทรัพยากรธรรมชาติเปนตนทุนในการผลิตหลักเกือบทั้งหมด จึงตองพิจารณาในเรื่องผลกระทบสิ่งแวดลอมกอนการขยายขนาดการผลิตใหมากกวาปจจุบัน และควรมีมาตรการในการปองกันและฟนฟูสภาพแวดลอมเพิ่มมากขึ้นควบคูกันไป เพื่อปรับปรุงสภาพพื้นที่ซ่ึงไมสามารถใชเปนแหลงวัตถุดิบไดอีกแลวใหสามารถนําไปใชประโยชนในดานอื่นๆ ไดตอไป 4.8.4 แนวโนมและทิศทางการพัฒนาทางดานอุตสาหกรรมในพื้นท่ีอนุภาค 8 จังหวัด

ทิศทางการพัฒนาอุตสาหกรรมโดยรวมในพื้นที่อนุภาคในอนาคตนั้น มีแนวทางในการพัฒนาที่สอดคลองเชื่อมโยงกับการพัฒนาอุตสาหกรรมในเขตกรุงเทพฯและปริมณฑล โดยจะมุงเนนไปที่การเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันใหกับภาคอุตสาหกรรมในอนุภาค ดวยการบริหารจัดการเทคโนโลยีและทรัพยากรมนุษยที่เหมาะสมในการรองรับกระแสโลกาภิวัฒนซ่ึงมีความเปนพลวัตสูง และการยกระดับคุณภาพชีวิตของประชากร โดยมีกลยุทธในการพัฒนาดังนี้

กลยุทธท่ี 1 การพัฒนาการจัดการและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม การพัฒนาอุตสาหกรรมของไทยที่ผานมายังขาดทิศทางที่ชัดเจนทําใหอุตสาหกรรมของ

ไทยขาดการพัฒนาโครงสรางที่มีความสมดุล เชน การขาดอุตสาหกรรมสนับสนุนที่เพียงพอหรือขาดอุตสาหกรรมที่เปนแหลงวัตถุดิบ ดังนั้นรัฐบาลจะตองกําหนดมาตรการเพื่อใหเกิดการเชื่อมโยงผลิตภัณฑเปาหมายกับการพัฒนาอุตสาหกรรมเหลานี้ เพื่อใหครบวงจร(ในลักษณะ Cluster) เพื่อใหเกิดความมั่นคงในอุตสาหกรรมนั้นๆ การกําหนดมาตรการแรงจูงใจดานภาษีใหเกิดการวิจัยและพัฒนา การถายทอดเทคโนโลยี กําหนดกรอบในการพัฒนาศักยภาพทั้งดานเทคโนโลยี การผลิตและการตลาดใหชัดเจน เปนตน

กลยุทธท่ี 2 การพัฒนามาตรฐานและการรับรองคุณภาพ หัวใจสําคัญอยางหนึ่งในการสงสินคาไปจําหนายตางประเทศใหประสบผลสําเร็จตอ

สินคามีคุณภาพไดมาตรฐานสากล ไมวาจะเปนสินคาอุปโภคหรือบริโภคซ่ึงรัฐจําเปนตองเขาไปสนับสนุนเพื่อสรางสถาบันทดสอบและรับรองมาตรฐานเปนที่ยอมรับในระดับนานาชาติ มีหองปฏิบัติการ (Testing Lab) และการพัฒนาระบบสอบเทียบเครื่องมือวัดที่มีมาตรฐานสากล เชน ที่

Page 25: 4.8 4.8.1 สถานการณ ด านอุตสาหกรรมในป ...eservices.dpt.go.th/eservice_6/ebook/data/055/01/... · 2015-09-14 · 4.8.1 สถานการณ

โครงการจัดทําฐานขอมูลและวิเคราะหเพื่อวางผังอนุภาค รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย กลุมจังหวัดอางทอง พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี นนทบุรี ชัยนาท สิ่งบุรี ลพบุรี และสระบุรี บทที่ 4 การศึกษาและวิเคราะหขอมูลรายสาขา

บริษัท ไทยวิคตอรี่ไชน จํากัด 4.8 -25 ธันวาคม 2550

สํานักมาตรฐาน ผลิตภัณฑอุตสาหกรรมกําลังคนดําเนินการอยู เปนตน เพื่อใหครอบคลุมสินคาสงออกทุกประเภท

กลยุทธท่ี 3 การคาผลิตภัณฑอุตสาหกรรม นอกเหนือจากสินคาที่มีคุณภาพและมาตรฐาน การที่สินคาของไทยสามารถที่จะแขงขัน

ไดในตลาดโลกนั้นจะตองมีตนทุนที่ต่ํา ปจจัยที่สําคัญที่อุตสาหกรรมมีตนทุนสูงคือ ไทยไมมีวัตถุดิบตนน้ํา (Raw Materials) ของตนเอง ตองนําเขาจากตางประเทศ และถาไมไดรับการดูแลในเรื่องของภาษีนําเขาวัตถุดิบที่เหมาะสมก็จะทําใหตนทุนในการผลิตสินคาสูงตามไปดวย ตัวอยางเชน การผลิตไกแชแข็ง ตนทุนไกกระทง มีราคาสูงเพราะวาตนทุนอาหารสัตวมีราคาแพง โดยเฉพาะถั่วเหลืองและขาวโพดที่ตองนําเขาจากตางประเทศ เปนตน นอกจากนั้นตลาดสงออกของไทยยังมีจํากัดไมกี่ประเทศ เมื่อมีปญหากีดกันการนําเขาก็จะกระทบกับอุตสาหกรรมการผลิตนั้นๆ คอนขางมาก การเพิ่มตลาดใหมๆ และการเพิ่มความสามารถทางดานการตลาดใหกับผูประกอบการของไทยใหทันกับการเปลี่ยนแปลงของโลก องคความรูเกี่ยวกับการพัฒนาผลิตภัณฑ เทคนิคการเจรจาตอรอง ความเขาใจ กฎระเบียบของประเทศคูคาเปนสิ่งที่สําคัญ

กลยุทธท่ี 4 การพัฒนาโครงสรางพื้นฐานและฐานการผลิตท่ีสําคัญ การพัฒนาโครงสรางพื้นฐานทางกายภาพ ไมวาจะเปนเสนทางคมนาคมขนสง ไฟฟา

ประปา ระบบสื่อสาร โทรคมนาคม และสารสนเทศ (ICT) และโลจิสติกส ลวนเปนปจจัยสําคัญตอตนทุนในการผลิตของอุตสาหกรรมประเภทตางๆ การเลือกพื้นที่ๆ เหมาะสมใหกับการสงเสริมอุตสาหกรรมเปนสิ่งที่จําเปน อาทิ อุตสาหกรรมใชแรงงานเขมขนควรจะตั้งอยูใกลแหลงคนงาน อุตสาหกรรมที่ใชวัตถุดิบ (Resource-Based Industry) ควรจะตั้งอยูใกลแหลงวัตถุดิบเหลานี้ เปนตน โดยรัฐบาลสามารถจูงใจภาคเอกชนหรือผูประกอบการโดยใชแรงจูงใจดานภาษีที่เหมาะสม จะทําใหอุตสาหกรรมตั้งอยูในพื้นที่ๆ จัดไวให โดยเฉพาะอุตสหากรรมที่มีผลกระทบตอส่ิงแวดลอมสูงๆ การจัดสิ่งอํานวยความสะดวกในดานแหลงเงินกูและแหลงฝกอบรมบุคคลากรก็เปนพื้นฐานที่สําคัญที่จะเกื้อหนุนใหอุตสาหกรรมสามารถพัฒนาไปไดอยางยั่งยืน

กลยุทธท่ี 5 การสงเสริมความปลอดภัยและคุณภาพสิ่งแวดลอม สินคาอุตสาหกรรมหลายประเภทอาจจะมีผลกระทบตอสุขอนามัยของผูใชและ/หรือ

ผูบริโภคโดยตรง เนื่องจากการสัมผัส และ/หรือการบริโภคสินคานั้นๆ นอกจากนั้น สาร (เคมี) ที่เปนองคประกอบในกระบวนการผลิตหรือเปนสวนประกอบในการผลิต อาจจะเปนอันตรายตอผูใชและส่ิงแวดลอม ถาไมไดรับการกําจัดที่เหมาะสม เปนตน ดังนั้น การนําระบบมาตรฐาน ISO14000 หรือระบบมาตรฐานอื่นๆ ซ่ึงเปนที่ยอมรับในตลาดมาใช จึงเปนสิ่งจําเปน เพื่อยกระดับอุตสาหกรรมใหเปนมิตรตอส่ิงแวดลอม ผูบริโภค และประชาชนโดยทั่วไป

กลยุทธท่ี 6 การพัฒนาอุตสาหกรรมชุมชนหรือ OTOP และ SMEs การสนับสนุนโครงการ OTOP ซ่ึงเปนอุตสาหกรรมในระดับชุมชนที่ไดรับการ

สนับสนุนทั้งดานเทคนิค ดานเงินทุน และการตลาดอยางเหมาะสม ทําใหอุตสาหกรรมขนาดยอมใน

Page 26: 4.8 4.8.1 สถานการณ ด านอุตสาหกรรมในป ...eservices.dpt.go.th/eservice_6/ebook/data/055/01/... · 2015-09-14 · 4.8.1 สถานการณ

โครงการจัดทําฐานขอมูลและวิเคราะหเพื่อวางผังอนุภาค รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย กลุมจังหวัดอางทอง พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี นนทบุรี ชัยนาท สิ่งบุรี ลพบุรี และสระบุรี บทที่ 4 การศึกษาและวิเคราะหขอมูลรายสาขา

บริษัท ไทยวิคตอรี่ไชน จํากัด 4.8 -26 ธันวาคม 2550

กลุมนี้มีศักยภาพในการขยายตัวอยางตอเนื่องจนนาจะเปนอุตสาหกรรมที่สําคัญตอไปไดในอนาคต นอกจากนั้นรัฐบาลยังใหความสําคัญกับการพัฒนาอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดยอม จากธุรกิจ SMEs ซ่ึงมีอยูถึง 1.64 ลานแหงทั่วประเทศ หากอุตสาหกรรมเหลานี้มีมาตรการในการสงเสริมเปนพิเศษ ดังเชนประเทศอื่นๆ ในทวีปเอเชีย เชน ไตหวัน และ ญ่ีปุน ก็จะทําใหอุตสาหกรรมกลุมนี้เปนแหลงสรางมูลคาเพิ่มและการจางงานใหกับอนุภาคนี้ได

กลยุทธท่ี 7 การพัฒนาแหลงวัตถุดิบเพื่ออุตสาหกรรม อุตสาหกรรมหลายประเภทของไทยใชแหลงวัตถุดิบที่มีอยูประเทศ เชน อุตสาหกรรมป

โตรเคมี อุตสาหกรรมวัสดุกอสราง โดยเฉพาะปูนซีเมนต อุตสาหกรรมแปรรูปสินคาเกษตร (เชน กุง ไก สับปะรด) อุตสาหกรรมยาง ยางพารา อุตสาหกรรมเฟอรนิเจอรและไม เปนตน มีความจําเปนที่จะตองปรับปรุงกระบวนการผลิตและคุณภาพของวัตถุดิบใหมีคุณภาพสูงขึ้นเสมอ ขณะเดียวกันก็ตองมีคุณภาพตรงตามความตองการของอุตสาหกรรมนั้นๆ และที่สําคัญคือ มีราคาไมสูงเกินไป ในกรณีที่ไมสามารถปรับปรุงการผลิตวัตถุดิบในประเทศใหเพียงพอ และ/หรือมีคุณภาพตามตองการและมีราคาถูกไดก็จําเปนตองสงเสริมใหมีการคนควา แสวงหาวัสดุทดแทนที่ตนทุนต่ํากวาหรือยอมใหมกีารนําเขาวัตถุดิบที่ขาดแคลนโดยเก็บภาษีนําเขาในอัตราที่ไมเปนภาระตอผูผลิตอุตสาหกรรม มากนัก

กลยุทธท่ี 8 การพัฒนากําลังคนเพื่ออุตสาหกรรม ประเทศไทยมิไดกําหนดหลักเกณฑในการพัฒนากําลังคนเพื่ออุตสาหกรรมไวในแผน

ปฏิรูปการศึกษา พ.ศ. 2541 อยางชัดเจนวาจะมีการผลิตกําลังคนเพื่อตอบสนองตอภาคอุตสาหกรรมไปในทิศทางใด แตในสภาพที่เปนจริงในปจจุบันนั้น อุตสาหกรรมทุกขนาดและทุกพื้นที่ของประเทศสามารถดูดซับกําลังคนไวไดเกือบ 10 ลานคน ในอุตสาหกรรมกลุมที่ใชแรงงานเขมขน จริงอยูอาจจะมีจํานวนแรงงานมากพอในเชิงปริมาณ แตก็ยังมีปญหาขาดแคลนแรงงานที่มีความรูเฉพาะดานประเภทชางฝมือที่มีความเชี่ยวชาญสูงอยูเปนจํานวนมาก ในขณะที่อุตสาหกรรมของไทยที่มีการใชเทคโนโลยีคอนขางสูงในการผลิต ก็ประสบปญหาขาดแคลนแรงงานระดับชวงฝมือทั้งดานปริมาณและคุณภาพเชนเดียวกัน โดยเฉพาะสาขาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (S&T) ดวยแลว ถาแรงงานเหลานี้ทํางานใหภาคเอกชนจะไดรับคาตอบแทนที่สูงกวาทํางานกับภาครัฐบาล แตถึงกระนั้นก็ไมคอยมีแรงงาน S&T สนใจทํางานในภาคอุตสาหกรรมมากเทาที่ควรจะเปน ทั้งนี้เนื่องจากแตละภาคอุตสาหกรรมเองในปจจุบันมีการทําวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีไมมากนัก จึงทําใหไมมีแหลงงานที่มีความทาทายและความกาวหนาในอาชีพ นอกจากนั้นตัวผูจบการศึกษาสาย S&T เองก็มีคุณภาพไมตรงกับความตองการของผูประกอบการ สวนหนึ่งมีสาเหตุจากการขาดแคลนอาจารยในดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีในระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษาที่มีประสบการณอุตสาหกรรมที่แทจริง ทําใหคุณภาพของผูจบการศึกษาสาย S&T ตกต่ําไปดวย แตอุตสาหกรรมเองก็ยังมีความตองการแรงงาน S&T อยูจํานวนหนึ่งซึ่งหายาก ทําใหคาจางแรงงานสูงขึ้นจนอาจจะเปนอุปสรรคในการพัฒนาอุตสาหกรรม ดังนั้นจึงจําเปนตองกําหนดมาตรการนี้ขึ้นเพื่อพัฒนากําลังคนใหเปนไปในทิศทางที่ตองการทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ