รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง...

128
รูปแบบการทองเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ดุจเดือน เบ็ญจรูญ พัฒนานิพนธเลมนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษารายวิชาการฝกงานพัฒนาชุมชน Practicum in Community Development (0109411) ภาคเรียนที1 ปการศึกษา 22555 มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

Upload: lpkebook-laoponekaw

Post on 08-Mar-2016

217 views

Category:

Documents


2 download

DESCRIPTION

งานพัฒนาของนางสาวดุจเดือน เบ็ญจรูญ นิสิตชั้นปีที่ 4 สาขาพัฒนาชุมชน คณะมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัย มหาสารคาม

TRANSCRIPT

Page 1: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

รูปแบบการทองเท่ียวที่เหมาะสมกับชุมชนหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร

ดุจเดือน เบ็ญจรูญ

พัฒนานิพนธเลมนีเ้ปนสวนหนึ่งของการศึกษารายวิชาการฝกงานพัฒนาชุมชน

Practicum in Community Development (0109411)

ภาคเรียนท่ี 1 ปการศึกษา 22555

มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

Page 2: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

รูปแบบการทองเท่ียวท่ีเหมาะสมกับชุมชนหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร

ดุจเดือน เบ็ญจรูญ

พัฒนานิพนธเลมนีเ้ปนสวนหนึ่งของการศึกษารายวิชาการฝกงานพัฒนาชุมชน

Practicum in Community Development (0109411)

ภาคเรียนท่ี 1 ปการศึกษา 22555

มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

Page 3: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

ประกาศคุณูปการ

พัฒนานิพนธฉบับนี้สําเร็จได โดยไดรับความอนุเคราะหและความกรุณาจากผูมีพระคุณหลายทานท่ีไดใหคําแนะนํา แกไขขอบกพรองของการทํางาน จนทําใหพัฒนานิพนธเลมนี้ไดเสร็จสมบูรณขึ้น

ขอขอบพระคุณ ทานอาจารยสายไหม ไชยศิรินทร อาจารยท่ีปรึกษาพัฒนานิพนธ ที่ไดเสียสละเวลาอันมีคา เพ่ือใหคําปรึกษาแนะนําการจัดทําพัฒนานิพนธ ทุกขั้นตอนในการศึกษาคนควาตลอดเวลาท่ีผานมา รวมถึงไดตรวจสอบแกไขขอบกพรองตางๆดวยความเอาใจใสอยางดี ย่ิง ผูศึกษาขอกราบขอบพระคุณเปนอยางสูงไว ณ โอกาสนี้ดวย ขอขอบพระคุณ คุณเกียรติศักด์ิ ขันทีทาว นักวิชาการเกษตร สังกัดองคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ ซึ่งทําหนาที่เปนอาจารยภาคสนามของขาพเจาเปนอยางสูง ในการใหคําแนะนําและชวยเหลือเกี่ยวกับการฝกงานภาคสนามท่ีตําบลเหลาโพนคอ และชุมชนหวยยาง ขอกราบขอบพระคุณ คุณอนุสรณ พลราชม นายกองคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ คุณมีชัย อุนวิเศษ ปลัดองคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ คุณรัตนะ คําโสมศรี หัวหนาสํานักปลัดองคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ คุณอนุชา ไฝทาคํา นักพัฒนาชุมชน คุณดารุณี พลราชม นักวิชาการศึกษาและเจาหนาท่ีองคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ ทุกทาน ที่คอยใหคําแนะนํา อํานวยความสะดวกรวมถึงใหการตอนรับขาพเจาดวยดีเสมอมา ทําใหไดรับประสบการณที่ดีและมีคุณคาในการฝกงานคร้ังนี้ ขอขอบพระคุณ คุณทวีชัย ยางธิสาร ผูใหญบานบานหวยยางเหนือหมู 9 คุณพายัพ โตะชาลี ผูใหญบานบานหวยยางหมู 6 คุณพอหวล ยางธิสาร อดีตผูใหญบานบานหวยยางหมู 6 คุณพอวิกรานต โตะชาลี อดีตผูใหญบาน บานหวยยางเหนือหมู 9 คุณพอเลา ยางธิสาร คุณแมวิชิน ยางธิสาร ตลอดจนชาวบานหวยยางทุกคนท่ีใหการตอนรับ ชวยเหลือ สนับสนุนขาพเจาในดานขอมูลและประสบการณในชุมชน ตลอดระยะเวลาของการทํางานในชุมชนหวยยาง ขอขอบพระคุณ ผูอํานวยการโรงเรียนบานหวยยาง และคณะครู ท่ีไดชวยเอื้อเฟอ และอํานวยความสะดวกดานสถานท่ีและวัสดุอุปกรณ ในการจัดประชุมชาวบานหวยยาง จนทําใหไดรับขอมูลครบถวนในการจัดทําพัฒนานิพนธ

ขอขอบพระคุณ ทานอาจารย ดร.กนกพร รัตนสุธีระกุล และ อาจารยศศิประภา จันทะวงศ ที่ไดใหคําแนะนําเชิงวิชาการ ดานแนวคิดและทฤษฎี จนทําใหพัฒนานิพนธฉบับนี้มีความนาเชื่อถือในเชิงวิชาการมากย่ิงขึ้น

Page 4: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

ขอขอบคุณ เพ่ือนๆทีมงานการฝกงานพัฒนาชุมชน องคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ไดแก นางสาวศิริภรณ ไชยอุป นางสาวจตุพร อุภัยศรี นางสาวจารุวรรณ โบขุนทด และนางสาวกัลยา โฮมหุมแกว ท่ีไดชวยกันรวมแกไขปญหาตางๆ ใหคําปรึกษา เปนเพ่ือนท่ีรวมทุกข รวมสุข ใหความชวยเหลือตลอดมา และยังเปนกําลังใจใหกันและกันตลอดระยะเวลาในการทําพัฒนานิพนธ

งานพัฒนานิพนธเลมนี้จะสําเร็จลุลวงไมไดหากไมไดรับการสนับสนุนจากครอบครัวเบ็ญจรูญ โดยเฉพาะอยางยิ่งคุณพอคุณแม ดังนั้น ประโยชนและคุณคาของพัฒนานิพนธฉบับนี้ ขาพเจาจึงขอมอบใหแก นายวิเชียร และนางนิท เบ็ญจรูญ ผูเปนบิดาและมารดาของขาพเจา สมาชิกในครอบครัวเบ็ญจรูญ รวมถึงผูท่ีสนใจศึกษาพัฒนานิพนธฉบับนี้

ดุจเดือน เบ็ญจรูญ

Page 5: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

ช่ือเรื่อง รูปแบบการทองเท่ียวท่ีเหมาะสมกับชุมชนหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ผูศึกษา นางสาวดุจเดือน เบ็ญจรูญ อาจารยท่ีปรึกษา อาจารยสายไหม ไชยศิรินทร ปริญญา ศิลปศาสตรบัณฑิต (ศศ.บ.) สาขา การพัฒนาชุมชน มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปท่ีพิมพ 2555

บทคัดยอ

พัฒนานิพนธเรื่องรูปแบบการทองเท่ียวท่ีเหมาะสมกับชุมชนหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอ โคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร มีวัตถุประสงค คือ 1) เพ่ือศึกษาศักยภาพและขอจํากัดของชุมชนหวยยาง และ 2) เพ่ือศึกษาและพัฒนารูปแบบการทองเท่ียวท่ีเหมาะสมกับชุมชนหวยยาง โดยมีแนวคิดและทฤษฎีในการศึกษา คือ ทุนชุมชน การจัดการทองเที่ยวโดยชุมชน และนิเวศวิทยาวัฒนธรรม มีวิธีการศึกษา โดยการสัมภาษณแบบมีโครงสราง การสัมภาษณระดับลึก การสังเกตแบบมีสวนรวม และการสนทนากลุม ซึ่งเก็บขอมูลภาคสนามในชวงเดือนมิถุนายน ถึง เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2555 จากกลุมเปาหมาย จํานวน 28 คน ผลการศึกษามีดังนี้ ประการแรก พบวา ชุมชนหวยยางเปนชุมชนชาติพันธุภูไท ต้ังอยูติดเทือกเขาภูพาน ซึ่งชุมชนมีศักยภาพในหลายดาน คือ ศักยภาพดานทุนทางธรรมชาติ ศักยภาพดานทุนทางสังคม ศักยภาพดานทุนทางวัฒนธรรม และศักยภาพดานทุนทรัพยากรมนุษย ชุมชนยังมีขอจํากัดท่ีเปนปญหาในการพัฒนารูปแบบการทองเท่ียว คือ การคมนาคมไมสะดวก และชาวบานยังขาดความรูความเขาใจดานการจัดการทองเท่ียว ประการท่ีสอง พบวา รูปแบบการทองเท่ียวท่ีเหมาะสมกับชุมชนหวยยาง มี 3 รูปแบบ คือ การทองเท่ียวเชิงนิเวศ การทองเท่ียวเชิงวัฒนธรรม และการทองเที่ยวเชิงเกษตร โดยสรุป การศึกษาครั้งนี้ใหความสําคัญกับการกําหนดรูปแบบการทองเที่ยวท่ีมีความเหมาะสมกับศักยภาพและขอจํากัดของชุมชน ซึ่งเปนประโยชนในการสงเสริมใหชุมชนเปนหมูบานทองเที่ยว โดยชุมชนมีความสามารถในการจัดการการทองเท่ียวไดอยางยั่งยืน

Page 6: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

สารบัญ

บทท่ี หนา

1 บทนํา ..................................................................................................................................... 1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา ............................................................................. 1

คําถามในการศึกษา ............................................................................................................ 4 วัตถุประสงคของการศึกษา ................................................................................................ 4 ขอบเขตของการศึกษา ........................................................................................................ 4 ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ ................................................................................................ 5 พื้นท่ีเปาหมาย .................................................................................................................... 5 ประชากรและกลุมตัวอยาง ................................................................................................ 5 การทบทวนวรรณกรรม ..................................................................................................... 5 แนวคิดในการศึกษา .......................................................................................................... 13

กรอบแนวคิดในการศึกษา ............................................................................................... 18 วิธีดําเนินการศึกษา ........................................................................................................... 19 นิยามศัพทเฉพาะ .............................................................................................................. 20

2 บริบทท่ัวไปของชุมชน ......................................................................................................... 21

บริบททางประวัตศิาสตร .................................................................................................... 21 บริบททางภูมิศาสตร ........................................................................................................ 21

บริบททางทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม .............................................................. 32 บริบททางเศรษฐกิจ ......................................................................................................... 33 บริบทองคกรชุมชน .......................................................................................................... 35

Page 7: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

บทท่ี หนา

3 ศักยภาพและขอจํากัดของชุมชนหวยยาง ................................................................................. 39 ศักยภาพดานทุนทางทรัพยากรธรรมชาต ิ ........................................................................... 39 ศักยภาพดานทนุทางทรัพยากรมนุษย ................................................................................. 52

ศักยภาพดานทุนทางสังคม .................................................................................................. 53 ศักยภาพดานทุนทางวัฒนธรรม ........................................................................................... 59 ขอจํากัดของชุมชนหวยยาง ................................................................................................. 64

ขอจํากดัดานทุนทางทรัพยากรมนุษย ................................................................................. 65 ขอจํากัดดานทุนทางธรรมชาติ .............................................................................................. 65 ขอจํากัดดานทุนทางสังคม ................................................................................................... 65 ขอจํากัดดานทุนทางวัฒนธรรม ............................................................................................ 65

4 รูปแบบการทองเท่ียวที่เหมาะสมกับชุมชน .............................................................................. 66

รูปแบบการทองเที่ยวในปจจุบัน .......................................................................................... 66 รูปแบบการทองเท่ียวท่ีพ่ึงประสงคของชุมชน ..................................................................... 66 รูปแบบการทองเท่ียวที่เหมาะสมกับชุมชน ........................................................................... 67

5 สรุปผล อภิปรายผล และขอเสนอแนะ ..................................................................................... 75

วัตถุประสงคของการศึกษา .................................................................................................. 75 กลุมเปาหมายและกลุมตัวอยางในการศึกษา ........................................................................ 75เคร่ืองมือท่ีใชในการศึกษา ................................................................................................... 76 การเก็บรวบรวมขอมูล ......................................................................................................... 76 สรุปผล ................................................................................................................................ 76 อภิปรายผล .......................................................................................................................... 85 ขอเสนอแนะ ........................................................................................................................ 88

Page 8: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

บทท่ี หนา

บรรณานุกรม ...................................................................................................................................... 89 ภาคผนวก ........................................................................................................................................... 91

ภาคผนวก ก รายชื่อผูใหสัมภาษณ............................................................................................... 92 ภาคผนวก ข แบบสัมภาษณ ..................................................................................................... 95 ภาคผนวก ค ภาพประกอบ ...................................................................................................... 100 ภาคผนวก ง ปฏิทินแสดงฤดูกาลทองเท่ียว .............................................................................. 109 ภาคผนวก จ สถิตินักทองเท่ียวท่ีเขามาทองเท่ียวในสถานท่ีทองเท่ียวของชุมชน ...................... 111

ประวัติยอของผูวิจัย ........................................................................................................................... 117

Page 9: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

บัญชีตาราง

ตาราง หนา

1 การประกอบอาชีพของชาวบานหวยยาง – บานหวยยางเหนือ .............................................. 34 2 กลุมโฮมสเตยบานหวยยางหมูที่ 6 และบานหวยยางเหนือหมูท่ี 9 ...................................... 55 3 รายชื่ออาสาสมัครนําเท่ียวบานหวยยางหมู 6 และบานหวยยางเหนือหมู 9 ......................... 57 4 ปฏิทินแสดงชวงฤดูกาลของสถานท่ีทองเท่ียวในแตละรอบป ............................................... 110

Page 10: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

บัญชีภาพประกอบ

ภาพประกอบ หนา 1 กรอบแนวคิด ........................................................................................................................ 18 2 แผนท่ีกายภาพแสดงที่ต้ังของชุมชนหวยยาง .......................................................................... 22 3 สภาพท่ัวไปของชมุชนหวยยาง ............................................................................................ 23 4 ชุดภูไท ชาย – หญิง ............................................................................................................ 28 5 ชุดภูไทท่ีใชตอนรับแขก ...................................................................................................... 28 6 ปาชุมชน .............................................................................................................................. 33 7 โบสถดิน ............................................................................................................................. 36 8 โรงเรียนบานหวยยาง .......................................................................................................... 36 9 จุดชมวิวพัทยานอย (อางเก็บน้ําหวยโท-หวยยาง) ............................................................... 37 10 ศาลาอนุสรณทรงงาน .......................................................................................................... 38 11 น้ําตกศรีตาดโตน ................................................................................................................. 39 12 พระพุทธสวางศากยมุนี พระนอนท่ี ถ้ําผาเก ....................................................................... 41 13 ถ้ําผานาง (ถ้ําเสรีไทย) ......................................................................................................... 42 14 พระธาตุดอยอางกุง .............................................................................................................. 43 15 พระพุทธศิริมงคล ................................................................................................................ 43 16 ภายนอกถ้ําอางกุง ................................................................................................................ 44 17 ภายในถ้ําอางกุง ................................................................................................................... 44 18 เสาเฉลียง .............................................................................................................................. 45 19 ลานหินกวางที่ชาวบานเรียกวา “ดานหมี” ........................................................................... 46 20 จุดพบฟอสซิลไดโนเสาร ..................................................................................................... 47 21 พระนอนท่ีสํานักสงฆภูนอยอางแกว ................................................................................... 48 22 ภูผานอย ............................................................................................................................... 48 23 ภาพเขียนกอนประวัติศาสตร ................................................................................................ 49 24 อางขนาดใหญท่ีอางแกว ...................................................................................................... 50

Page 11: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

ภาพประกอบ หนา 25 จุดชุมวิวผาขาม ................................................................................................................... 51 26 การหาเห็ดของชาวบานที่ภูยางอึ่ง ....................................................................................... 51 27 การแสดงศิลปวัฒนธรรมพ้ืนบานของกลุมผูสูงอาย ุ ............................................................ 52 28 บริเวณภายนอกบานพัก ....................................................................................................... 54 29 หองนอนสําหรับนักทองเที่ยว ............................................................................................. 54 30 อาสาสมัครนําเที่ยว .............................................................................................................. 56 31 การบรรยายใหความรู .......................................................................................................... 56 32 กลุมเพาะพันธุกลาไม ........................................................................................................... 58 33 โบสถดินแหงแรกของประเทศไทย ..................................................................................... 59 34 การเลี้ยงผีปูตาท่ีปาชุมชน .................................................................................................... 60 35 การฟอนภูไทเพ่ือตอนรับแขกท่ีเขามาเยือนหมูบาน ............................................................ 61 36 เคร่ืองเซนในพิธีเลี้ยงผีของผีหมอ ........................................................................................ 62 37 การถวายเพลพระสงฆเนื่องในงานพิธีสรงน้ําพระภ ู ............................................................ 63 38 พิธีบายศรีสูขวัญตอนรับผูมาเยือนในหมูบาน ...................................................................... 64

Page 12: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

บทท่ี 1

บทนํา

ความเปนมาและความสําคัญของปญหา

ปจจุบันการทองเที่ยวเปนอุตสาหกรรมการบริการที่มีบทบาทตอระบบเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทยเปนอยางมาก การทองเท่ียวในแงของงานพัฒนาชุมชนเปนการใหความสําคัญกับสิทธิชุมชนในการเขามามีสวนรวมในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม โดยมุงพัฒนาให คนในชุมชน เปนหัวใจสําคัญในการจัดการการทองเท่ียว จึงเปนการสรางกระบวนการเรียนรูของคนในชุมชนและใหคนในชุมชนไดเขามามีบทบาทในการจัดการการ เพ่ือใหเกิดการเรียนรูแกผูมาเยือนนําไปสูการดูแลรักษาและฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติ โดยใหมีความสมดุลกับภูมิปญญาทองถิ่นและอัตลักษณทางวัฒนธรรม รวมถึงการเกื้อกูลตอเศรษฐกิจของชุมชนในรูปแบบ “ การทองเท่ียวโดยชุมชน” ซึ่งจะต้ังอยูบนฐานคิดท่ีเนนใหเห็นถึงความสําคัญของการผสมผสานจุดมุงหมายของการฟนฟูและอนุรักษสภาพแวดลอม รวมทั้ง อัตลักษณและความหลากหลายทางวัฒนธรรมของชุมชน นอกจากนี้ยังมีจุดมุงหมายใหคนในชุมชนรูจักการสรางสํานึกทองถิ่น เรงเราความภาคภูมิใจในความเปนอัตลักษณของวัฒนธรรมประเพณีของชุมชน ตลอดจนเปนสวนชวยใหเกิดการสงเสริมใหชุมชนมีสวนรวมใหมีการสรางใหเกิดกระบวนการเรียนรูเกี่ยวกับการวางแผน การบริหารจัดการทรัพยากรและกระจายอํานาจการตัดสินใจโดยเนนความสําคัญของการจัดการธรรมชาติแวดลอมและใชการทองเท่ียวเปนเคร่ืองมือในการพัฒนาชุมชนไปพรอมกัน

ชุมชนหวยยาง ต้ังอยูในตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ประกอบดวยสองหมูบาน คือ บานหวยยาง หมูท่ี 6 และบานหวยยางเหนือ หมูที่ 9 บรรพบุรุษของชาวบานหวยยาง เปนกลุมชาติพันธุภูไท ซึ่งอพยพมาจากประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว เม่ือ 200 ปท่ีผานมา ชุมชนหวยยางต้ังอยูติดเทือกเขาภูพานในเขตอุทยานแหงชาติภูผายล สภาพทั่วไปของชุมชนลอมรอบดวยทุงนา และปาไม จึงทําใหชุมชนมีจุดเดนในเรื่องของความหลากหลายทางทรัพยากรธรรมชาติและมีความเปนอัตลักษณของกลุมชาติพันธุ “ภูไท” โดยวิถีชีวิตของชาวบานหวยยางจะพึ่งพาอาศัยธรรมชาติและฤดูกาลในการประกอบอาชีพในภาคการเกษตรเปนหลัก

Page 13: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

ในป พ.ศ. 2510 บานหวยยางเปนหมูบานยากจนอันดับตนๆของจังหวัดสกลนคร เปนหมูบานท่ีประสบภัยแลงถึง 2 ครั้ง ครั้งท่ี 1 ยายไปอยูท่ีบานทามวง ตําบลน้ําจ่ัน อําเภอเซกา จังหวัดหนองคาย หนีภัยไป 20 ครัวเรือน กลุมที่ 2 ยายไปอยูท่ี บานโคกสําราญ ตําบลชุมภูพร จังหวัดบึงกาฬ ครั้งท่ี 2 หนีภัยไป 12 ครัวเรือน โดยยายตามญาติพ่ีนอง 3 กลุม คือ

กลุมท่ี 1 ยายไปบานทามวง อําเภอเซกา จังหวัดหนองคาย กลุมท่ี 2 ยายไปบานคําบอน ตําบลน้ําจ่ัน อําเภอเซกา จังหวัดหนองคาย กลุมท่ี 3 ยายตามญาติพี่นองไปบานหวยลึก บานบุงคลา จังหวัดหนองคาย ตอมาป พ.ศ. 2524 บานหวยยางและบานหวยยางเหนือ พบปญหาภัยแลง ทําใหไมสามารถทํานา

ไดเพราะขาดน้ําในการเพาะปลูกทําใหชาวบานบานหวยยางตองไปขอทานขาวตามจังหวัดใกลเคียง เชน จังหวัดนครพนม จังหวัดมุกดาหาร และจังหวัดกาฬสินธุ โดยจะนําเอาของท่ีหาไดจากปาไปแลกกับขาวเพ่ือนํามากิน ตอมาไดมีผูสื่อขาวจากหนังสือพิมพเดลินิวสมาทําขาววาบานหวยยางเปนหมูบานขอทานและเปนหมูบานมีความยากจนมากที่สุดของจังหวัดสกลนคร ทําใหขาวถูกเผยแพรออกไปท่ัวประเทศ เม่ือพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงทราบจึงมีรับสั่งใหกรมชลประทานดําเนินการกอสรางอางเก็บน้ํา หวยโท – หวยยางขึ้น ในป พ.ศ. 2529 แลวเสร็จเม่ือป พ.ศ. 2530 ในการนี้พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ ทรงเสด็จมาเปดอางเก็บน้ําหวยโท - หวยยางดวยพระองคเอง เมื่อป พ.ศ. 2532 ต้ังแตบัดนั้นเปนตนมาจนถึงปจจุบัน ทําใหบานหวยยาง – บานหวยยางเหนือ และหมูบานใกลเคียงในเขตตําบลเหลาโพนคอเปนท่ีรูจักของผูคนทั่วไป นอกจากนี้บานหวยยางยังถูกผลักดันใหเปนหมูบานนํารองเศรษฐกิจพอเพียงดานการเกษตรของอําเภอโคกศรีสุพรรณ

ป พ.ศ. 2546 นายรุงฤทธิ์ มกรพงษ ผูวาราชการจังหวัดสกลนครไดมอบเงินจํานวน 125,000 บาท โดยเปนเงินใหเปลาเพ่ือสนับสนุนกลุมเพาะพันธุกลาไม ในปพ.ศ. 2548 หมูบานไดรับการคัดเลือกจากองคกรพัฒนาประชาชน(คอป.) จํานวน 200,000 บาท เปนหมูบานติดอันดับ 1 ใน 8 ของหมูบานท่ัวประเทศไทย และติด 1 ใน 2 หมูบานในภาคตะวันออกเฉียงเหนือในนามกลุมเพาะพันธุกลาไม บานหวยยางเหนือ หมู 9 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร โดยมีนายเริง ยางธิสาร เปนประธานกลุมเพาะพันธุกลาไม และนายวิกรานต โตะชาลี เปนประธานท่ีปรึกษา ทําใหชุมชนมีรายไดเพ่ิมมากขึ้น

ชุมชนหวยยาง มีจุดเดนในเรื่องของความหลากหลายทางทรัพยากรธรรมชาติ เชน สถานที่ทองเท่ียวทางธรรมชาติ ไดแก รอบดานเปนหุบเขาจะสามารถมองเห็นภูผาลม ภูผาแดง ภูแผงมา จุดชมวิวเสาเสลี่ยง เปนโขดหินท่ีแปลกสามารถมองเห็นเทือกเขาจากประเทศลาว พระธาตุดอยอางกุงหรือภูยางอึ่ง

Page 14: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

เปนจุดชมวิวท่ีสามารถมองเห็นวิวทิวทัศนท่ีสวยงาม สามารถมองเห็นหนองหารเหมาะสําหรับผูท่ีศรัทธาในพระพุทธศาสนาท่ีมากราบไหว เร่ิมจากหลวงปูภาไดสรางเจดียองคเล็กไว ตอมาป 2500 หลวงปูดวงก็ไดบูรณะพระธาตุอางกุงโดยครอบเจดียองคเดิม และยังเปนจุดหนึ่งท่ีคนพบซากฟอสซิลไดโนเสารที่มีอายุกวา 107 ลานป ท่ีคาดวาเปนไดโนเสารในบริเวณเทือกเขาภูพาน อยูในเขตอุทยานแหงชาติภูผายล โดยสภาพท่ัวไปของพระธาตุดอยอางกุงหรือภูยางอึ่งไมวาจะเปนหินชั้นดินและสภาพปาท่ีมีอยูโดยทั่วไปเปนพันธุไมดึกดําบรรพ จึงเชื่อวาบริเวณนี้เปนที่อยูอาศัยของไดโนเสารในสมัยโบราณ ซึ่งการเดินทางขึ้นไปชมซากฟอสซิลไดโนเสารไดนั้นจะตองขามอางเก็บน้ําหวยโท – หวยยาง โดยเปนอางเก็บน้ําท่ีอยูใกลบานหวยยางเหนือ นอกจากนี้ชุมชนหวยยางยังเปนหมูบานท่ีมีความหลากหลายทางวัฒนธรรมประเพณีของกลุมชาติพันธุ “ภูไท” มีภาษาถิ่นท่ีเปนเอกลักษณ วิถีชีวิตของชาวบานท่ียังคงมีการพ่ึงพาอาศัยระบบความเชื่อแบบด้ังเดิมในการรักษาโรค ซึ่งนับวาเปนเอกลักษณอีกอยางหนึ่งของชุมชนบานหวยยางที่หาชมไดยาก

องคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอไดมีนโยบายสงเสริมการทองเท่ียวเชิงอนุรักษ ซึ่งมีการสงเสริมใหมีการปลูกปา การไมตัดไมทําลายปา โดยเปนโครงการความรวมมือระหวางอําเภอโคกศรีสุพรรณ บานหวยยางหมู 6 และบานหวยยางเหนือหมูท่ี 9 มีการพัฒนาการทองเท่ียวในพ้ืนท่ีใหเปนแหลงทองเท่ียวเชิงนิเวศ จัดเปนแหลงทองเที่ยวทางธรรมชาติท่ีใหบริการนักทองเท่ียวท่ีตองการความสงบ สะดวกสบาย คาใชจายปานกลาง โดยมีกิจกรรมในการพักผอน คือ ชมศิลปวัฒนธรรมพ้ืนบาน การเรียนรูโลกดึกดําบรรพ ศึกษาเสนทางธรรมชาติและการแลกเปลี่ยนรู วัฒนธรรมพ้ืนบาน จัดเปนกิจกรรมพิเศษ นอกจากนี้ยังมีการจัดการในรูปแบบธุรกิจของชุมชนแบบบานพักโฮมสเตย ซึ่งอยูในขั้นตอนของการดําเนินการ อีกท้ังประชาชนในชุมชนหวยยางยังขาดความรูความเขาใจและประสบการณดานการทองเที่ยว ประกอบกับการบริหารจัดการดานการทองเท่ียวภายในชุมชนไมมีประสิทธิภาพเทาที่ควรทําใหเปนอุปสรรคและยากตอการจัดการ

จากปจจัยตางๆทางดานทรัพยากร การบริหารจัดการ และการใหบริการดานการทองเท่ียว พบวาขีดความสามารถของชุมชนอยูในระดับท่ีจําเปนตองมีการเพ่ิมระดับขีดความสามารถในการรองรับนักทองเท่ียว เพราะประชาชนในชุมชนยังขาดความรูและประสบการณดานการจัดการการทองเท่ียว ดังนั้นผูศึกษาจึงมีความสนใจท่ีจะศึกษาถึงศักยภาพและขอจํากัด ดานการทองเท่ียวของชุมชนหวยยางและศึกษาวารูปแบบของการทองเท่ียวท่ีไมกอใหเกิดผลกระทบดานลบตอชุมชนหวยยางควรเปนอยางไร เพ่ือใหคนในชุมชนไดมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับการทองเที่ยวและปรับตัวใหเขากับบริบทที่เปลี่ยนแปลงไปของชุมชน ท้ังทางดาน เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดลอม ตลอดจนเปนสวนชวยในการพัฒนารูปแบบการทองเท่ียวท่ีมีความเหมาะสมกับชุมชน เพ่ือใหเกิดความม่ันคงและย่ังยืนทางทรัพยากรธรรมชาติ

Page 15: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

คําถามในการศึกษา

ในพัฒนานิพนธนี้ผูศึกษามีคําถามในการศึกษาดังนี้

1. ชุนชนหวยยางมีศักยภาพและขอจํากัดอยางไร 2. รูปแบบการทองเท่ียวท่ีเหมาะสมกับชุมชนหวยยางควรมีรูปแบบอยางไร

วัตถุประสงคของการศึกษา

พัฒนานิพนธนี้ผูศึกษามุงเนนท่ีจะศึกษาถึงรูปแบบการทองเท่ียวท่ีมีความเหมาะสมกับชุมชนและทรัพยากรธรรมชาติของชุมชน โดยมีวัตถุประสงคดังนี้

1. เพ่ือศึกษาศักยภาพและขอจํากัดของชุมชนหวยยาง 2. เพ่ือศึกษาและพัฒนารูปแบบการทองเท่ียวท่ีเหมาะสมกับชุมชนหวยยาง

ขอบเขตของการศึกษา

ขอบเขตเชิงพื้นท่ี ในพัฒนานิพนธนี้ผูศึกษาไดเลือกพ้ืนที่ บานหวยยางเหนือ หมู 9 และบานหวยยางหมู 6 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร เนื่องจากตั้งอยูในเขตอุทยานแหงชาติภูผายล และเปนพ้ืนท่ีเปาหมายการพัฒนาขององคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ

ขอบเขตเชิงเวลา ผูศึกษาไดกําหนดขอบเขตระยะเวลาในการศึกษาในชวงระหวาง เดือนมิถุนายน ถึง เดือนสิงหาคม 2555 รวมเปนเวลา 3 เดือน

ขอบเขตเชิงเนื้อหา ศึกษาขอมูลเกี่ยวกับรูปแบบการทองเท่ียวทางธรรมชาติท่ีเหมาะสมกับชุมชนโดยศึกษาถึงศักยภาพและขอจํากัดของชุมชนดานการทองเท่ียว ตลอดจนศึกษารูปแบบของการทองเท่ียวท่ีไมกอใหเกิดผลกระทบดานลบตอชุมชน เพื่อนําไปสูการพัฒนารูปแบบการทองเท่ียวที่เหมาะสมกับชุมชน

Page 16: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ

1. ทราบศักยภาพและขอจํากัดของชุมชนหวยยางดานการทองเท่ียว 2. ทราบรูปแบบของการทองเท่ียวท่ีไมกอใหเกิดผลกระทบดานลบตอชุมชน 3. ทราบรูปแบบการทองเท่ียวท่ีเหมาะสมกับศักยภาพและขอจํากัดของชุมชนหวยยาง 4. ประโยชนตอชุมชนในการวางแผนการจัดการการทองเท่ียวในรูปแบบท่ีเหมาะสมกับชุมชน

บานหวยยาง

พื้นท่ีเปาหมาย

ชุมชนหวยยาง ไดแก บานหวยยาง หมูท่ี 6 และบานหวยยางเหนือ หมูท่ี 9 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร

ประชากรและกลุมตัวอยาง ประชากรในการศึกษา คือ ชาวบานหวยยาง หมูที่ 6 จํานวน 740 คน และชาวบานหวยยางเหนือ หมูท่ี 9 จํานวน 858 คน โ

กลุมตัวอยางในการศึกษา คือ ผูนําชุมชน จํานวน 8 คน อาสาสมัครนําเท่ียวจํานวน 12 คน และปราชญชาวบาน จํานวน 8 คน รวมทั้งสิ้น จํานวน 28 คน การทบทวนวรรณกรรมท่ีเกี่ยวของ

การทบทวนเอกสารท่ีเก่ียวของ การทบทวนเอกสารท่ีเกี่ยวของกับการทองเท่ียว ทําใหผูศึกษาไดทราบแนวคิด ความหมาย หลักการ

และรูปแบบของการทองเท่ียว ดังนี้

Page 17: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

การทองเท่ียวอยางย่ังยืน การพัฒนาการทองเที่ยวท่ีจะกอใหเกิดการพัฒนาอยางยั่งยืน ซึ่งจะพิจารณาไดจากองคประกอบหลัก

4 ประการ คือ (พงศกร ชาวเชียงตุง 2552 : 12-13 ; อางอิงจากกรมสงเสริมสุขภาพสิ่งแวดลอม. 2544) 1. องคประกอบดานพ้ืนท่ี เปนการทองเท่ียวในแหลงทองเท่ียวท่ีเกี่ยวเนื่องกับธรรมชาติอันมี

เอกลักษณเฉพาะถิ่นเปนหลัก รวมถึงแหลงวัฒนธรรมและประวัติศาสตรที่เกี่ยวเนื่องกับระบบนิเวศในพ้ืนที่แหลงนั้นๆ

2. องคประกอบดานการจัดการ เปนแหลงทองเท่ียวท่ีมีความรับผิดชอบ ไมสงผลกระทบตอสภาพแวดลอมและสังคม มีการจัดการท่ียั่งยืนคลอบคลุมถึงการอนุรักษทรัพยากร การจัดการสิ่งแวดลอม การปองกันมลพิษ และการควบคุมการพัฒนาการทองเท่ียวอยางมีขอบเขต

3. องคประกอบดานกิจกรรม เปนการทองเท่ียวท่ีเอื้อตอการกระบวนการเรียนรูการใหการศึกษาเกี่ยวกับสภาพแวดลอมและระบบนิเวศของแหลงทองเท่ียวอันเปนการเพ่ิมพูนความรูกับนักทองเที่ยวเพ่ือสรางความตระหนักและปลูกจิตสํานักในการอนุรักษใหกับนักทองเท่ียว ประชาชนในทองถิ่น และผูประกอบการท่ีเกี่ยวของ

4. องคประกอบดานองคกร เปนการทองเท่ียวท่ีคํานึงถึงการมีสวนรวมของชุมชนและประชาชนในทองถิ่นใหเขามาสวนรวมในการบริหารจัดการ เพื่อกอใหเกิดผลประโยชนรวมกันซึ่งหมายถึงการกระจายรายไดและยกระดับคุณภาพชีวิต เพ่ือนําผลตอบแทนท่ีไดมาพัฒนาแหลงทองเที่ยว

การทองเท่ียวเชิงนิเวศ ซึ่งมีการเก็บรวบรวมคําจัดกัดความของการทองเท่ียวเชิงนิเวศจากบุคลากรท่ีมีความเกี่ยวของกับ

การทองเที่ยวไวหลายทานดังตอไปนี้ เสรี เวชบุษกร (2538) ใหคําจํากัดความการทองเท่ียวเชิงนิเวศวา เปนการเดินทางทองเที่ยวอยางมี

ความรับผิดชอบในแหลงธรรมชาติท่ีมีเอกลักษณเฉพาะถิ่น และแหลงวัฒนธรรมท่ีเกี่ยวเนื่องกับระบบนิเวศสิ่งแวดลอมและการทองเที่ยว โดยมีกระบวนการเรียนรูรวมกันของผูเกี่ยวของ ภายใตการจัดการอยางมีสวนรวมของทองถิ่นเพ่ือมุงใหเกิดจิตสํานึกตอการรักษาระบบนิเวศอยางยั่งยืน การทองเท่ียวเชิงนิเวศ มีองคประกอบสําคัญท่ีควรพิจารณา คือ การสรางจิตใตสํานึกเกี่ยวกับการอนุรักษธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ความพึงพอใจของนักทองเท่ียว และการมีสวนรวมของชุมชนทองถิ่น รวมถึงการกระจายรายได

ยศ สันตสมบัติ และคณะผูวิจัย (2546 : 10 ; อางอิงมาจาก การจัดสัมมนาระดับนานาชาติเร่ือง “การทองเท่ียวเชิงนิเวศเพ่ือการอนุรักษปาและการพัฒนาชุมชน” 2540 ) ไดนิยามความหมายของการ

Page 18: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

ทองเท่ียวเชิงนิเวศไววา การทองเท่ียวไปยังแหลงธรรมชาติ โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือเรียนรูทําความเขาใจกับการพัฒนาทางวัฒนธรรมและสภาพแวดลอมดวยความระมัดระวังไมใหเกิดความเสียหายตอระบบนิเวศ และในขณะเดียวกันก็ชวยสรางโอกาสทางเศรษฐกิจเพ่ือใหชาวบานในทองถิ่นไดรับประโยชนดวยตรงจากการอนุรักษธรรมชาติแวดลอม พงศกร ชาวเชียงตุง (2552 : 9) การทองเท่ียงเชิงนิเวศ หมายถึง การทองเท่ียวอยางมีความรับผิดชอบในแหลงทองเท่ียวทางธรรมชาติ รวมท้ังทางวัฒนธรรมท่ีเกี่ยวเนื่องกับระบบนิเวศและการทองเท่ียวโดยกระบวนการเรียนรูรวมกันของผูเกี่ยวของ ภายใตการจัดอยางมีสวนรวมของชุมชนทองถิ่น เพ่ือมุงใหเกิดจิตสํานึกตอการรักษาระบบนิเวศทองถิ่น กลาวโดยสรุป การทองเที่ยวเชิงนิเวศ หมายถึง การทองเท่ียวในแหลงทองเที่ยวท่ีเกี่ยวเนื่องกับธรรมชาติเปนหลัก มีธรรมชาติเปนเอกลักษณเฉพาะถิ่น ท้ังนี้รวมถึงแหลงวัฒนธรรมและประวัติศาสตรท่ีเกี่ยวเนื่องกับระบบนิเวศในพ้ืนท่ี อีกทั้งยังสรางโอกาสทางเศรษฐกิจเพ่ือใหชาวบานในทองถิ่นไดรับประโยชนโดยตรงจากการอนุรักษธรรมชาติแวดลอม

หลักการการทองเท่ียวเชิงนิเวศ

จากการจัดสัมมนาระดับนานาชาติเรื่อง การทองเท่ียวเชิงนิเวศเพ่ือการอนุรักษปาและการพัฒนาชุมชน จัดท่ีเชียงใหมเมื่อเดือนมกราคม พ.ศ. 2540 ในการสัมมานาครั้งนี้นักวิจัยจากสมาคมการทองเท่ียวเชิงนิเวศไดเสนอหลักการพ้ืนฐาน 7 ประการของการทองเท่ียวเชิงนิเวศไวดังนี้ (ยศ สันตสมบัติ และคณะผูวิจัย. 2546 : 10) ประการแรก การทองเท่ียวเชิงนิเวศตองหลีกเหลี่ยงการสรางผลกระทบทางดานลบท่ีกอใหเกิดความเสียหายหรือการทําลายสภาพแวดลอมทางธรรมชาติและวัฒนธรรมของพ้ืนท่ีทองเท่ียว

ประการที่สอง การทองเท่ียวเชิงนิเวศจะตองใหการศึกษาแกนักทองเท่ียวใหตระหนักถึงความสําคัญของการอนุรักษธรรมชาติแวดลอมและวัฒนธรรม

ประการที่สาม รายไดจากการทองเที่ยวเชิงนิเวศจะตองนําไปสูการอนุรักษธรรมชาติแวดลอมและการจัดการเขตอนุรักษ

ประการที่สี่ ชุมชนทองถิ่นรวมถึงชุมชนใกลเคียงจะตองเปนผูไดรับผลประโยชนโดยตรงจากการทองเท่ียวเชิงนิเวศ

Page 19: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

ประการที่หา การทองเท่ียวเชิงนิเวศจะเนนความสําคัญของการวางแผน และการเจริญเติบโตของการทองเที่ยวอยางย่ังยืน โดยเนนการสรางหลักประกันวา จํานวนนักทองเท่ียวตองอยูภายในขอบเขตของศักยภาพการรองรับ (carrying capacity) ตามธรรมชาติของระบบนิเวศทองถิ่น

ประการที่หก รายไดสวนใหญจากการทองเทียวเชิงนิเวศจะตกอยูกับประเทศผูเปนเจาของแหลงทองเท่ียว ดวยเหตุนี้เองการทองเท่ียวเชิงนิเวศจึงเนนการใชผลิตภัณฑและการบริการทองถิ่นเปนสําคัญ

ประการท่ีเจ็ด การทองเท่ียวเชิงนิเวศจะตองใหความสําคัญกับการใชประโยชนจากโครงสรางพ้ืนฐานท่ีไดการพัฒนาบนฐานคิดซึ่งเนนความสําคัญของการจัดการทรัพยากรอยางย่ังยืน ลดละการใชน้ํามันเชื้อเพลิง อนุรักษพันธพืชพ้ืนบานและจัดการทองเท่ียวท่ีสอดคลองกับธรรมชาติแวดลอมอยางแทจริง

โดยสรุปจากหลักการท้ัง 7 ประการท่ีกลาวมาขางตนกอใหเกิดการต่ืนตัวในการพัฒนาการทองเท่ียวทางเลือกใหม เพ่ือทดแทนหรือแขงขันการทองเท่ียวแบบเดิม โดยมีการประยุกตรูปแบบการทองเท่ียวท่ีนําไปสูกระแสหลักของการทองเที่ยวท่ีไดรับความนิยม

การทองเท่ียวเชิงวัฒนธรรม ยศ สันตสมบัติ และคณะผูวิจัย (2546 :12) กลาววา การทองเท่ียวเชิงนิเวศจากมิติทางวัฒนธรรม

เปนการทองเท่ียวท่ีใหความเคารพแกอัตลักษณและความหลากหลายทางวัฒนธรรมของกลุมชาติพันธ ซึ่งมีวิถีชีวิตและจารีตประเพณีแตกตางกันออกไป มุมมองทางดานวัฒนธรรมเนนการใหความเคารพแกสิ่งศักด์ิสิทธิ์และสิทธิความเปนมนุษยของกลุมชาติพันธุตางๆ มิใชการมองคนเปนสัตวประหลาดและเปดโอกาสใหการทองเท่ียวสงผลใหเกิดการละเมิดทางความเชื่อ วัฒนธรรม ประเพณี และพิธีกรรมของชุมชนทองถิ่น ในทางตรงกันขามการทองเท่ียวเชิงนิเวศมิติทางวัฒนธรรมมุงเนนใหชุมชนทองถิ่นมีสํานึกและความภาคภูมิใจในอัตลักษณทางชาติพันธุและวัฒนธรรมประเพณีของตน

พรวิไล วงศไตรพิพัฒน. (2552 :105) กลาววา การทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม หมายถึง การทองเท่ียวท่ีมีวัตถุประสงคเพ่ือแสวงหาประสบการณใหมๆ อันประกอบดวยการเรียนรู การสัมผัส การชื่นชมเอกลักษณความงามของวัฒนธรรม คุณคาทางประวัติศาสตร วิถีชีวิตของกลุมชนอื่น ความแตกตางทางดานวัฒนธรรมของชนตางสังคมไมวาจะเปนดาน ศิลปะ สถาปตยกรรม โบราณสถาน โบราณวัตถุ วิถีชีวิต ภาษา การแตงกาย การบริโภค ความเชื่อ ศาสนา และจารีตประเพณี ลวนแตเปนจุดดึงดูดความสนใจเพ่ือกระตุนใหเกิดการทองเท่ียวทางวัฒนธรรมขึ้น

Page 20: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

วุฒิศักดิ์ อุมา. (2552) การทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เปนการศึกษาหาความรูในพ้ืนท่ีหรือบริเวณท่ีมีคุณลักษณะท่ีสําคัญทางประวัติศาสตรและวัฒนธรรม มีการบอกเลาเรื่องราวในการพัฒนาทางสังคมและมนุษยผานทางประวัติศาสตรอันเปนผลเกี่ยวเนื่องกับวัฒนธรรม องคความรู และการใหคุณคาของสังคม โดยสถาปตยกรรมที่มีคุณคาหรือสภาพแวดลอมอยางธรรมชาติ ท่ีสามารถแสดงออกใหเห็นถึงความสวยงามและประโยชนท่ีไดรับจากธรรมชาติ สามารถสะทอนใหเห็นถึงสภาพชีวิตความเปนอยูของคนในแตละยุคสมัยไดเปนอยางดี ไมวาจะเปนสภาพทางเศรษฐกิจ สังคม หรือขนบธรรมเนียมประเพณี

สรุปการทองเท่ียวทางวัฒนธรรม หมายถึง การทองเท่ียวท่ีมีวัตถุประสงคเ พ่ือแสวงหาประสบการณใหมๆ อันประกอบดวยการเรียนรู การสัมผัส การชื่นชมเอกลักษณความงามของวัฒนธรรม คุณคาทางประวัติศาสตร วิถีชีวิตของกลุมชนอื่น โดยใหความเคารพแกอัตลักษณและความหลากหลายทางวัฒนธรรมของกลุมชาติพันธ ซึ่งมีวิถีชีวิตและจารีตประเพณีแตกตางกันออกไป

หลักการการทองเท่ียวทางวัฒนธรรม

พรวิไล วงศไตรพิพัฒน. (2552 ; อางอิงจาก วรรณนา วงษวานิช. 2546) การทองเท่ียวทางวัฒนธรรมมีการกําหนดกฎเกณฑและการทํากิจกรรมซึ่งแตละชุมชนจะมีความแตกตางกัน โดยสิ่งสําคัญคือการเปดโอกาสใหประชาชนมีสวนรวมในการจัดการการทองเท่ียว ซึ่งมีกฎเกณฑดังตอไปนี้

1. เปนประเพณีหรือวัฒนธรรมท่ีเปนเอกลักษณโดเดนของแตละพ้ืนท่ีและสมควรท่ีจะไดรับการดํารงรักษาไวสืบตอไป

2. เจาของพ้ืนท่ีรวมมือกับหนวยงานตางๆ ท้ังดานการวางแผน การจัดการ และการอนุรักษ 3. มีวิทยากรและมัคคุเทศกประจําทองถิ่น 4. มุงใหผูศึกษาได รับความรู ความสนุกสนานเพลิด เพลิน ความประทับใจแ ละ

ประสบการณในการดํารงชีวิตในสังคมและวัฒนธรรมท่ีแตกตางไปจากเดิม

การทองเท่ียวเชิงเกษตร เทพกร ณ สงขลา. (2554) การทองเที่ยวชิงเกษตร หมายถึง กิจกรรมการทองเท่ียวท่ีเกี่ยวของกับทรัพยากรเกษตร โดยทรัพยากรเกษตรหมายถึง ทรัพยากรท่ีเกี่ยวของกับการทองเท่ียว ไดแก ปจจัยการผลิตทางการเกษตร เชน ดิน น้ํา ความหลากหลายทางชีวภาพ แรงงาน ความรู เครือขายเกษตรกร องคกรตลอดจนสถาบันตางๆในชุมชนท่ีเกี่ยวของกับการทําการเกษตร รวมถึงผลผลิตจากสอนคาตางๆของ

Page 21: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

ชุมชนท่ีเกี่ยวของกับการใชทรัพยากรเกษตร ซึ่งสํานักกรมพัฒนาเกษตร(2548) ไดจําแนกรูปจําแนกเปนกิจกรรมการทองเที่ยวเชิงเกษตรตามกิจกรรมของแหลงทองเที่ยวท่ีนําเสนอตอนักทองเท่ียวไดแก รูปแบบใหนักทองเท่ียวรวมกิจกรรมระยะสั้น เชน การชมสวนเกษตรและการใหนักทองเท่ียวไดเก็บผลผลิตในสวน เปนตน รูปแบบใหนักทองเท่ียวพักแรมในหมูบาน เพ่ือศึกษาสัมผัสกับวิถีชีวิตของชาวชนบท รูปแบบใหความรูการเกษตรแผนใหมและใหความรูที่เปนภูปญญาพื้นบาน เชน การศึกษาแมลงท่ีมีประโยชน และพืชผักพ้ืนเมืองท่ีกินได เปนตน รูปแบบจําหนายผลิตภัณฑการเกษตร เชน ดอกไมสด และเมล็ดพันธท่ีนักทองเท่ียวซื้อไปปลูก รูปแบบใหลูทางธุรกิจการเกษตร เชน ธุรกิจปลูกพืชใหผลตอบแทนเร็ว

กรมสงเสริมการเกษตร (2548) จําแนกกิจกรรมการทองเท่ียวเชิงเกษตรท่ีแตกตางกันออกไป ไดแก การนําเท่ียวชมสถานท่ีของเกษตร บุคคลท่ีประสบความสําเร็จในอาชีพเกษตร เชน สวนทุเรียน สวนมังคุด สวนดอกไมประดับ ซึ่งผูเย่ียมชมจะไดรับความรูดานเทคโนโลยีการผลิต การจัดการ และการทองเท่ียวตามฤดูกาลหรือเทศกาล ซึ่งผูเยี่ยมชมจะไดพบเห็นผลผลิตดานการเกษตรดานการเกษตรและไดเลือกซื้อผลิตดังกลาวตามชุมชนหรือหมูบานเกษตร ซึ่งเกษตรกรในชุมชนรวมกันจัดต้ัง โดยผูเยี่ยมชุมจะไดสัมผัสกับวิถีชีวิตของเกษตรกร ไดรับความรูเรื่องการเกษตร ตลอดจนมีสวนรวมในกิจกรรมการเกตษรของชุมชน

การทบทวนงานวิจัยท่ีเก่ียวของ จากการทบทวนวรรณกรรมท่ีผานมาผูศึกษาพบวา มีการศึกษาเกี่ยวกับรูปแบบการจัดการ

ทองเท่ียวเชิงนิเวศดังนี้ พงศกร ชาวเชียงตุง (2550 : 78-80) ไดศึกษาถึงแนวทางพัฒนาแหลงทองเที่ยวเชิงนิเวศลําน้ําชี

จังหวัดมหาสารคาม โดยมีการกําหนดสถานที่ทองเท่ียวเชิงนิเวศ 5 แหง คือ บานทาขอนยาง บานโขงกุดหวาย สถาบันวิจัยวลัยรุกขเวช วนอุทยานชีหลง และหาดใหญบานวังยาว เพ่ือเปรียบเทียบศักยภาพในการบริหารจัดการและความตองการพัฒนาแหลงทองเท่ียวเชิงนิเวศท่ีมีแตกตางในแตสถานท่ี พรอมท้ังสํารวจความตองการของนักทองเท่ียว โดยมีการสุมกลุมตัวอยางท่ีเปนนิสิตระดับปริญญาตรี จํานวน 400 คน ผลของการวิจัยพบวา (1) บานทาขอนยางศักยภาพแหลงทองเท่ียวที่อยูในระดับสูงกวาบานวังยาว และมีศักยภาพดานการพัฒนาดานของคุณคาของการทองเท่ียว มากกวา สถาบันวิจัยวลัย รุกขเวช วน

Page 22: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

อุทยานชิหลง และหาดใหญ บานวังยาว (2) นิสิตมีความตองการพัฒนาแหลงทองเท่ียวดานการจัดการพ้ืนที่โดยท่ัวไปดานการจัดการการทองเที่ยว ดานการจัดกิจกรรมการทองเที่ยว และบทบาทขององคกรท่ีเกี่ยวกับการทองเท่ียวในระดับปานกลาง ในสวนของรูปแบบกิจกรรมการทองเที่ยวนิสิตมีความตองการ กิจกรรมลองแพร กิจกรรมพายเรือ และกิจกรรมชมวิวทิวทัศนในระดับมาก (3) นิสิตมีคุณลักษณะทางประชากรท่ีแตกตาง เชน เพศ ประสบการณการทองเที่ยวในลําน้ําชี สวนใหญมีความตองการการพัฒนาแหลงทองเที่ยวดานพ้ืนที่การทองเท่ียว และดานการจัดการแหลงทองเท่ียวท่ีแตกตางกัน ทําใหทราบถึงความตองการท่ีมีความตองการแตกตางในแตละสถานท่ีและควรมีการจัดรูปแบบการทองเท่ียวในลักษณะท่ีเหมาะสมกับบริบทของพ้ืนท่ี ซึ่งงานวิจัยนี้ชี้ใหเห็นวานักทองเท่ียวเปนปจจัยสําคัญในการกําหนดรูปแบบของการทองเท่ียวอยางชัดเจน

ดุษณีย ชาวนาและคณะ (2551 : 143-147) ไดศึกษาเร่ือง รูปแบบการจัดการการทองเท่ียวโดยชุมชนอยางย่ังยืน ชุมชนผาแตก หมูท่ี 10 ตําบลสบเปง อําเภอแมแตง จังหวัดเชียงใหม เปนการพัฒนาคูมือวิจัย โดยอาศัยกระบวนการมีสวนรวมของชุมชนในการดําเนินการผานเวทีเสวนา ประชุมกลุมยอย การประชุมเชิงปฏิบัติการ การอบรมศึกษาดูงาน การเสวนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นอยางไมเปนทางการ การทดลองปฏิบัติจริงเพ่ือนําไปสูการแกไข ปรับปรุง เพ่ือพัฒนาการบริหารจัดการและหารูปแบบท่ีเหมาะสมกับชุมชน ท้ังนี้เพื่อศึกษา 1) เพ่ือศึกษาสถานการณการทองเท่ียวของหมูบานผาแตก และการทองเท่ียวโดยชุมชนของจังหวัดเชียงใหม 2) เพื่อรวบรวมองคความรูภูมิปญญาทองถิ่นและศักยภาพของชุมชนโดยกําหนดรูปแบบการทองเท่ียวท่ีเหมาะสมกับชุมชน 3) เพ่ือศึกษากระบวนการจัดการทองเท่ียวโดยชุมชนผาแตก ตําบลสบเปง อําเภอแมแตง จังหวัดเชียงใหม ผลการศึกษาพบวา จากประสบการณการทองเที่ยวท่ีผานมาพบวาปญหามาจากการจัดการ เนื่องจากขาดความรูความเขาใจในดานการจัดการทองเที่ยวท่ีถูกตอง ชุมชนมีทัศนะคติเชิงลบทําใหขาดการมีสวนรวมในการจัดการ เกิดผลกระทบกับชุมชน ท้ังจากคนในชุมชนและตัวนักทองเท่ียว ผลของการจัดโครงการพบวา การทองเท่ียวโดยชุมชนจะยั่งยืนได ตองเปดโอกาสใหชุมชนมีการจัดการทรัพยากรของตนท่ีมีอยูอยางจํากัดใหเกิดประโยชนสูงสุด คํานึงถึงผลกระทบท่ีจะเกิดขึ้นกับระบบนิเวศและความสัมพันธทางสังคมและวิถีชีวิตของคนในชุมชน ซึ่งเปนการเปดโอกาสใหชุมชนมีสวนรวมในการบริหารจัดการทุกขั้นตอน มีการแบงผลประโยชนอยางท่ัวถึงและเปนธรรม แนวทางการจัดกิจกรรมการทองเท่ียวตองสอดคลองกับศักยภาพของชุมชนท้ังทางพ้ืนท่ีและทางสังคมของชุมชน

ธัญญลักษณ มีหมู (2552 : 114-116) ไดศึกษาเร่ือง ศักยภาพและแนวทางการจัดการทองเท่ียวเชิงนิเวศวัฒนธรรมในเขตตําบลทาหินโงม อําเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ พบวา การจัดการการทองเท่ียวใน

Page 23: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

อดีตท่ีมีนักทองเท่ียวมีนอย เพราะขาดการประชาสัมพันธ และเสนทางคมนาคมในหมูบานเปนไปอยางลําบาก แตในปจจุบันพบวา ศักยภาพและแนวทางในการจัดการการทองเที่ยวมีศักยภาพนอย ทําใหไมเพียงพอตอความตองการของผูใชบริการ อีกท้ังสถาบันทางการเงินท่ีจะใหการสนับสนุน ยังไมเห็นความสําคัญของการใหการสนับสนุน การคมนาคมไมสะดวกยังลาหลัง แนวทางดังกลาวจึงควรไดรับการแกไขจากหนวยงานท่ีเกี่ยวของท้ังภาครัฐและภาคเอกชน ผูประกอบการตองสรางความเขมแข็งใหกับชุมชน โดยการการศึกษาดูงานภาคสนาม และสอบถามความคิดเห็นของนักทองเท่ียวเพื่อเปนแนวทางในการพัฒนาการทองเที่ยวเพ่ือใหเกิดความย่ังยืน พรวิไล วงศไตรพิพัฒน (2552 : 198-201) ไดศึกษาเรื่อง เสนทางสายหิน : แนวทางการจัดการแหลงทองเที่ยวทางวัฒนธรรมเพ่ือสงเสริมเศรษฐกิจชุมชน จังหวัดนครราชสีมา ผลการวิจัยพบวา เสนทางสายหินที่เปนแหลงทองเท่ียวทางวัฒนธรรม เพ่ือสงเสริมเศรษฐกิจในจังหวัดนครราชสีมาไดแก แหลงหินตัดในอําเภอสี่คิ้วและวัดหินตัด ซึ่งหินเหลานี้เปนจะนําไปใชสรางปราสาทในเขตอําเภอสูงเนิน ซึ่งเปนการสะทอนวิถีความเชื่อความศรัทธาทางศาสนาของมนุษยในยุคประวัติศาสตร ปจจุบันคนทองถิ่นไดใชศาสนาสถานเปนศูนยรวมของคนในชุมชน จัดพิธีบวงสรวง เซนไหวเทพยดา จัดพิธีกินเขาค่ําและประเพณีลอยกระทงพระราชทาน ซึ่งกลายเปนประเพณีที่มีชื่อเสียงเปนเอกลักษณของอําเภอสูงเนิน สามารถดึงดูดนักทองเท่ียวใหมาสัมผัสบรรยากาศยอนยุคและเพ่ิมรายไดใหกับในทองถิ่นเปนประจําทุกป ปญหาท่ีเกิดขึ้นกับการทองเท่ียวที่สําคัญคือ ขาดการประชาสัมพันธในการนําเสนอขอมูลใหนักทองเท่ียวทราบ การบริหารจัดการนโยบาย การสารสนเทศเพ่ือการวางแผนพัฒนาอยางยั่งยืนมีไมเพียงพอ โครงสรางการจัดการยังไมเปนอันหนึ่งอันเดียว ศูนยกลางของหมูบานยังไมไดใชประโยชนในดานการทองเท่ียวรวมถึงการสงเสริมการคา การบริการชุมชน ปญหานโยบายการทองเท่ียวของจังหวัดเนนสงเสริมประเพณีมากกวาการทองเท่ียว ขาดการประสานงานกับหนวยงานท่ีเกี่ยวของ ความพรอมของบุคลากรเพ่ือการทองเท่ียวมีความจํากัด จึงทําใหขาดการสื่อความหมายใหเห็นคุณคาของแหลงทองเท่ียวทองถิ่น แนวทางการจัดการแหลงทองเท่ียวจึงตองมีการเพ่ิมการประชาสัมพันธใหเห็นคุณคาของรองรอยประวัติศาสตร ควบคูกับประเพณีทองถิ่น และนําธรรมชาติเขามาเปนบริบทการทองเท่ียวเพ่ิมมากขึ้น โดยความรวมมือของคนและหนวยงานในทองถิ่น ควรใหการสนับสนุนและใหคําปรึกษาเกี่ยวกับการทองเที่ยวอยางจริงจัง พัฒนาองคประกอบของแหลงเรียนรู เชน การทําปายบอกทาง สิ่งอํานวยความสะดวก ประชาสัมพันธผานสื่ออิเล็กทรอนิกสเพ่ิมมากขึ้น จัดอบรมมัคคุเทศก ใหความรูแกเยาวชนและอาสาสมัครในหมูบาน และบุคลากรผูดําเนินการพัฒนาแหลงทองเที่ยวเพ่ือใหมีศักยภาพในการบริหารจัดการและนํานักทองเที่ยวเขาชมได

Page 24: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

เทพกร ณ สงขลา. (2554 : 4-5 ) ไดศึกษาเร่ือง ความสัมพันธระหวางรูปแบบกิจกรรมการทองเท่ียวเชิงเกษตรและการใชทรัพยากรของชุมชน : กรณีศึกษาการทองเท่ียวเชิงเกษตรชางกลาง จังหวัดนครศรีธรรมราช ผลการวิจัยพบวาแหลงทองเท่ียวเชิงเกษตรของอําเภอชางกลางจําแนกตามกิจกรรมการเกษตรไดแก ฟรามเพาะเห็ด ฟรามเลี้ยงผึ้ง ฟรามเกษตรอินทรีย และแปรรูปอาหาร กิจกรรมการทองเท่ียวจําแนกออกเปน 4 รูปแบบ ไดแก 1)กิจกรรมการทองเที่ยวเชิงเกษตรรูปแบบสาธิต เปนแหลงทองเท่ียวท่ีเนนกิจกรรมสาธิตเปนหลัก 2)กิจกรรมการทองเท่ียวเชิงเกษตรรูปแบบการใหความรู มีการเตรียมวิทยากรใหความรูเร่ืองการเกษตรในแตละสถานที่ทองเท่ียวทางการเกษตร 3)กิจกรรมการทองเท่ียวเชิงเกษตรรูปแบบจําหนายสินคาชุมชน เปนการจําหนายผลผลิตและผลิตภัณฑดานการเกษตร ซึ่งไมใชกิจกรรมหลักของชุมชน 4)กิจกรรมการทองเที่ยวเชิงเกษตรรูปแบบแนะนําธุรกิจการเกษตร จุดเดนของการทองเท่ียวคือ ฟรามเลี้ยงผึ้งและฟรามเห็ด เกษตรกรจากพ้ืนท่ีตางๆเดินทางมาศึกษาดูงานเปนการแนะนําสินคาของชุมชนใหเปนท่ีรูจักของนักทองเที่ยว

ซึ่งในการทบทวนวรรณกรรมท่ีเกี่ยวของกับการบริหารจัดการการทองเท่ียวเชิงนิเวศและรูปแบบการทองเที่ยวเชิงนิเวศวัฒนธรรม สะทอนใหเห็นสภาพปญหาท่ีเกิดจากการทองเท่ียวนําไปสูการหาแนวทางแกไขและการพัฒนารูปแบบการทองเท่ียวที่เหมาะสมกับชุมชน โดยการมีสวนรวมของประชาชน ซึ่งผูศึกษาจะนํามาเปนแนวทางในการศึกษา

แนวคิดท่ีใชในการศึกษา

แนวคิดนิเวศวิทยาวัฒนธรรม (Cultural Ecology)

นิเวศวิทยา วัฒนธรรม (cultural ecology) เปนแนวคิดทางมานุษยวิทยาแนวหนึ่งท่ีสนใจศึกษาการเปลี่ยนแปลงทางสังคม วัฒนธรรม โดยเนนถึงอิทธิพลของสิ่งแวดลอมวาเปนตัวกําหนดกระบวนการวิวัฒนาการทาง สังคมวัฒนธรรม จูเลียน สจวด (Julian Steward) นักมานุษยวิทยาอเมริกัน ไดอธิบายแนวความคิดแบบนิเวศวิทยาวัฒนธรรมวา เปนการศึกษากระบวนการปรับตัวของสังคมภายใตอิทธิพลของสิ่งแวดลอม โดยเนนการศึกษาวิวัฒนาการหรือการเปลี่ยนแปลงอันเกิดจากการปรับตัว (adaptation) ของสังคม แนวความคิดนี้มองสังคมในลักษณะเปนพลวัตหรือเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา การเปลี่ยนแปลงเปนผลมาจากการปรับตัวใหเขากับสภาพแวดลอม โดยมีพ้ืนฐานสําคัญคือ เทคโนโลยีการผลิตโครงสรางสังคม และลักษณะของสภาพแวดลอมธรรมชาติ เปนเงื่อนไข

Page 25: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

สจวด มอง "วัฒนธรรม" วาเปนเคร่ืองมือชวยใหมนุษยปรับตัวเขากับสภาพแวดลอม ประเด็นสําคัญสําหรับการศึกษาเชิงมานุษยวิทยาจึงมีอยูวา วัฒนธรรมมีการปรับตัวอยางไรใหเขากับสภาพแวดลอม และมนุษยมีวิธีการอยางไรในการใชเทคโนโลยีและระบบเศรษฐกิจในการปรับตัวเขา กับสภาพแวดลอมออกจากความตองการทางดานรางกายและจิตใจ ซึ่งเปนพื้นฐานสําคัญอีกสวนหนึ่งในการอธิบายพฤติกรรมของมนุษย ตัวอยางเชน ในสังคมด้ังเดิม (primitive societies) มนุษยมีวิถีการผลิตแบบลาสัตวและเก็บหาอาหาร โดยปกติแลวผูหญิงจะเปนผูเก็บหาอาหารและผูชายเปนออกลาสัตว การแบงแยกงานในลักษณะเชนนี้มิไดเปนเพราะผูชายมีรางกายแข็งแรงกวา แตเปนเพราะผูหญิงตองใชเวลาดูแลลูก ในขณะท่ีผูชายสามารถเดินทางไกลและจากบานไปไดเปนระยะเวลานาน

ตาม ทัศนะของสจวด มนุษยเปนสัตวมีเหตุผล และวิวัฒนาการทางวัฒนธรรมวางอยูบนรากฐานของเหตุผล แตเปนเพราะวาสภาพการณและสภาวะแวดลอมมีความแตกตางกันออกไป วัฒนธรรมสองวัฒนธรรมจึงมีพื้นฐานของการปรับตัว การแกปญหาและมีวิวัฒนาการแตกตางกัน เชน วัฒนธรรมของกลุมท่ีตั้งรกรากอยูใกลทะเล ยอมมีการประดิษฐคิดคนเครื่องมือยังชีพประเภทเบ็ด แห อวน ฉมวก เรือ และมีการพัฒนาสั่งสมความรูเกี่ยวกับการเดินทะเลและการจับปลา ในขณะเดียวกัน ชนกลุมอื่นท่ีต้ังรกรากอยูในเขตปาดงดิบ อาจมีการประดิษฐคิดคนเคร่ืองมือเพ่ือใชในการยังชีพแตกตางกันออกไป เชน หอก ธนู เพ่ือใชในการลาสัตวและหาอาหาร กลุมชนทั้งสองกลุมนี้ยอมตองมีวิวัฒนาการทางวัฒนธรรมแตกตางกัน

สจวดปฏิเสธแนวความคิดแบบวิวัฒนาการเสนตรงของนักทฤษฎีวิวัฒนาการรุนเกา ซึ่งเสนอวาวัฒนธรรมของทุกเผาพันธุจะมีวิวัฒนาการเปนเสนตรงผานขั้นตอนตางๆ เหมือนกันหมด สจวดแยงวาวิวัฒนาการทางวัฒนธรรมอาจเกิดขึ้นไดหลายสาย (multilinear evolution) และแตละแนวยอมมีความแตกตางกัน ความแตกตางนี้เกิดจากการปรับตัวใหเขากับสภาพแวดลอม เทคโนโลยีและโครงสรางสังคมเปนเหลัก อาจกลาวไดวาแนวความคิดแบบวิวัฒนาการหลายสายนี้ เปนแนวความคิดใหมซึ่งพัฒนามาจากทฤษฎีวิวัฒนาการรุนเกา

แนวความคิดนี้เนนความสัมพันธระหวางวัฒนธรรมกับสภาพแวดลอมวามีความแนบแนนใกลชิดและสงผลกระทบซึ่งกันและกันอยางแยกไมออก ในยุคสมัยท่ีพัฒนาการดานเทคโนโลยียังอยูในระดับต่ํา มนุษยจําตองปรับตัวเขากับสภาพแวดลอม และทําใหสภาพแวดลอมมีศักยภาพในการเปลี่ยนหรือดัดแปลงสภาพแวดลอมไดมากขึ้น อิทธิพลของสภาพแวดลอมก็เริ่มลดถอยลง หากแตรูปแบบและลักษณะทางวัฒนธรรม ประสบการณและความเคยชินในอดีต ตลอดจนวิถีชีวิตและขนบธรรมเนียมประเพณีบางอยางจะยังคงอยู และไดรับการสืบทอดจากคนรุนหนึ่งไปสูอีกรุนหนึ่ง

Page 26: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

กลาวโดยสรุปแลว นิเวศวิทยาวัฒนธรรมตามทัศนะของสจวด เปนความพยายามศึกษาวิเคราะหถึง

1. ความสัมพันธระหวางสภาพแวดลอมกับเทคโนโลยีทางการผลิต ซึ่งเปนตัวกําหนดสําคัญตอการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม 2. ความสัมพันธระหวางเทคโนโลยีกับพฤติกรรมของมนุษย และ 3. ความสําคัญของสภาพแวดลอมและอิทธิพลของสภาพแวดลอมตอพัฒนาการทางวัฒนธรรม

แนวคิดทุนชุมชน (Community Capital)

“ทุนชุมชน” (Community Capital) คือ สิ่งที่เปนมูลคาหรือมีคุณคาท่ีมิใชเงินตราเพียงอยางเดียว แตหมายถึงสิ่งอื่น ๆ ที่มีความสําคัญตอชีวิตความเปนอยูของคน เชน ทุนทรัพยากรท่ีกอใหเกิดผลผลิต รวมถึงเงินและสินทรัพยอื่น ๆ ที่เปนความรู ภูมิปญญา ประสบการณของคน ทุนทางสังคม วัฒนธรรมประเพณี ปจจัยบริการทางโครงสรางพ้ืนฐาน ซึ่ง ดร.สุวิทย เมษินทรีย กลาววา ชุมชนแตละชุมชนจะประกอบดวยทุนตางๆมากมายและทุนของชุมชนท่ีสําคัญๆ สามารถจําแนกได 5 ประเภท ไดแก

1. ทุนทรัพยากรมนุษย (Human Capital)หมายถึง คุณสมบัติของคนในชุมชนกลุมตางๆ ทุกเพศ ทุกวัย ท้ังในดานสุขภาพอนามัย อายุขัย คุณภาพของการดูแลสุขภาพใหกับกลุมคนกลุมตางๆ ระดับการศึกษา จํานวนปท่ีเด็กไดเรียน การศึกษาในระบบการศึกษานอกระบบ การแบงปนความรู

2. ทุนสังคม (Social Capital) หมายถึง ทรัพยากรทางสังคมท่ีประชาชนใชเพ่ือการดํารงชีพ รวมท้ังความไวเนื้อเชื่อใจ การยอมรับซึ่งกันและกันและกันในชุมชน กลุมองคกร เครือขายภาคประชาชน ประชาสังคม ความเชื่อถือศรัทธา ตลอดจนวัฒนธรรมท่ีสืบทอดมายาวนาน

3. ทุนกายภาพ (Physical Capital) หมายถึงสิ่งท่ีมนุษยไดสรางขึ้นเพ่ืออํานวยความสะดวกตอการดํารงชีวิต หรือเปนปจจัยพ้ืนฐานในการผลิตท่ีสนับสนุนการดํารงชีวิตของประชาชน ไดแก การคมนาคมขนสง ระบบไฟฟา ประปา ระบบพลังงาน การสื่อสาร โทรคมนาคม โบราณวัตถุ โบราณสถาน หรือสิ่งปลูกสรางตาง ๆ

4. ทุนธรรมชาติ (Natural Capital) หมายถึง ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดลอมตาง ๆ ท่ีเปนตัวกําหนดศักยภาพในการดํารงชีวิตและการประกอบอาชีพของประชาชนในชุมชนไดแก แหลงน้ําธรรมชาติ ปาไม ดิน น้ํา ภูเขา ทะเล เกาะ สัตวปา แรธาตุ พลังงาน น้ําพุ พืชพันธุธัญญาหารธรรมชาติ เปนตน

5. ทุนการเงิน (Financial Capital) หมายถึง ทรัพยากรที่เปนตัวเงินตรารวมถึงโอกาสทางการเงินที่ประชาชนใชเพื่อดํารงชีพ ไดแก ทุนทางการเงินท่ีมาจากการออม (Available Stocks) ท่ีเปนเงินสด/เงินฝาก สัตวเลี้ยง อัญมณี และทุนท่ีมาจากรายไดอื่นไดแก เงินบํานาญ/คาตอบแทนท่ีไดจากรัฐและเงินกองทุนตาง ๆ

Page 27: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

ดังนั้น“ทุนชุมชน”ท้ัง 5 ประเภทนี้ จะตองใชเปนปจจัยนําเขา (Input) ในกระบวนการสรางความเขมแข็งของชุมชน โดยการแปลงคาทุนตาง ๆ ใหออกมาเปนผลผลิต/ผลลัพธ (Output/Outcome) ใหได ท้ังนี้ เราจะตองคํานึงถึงทุนประเภทท่ีจะตองสงวนรักษาหรือพัฒนายกระดับไปพรอม ๆ กันอยางสมดุลโดยไมทําลายซึ่งกันและกัน สําหรับการศึกษาในคร้ังนี้ เกี่ยวของกับทุนชุมชนท้ัง 5 ประเภท ไมวาจะเปน ทุนมนุษย ทุนทางสังคม ทุนกายภาพ ทุนธรรมชาติ และทุนทางการเงิน ที่มีบทบาท เชื่อมโยง และเอื้อประโยชนใหกับคนในชุมชน ความสําเร็จของการแกไขปญหาตาง ๆ เกิดจากทุนท่ีมีอยูในชุมชนแทบท้ังสิ้น

แนวคิดการทองเท่ียวโดยชุมชน (Community Based Tourism : CBT)

พจนา สวนศรี (2546) “การทองเท่ียวโดยชุมชน (community base tourism) คือ การทองเท่ียวท่ีคํานึงถึงความยั่งยืนของสิ่งแวดลอม สังคม และวัฒนธรรม กําหนดทิศทางโดยชุมชน จัดการโดยชุมชน เพ่ือชุมชน และชุมชนมีบทบาทเปนเจาของมีสิทธิในการจัดการดูแลเพ่ือใหเกิดการเรียนรูแกผูมาเยือน” โดยมองวาการทองเที่ยวตองทํางานครอบคลุม 5 ดาน พรอมกัน ท้ังการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดลอม โดยมีชุมชนเปนเจาของและมีสวนในการจัดการ

กระบบวนการเรียนรูของการทองเท่ียวโดยชุมชน ศักยภาพของคน ตองเริ่มท่ีคนในชุมชนท่ีจะตองรูจักรากเหงาของตนเองใหดีเสียกอน เพ่ือความ

พรอมในการบอกเลาขอมูลและคนในชุมชนตองมีความพรอมท่ีจะเรียนรู มีความสามัคคี ทํางานรวมกันได ศักยภาพของพื้นที ่หมายรวมถึง ทรัพยากรธรรมชาติและวัฒนธรรมประเพณีภูมิปญญาทองถิ่นท่ี

สืบสานตอกันมา คนในชุมชนตองรูจัก ตองรักและหวงแหนเห็นคุณคาของทรัพยากรในชุมชนของตน สามารถท่ีจะนํามาจัดการไดอยางคุมคาและย่ังยืน ท้ังนี้แลวชุมชนตองมีความพรอมในการเรียนรู ตลอดจนมีความรู ความเขาใจ ในเรื่องแนวคิด พ้ืนฐานทางดานการทองเท่ียวโดยชุมชน และการจัดการในพ้ืนที่ไดดวย

การจัดการ เปนเร่ืองท่ีไมงายนักที่จะทําอะไร เพ่ือใหเกิดประโยชนสูงสุด เกิดความยั่งยืน สมดุลในกลุมคนหมูมาก ดังนั้นชุมชนท่ีจะสามารถบริหารจัดการ การทองเท่ียวโดยชุมชน : "Community-based Tourism : CBT" ไดตองเปนชุมชนท่ีมีผูนําท่ีเปนที่ยอมรับ มีความคิด มีวิสัยทัศน ความเขาใจเรื่องการทองเที่ยวโดยชุมชน ท้ังยังตองไดรับความรวมมือจากหนวยงานท้ังภาครัฐที่เกี่ยวของ ตองมีการพูดคุยกําหนดแนวทางในการเตรียมความพรอมชุมชนรูวาพ้ืนท่ีของตนจะมีรูปแบบการทองเท่ียวอยางยั่งยืนได

Page 28: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

อยางไร ควรมีกิจกรรมอะไรบาง และจะมีการกระจาย จัดสรรรายไดอยางไร ท้ังหลายท้ังปวงท่ีกลาวมานั้น สิ่งสําคัญที่สุดของชุมชนก็คือการมีสวนรวม อันหมายรวมถึง รวมในทุกๆสิ่ง ทุกอยางเพื่อสวนรวม

หลักการทํางานการทองเที่ยวโดยชุมชน จากแนวคิดการทองเที่ยวโดยชุมชน ท่ีมองชุมชนเปนศูนยกลางหรือฐานเพ่ือกําหนดทิศทาง แผนงาน แผนปฏิบัติการของตนเองโดยดําเนินการพรอมกันท้ังดานการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดลอมนั้น จึงทําใหกิจกรรมการทองเท่ียวเปนสวนหนึ่งของกระบวนการพัฒนาแบบองครวมและเกี่ยวกับกลุมคนตางๆ มากมาย เม่ือมองในบริบทของการพัฒนาการทองเท่ียวท่ีตองการใหชุมชนมีสวนรวมและไดประโยชนจากการทองเท่ียวจึงควรตองมีหลักการรวมกัน ดังนี ้ 1. การทองเท่ียวโดยชุมชนตองมาจากความตองการของชุมชนอยางแทจริง ชุมชนไดมีการพินิจพิเคราะหสภาพปญหา ผลกระทบการทองเท่ียวอยางรอบดานแลว ชุมชนรวมตัดสินใจลงมติท่ีจะดําเนินการตามแนวทางท่ีชุมชนเห็นสมควร 2. สมาชิกในชุมชนตองมีสวนรวมท้ังการคิดรวม วางแผนรวม ทํากิจกรรมรวม ติดตามประเมินผลรวมกัน เรียนรูรวมกันและรับประโยชนรวมกัน 3. ชุมชนตองการรวมตัวกันเปนกลุม เปนชมรม เปนองคกร หรือจะเปนองคกรชุมชนเดิมที่มีอยูแลวเชนกัน องคการบริหารสวนตําบล (อบต.) ก็ได เพื่อกลไกท่ีทําหนาท่ีแทนสมาชิกท้ังหมดในระดับหนึ่ง และดําเนินการดานการกําหนดทิศทาง นโยบายการบริหาร การจัดการ การประสานงาน เพ่ือใหการทองเท่ียวโดยชุมชนเปนไปตามเจตนารมณของสมาชิกในชุมชนท่ีเห็นรวมกัน 4. รูปแบบ เนื้อหา กิจกรรม ของการทองเท่ียวโดยชุมชน ตองคํานึงการอยูรวมกันอยางมีศักด์ิศรี มีความเทาเทียมกัน มีความเปนธรรม และใหสงผลกระทบตอสิ่งแวดลอม เศรษฐกิจ การเมือง สังคม และวัฒนธรรมในเชิงสรางสรรคและลดผลกระทบในเชิงลบ 5. มีกฎ กติกาท่ีเห็นรวมจากชุมชน สําหรับการจัดการทองเท่ียวที่ชัดเจน และสามารถกํากับดูแลใหเปนไปตามกติกาท่ีวางไว 6. ชุมชนท่ีจัดการทองเที่ยว สมาชิกในชุมชน ชาวบานท่ัวไปและนักทองเท่ียว ควรมีกระบวนการเรียนรูระหวางกันและกันอยางตอเนื่อง เพ่ือกอใหเกิดการพัฒนากระบวนการทํางานการทองเท่ียวโดยชุมชนใหถูกตองเหมาะสม และมีความชัดเจน 7. การทองเท่ียวโดยชุมชน จะตองมีมาตรฐานท่ีมาจากขอตกลงรวมภายในชุมชนดวย เชน ความสะอาด ความปลอดภัย การกระจายรายไดที่เปนธรรมของผูท่ีเกี่ยวของ และพิจารณารวมกันถึงขีดความสามารถในการรองรับ

Page 29: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

8. รายไดท่ีไดรับจากการทองเท่ียว มีสวนไปสนับสนุนการพัฒนาชุมชนและรักษาสิ่งแวดลอม 9. การทองเท่ียวจะไมใชอาชีพหลักของชุมชน และชุมชนตองดํารงอาชีพหลักของตนเองไวได ท้ังนี้หากอาชีพของชุมชนเปลี่ยนเปนการจัดการทองเที่ยว จะเปนการทําลายชีวิตและจิตวิญญาณด้ังเดิมของชุมชนอยางชัดเจน 10. องคกรชุมชนมีความเขมแข็งพอท่ีจะจัดการกับผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นได และพรอมจะหยุดเม่ือเกินความสามารถในการจัดการ ซึ่งสิ่งเหลานี้หากมองในแงความพรอมของชุมชนและประสิทธิภาพในการบริหารจัดการทองเท่ียวในมิติของชุมชนแลว การทองเท่ียวโดยชุมชนจะเปนไปไดดวยดีนั้นยังตองพิจารณาจากมิตินอกชุมชนท่ีเขามาเกี่ยวของดวยไดแก การตลาด นโยบายรัฐท่ีเขามาสนับสนุน และพฤติกรรมของนักทองเท่ียว เปนตน กรอบแนวคิดในการศึกษา

ประการแรก ผูศึกษาจะใชแนวคิดทุนชุมชนอธิบายถึง ทุนธรรมชาติ ทุนทรัพยากรมนุษย ทุนสังคม และทุนทางวัฒนธรรมวาศักยภาพและขอจํากัดในการพัฒนารูปแบบการทองเที่ยวของชุมชนอยางไร ประการที่สอง ผูศึกษาใชแนวคิดการทองเท่ียวโดยชุมชน อธิบายศักยภาพของชุมชนในการจัดการทองเท่ียว และเสนอรูปแบบการทองเท่ียวท่ีสอดคลองกับศักยภาพชุมชน ประการที่สาม ผูศึกษาใชแนวคิดนิเวศวิทยาวัฒนธรรมอธิบายถึงรูปแบบการทองเท่ียวท่ีสอดคลองวิถีการดํารงชีวิตของชุมชนท่ีสัมพันธกับสภาพแวดลอมทางธรรมชาติจนกลายเปนวัฒนธรรมชุมชน

- ทุนทรัพยากรธรรมชาติ - ทุนทรัพยากรมนุษย - ทุนทางสังคม - ทุนทางวัฒนธรรม

ขอจํากัด ศักยภาพ ทุนชุมชน

รูปแบบการทองเท่ียวท่ีเหมาะสมกับชุมชน

ภาพประกอบท่ี 1 กรอบแนวคิดในการศึกษา

ทฤษฏีนิเวศวิทยาวัฒนธรรม การจัดการทองเที่ยวโดยชุมชน

Page 30: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

วิธีดําเนินการศึกษา

ในการศึกษาครั้งนี้ผูศึกษาใชระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ ซึ่งผูศึกษาไดเขาไปใชชีวิตอยูในพ้ืนท่ีเพ่ือสังเกตแบบมีสวนรวม โดยใชวิธีการดังตอไปนี้

1. การทบทวนเอกสาร โดยศึกษาขอมูลการศึกษาท่ีเกี่ยวของกับการทองเที่ยวเชิงนิเวศ พรอมท้ังศึกษาขอมูลเอกสารท่ีศึกษาเกี่ยวกับรูปแบบการทองเที่ยวเชิงนิเวศและนโยบายท่ีเกี่ยวกับการทองเท่ียว รวมถึงศึกษาบริบทท่ัวของชุมชนจากขอมูลมือสองขององคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอในดานการบริหารจัดการการทองเท่ียว

2. สํารวจพ้ืนท่ีเปาหมาย โดยศึกษาบริบทท่ัวไปของชุมชนบานหวยยางหมู 6 และหมู 9 ท้ังสองหมูบาน เพ่ือศึกษาขอมูลเกี่ยวกับสถานการณการทองเท่ียวของชุมชน

3. การสัมภาษณแบบมีโครงสราง โดยผูศึกษาใชแบบสัมภาษณแบบมีโครงสรางในการสัมภาษณซึ่งจะสัมภาษณกลุมเปาหมายท่ีเปนชาวบานในชุมชนหวยยางท้ัง 2 หมูบาน และกลุมผูนําชุมชน ตลอดจนปราชญชาวบาน โดยแบงออกเปน 3 ตอน คือ ตอนท่ี 1 ขอมูลท่ัวไปของผูใหสัมภาษณ ตอนที่ 2 ผลกระทบของการทองเท่ียวท่ีเกิดขึ้นตอชุมชนหวยยางและตอนท่ี 3 รูปแบบการทองเท่ียวที่เหมาะสมกับชุมชนหวยยาง

4. การสัมภาษณเชิงลึก ผูศึกษาใชสัมภาษณผูรูเกี่ยวขอมูลดานทรัพยากรท่ีมีในชุมชน ความเชื่อ พิธีกรรม วัฒนธรรม ประเพณีท่ีสําคัญของชุมชน

5. การสังเกตแบบมีสวนรวม โดยผูศึกษาเขาไปใชชีวิตอยูในชุมชนเพ่ือศึกษาขอมูลตางๆ โดยเฉพาะขอมูลท่ีเกี่ยวของกับรูปแบบการทองเท่ียวเชิงนิเวศท่ีเหมาะสมกับชุมชน รวมถึงระบบการบริหารจัดการการทองเท่ียวของคนในชุมชน

6. การสนทนากลุมยอย ใชเพ่ือเปนเวทีในการระดมความคิดเห็นของชาวบานเกี่ยวกับพัฒนาการของการทองเท่ียวและสถานการณของการทองเท่ียวในปจจุบัน เพ่ือนําไปสูการพัฒนารูปแบบการทองเท่ียวท่ีเหมาะสมตอชุมชน ประกอบกับการจัดโครงการพัฒนาชุมน

7. นําขอมูลท่ีไดจากการศึกษามาวิเคราะหและอภิปรายผลอยางเปนระบบตามระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร เพ่ือนําขอมูลท่ีไดมาจัดทําเปนรูปเลม รวมถึงนําขอมูลท่ีไดจากการศึกษาเสนอตอองคกรปกครองสวนทองถิ่นเพ่ือนําไปพัฒนารูปแบบการทองเที่ยวใหเหมาะสมกับชุมชน

Page 31: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

นิยามศัพทเฉพาะ รูปแบบการทองเท่ียว หมายถึง กิจกรรมการทองเท่ียวท่ีเกิดขึ้นจากการคิด วิเคราะหและตัดสินใจรวมกันของชุมชน รูปแบบการทองเท่ียวท่ีเหมาะสมกับชุมชน หมายถึง รูปแบบการทองเท่ียวที่ไมสงผลกระทบดานลบตอชุมชนทั้งดานสังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และสิ่งแวดลอม และสอดคลองกับศักยภาพและขอจํากัดของชุมชน ขอจํากัด หมายถึง ปญหาและอุปสรรคของชุมชนท่ีอาจจะมีผลตอการพัฒนารูปแบบการทองเท่ียว

ศักยภาพ หมายถึง ความสามารถหรือความพรอมของชุมชนท่ีอาจจะมีผลตอการพัฒนารูปแบบการทองเท่ียว ทุนชุมชน หมายถึงทุนทางธรรมชาติ ทุนทางสังคม ทุนทางทรัพยากรมนุษย และทุนทางวัฒนธรรม

Page 32: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

บทท่ี 2

บริบทท่ัวไปของชุมชน

บริบททางประวัติศาสตร

จากคําบอกเลาของผูเฒาผูแกในหมูบานไดเลาวา ชาวบานหวยยางนั้นไดอพยพมาจาก บานม่ัน เมืองเซะ สาละวัน คําทอง เมืองวัง ของประเทศลาว โดยการนําของนายยาง ( ทาวโพธิสาร) และนายโตะ โดยเดินทางขามแมน้ําโขง เขาสูจังหวัดนครพนม แลวเดินทางตอจนมาถึงภูพาน ซึ่งปจจุบันคือบานหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร และไดเลือกพ้ืนท่ีนี้เปนท่ีต้ังหมูบาน เพราะเห็นวาที่แหงนี้มีดิน มีน้ํา ท่ีอุดมสมบูรณ เหมาะแกการเพาะปลูกอยางยิ่ง จึงเปนท่ีมาของชื่อหมูบานหวยยาง เนื่องจากนําชื่อของผูต้ังหมูบานมาเปนชื่อของหมูบาน ตอมาเมื่อมีพระราชบัญญัตินามสกุล จึงตั้งนามสกุลวา “ ยางธิสาร” โดยนําเอาชื่อผูต้ังหมูบานผสมกับชื่อหมูบานหวยยาง

ชุมชนหวยยางมีประวัติความเปนหมูบานขาดแคลนเนื่องจากประสบภัยแลง โดยในป พ.ศ. 2510 บานหวยยางเปนหมูบานยากจนอันดับตนๆของจังหวัดสกลนคร เปนหมูบานที่ประสบภัยแลงถึง 2 คร้ัง คร้ังท่ี 1 ยายไปอยูท่ีบานทามวง ตําบลน้ําจ่ัน อําเภอเซกา จังหวัดหนองคาย หนีภัยไป 20 ครัวเรือน กลุมท่ี 2 ยายไปอยูท่ี บานโคกสําราญ ตําบลชุมภูพร จังหวัดบึงกาฬ ครั้งที่ 2 หนีภัยไปจํานวน 12 ครัวเรือน โดยยายตามญาติพ่ีนอง 3 กลุม คือ

กลุมท่ี 1 ยายไปบานทามวง อําเภอเซกา จังหวัดหนองคาย กลุมท่ี 2 ยายไปบานคําบอน ตําบลน้ําจ่ัน อําเภอเซกา จังหวัดหนองคาย กลุมท่ี 3 ยายตามญาติพี่นองไปบานหวยลึก บานบุงคลา จังหวัดหนองคาย

บริบททางภูมิศาสตร

ท่ีตั้ง

ชุมชนหวยยาง หมูท่ี 6 และหมูท่ี 9 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ตั้งอยูทางทิศตะวันออกของอําเภอโคกศรีสุพรรณ มีระยะทางหางจาก อําเภอฯประมาณ 12 กิโลเมตร และหางจากจังหวัดสกลนครประมาณ 36 กิโลเมตร มีอาณาเขตติดตอดังนี ้

Page 33: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

ทิศเหนือ จรดกับบานโพนคอ ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร

ทศใต จรดกับเทือกเขาภูพาน เขตตําบลหนองบอ อําเภอนาแก จังหวัดนครพนม

ทิศตะวันออก จรดกับบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร

ทิศตะวันตก จรดกับเทือกเขาภูพาน ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร

ภาพประกอบท่ี 2: แผนที่กายภาพแสดงท่ีต้ังของชุมชนหวยยาง

ลักษณะภูมิประเทศ ชุมชนหวยยางมีสภาพแวดลอมที่ต้ังอยูบนเนินเขาที่เต้ีย ๆ ลอมลอบดวยทุงนาและภูเขาสลับซับซอน

ใกลกับอุทยานแหงชาติภูผายล เดิมบริเวณนี้จะเต็มไปดวยปาไม พืชพันธุธรรมชาติ และสัตวปานานาชนิด ซึ่งในปจจุบันไดลดนอยลง เนื่องจากการขยายตัวของประชากรในชุมชน ทําใหความตองการท่ีจะทํามาหากินเพ่ิมมากขึ้น ระหวางหมูบานกับภูเขาเปนที่ราบลุมเชิงเขา สภาพพ้ืนท่ีในหมูบานหวยยางนั้นถือวาเหมาะแกการเพาะปลูก ทําไร ทํานา ทําสวน เพราะมีแหลงน้ําเพียงพอในการทําการเกษตร (พาดี ยางธิสาร. 2555 : สัมภาษณ)

Page 34: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

ลักษณะภูมิอากาศ ลักษณะภูมิอากาศของชุมชนหวยยาง มีท้ังหมด 3 ฤดู ดังนี้ ฤดูรอน เร่ิมประมาณเดือนมีนาคม ถึง เดือนเมษายน อากาศจะรอนไมมากนัก เพราะบานหวย

ยางติดกับเขตอุทยานภูผายล ฤดูฝน เริ่มประมาณเดือนพฤษภาคม ถึง เดือนตุลาคม ในบางปจะมีฝนตกชุก ในชวงนี้จะเปนชวง

ท่ีชาวบานกําลังทําสวน ทํานา และทําใหทรัพยากรทางธรรมชาติมีความอุดมสมบูรณ เชน ดิน น้ํา ปา เปนตน

ฤดูหนาว เริ่มประมาณเดือนพฤศจิกายน ถึงเดือนกุมภาพันธ อากาศเย็นในบางปอากาศเย็นจัด ประมาณ 13 Cº เพราะบานหวยยางติดกับเขตอุทยานภูผายล และเปนฤดูกาลท่ีชาวบานจะเก็บเกี่ยวผลผลิต ทางการเกษตรโดยเฉพาะผลผลิตจากการทํานา

ภาพประกอบท่ี 3 ลักษณะภูมิประเทศของชุมชนหวยยาง

บริบททางสังคม

ครัวเรือนและประชากร

ชุมชนหวยยาง ประกอบดวย บานหวยยาง หมูท่ี 6 และบานหวยยางเหนือ หมูท่ี 9 ซึ่งแยกออกจากบานหวยยาง หมูท่ี 6 เมื่อป พ.ศ.2538 บานหวยยาง หมูท่ี 6 มีจํานวน ครัวเรือน 249 ครัวเรือน มีประชากรท้ังสิ้น 925 คน เปนชาย 472 คน หญิง 453 คน สวนบานหวยยางเหนือ หมูท่ี 9 มีจํานวน ครัวเรือน 248 ครัวเรือน มีประชากรทั้งสิ้น 829 คน เปนชาย 427 คน หญิง 402 คน

Page 35: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

กลุมชาติพันธุ

ชาวบานหวยยางเปนกลุมชาติพันธุภูไท ซึ่ งบรรพบุรุษอพยพมาจากประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว โดยการนําของทาวโพธสิาร ชาวภูไทถือวาเปนชนเผาไทหรือไตอีกสาแหรกหนึ่งซึ่งจัดวาเปนผูที่พูดภาษาตระกูลไทกะได (Tai -Kadai) หรือไท-ลาวชนชาติไทเหลานี้กระจัดกระจายอยูท่ัวไปในเขตปาฝนเมืองรอนโดยเฉพาะในดินแดนลุมแมน้ําโขงลุมแมน้ําสาละวินลุมแมน้ําดําลุมแมน้ําแดงท่ีอยูในบริเวณรัฐชาติไทยพมาลาวเวียดนามและจีนเปนตนรวมท้ังบริเวณทางเหนือของอินเดีย (ธันวาใจเท่ียง, 2545:12)

ชนเผาภูไทในอดีตสรางบานแปลงเมืองอยูกันเปนอาณาจักรใหญ มีเมืองแถนเปนราชธานีมีขุนบรมราชาธิราช เปนกษัตริยปกครองเมืองแถน มีมเหสี 2 องค คือ พระนางเอกแดง (เอคแกง) มีโอรส 4 องค และพระนางยมพาลามีโอรส 3 องค รวม 7 องค เมื่อโอรสเติบโตขึ้นจึงไดใหไปสรางเมืองตางๆ พรอมมอบทรัพยสมบัติใหอาณาจักรแถนจึงอยูอยางอิสระและหางไกลจากไทกลุมอื่น ไดปรากฏหลักฐานขึ้นอีกครั้งหนึ่งมีเนื้อความวาผูไทมีอยู 12 เมืองจึงเรียกดินแดนนี้วา “สิบสองจุไท” โดยแบงเปน

1. ภูไทดํา มีอยู 8 เมืองนิยมแตงกายดวยชุดเสื้อผาสีดําและสีคราม 2. ภูไทขาว มีอยู 4 เมือง อยูใกลชิดติดกับชายแดนจีนนิยมแตงกายดวยชุดเสื้อผาสีขาว ระบบความสัมพันธของชุมชน

ความสัมพันธของชุมชนหวยยาง เปนชุมชนท่ีมีความสัมพันธแบบพ่ึงพาอาศัยกัน แบบพี่แบบนอง ท้ังเปนญาติพ่ีนองกันตามสายเลือดและเครือญาติที่ไมใชญาติพ่ีนองกันตามสายเลือด มีความเอื้อเฟอเผื่อแผใหความชวยเหลือซึ่งกันและกัน มีความรักใครสามัคคีกลมเกลียวกัน เพราะสวนใหญจะอยูกันแบบเครือญาติละแวกบานเดียวกัน มีท้ังครอบครัวขยาย และครอบครัวเด่ียว มีวิถีชีวิตท่ีมีความผูกพันกับศาสนาผูเฒาผูแกจะชอบไปทําบุญท่ีวัดซึ่งเปนศูนยรวมจิตใจท่ีสําคัญของชาวบานหวยยางและยังพบวาภายในชุมชนยังมีความสัมพันธในดานอื่นๆ เชน กลุมเพาะพันธุกลาไม กลุมทอผา กลุมเลี้ยงไหม กลุมชีวภาพ และกลุมออมทรัพย ชุมชนหวยยางมีตระกูลใหญ และสําคัญ อยู 3 ตระกูล ซึ่งเปนตระกูลของผูท่ีเกี่ยวของกับการกอตั้งชุมชนหวยยางในอดีต ไดแก ตระกูลยางธิสาร ตระกูลโตะชาลี และตระกูลแสนธิจักร (หวล ยางธิสาร. 2555 : สัมภาษณ)

Page 36: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

บริบททางการเมืองการปกครอง

ชุมชนหวยยาง มีการแบงการปกครองออกเปนคุม มีหัวหนาคุมทําหนาท่ีประสานดูแล โดยแตละหมูบาน มีการแบงคุม ดังนี้

บานหวยยาง หมูท่ี 6 1. ชื่อคุม คุมวัดโพธิ์ชัย หัวหนาคุม ชื่อ นายสาคร ยางธิสาร 2. ชื่อคุม คุมแสงสวาง หัวหนาคุม ชื่อ นายลิขิต ยางธิสาร

3. ชื่อคุม คุมโรงเรียน หัวหนาคุม ชื่อ นายหวล ยางธิสาร 4. ชื่อคุม คุมบานนอย หัวหนาคุม ชื่อ นายเรง ยางธิสาร บานหวยยางเหนือ หมูท่ี 9

1. ชื่อคุม คุมกลางใหญ หัวหนาคุม ชื่อ นายจบ ยางธิสาร 2. ชื่อคุม คุมกลางตอนบน หัวหนาคุม ชื่อ นายไมตรี ศูนยราช

3. ชื่อคุม คุมหนองไผตอนบน หัวหนาคุม ชื่อ นายสนธีร ยางธิสาร 4. ชื่อคุม คุมหนองไผตอนลาง หัวหนาคุม ชื่อ นายคําตา นาริเพ็ง

ผูนําที่เปนทางการของชุมชน ผูนําที่เปนทางการของชุมชนหวยยาง ประกอบดวยผูนําทางการปกครอง และผูนําทางการเมือง

ไดแก ผูใหญบาน ผูชวยผูใหญบาน สมาชิกองคการบริหารสวนตําบล ผูทรงคุณวุฒิในแตละคุมและกรรมการหมูบาน ซึ่งมาจากการเลือกตั้งของชาวบานในหมูบาน ดังตอไปนี้

บานหวยยางหมูท่ี 6 1. ผูใหญบาน ชื่อ นายพายัพ โตะชาลี

2. ผูชวยผูใหญบาน 1. นายสมทรง สรอยสรง 2. นายพรเพชร เถือกตาถา 3. นายอภินันท เถือกตาถา

3. สมาชิก อบต. 1. นายสุรัน โตะชาลี 2. นายสาคร ยางธิสาร

Page 37: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

บานหวยยางเหนือหมู 9 1 ผูใหญบาน ชื่อ นายทวีชัย ยางธิสาร

2 ผูชวยผูใหญบาน 1. นายมนูญ ยางธิสาร 2. นายมีชัย ยางธิสาร 3. นายวิตตะ ยางธิสาร

3. สมาชิก อบต. 1. นายจบ ยางธิสาร 2. นางวงคจันทร ยางธิสาร

โดยผูนําทางการมีบทบาทหนาท่ีเปนผูประสานงานระหวางหนวยงานราชการกับชาวบานในพ้ืนท่ีเกี่ยวกับงานพัฒนาในดานตางๆของชุมชน และดําเนินกิจกรรมตางๆในหมูบาน รวมถึงการเปนผูไกลเกลี่ยปญหา ขอขัดแยงท่ีเกิดขึ้นกับชาวบาน

ผูนําที่ไมเปนทางการของชุมชน

ชาวบานหวยยางยังมีความเชื่อวัฒนธรรมประเพณีและใหความเคารพผูอาวุโสมีความเหนียวแนนในกลุมเครือญาติ แมวาจะมีผูใหญบานท่ีเปนผูนําทางการแตการทํางานจะตองปรึกษาหารือกับผูอาวุโส เชน กิจกรรมวันสําคัญทางศาสนา ผูนําในพิธีกรรมตางๆดานความเชื่อ การหาฤกษยามในพิธีสําคัญ ฯลฯ นอกจากนี้ยังมีผู รูเกี่ยวกับวัฒนธรรมและภูมิปญญาพ้ืนบานท่ีเปนอัตลักษณของชุมชน โดยมีความรูความสามารถดานตางๆดังตอไปนี้

บานหวยยาง หมูท่ี 6 1.นายพาดี ยางธิสาร มีความรูความสามารถดานการจักสาน ตะกรา กระต๊ิบขาว นอกจากนี้ยัง

สามารถเปนผูนําในพิธีบายศรีสูขวัญในการตอนรับแขกบานแขกเมือง 2.นางผองคํา โตะชาลี มีความรูความสมารถเกี่ยวกับการรักษาโรคดวยการเปา 3.นายหวล ยางธิสาร นอกจากเปนอดีตผูใหญบานแลวยังมีความรูความสามารถเกี่ยวการใชเคร่ือง

ดนตรีพ้ืนบานการขับรองหมอลํา และเปนครูสอนเกี่ยวกับกาพยกลอน ทํานองหมอลํา 4. นางแต คําเครือ มีความรูความสามารถเกี่ยวกับการใชสมุนไพรพื้นบาน

5. นายเกียน โตะชาลี เปนหมอสูตร มีความรูความสามารถในดานการทําพิธีบายศรีสูขวัญ ดูฤกษมงคลในงานพิธีตางๆ

Page 38: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

บานหวยยางเหนือ หมูท่ี 9 1. พระราชรัตนมงคล เลขานุการสมเด็จพระสังฆราช ทานเปนชาวบานหวยยาง มีบทบาทเปนผูนํา

ทางจิตวิญญาณของชาวบานหวยยาง รวมถึงมีบทบาทในการพัฒนาชุมชนหวยยาง ดวยการฟนฟูวัฒนธรรมประเพณีภูไทชาวหวยยาง และสงเสริมดานการทองเท่ียว จากการดําเนินโครงการสรางอุโบสถดิน ถวายเปนพระราชกุศลแดพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เนื่องในวโรกาสเจริญพระ ชนมพรรษา 84 พรรษา

2.นายเลา ยางธิสาร อดีตผูใหญบานหวยยาง 3.นายวิกรานต โตะชาลี อดีตผูใหญบาน 4.นายเซง คําเพชรดี มีความรูความสามารถดานมนตคาถา เปารักษาพิษงู ไลปอบ

5.นายขันคํา ยางธิสาร มีความรูความสามารถดานการเปาฝหัวดํา 6. นางจอม จองสระ มีความรูความสามารถดานยาสมุนไพร 7. นายชุย แสนธิจักร มีความรูความสามารถดานไลปอบ

บริบททางวัฒนธรรม

การแตงกาย การแตงตัวของชาวภูไท ผูชายจะนุงผาดําหรือขาว ใสเสื้อทอเองสีดําไมใชเคร่ืองประดับ ผูหญิงนุง

ซิ่นสีดําและใสเสื้อดําสะพายแลง โดยเอาแขนเสื้อสองแขนผูกติดเขาหากันพอปดบังหนาอก เครื่องประดับผูหญิงสวมกําไรขอมือสีเงิน ตางหูเงิน เกลาผมสูงจัดเปนกีบสวยงาม รัดดวยผาผืนเล็กๆในงานบุญตางๆ จะแตงตัวสวยเปนพิเศษ ผูชายจะนุงผาไหมสวมเสื้อชั้นในสะพายผาทอลายตางๆผูหญิงนุงซิ่นมัดหมี่สวมเสื้อดําแขนยาวผาอกติดกระดมดาย 30 - 40 เม็ด สลับดวยลายสตางค มีลูกปดแกวคลองคอ ขอมือ และประดับผม บางคนมีสรอยหอยเงินเหรียญตางๆ การแตงกายของชาวภูไทไมวาจะอยูในพ้ืนท่ีใดก็มีลักษณะการแตงกายเหมือนกัน

Page 39: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

ภาพประกอบที่ 4 ชุดภูไท ชาย – หญิง ภาพประกอบท่ี 5 ชุดภูไทท่ีใชตอนรับแขก

ภาษา บานหวยยางจะมีภาษาพูดและเสียงวรรณยุกตใกลเคียงกับภาษาอีสานบางคํา ตางแตสําเนียงพูดท่ี

ภูไทออกเสียงสระอัว เอีย เอือ ไมได จะออกเสียงอัวเปนโอ และเอียเปนเอ เอือเปนเออ น้ําเสียงมักจะสั้นหวน และตวัดเสียงสูงขึ้นในพยางคทาย เชนคําวา “ไม” จะออกเสียงวา “มิ, มิได” คําวา “อะไร” จะออกเสียงวา “พิสัง” “หองครัว” จะออกเสียงวา “หองโค” “พอ,แม” เรียกวา “ผอ,แหม,โพะ,เบะ” เปนตน จากคําบอกเลาของผูเฒาผูแกในหมูบานบอกวาในอดีตบานหวยยางพูดภาษา “ภูไทเซะ” ซึ่งเปนภาษาท่ีไพเราะและฟงงาย แตปจจุบันภาษามีการเปลี่ยนแปลงไปเหลือเพียงไมกี่คนท่ีสามารถพูดภาษาภูไทเซะได

ศาสนา ชาวบานหวยยางนับถือศาสนาพุทธทุกหลังคาเรือน จึงถือไดวาวัดเปนจุดศูนยกลางทางพุทธศาสนา

ความศรัทธาในการทําบุญประเพณี การทําบุญในวันพระหรือวันธรรมสวนะ และวันสําคัญทางศาสนา เชน วันเขาพรรษา วันออกพรรษา งานบุญผเวส งานบุญสงกรานต เปนตน วัดในชุมชนหวยยาง มีท้ังหมด 2 วัด คือ วัดโพธิ์ชัย และวัดพุทธนิมิตสถิตสีมาราม นอกจากนั้นยังมีสํานักสงฆท่ีตั้งอยูในเขตอุทยานแหงชาติภูผายล จํานวน 2 แหง คือ วัดถ้ําผาแก และวัดภูนอย

พิธีกรรม ชาวบานหวยยาง มีความเชื่อเร่ืองผี ไดแก ผีแถน ผีฟา ผีปูตา ผีนา ผีบรรพบุรุษ และผีบานผีเรือน

รวมถึงมีความเชื่อทางพุทธศาสนา จึงมีการประกอบพิธีกรรมท่ีสําคัญเพ่ือเปนการแสดงใหเห็นถึงการเคารพนับถือควบคูไปกับการดําเนินชีวิตและการประกอบอาชีพ ซึ่งมีพิธีกรรมสําคัญ เชน พิธีเลี้ยงผีปูตา พิธีเหยา และพิธีสรงน้ําพระภู โดยมีรายละเอียดดังนี้

Page 40: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

พิธีเล้ียงผีปูตา ในเดือนสามของแตละปจะมีการเลี้ยงผีปูตา ซึ่งชาวบานจะรวมกันเก็บรวบรวมเงินตามศรัทธาของ

ชาวบานมาซื้อไกทําพิธี โดยมีตัวแทนเรียกวาเจาจํ้า มาทําพิธีตามหลักท่ีเคยนับถือกันมา เพราะมีความเชื่อวาผีปูตาเปนผูดูแลคุมครองปกปกรักษาลูกหลาน ซึ่งจะมีการจัดพิธีบวงสรวงผีปูตาทุกๆปในวันขึ้น 3 ค่ํา เดือน 3 กอนลงทําไรไถนาก็จะมีการบอกกลาวผีปูตากอนจงจะทําได เมื่อเก็บเกี่ยวเสร็จก็นําไปถวายผีปูตากอนจึงจะนําไปรับประทานได ถาไมปฏิบัติเชนนั้นผีปูตาก็จะแสดงสัญลักษณเพ่ือเปนการเตือนวาลูกหลานไมไดถวายสิ่งของท่ีตนเองปลูกฝงลงไปในท่ีดินของปูตา ดวยเหตุนี้ผีปูตาจึงเปนท่ีเคารพนับถือชาวบาน โดยพิธีการจะทําการบวงสรวงท่ีปาชุมชนซึ่งเปนท่ีท่ีศาลปูตาตั้งอยู เครื่องบูชาประกอบดวย เหลาขาว 1 ไห ไก 1ตัว ดอกไม ธูป เทียน ตามจํานวนคนท่ีอาศัยอยูในครอบครัว แลวกจ็ะมีการบอกกลาวผีปูตาโดยใหเจาจํ้าเปนผูสื่อสารหรือบอกกลาว พิธีเหยา การเหยา (การรําผีฟา) เปนพิธีกรรมความเชื่อในการนับถือผี เปนการเสี่ยงทาย เม่ือมีการเจ็บปวยในครอบครัวก็เชื่อวาเปนการกระทําของผีจึงตองทําพิธีเหยาเพ่ือ “แกผี” วาผูเจ็บปวยนี้ผิดผีดวยสาเหตุใด ผีตองการใหทําอะไรจะไดปฏิบัติตาม เชื่อวาทําการแกผีแลวอาการเจ็บปวยก็จะหายตามปกติ โดยจะมีผูทําพิธีเหยาเรียกวา “ผีหมอ” จําพิธีเซนผี ติดตอสื่อสารกับผีโดยวิธีรองรําประกอบดนตรีประเภท แคน คํารองนั้นเชื่อวาเปนคําบอกของผีท่ีจะเชื่อมโยงถึงผูปวย คนคุมหรือคนเลี้ยงผีเรียกวา “แมเมือง” ในปหนึ่งๆลูกเมือง (ผีหมอ) จะทําการคารวะแมเมือง 1 คร้ัง เรียกวา “พิธีเลี้ยงผีของผีหมอ” (หมอเหยา) พิธีเหยาจําแนกได 4 ลักษณะดังนี้

1. การเหยาเพื่อชีวิต เปนลักษณะการเหยาเพ่ือรักษาอาการเจ็บปวยหรือเหยาตออายุ ภาษาหมอเหยาหรือผีหมอเรียกวา “เหยาเพ่ือเลี้ยงม้ิงเลี้ยงหอ”

2. การเหยาเพื่อคุมผีออกเปนการสืบทอดหมอเหยา กลาวคือ เม่ือมีผูปวยรักษาอยางไรก็ไมหายหมอเหยาจะมีการเหยาคุมผีออก (เนื่องจากมีผีรายเขาสิง) ถาผีออกผูปวยจะลุกขึ้นมารายรํากับหมอเหยาและผูปวยท่ีหายเจ็บไขก็จะกลายเปนหมอเหยาตอ

3. การเหยาเพื่อเลี้ยงผี เปนการจัดเลี้ยงเพ่ือขอบคุณผี โดยจะจัดในชวงเดือน 4 หรือเดือน 6 ของทุกๆป ถาปใดหมอเหยาไมไดเหยามากนักหรือขาวปลาไมอุดมสมบูรณก็จะไมเลี้ยง หากแตจะทําพิธีฟายน้ําเหลา (ใชใบและดอกไมมาจุมน้ําเหลาและประพรมใหกระจายออกไป)

Page 41: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

4. การเหยาเอาฮูปเอาฮอย เปนพิธีกรรมเหยาในงานประเพณี จะทํากันในงานบุญพระเวสฯของแตละปและจะทําติดตอกัน 3 ปเวน 1 ปจึงจะทําอีกสวนใหญผูท่ีทําพิธีเหยานี้จะเปนผูชายลวน

พิธีสรงน้ําพระภ ู

พิธีสรงน้ําพระภูนี้ ชาวบานจะทําในชวงปลายเดือน 5 หรือตนเดือนหกของทุกป ซึ่งกําหนดการสรงน้ําพระภูชาวบานจะเปนกําหนดเพ่ือหาฤกษท่ีเปนมงคลและมีความเหมาะสม โดยชาวบานในชุมชนหวยยางและหมูบานใกลเคียงจะทําอาหารขึ้นไปถวายเพลพระสงฆ และรับประทานรวมกันบนพระธาตุดอยอางกุง ในชวงบายพระสงฆจะทําพิธีและจะสรงน้ําพระพุทธศิริมงคลและพระธาตุดอยอางกุง โดยชาวบานมีความเชื่อวาหากปไหนไมไดทําพิธีสรงน้ําพระภูจะทําใหฝนไมตกตองตามฤดูกาล

ประเพณี 12 เดือน ชาวบานหวยยาง ยังมีการปฎิบัติ ฮีต 12 เปนประเพณีในแตละเดือนดังตอไปนี้ บุญเดือนอาย “ทําบุญปใหม” ชาวบานจะไปวัดทําบุญตักบาตร ถวายสังฆทานและมีงานร่ืนเริงกัน บุญเดือนย่ี เปนประเพณีที่เกี่ยวของกับการเก็บขาวและการนวดขาว ทําในชวงท่ีขาวออกรวงแกจัด

และรอการเก็บเกี่ยว โดยมีพิธีการสูขวัญขาวเปนการเซนไหวผีปาปูตา เดือนสาม “ประทายขาวเปลือก” (บุญกองขาว) และเลี้ยงเจาปูตาในเดือนสามของแตละปจะมี

การเลี้ยงผีปูตา ซึ่งชาวบานจะรวมกันเก็บรวบรวมเงินตามศรัทธาของชาวบานมาซื้อไกทําพิธี โดยมีตัวแทน เรียกวาเจาจํ้า มาทําพิธีตามหลักท่ีเคยนับถือกันมา

เดือนส่ี “บุญมหาชาติ” หรือเรียกวา “บุญพระเวส” เปนบุญท่ียิ่งใหญที่สุดของฮีตสิบสองผูท่ีมีศรัทธาท้ังหลายจะไปรวมทําบุญกันอยางคับคั่ง ตองเตรียมงานท้ังฝายฆราวาสและฝายสงฆจะชวยกันตกแตงประดับธงและตกแตงศาลาธรรมใหมีบรรยากาศคลายกับเรื่องพระเวสสันดรฝายฆราวาสหญิงตองเตรียมอาหารไวทําบุญและเลี้ยงแขก นิยมทําขนมจีนเปนหลัก แตงคําหมาก กรอกยา ดอกไมธูปเทียน และตักน้ําเตรียมไวใหแขกใชแขกตางหมูบาน นอกจากนั้นในวัน “โฮม” นี้ยังตองเตรียมขาวพันกอนเพื่อใชในการแหขาวพันกอนไปถวายพระ ท่ีตองทําใหไดถึงพันกอนนั้นเนื่องจากถือ วาเปนการบูชา “คาถาพัน” ในการเทศนมหาชาติในวันงานตอนเย็นก็จะมีการแหตนดอกเงิน และการแหกัณฑจอบกัณฑหลอนรอบหมูบานแลวนําเขามาถวายท่ีวัดก็เปนเสร็จพิธี

เดือนหา บุญสงน้ําพระ หรือท่ีเรียกวา บุญสงกรานต ชาวบานจะหยุดการทํางาน 3 วัน ระหวางในชวงเชาของวันที่ 13 เมษายน ชาวบานจะมีรวมตัวกันท่ีวัดเพ่ือทําบุญใสบาตรที่วัดเพราะถือวาเปนวันขึ้น

Page 42: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

ปใหมของไทย มีการสรงน้ําพระพุทธรูปซึ่งเปนพระพุทธรูปประจําหมูบาน คือ หลวงพอองคแสน และหลวงพอที่ปนดวยกลีบดอกบัวท้ังองค จากนั้นก็สรงน้ําพระสงฆท่ีวัดโดยจะมีผูนําทางพิธีกรรมทําการขอขมาพระสงฆเพ่ือจะทําพิธีสรงน้ําเพื่อขอพร เมื่อสรงน้ําพระเสร็จชาวบานก็จะเชิญผูสูงอายุในหมูบานมานั่งเรียงแถวใหลูกหลานไดรดน้ําดําหัวเพ่ือขอพร ชวงบายก็มีการแหหลวงพอองคแสนพระและพระสงฆรอบหมูบานหรือท่ีชาวบาน เรียกวาพิธีแหหลวงพอองคแสนซึ่งจะทําเปนประจําทุกปจนเปนประเพณีคูกับวันสงกรานต นอกจากนี้ยังมีการเลนสาดน้ํากันเพ่ือความสนุกสนานแลวก็มีการเก็บดอกไมตามไรนาปาเขาใกลๆเพ่ือนําไปบูชาพระ ตอมาก็จะมีการ “จุดบ้ังไฟ” และสรงน้ําพระธาตุดอยอางกุง เปนพิธีการขอฝนและเสี่ยงทายฝนฟาตามความเชื่อด้ังเดิม โดยชาวบานท้ังตําบลจะตกลงเลือกวันกัน แลวเตรียมอาหารเพ่ือนําไปถวายเพล โดยเดินขึ้นไปยังพระธาตุดอยอางกุง เม่ือพระสงฆฉันเพลเสร็จ ก็จะทําพิธีท่ีบริเวณพระธาตุ และใหชาวบานสรงน้ําพระธาตุเพ่ือใหเปนสิริมงคล

เดือนหก “บุญบั้งไฟ” และหมอเหยา เปนการรักษาคนปวยหรือเรียกขวัญคลายๆ กับพิธีของชาว ไทยอีสานท่ัวไป เพ่ือเปนกําลังใจใหผูปวยหรือการเรียกขวัญ โดยหมอผีจะทําหนาที่เปนลามสอบถาม วิญญาณของบรรพบุรุษ

เดือนเจ็ด ทําบุญติดปติดเดือน เรียกวาทําบุญดวยเบิกบาน ทําพิธีเลี้ยงมเหศักด์ิหลักเมือง เลี้ยงผีบานซึ่งเรียกวาผีปูตา หรือตาปู ซึ่งเปนผีประจําหมูบานและเรียกผีประจําท่ีนาวา “ผีตาแฮก” คือกอนจะลงทํานาตองมีการสรวงบูชาเจาผีนากอนเปนการแสดงความนับถือรูบุญคุณ

เดือนแปด “เขาพรรษา” เปนงานบุญท่ีชาวบานไมเคยละเลยต้ังแตอดีตมาจนถึงปจจุบัน วัน เขาพรรษานั้นตอนเชาจะมีการทําบุญตักบาตร โดยนิมนตพระสงฆจาก วัดภูนอย และวัดโพธิ์ชัย ถวาย ภัตตาหาร ผาอาบน้ําฝน และถวายเทียนพรรษาสําหรับใหพระจุดตลอดพรรษา

เดือนเกา “ทําบุญขาวประดับดิน” หรือท่ีเรียกวา “บุญหอขาว” เปนบุญท่ีแสดงความกตัญูกตเวทีตอบรรพบุรุษ รําลึกถึงคุณงามความดีท่ีไดกระทําตอตนเองเม่ือคร้ังท่ียังมีชีวิตอยูความผูกพันกันเชนนี้ ทําใหระบบเครือญาติไมขาดสาย กําหนดทํากันในวันแรม 14 ค่ําเดือนเกาชาวบานจะนําขาวพรอมอาหารคาวหวานท่ีทําเปนหอๆ ไปวางไวตามบริเวณสิม วิหาร กิ่งไมพ้ืนดินหรือลานบาน ในตอนเชามืดแลว กรวดน้ําอุทิศสวนกุศลใหญาติพ่ีนอง บรรพบุรุษท่ีลวงลับไปแลว เพราะเชื่อวาในวันแรม 14 ค่ําเดือนเกา บรรดาผูลวงลับไปแลวจะถูกปลอยจากนรกขึ้นมารับอาหารจากลูกหลานนั่นเอง

เดือนสิบ “ทําบุญขาวสาก” ประเพณีการทําบุญขาวสากมีจุดประสงคเชนเดียวกับการทําบุญ ขาวประดับดิน คือ อุทิศเปนทานแดญาติท่ีลวงลับไปแลวเชนกัน แตจะทําใหชวงเพล

Page 43: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

เดือนสิบเอ็ด เม่ือพระภิกษุสงฆเขาพรรษาตามฮีตท่ี 8 และออกพรรษาตามฮีตท่ีเดือนสิบเอ็ดแลวแสดงวาจําพรรษาครบสามเดือนทําพิธีปวารณา ตามวัดตางๆจุดประทีปโคมไฟสวางไสว เร่ิมต้ังแตกลางเดือนสิบเอ็ดถึงกลางเดือนสิบสองเทศกาลนี้เรียกวาเทศกาลกฐิน

เดือนสิบสอง “ทําบุญกฐิน” (กฐินเริ่มแรม 1 ค่ํา เดือน 11 ถึงกลางเดือน 12) เปนงานบุญแบบเดียวภาคกลาง คือมีการจองกฐินแหกฐิน และสมโภชกฐินเปนอันดับสุดทาย โดยปกติในสมัยกอนนิยมทอกผากฐินกันเอง จะเปนผาฝาย ผาไหม เพราะถือวาไดผลานิสงค

บริบททางทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม

ชุมชนหวยยางมีสภาพแวดลอมท่ีดีลอมรอบดวยทุงนา และติดเทือกเขาภูพานทางทิศใต มีปาชุมชนซึ่งประชาชนใชประโยชนรวมกัน 2 แหง แหงแรกต้ังอยูทางทิศเหนือของโรงเรียนบานหวยยางมีเนื้อท่ี 3 งาน ซึ่งเปนพ้ืนท่ีท่ีชาวบานใชประโยชน เชน หาเถาวัลย เห็ด และสัตวปาขนาดเล็ก แตปาชุมชนไ ดประสบปญหาเถาวัลยปกคลุมตนไมทําลายความหลากหลายทางธรรมชาติ องคกรปกครองสวนทองถิ่นจึงไดมีโครงการพัฒนาปาชุมชนและปลูกไผเถิดพระเกียรติ 84 พรรษา เพ่ือฟนฟูปาชุมชน แหงท่ีสองเปนปาชุมชนท่ีใชประโยชนเปนปาชาชาวบานในชุมชนจะประกอบพิธีกรรมที่สําคัญคือพิธีฝงศพ นอกจากนี้บานหวยยางยังมีหนองน้ําสาธารณะ 1 แหง คือหนองไผ มีเนื้อที่ประมาณ 50 ไร เปนท่ีตั้งของศาลปูตาซึ่งมีมานานพรอมกับหมูบานในชาวบานไดใชประโยชนจากไผท่ีเกิดขึ้นโดยธรรมชาติไดตลอดทั้งป ในอดีตสภาพของหนองไผมีลักษณะเปนปาไผทึบประกอบกับเปนท่ีตั้งของศาลปูตาทําใหผูเขาไปใชประโยชนในพ้ืนท่ีหนองไผมีความเกรงกลัวและถูกเรียกวาเปรียบเสมือนตูเ ย็นของชุมชนเพราะเต็มไปดวยอาหารและประโยชนใชสอยมากมาย

Page 44: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

ภาพประกอบท่ี 3 ปาชุมชน

บริบททางเศรษฐกิจ

การประกอบอาชีพหลัก ชาวบานหวยยางมีการประกอบอาชีพทํานาเปนหลัก โดยมีท้ังการทํานาปและนาปรัง ซึ่งการทํานาปรังสวนใหญจะอาศัยน้ําจากอางเก็บน้ําหวยโท - หวยยาง การประกอบอาชีพรอง ชาวบานหวยยางมีการประกอบอาชีพรองหลายอยางดวยกัน ไดแก การทําสวน การเพาะกลาไม การรับจาง สวนใหญจะเปนอาชีพเสริมตามฤดูกาลไดแก การรับจางดํานา เกี่ยวขาว รับจางลงกลาผักหวาน การคาขาย ไดแก ขายกลาไม การคาขายภายในชุมชน ขายของท่ีไดจากการหาของปาและสัตวน้ําที่หาไดจากอางเก็บน้ําหวยโท สวนการเลี้ยงสัตวมีท้ังการเลี้ยงไวขาย เพ่ือใชแรงงาน และเพ่ือบริโภค เชน ปลา ไก เปด โคขุน กระบือ เปนตน นอกจากนั้นชาวบานท่ีเปนผูหญิงยังมีรายไดเสริมจากการทอผาอีกดวย

Page 45: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

ตารางที่ 1: ปฏิทินทางเศรษฐกิจของชุมชนหวยยาง

กิจกรรมทางเศรษฐกิจ มค กพ มีค เมย พค มิย กค สค กย ตค พย ธค การทํานาป การทํานาปรัง การปลูกยาสูบ การปลูกถั่วลิสง การปลูกผัก การเพาะพันธุกลาไม การหาของปา การจับปลา การเลี้ยงโคขุน การเลี้ยงไก เปด ปลา การทอผา การรับจางท่ัวไป การคาขายในตลาดชุมชน

บริบทองคกรชุมชน

ชุมชนหวยยาง ท้ังหมูบานหวยยางและหวยยางเหนือ มีกลุมองคกรตางๆดังตอไปนี้ 1. วิสาหกิจชุมชนกลุมเพาะพันธกลาไม จัดต้ังขึ้นเม่ือป พ.ศ. 2553 โ ด ย มี วั ต ถุ ป ร ะ ส งค เ พ่ื อ

รวมกลุมหาเงินมาลงทุนในการเพาะพันธุกลาไม ซึ่งมีแหลงเงินทุนท่ีสําคัญไดแก ธนาคารเพ่ือการเกษตรและสหกรณการเกษตร ซึ่งสมาชิกภายในกลุมไดมีการสรางขอตกลงในการปฏิบัติรวมกัน คือ สมาชิกในกกลุมจะตองมีการเก็บเงินออมของแตละเดือนเดือนละ 40 บาท ขายตนกลาไมในราคาเดียวกัน และมีการประชุมกันเดือนละ 1 ครั้ง โดยมีการเพาะพันธกลาไมหลายชนิด เชน กลาผักหวาน มะกรูด มะนาว ฯลฯ

2. กลุมเยาวชน จัดต้ังขึ้นเพ่ือสงเสริมใหเยาวชนในหมูบานมีกิจกรรมและใชเวลาวางใหเกิดประโยชน ปจจุบันมีการรวมกลุมกับท้ังสองหมูบานคือบานหวยยางและบานหวยยางเหนือ

Page 46: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

3. กลุมสตรีแมบานออมทรัพย จัดต้ังขึ้นเพ่ือสนับสนุนกิจกรรมพัฒนาสตรีตอองคกรสตรี ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของสตรีในหมูบานใหมีความเปนอยูท่ีดีขึ้น ตามเกณฑความจําเปนพ้ืนฐานรวมท้ังครอบครัวและชุมชน

4. กลุมทอผาไหม จัดตั้งขึ้นในป พ.ศ. 2531 โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือแกไขปญหาความยากจน โดยพระราชินีทานไดมีการสงเสริมใหชาวบานไดทอผาเปนอาชีพเสริม โดยสมาชิกกลุมทอผาไหมไดไปทําการศึกษาดูงานท่ีจังหวัดรอยเอ็ดเพ่ือพัฒนาพันธไหมเพ่ือใหไดไหมที่มีคุณภาพ ประเภทของสินคาไดแกผาพ้ืน ผาไหมมัดหม่ี หม่ีขอ ผาลายสะโลง ผาขาวกระรอก ผาลายสกอต ซึ่งจะมีผูเขามารับซื้อสินคาทําใหสมาชิกภายกลุมมีวัตถุดิบและตลาดรองรับ แตในปจจุบันสมาชิกในกลุมมีจํานวนลดนอยลงเนื่องจากสมาชิกภายกลุมไมมีเวลาและขาดสถานที่ทําการกลุมทําใหการประกอบกิจกรรมตางๆจึงคอนขางลําบาก 5. กลุมผลิตปุยชีวภาพ จัดตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2541 มีวัตถุประสงคเพ่ือตองการปรับเปลี่ยนวิถีการผลิตใหหันมาผลิตปุยชีวภาพเองและไมสิ้นเปลืองมีการนําเอาวัตถุดิบท่ีหาไดในชุมชนมาใช เชน กากน้ําตาล เศษอาหาร ผัก ผลไม ศัตรูพืช เชน หอยเชอรร่ี สถานบริการและสถานท่ีสําคัญของชุมชน

รานคาขายของชํา จําหนายขาวของเครื่องใชท่ีจําเปนในครัวเรือนทั้งใชในการประกอบอาหาร การประกอบอาชีพ ซึ่งมีความจําเปนตอชุมชน มีจํานวน 8 ราน

ท่ีอานหนังสือพิมพ เปนสถานท่ีท่ีชาวบานใชหาขอมูลขาวสารและความเคลื่อนไหวตางๆท่ีเกิดขึ้นในสังคม มีจํานวน 1 แหง

หอกระจายขาว เพ่ือใหผูนําชุมชนหรือกรรมการหมูบานใชประชาสัมพันธขาวสารตางๆจากทางราชการ นอกจากนี้ยังใชประชาสัมพันธเพ่ือเรียกประชุมชาวบานในกาลจัดงานสําคัญตางๆ

ตูโทรศัพทสาธารณะ เพื่อใชติดตอสื่อสารไปยังชุมชนภายนอกหรือใชติดตอญาติพ่ีนองท่ีไปทํางานในตางจังหวัด แ ตในปจจุบันโทรศัพทสาธารณะไมได รับความนิยมเนื่องจากแตละครัวเรือนมีโทรศัพทเคลื่อนท่ีเพราะใชบริการงายกวาโทรศัพทสาธารณะ มีจํานวน 1 ตู

ศูนยสาธารณสุขมูลฐาน จัดต้ังขึ้นเพ่ือเปนศูนยการนัดหมายและท่ีทํางานหรือศูนยรวมขอมูลขาวสารทางดานสาธารณสุขของอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบาน

รานซอมรถ บริการซอมรถใหกับชาวบานในหมูบานโดยอัตราคาบริการคิดราคาแบบเปนกันเอง มีจํานวน 2 ราน

รานตัดผม ใหบริการกับชาวบานภายในชุมชนและชาวบานในชุมชนรอบนอก มีจํานวน 1 ราน

Page 47: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

อุโบสถดิน

ภาพประกอบท่ี 6 อุโบสถดิน

เปนโบสถดินแหงแรกของประเทศไทย ต้ังอยูท่ีบานหวยยางหมูท่ี 6 จัดสรางที่วัดปาพุทธนิมิตสถิตสีมาราม (วัดบานนอย) กอตั้งวัดในป พ.ศ. 2470 สังกัดคณะสงฆธรรมยุต

โรงเรียนบานหวยยาง

ภาพประกอบท่ี 7 โรงเรียนบานหวยยาง

Page 48: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

โรงเรียนบานหวยยาง จัดต้ังขึ้นในป พ.ศ. 2475 เดิมชื่อวาโรงเรียนวัดบานหวยยาง “วัดโพธิ์ชัย” ตอมาไดยายมาต้ังเปนโรงเรียนบานหวยยาง ใหบริการดานการศึกษาเริ่มจากชั้นอนุบาลไปจนถึงชั้นมัธยมศึกษาท่ี 3 ซึ่งเปนโรงเรียนขยายโอกาส ปจจุบันมีนักเรียนทั้งหมด 238 คน ในจํานวนนี้มีนักเรียนจากอําเภอนาแก จังหวัดนครพนม เขามาศึกษารวมดวย เนื่องจากหมูบานต้ังอยูใกลกับโรงเรียนจึงมีความสะดวกในการเดินทางมาศึกษาท่ีโรงเรียนบานหวยยาง

อางเก็บน้ําหวยโท – หวยยางและศาลาอนุสรณทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว พระองคทานไดมอบหมายงานใหกรมชลประทานดําเนินการกอสราง

อางเก็บน้ําหวยโท-หวยยางขึ้นในป 2528 แลวเสร็จเม่ือป พ.ศ. 2530 ในการนี้พระองคทรงเสด็จมาเปดอางเก็บน้ําดวยพระองคเอง เม่ือวันท่ี 30 พฤศจิกายน พ.ศ.2532 เพ่ือใหชาวบานไดใชน้ําในการทําการเกษตรในชวงเวลาท่ีขาดแคลนน้ํา

ภาพประกอบท่ี 8 จุดชมวิวอางเก็ยน้ําหวยโท-หวยยาง

Page 49: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

ภาพประกอบที่ 9 ศาลาอนุสรณทรงงาน

Page 50: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

บทท่ี 3

ศักยภาพและขอจํากัดของชุมชนหวยยาง

ศักยภาพของชุมชนหวยยาง

ศักยภาพดานทุนทางธรรมชาต ิ

แหลงทองเท่ียวในเขตอุทยานแหงชาติภูผายล

ชุมชนหวยยางเปนหมูบานท่ีมีทรัพยากรธรรมชาติท่ีอุดมสมบรูณทั้งดานทรัพยากรทางธรรมชาติ เนื่องจากตั้งอยูในบริเวณอุทยานแหงชาติภูผายลจึงมีลักษณะภูมิศาสตรเปนพ้ืนท่ีราบและภูเขาท่ีเปนแหลงตนน้ําลําธารกอใหเกิดน้ําตกและอางเก็บน้ํา การเรียงตัวของกอนหินท่ีมีความสวยงาม ถ้ําท่ีมีความสําคัญทางดานประวัติศาสตร ซึ่งกอใหเกิดแหลงทองเท่ียวทางธรรมชาติท่ีมีความงามตามธรรมชาติท่ีสามารถดึงดูดใหคนมาเท่ียวและยังมีแหลงทองเท่ียวทางประวัติศาสตรท่ีสําคัญหลายแหงดังตอไปนี้

น้ําตกศรีตาดโตน

ภาพประกอบท่ี 10 น้ําตกศรีตาดโตน

Page 51: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

น้ําตกศรีตาดโตน อัญมณีเม็ดงามแหงผืนปาภูยางอึ่ง มีความสูงประมาณ 10 เมตร กวางประมาณ 12 เมตร ต้ังอยูในอุทยานแหงชาติภูผายลท่ีครอบคลุมมีพ้ืนท่ีถึง 3 จังหวัด ไดแก นครพนม สกลนคร เปนน้ําตกหินปูน ท่ีมีความทามกลางความสวยงามเขียวขจีของผืนปา โดยเฉพาะในชวงฤดูฝนจะมีความงดงามยิ่งนัก เกิดจากไหลมารวมตัวกันของสายน้ําเล็กๆหลายสายเพ่ือไหลลงสูรองน้ําใหญของลําหวยโทเปนรองหวยระหวางภูผาแดง ซึ่งมีพื้นท่ีอยูในเขตตําบลหนองบอ อําเภอนาแก จังหวัดนครพนม และภูยางอึ่งอยูในเขตตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร

น้ําตกศรีตาดโตน มีลักษณะเปนลานหินกวางลาดเอียง เรียกวา ตาด ท่ีสามารถมองเห็นสายน้ําสีขาวแผออกกวางไหลตัดกับหินสีดําลงสูเบ้ืองลาง นับวาเปนความงามท่ีเกิดจากธรรมชาติสรางสรรค

1. น้ําตกศรีตาดโตนมีความสูงประมาณ 10 เมตร กวางประมาณ 12 เมตร 2. แองน้ําขนาดใหญท่ีเกิดจากการกัดเซาะของน้ําท่ีไหลกระทบกับพ้ืนหินเปนสีเขียว มีความลึก

ประมาณ 5 เมตร

น้ําตกศรีตาดโตน เดิมชื่อน้ําตกตาดโตน เนื่องจากบริเวณชั้นบนของน้ําตกมีน้ําไหลผานลานกวางเปนชวงๆหลายจุด ซึ่งชาวบานในตําบลเหลาโพนคอมักจะเรียกบริเวณท่ีเปนลานกวางวา ตาด กอนท่ีจะไหลไปตามความลาดเอียงของชั้นหิน และไหลตกลงสูเบ้ืองลาง และชาวบานเรียกการไหลของน้ําตกจากท่ีสูงลงสูท่ีตํ่าวา โตน จึงเปนท่ีมาของชื่อน้ําตก ตาดโตน และเม่ือป พ.ศ. 2553 ไดมีการสํารวจซึ่งนําโดยนายพิทักษ บริพิศ นายอําเภอโคกศรีสุพรรณในขณะนั้น เพ่ือเปดเปนแหลงทองเท่ียวของตําบลเหลาโพนคอ และไดทําพิธีเปดอยางเปนทางการเมื่อวันท่ี 9 ธันวาคม 2553 พรอมกับไดเพ่ิมคําวา ศรี ซึ่งเปนคํานําหนาชื่อของอําเภอ เขาไปอีกหนึ่งคํา จึงไดชื่อวา น้ําตกศรีตาดโตน ตั้งแตนั้นเปนตนมา

น้ําตกศรีตาดโตน เกิดจากรองหินหวยโทที่ไหลมาจากผืนปาอันอุดมสมบูรณ สายน้ําใสไหลผานลานหินเปนชวงๆ กอนท่ีจะไหลผานชองแคบๆเขาไปในแองน้ําซึ่งมีลักษณะเปนเหมือนสระขนาดเล็กแลวลนไหลลงสูลานหินกวางท่ีมีความลาดเอียง จะเปนสายน้ําสีขาวตัดกับพ้ืนหินสีดําสนิท ซึ่งเปนลีลาอันงดงามของธรรมชาติท่ีไดวางตําแหนงของสายน้ําใหไหลผานชั้นหินตางๆถึง 3 ชั้น กอนจะท้ิงตัวลงสูพ้ืนลางท่ีมีความสูงเกือบ 10 เมตร ซึ่งเกิดจากการกัดกรอนของน้ํามานานหลายปทํา ใหเกิดเปนแองขนาดใหญท่ีมีความลึกเกือบ 3 เมตร กอใหเกิดสายน้ําที่เย็นเฉียบไหลลงสูเบ้ืองลางตอไป แมวาน้ําตกแหงนี้จะอยูไกลพอควร แตก็ไดรับการมาเยือนของนักทองเที่ยวทุกยุคทุกสมัยเปนเพราะความงามของสาย

Page 52: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

น้ําตกประกอบกับความอุดมสมบรูณของผืนปาที่เปนสิ่งสําคัญท่ีทําใหคนรักธรรมชาติเขามาพักผอนและชื่น ชมความงามของน้ําตก

สําหรับการมาเยือนน้ําตกศรีตาดโตน ตองเดินทางโดยเรือเพ่ือขามอางเก็บน้ําหวยโท - หวยยางระยะทางประมาณ 1.32 กิโลเมตร ใชเวลาประมาณ 30 นาที จากจุดชมวิวพัทยานอยไปยังทามวง จากนั้นใชการเดินปาไปตามทางเดินของชาวบานท่ีใชในการเดินหาของปา ระยะทางประมาณ 1.86 กิโลเมตร ซึ่งระยะระหวางทางเดินที่ลัดเลาะไปตามรองหวยมีความงดงามของพรรณไมตางๆใหไดชมตลอดทางและไดยินเสียงน้ําเซาะแกงหินตลอดการเดินทางใชเวลาประมาณ 1 ชั่วโมง ก็เดินทางไปถึงน้ําตกศรีตาดโตน

กิจกรรมดานการทองเท่ียวไดแก การเดินปาศึกษาเสนทางธรรมชาติผานจุดทองเท่ียวท่ีสําคัญหลายจุด เชน จุดคนพบฟอสซิส การตกปลา จับปูคาย หาของปา เชน เห็ด หนอไม และเลนน้ําตก

ถ้ําผาเก

ภาพประกอบท่ี 11 พระพุทธสวางศากยมุนี พระนอนท่ี ถ้ําผาเก

ชื่อของถ้ําสันนิษฐานวามาจากชื่อของคางคาว ชาวบานมักจะเรียกคางคาวท่ีมาอาศัยอยูในถ้ําวา อีเกีย และลักษณะของถ้ําเปนหนาผาตัด เวาเขาไปขางในเปนถ้ําอยูในบริเวณภูยางอึ่งในอุทยานแหงชาติภูผายล นอกจากคูหาขนาดใหญแลวดานในยังมีอุโมงคถ้ําท่ีเปนชองแคบๆที่สามารถคานเขาไปไดเทานั้น และมีน้ําไหลอออกมาจากอุโมงคดังกลาวตลอดปไมเคยหยุดไหลแมจะเปนฤดูแลง ภายในถ้ํามีพระพุทธรูปประดิษฐานมากมายท้ังเกาและใหม และมีพระนอนองคใหญชื่อ พระพุทธสวางศากยมุนี ซึ่งกอสรางโดย

Page 53: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

หลวงปูพา โดยใชดินเหนียวปนกับโครงไม ตอมาไดมีการบูรณะใหมเม่ือป พ.ศ. 2536 โดยพระราชรัตนมงคล ผูชวยเจาอาวาสวัดบวรนิเวศวิหาร

เดิมถ้ํานี้เปนที่บําเพ็ญเพียร ศีล ภาวนาของพระเกจิอาจารยต้ังแตสมัยหลวงปูพาเรื่อยวาจนถึงปจจุบัน และมักจะพาพระมาจําพรรษาตลอดมิไดขาดอยางนอย 1 รูป การลงไปสูถ้ําเบ้ืองลางตองไตบันไดลงไป

การเดินทางไปยังถ้ําสามารถไปไดท้ังสองทางคือ 1.โดยการนั่งเรือจากจุดชมวิวพัทยานอยไปยังดานหมี ระยะทางประมาณ 490 เมตร แลวเดินไตเขาขึ้นไปตามระยะทางประมาณ 1. 78 กิโลเมตร ระหวางก็จะไดสัมผัสกับลานหินแปลกตาและตนไมแปลกๆท่ีขึ้นบนลานหิน 2. โดยการเดินดวยเทาตลอดระยะทางประมาณ 1.81 กิโลเมตร โดยเริ่มจากสํานักสงฆภูนอยอางแกว ซึ่งต้ังอยูในบริเวณภูนอย โดยลัดเลาะเรียบตีนภูนอยและขามรองน้ําหวยยาง ซึ่งเปนรองน้ําขนาดใหญท่ีไหลลงสูอางเก็บน้ําหวยโท - หวยยาง เพ่ือไตขึ้นไปยังถ้ําผาเก ระหวางทางจะไดสัมผัสกับปาไมเขียวขจี ที่แสดงถึงความอุดมสมบรูณของผืนปา

กิจกรรมดานการทองเที่ยว คือ กราบนมัสการหลวงปูภา พระผูทรงอภิญญาแหงถ้ําผาเกเหมาะสําหรับนักแสวงบุญท่ีจะมานั่งวิปสสนากรรมฐานเพราะสถานท่ีมีความเงียบสงบ

ถ้ําผานาง (ถ้ําเสรีไทย)

ภาพประกอบท่ี 12 ถ้ําผานาง (ถ้ําเสรีไทย)

Page 54: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

เปนท่ีขุนพลภูพาน “นายเตียง ศิริขันธ ” มาพักหลบซอนเปนแหลงเก็บอาวุธและเปนท่ีฝกอาวุธ เปนถ้ําท่ีมีทําเลดีมาก คือ หนาถ้ําจะเปนหนาผา ศัตรูจะเขาขางหนาไมได โจมตีทางอากาศก็ลําบาก โบราณเลาวาท่ีหนาถ้ําจะมีภาพเขียนเปนภาพ “นางเปลือง”จะสามารถมองเห็นไดโดยการปนหนาผาดู ถ้ําผานางเปนถ้ําท่ีมีประวัติศาสตรเกี่ยวกับขบวนการเสรีไทยในอดีตท่ีมีสวนชวยใหประเทศไทยไมไดเปนประเทศไทยแพสงคราม เม่ือกองทัพญี่ปุนบุกประเทศไทยในเดือน ธันวาคม 2484 ซึ่งเปนการนําประเทศไทยเขาสูสงครามเอเชียบรูพา เตียง สิริขันธ ไดรวมกับ จํากัด พลางกรู กอตั้งคณะกูชาติเพ่ือตอตานญี่ปุน เพื่อรักษาเอกราชอธิปไตยแหงชาติและคัดครานรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ท่ีรวมมือกับญี่ปุน ตอมานายเตียง รวมมือกับกลุม ส.ส. ฝายกาวหนา โดยรวมกลุมกับนายปรีดี พนมยงค ตั้งขบวนการเสรีไทยใตดิน ภาคอีสานรหัส พูลโต เพื่อฝกกองกําลังตอตานญี่ปุนโดยใชถ้ําผานางเทือกเขาภูพาน ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร กลายเปนกองกําลังท่ีสําคัญท่ีสุดของฝายเสรีไทย แตยังไมทันท่ีจะไดสูรบกับญี่ปุนอยางจริงจังสงครามก็ยุติลง นายเตียงไดฉายาวาเปนขุนพลแหงภูพาน คือ การเปนแมทัพใหญในการฝกหัดเสรีไทยนับพันคนหลายรุน มีอัธยาศัยไมตรีเปนที่ไววางใจของชาวสกลนคร ความเด็ดเด่ียวและอุดมคติท่ีตอสูกบนักการเมืองท่ีมีอิทธิพล ทําใหเขาถูกยัดเหยียดขอหาฉกรรจในสมัยนั้นจนถูกฆาตายในท่ีสุด สมควรท่ีจะเปนวีระบุรุษคนสําคัญของชาวสกลนคร การเดินทางไปถ้ําผานางจะอยูถัดขึ้นไปทางทิศเหนือของสํานักสงฆภูนอยอางแกวมีระยะทางประมาณ 3.17 กิโลเมตร ระหวางทางก็จะไดสัมผัสกับธรรมชาติของพันธไมนาๆพรรณท่ีเรียงรายกันอยูสองฝงขางทางเดินไปยังถ้ําผานาง

พระธาตุดอยอางกุง

ภาพประกอบท่ี 13 พระธาตุอางกุง ภาพประกอบท่ี 14 พระพุทธศิริมงคล

Page 55: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

พระพุทธศิริมงคลเปนพระพุทธรูปที่สรางพรอมกับพระธาตุดอยอางกุง ซึ่งสรางขึ้นในป พ.ศ. 2499 เปนพระพุทธรูปองคใหญ กอนทําการกอสรางพระครูดวงไดใหชาวบานกอกองไฟ จํานวน 7 กอง และใหชาวบานอีกสวนหนึ่งดูวากองไหนท่ีสามารถมองเห็นไดชันเจนท่ีสุดก็จะทําการกองสรางพระธาตุและพระพุทธศิริมงคลท่ีนั้น ในทุกปประชาชนในตําบลเหลาโพคอและตําบลใกลเคียงจะทําพิธีสรงน้ําพระธาตุดอยอางกุง หรือท่ีชาวเรียกวา “พิธีสรงน้ําพระภู” เพ่ือเปนการขอฝน ทําใหฝนตกตามฤดูกาล ซึ่งเปนความเชื่อของชาวบานหวยยางและหมูบานใกลเคียง

การเดินทางไปนมัสการพระธาตุดอยอางกุงและพระพุทธศิริมงคล ชวงท่ีน้ําเต็มอางตั้งเดินทางดวยเรือโดยเริ่มตนท่ีจุดชมวิวพัทยานอย (อางเก็บน้ําหวยโท - หวยยาง) เดินทางผานดานหมีไปทางทิศเหนือประมาณ 1.78 กิโลเมตร ระหวางทางก็จะไดสัมผัสกับธรรมชาติท่ีสวยงามของภูยางอึ่ง

กิจกรรมดานการทองเท่ียวในชวงฤดูฝนระหวางทางเดินขึ้นเขาก็จะไดมีกิจกรรมนันทนาการดานการทองเที่ยวท่ีหลากหลาย คือ การเดินปาศึกษาเสนทางธรรมชาติของแหลงทองเท่ียว หาของปา เชน เห็ด หนอไมปา ฯลฯ เปนการเพิ่มประสบการณใหกับนักทองเท่ียวอีกรูปแบบหนึ่ง

ถ้ําอางกุง

ภาพประกอบที่ 15 ภายนอกถ้ําอางกุง ภาพประกอบท่ี 16 ภายในถ้ําอางกุง

เปนถ้ําท่ีอยูในเขตอุทยานแหงชาติภูผายล ซึ่งเกิดจากน้ําที่ไหลลงมาจากแองน้ําที่ชาวบานเรียกวา

อางกุง เนื่องจากในอดีตบริเวณแองน้ํานี้จะมีกุงฝอยอยูมาก น้ําท่ีไหลออกจากอางกุงจะไหลลงไปท่ีปากถ้ําแลวไหลยอนเขาไปในถ้ํา บริเวณปากถ้ําจะแคบตองกมตัวลอดเขาไป แตเม่ือเขาไปดานในแลวจะมีความกวางมาก บางชวงจะมีลักษณะเปนอุโมงคกวางมีหลังโคงเหมือนโดมสันนิฐานวานาจะเกิดจากการกัดเซาะของน้ํา ภายในถ้ําบางชวงมีความกวางประมาณ 10 เมตร บางชวงมีความกวางประมาณ 5 เมตร และมีความลาดตํ่าลงไปเรื่อยนาจะเปนสายน้ําอีกสายหนึ่งที่ไหลมาจากอางกุงแลวไหลลงสูอางเก็บน้ําหวยโท -

Page 56: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

หวยยาง แตแทนท่ีจะไหลตามพ้ืนดิน หรือหินกับไหลลอดพ้ืนดิน แลวกัดเซาะดินและหินจนเปนอุโมงคน้ําขนาดใหญมีความยาวประมาณ 2 กิโลเมตร

ภายในถ้ํายังเคยเปนท่ีวิปสสนากรรมฐานของหลวงปูพา พระเกจิอาจารยอันเปนท่ีเคารพของชาวตําบลเหลาโพนคอ และยังเห็นรองรอยของหลวงปูพาเคยใชเปนท่ีนั่งวิปสสนากรรมฐานปรากฏอยูจนถึงปจจุบัน

จุดชมวิวเสาเฉลียง

ภาพประกอบท่ี 17 เสาเฉลียง เปนกอนหินใหญท่ีตั้งซอนกันและยื่นออกไปจากหนาผา สามารถชมวิวทิวทัศนท่ีสวยงามอีกจุด

หนึ่งสามารถมองเห็นภูผาแดง ภูแผงมาและเทือกเขาประเทศลาว บรรยากาศยามเชามีทะเลหมอกและมีพระอาทิตยขึ้นท่ีสวยงาม และสามารถมองเห็นจุดท่ีพบฟอสซิลไดโนเสารไดเกือบทุกจุด

การเดินทาง จุดชมวิวเสาเฉลียงตั้งอยูหางจากพระธาตุดอยอางกุงไปทางทิศเหนือประมาณ 340 เมตร ระหวางทางไปจุดชมวิวเสาเฉลียงก็จะผานสถานที่ทองเท่ียวหลายแหง เชน ถ้ําอางกุง

กิจกรรมดานการทองเท่ียวไดแก วิวทิวทัศนท่ีสวยงามของภูผาแดง ภูแผงมาและเทือกเขาประเทศลาว กางเต็นทคางคืนเพ่ือชมบรรยากาศยามเชาของทะเลหมอกและพระอาทิตยขึ้น

Page 57: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

ดานหมี

ภาพประกอบท่ี 18 ลานหินกวางท่ีชาวบานเรียกวา “ดานหมี”

ดานหมีมีลักษณะเปนลานหินกวางมีกอนหินขนาดใหต้ังสลับซับซอนกันเปนจุดเริ่มตนของการ

เดินทางไปยังสถานที่ตางๆในภูยางอึ่ง ในอดีตชาวบานเลาวาจะมีหมีมาหากินในบริเวณนี้เปนจํานวนมากจึงเปนท่ีมาของการตั้งชื่อวา “ดานหมี” นอกจากนี้บริเวณดานหมียังไปจุดชมวิวท่ีสามรถมองเห็นอางเก็บน้ําในระยะใกลและมีความสวยงามท่ีสุด การเดินทางไปเยือน ดานหมีนับวาเปนจุดเริ่มตนของสถานท่ีทองเที่ยวซึ่งอยูติดกับอางเก็บน้ําหวยโท - หวยยาง ในชวงท่ีอางเก็บน้ํามีน้ําเต็มอางตองเดินทางดวยเรือมีระยะทางประมาณ 490 เมตร ในชวงท่ีน้ําลดสามารถเดินทางดวยรถได โดยใชเวลาประมาณ 10 นาที

กิจกรรมดานการทองเท่ียว ถายภาพและชมทัศนียภาพโดยรอบอางเก็บน้ําหวยโท – หวยยาง

จุดพบฟอสซิลไดโนเสาร

ชุมชนหวยยาง-หวยยางเหนือมีการพบซากฟอสซิลไดโนเสาร โดยมีพระธุดงครูปหนึ่ง ชื่อ พระกึ่ม เปนผูคนพบ จากนั้นองคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอไดทําการสํารวจและเชิญนักธรณีวิทยาจากภูอุมขาวมาตรวจสอบ พบวาเปนไดโนเสารประเภทกินเนื้อ มีอายุประมาณ 107 ลานปเพราะดูจากสภาพของชั้นหิน ซึ่งซากฟอสซิลไดโนเสารท่ีขุดพบในบริเวณพ้ืนท่ีบานหวยยางมีสองสายพันธุ ชนิดแรกสายพันธสยามโมซอรัส นักธรณีวิทยาสันนิฐานวามีลักษณะใกลเคียงกับไดโนเสารซอโรพอดจากอเมริกาเหนือ เปนไดโนเสารขนาดใหญ มีความยาวถึง 15 เมตร มีคอยาว ขายาว เดินดวยขา 4 ขา กินพืชเปนอาหาร ซึ่ง

Page 58: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

สันนิฐานจากกระดูกท่ีขุดพบวามีความคลายไดโนเสารชนิดมากท่ีสุด สายพันธท่ีสอง คือสไปโนซอริดส เปนไดโนเสารที่มีลักษณะปากแคบยาวและเปนพวกกินปลาเปนอาหารคลายกับจระเข โดยชิ้นสวนของกระดูกที่ขุดพบมีลักษณะคลายรูปกรวยปลายแหลม มีสันเล็กๆยาวตลอด สันนิฐานวานาจะเปนชิ้นสวนของฟน

ภาพประกอบท่ี 19 จุดพบฟอสซิลไดโนเสาร

การเดินทางไปดูซากฟอสซิลไดโนเสารตองเดินทางโดยเรือเพื่อขามอางเก็บน้ําหวยโท - หวยยาง

ระยะทาง ประมาณ 1.32 กิโลเมตร ใชเวลาประมาณ 30 นาที จากจุดชมวิวพัทยานอยไปยังทามวง จากนั้นใชการเดินปาไปตามทางเดินของชาวบานที่ใชในการเดินหาของปา กอนจะถึงน้ําตกศรีตาดโตนไปทางทิศเหนือมีระยะทางประมาณ 1.23 กิโลเมตร ระหวางทางก็จะไดสัมผัสกับธรรมชาติของภูยางอึ่งท่ีมีความสวยงาม

กิจกรมดานการทองเท่ียวไดแก ชมจุดพบซากฟอสซิลไดโนเสาร ปาโลกลานป

สํานักสงฆภูนอยอางแกว เปนสํานักสงฆที่มีความเงียบสงบมีองคพระนอนองคใหญและจุดชมวิวท่ีสวยงามมากสามารถ

มองเห็นอางเก็บน้ําหวยโท - หวยยาง ระหวางการเดินทางผูมาเยือนก็จะไดสัมผัสกับธรรมชาติอันเงียบสงบ พรรณไมทองถิ่นหายากสองฝงทาง

Page 59: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

ภาพประกอบท่ี 20 พระนอนท่ีสํานักสงฆภูนอยอางแกว

การเดินทางไปเยือนสํานักสงฆภูนอยอางแกว เริ่มตนเดินทางโดยเรือกอนจะถึงสํานักสงฆภูนอยอางแกวจะผานสถานท่ีทองเที่ยวหลายจุด เชน ถ้ําผาเกโดยสํานักสงฆจะอยูหางจากถ้ําผาเกประมาณ 1.81 กิโลเมตร อีกชองทางหนึ่งคือการเดินทางโดนรถยนตซึ่งจุดเร่ิมตนจะเร่ิมท่ีศาลาทรงงานอางเก็บน้ําหวยโท -หวยยางเปนระยะทางประมาณ 1.5 กิโลเมตร

กิจกรรมดานกาทองเท่ียวไดแก เสี่ยงเซียมซีดูคําทํานายโชคชะตาพรอมกราบนมัสการขอพรองคพระนอนสํานักสงฆภูนอยอางแกว

ภูผานอย

ภาพประกอบท่ี 21 ภูผานอย

Page 60: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

มีลักษณะหินสูงสลับซับซอนตั้งซอนตั้งซอนกันอยูสวยงามมาก ซึ่งผูกอการรายคอมมิวนิสตในอดีตใชเปนหอคอยระวังภยั เปนสานท่ีลึกลับถาไมสังเกตชัดๆจะหาไมพบ

การเดินทางไปเยือนภูผานอย จะอยูหางจากภูผาสํานักสงฆภูนอยภูนอยอางแกวประมาณ 300 เมตร กิจกรรมดานกาทองเท่ียว ไดแก ชมทัศนียภาพภูผานอยแหลงปาไมท่ีมีความอุดสมบูรณ กิจกรรมการเดินปาศึกษาเสนทางธรรมชาติของภูเขากอนถึงสํานักสงฆภูผานอย 300 เมตร

ภาพเขียนกอนประวัติศาสตร

ภาพประกอบท่ี 22 ภาพเขียนกอนประวัติศาสตร

เปนภาพเขียนโบราณท่ีเขียนไวบนถ้ําหินขนาดเล็ก สันนิษฐานวานาจะอยูในยุคเดียวกับภาพเขียนท่ี

ผาแตม คนเฒาคนแกเลาวาเปนภาพเขียนลายแทงขุมทรัพย ซึ่งเปนตํานานเลาขานกันวาเปนเสนทางท่ีคอมมิวนิสตใชขนถายสมบัติและนําไปฝงไวไวตามท่ีตางๆและไดเขียนลายแทงเอาไวเพ่ือบอกตําแหงที่ฝงเอาไวตามที่ตางๆบนภูเขา หากสังเกตดูจะเหมือนลักษณะภูมิประเทศของเขตอุทยานภูผายล เพราะมีการทําจุดท่ีสําคัญๆไว การเดินทางไปชมภาพเขียนทางประวัติศาสตร เดินทางไปเยือดวยการเดินเทาผานสถานท่ีตางๆของสถานทองเที่ยวท่ีสําคัญของภูยางอึ่ง ซึ่งจะอยูถัดจากอางโกบ – อางแกว โดยภาพเขียนทางประวัติจะต้ังหางจากถ้ําคอมมิวนิสตประมาณ 200 เมตร กิจกรรมดานการทองเท่ียวไดแก ศึกษาลายแทงโบราณจากภาพเขียนประวัติศาสตร ชมทัศนียภาพท่ีสวยงามของพรรณไมและหินท่ีตั้งสลับซับซอนระหวางสองฝงทางที่ไปเยือนแหลงทองเที่ยวภาพเขียนทางประวัติศาสตร

Page 61: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

อางแกว

ภาพประกอบท่ี 23 อางขนาดใหญท่ีอางแกว

เปนปฎิมากรรมทางธรรมชาติท่ีสวยงาม เปนอางขนาดใหญมีน้ําใสตลอดท้ังป สามารถใชน้ําในการ

ทําการเกษตรไดเชนกับอางเก็บน้ําหวยโท-หวยยาง การเดินทางไปชมอางแกวสามารถไปไดหลายเสนทางเสนทางแรกดวยการเดินปาไปยังพระธาตุ

ดอยอางกุงซึ่งจะอยูถัดไปจากพระธาตุดอยอางกุง เสนทางท่ีสองจุดเริ่มตนท่ีสํานักสงฆภูนอยอางแกวมีระยะทางประมาณ 1.27 กิโลเมตร

กิจกรรมดานการทองเท่ียว การเดินปาศึกษาเสนทางธรรมชาติ สนุกสนานกับการเลนน้ําท่ีอางแกว อันลือชื่อ และกิจกรรมนันทนาการ เชน การตกปลา จับปูคาย หาของปา เชน เห็ด หนอไม ตามฤดูกาล ศึกษาลายแทงโบราณ

ผาขาม เปนหนาผาสูง ขางบนเปนจุดชมวิว เปนลานหิน เปนท่ีนั่งพักของนักเดินทาง จุดนี้สามารถมองเห็น

ภูมิประเทศของภูยางอึ่งและภูผาลม มีลมพัดเย็นตลอดท้ังป การเดินทางไปชมวิวที่ผาขามจะอยูถัดจากสํานักสงฆภูนอยอางกุงมีระยะทางประมาณ 3.17กิโลเมตร

กิจกรรมดานการทองเท่ียวเปนท่ีนั่งพักของนักเดินทาง จุดนี้สามารถมองเห็นภูมิประเทศของภูยางอึ่งและภูผาลม มีลมพัดเย็นตลอดท้ังป

Page 62: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

ภาพประกอบท่ี 24 จุดชุมวิวผาขาม

นอกจากชุมชนหวยยางมีแหลงเท่ียวท่ีสามารถดึงดูนักทองเท่ียวมาเท่ียวชม ชุมชนหวยยางยังมีทุน

ทางธรรมชาติที่มีความอุดมสมบรูณอีกมากมาย เชน มีแหลงน้ําที่มีความอุดมสมบรูณทําใหเกิดความหลากหลายทางอาชีพ อาทิ อาชีพประมงจับสัตวน้ํา การทําการเกษตรนอกฤดูกาล และการเพาะพันธกลาไมจนทําใหชุมชนมีรายไดเพ่ิมขึ้น นอกจากนนี้รอบๆชุมชนยังมีทรัพยากรปาไมซึ่งเปนผื่นปาท่ีมีความอุดมสมบรูณของระบบนิเวศเพราะตั้งอยูบนท่ีราบเชิงเขาทําใหชาวบานมีวิถีชีวิตท่ีผูกพันกับระบบนิเวศแบบคนภู ซึ่งอาศัยทรัพยากรธรรมชาติในการประกอบอาชีพ เชน การทําไร การเลี้ยงสัตว ก ารหาเห็ด การหาหนอไมไรจากภูเขา และการจับแมลงในชวงฤดูตางๆ

ภาพประกอบท่ี 25 การหาเห็ดของชาวบานท่ีภูยางอึ่ง

Page 63: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

จากปจจัยดังกลาวพบวาชุมชนหวยยางยังมีการพึ่งพาอาศัยใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติมาผลักดันใหเปนแหลงทองเท่ียวท่ีสําคัญของชุมชน อีกท้ังยังมีระบบนิเวศที่มีความอุดมสมบรูณจึงเหมาะท่ีจะใหนักทองเท่ียวไดเขามาแลกเปลี่ยนรูวิถีชีวิตการพ่ึงพาธรรมชาติ เรียนรูการหาของปาดวยการใชกรรมวิธีแบบพื้นบานของชาวภูไท เรียนรูการปรุงอาหารท่ีตนเองหาได ประกอบกับการสรางจิตสํานึกใหนักทองเท่ียวไดอนุรักษและหวงแหนทรัพยากรธรรมชาติควบคูกันไป

ศักยภาพดานทุนทางทรัพยากรมนุษย

ผูศึกษาจะอธิบายถึงศักยภาพดานทุนทางทรัพยกรมนุษยท่ีมีในชุมชน ชุมชนหวยยางมีปราชญชาวบานซึ่งเปนท่ีเคารพนับถือของชาวบานท้ังดานการประกอบพิธีกรรมทางศาสนา พิธีกรรมดานความเชื่อ ดานการใชภูมิปญญาพ้ืนบาน เชน การจักสาน การรักษาโรคดวยสมุนไพร การแสดงศิลปวัฒนธรรมของกลุมผูสูงอายุ และการทําพิธีบายศรีสูขวัญ ซึ่งชุมชนไดมีการนําภูมิปญญาพ้ืนท่ีท่ีกลาวมาขางตนมาเปนสวนผลักดันใหเกิดการทองเท่ียวผานการนําเสนอโดยปราชญชุมชนผูมีความรูความสามารถในดานตางๆ มาแสดงใหนักทองเท่ียวไดศึกษาเรียนรูถึงภูมิปญญาพ้ืนบานของชุมชน อีกท้ังยังเปนสวนชวยใหเกิดกิจกรรมสําหรับผูสูงวัยในชุมชนอีกดวย

ภาพประกอบท่ี 26 การแสดงศิลปวัฒนธรรมพ้ืนบานของกลุมผูสูงอาย ุ

ดานผูนําชุมชนและชาวบานผลการศึกษาพบวาผูนํา มีศักยภาพในการประชุมและสั่งการลูกบานไดเปนเอยางดี ใหความรวมมือในการประชาสัมพันธและประสานงานกับหนวยงานท่ีเกี่ยวของในสวนของนโยบายการทองเท่ียว เพื่อพัฒนาศักยภาพของประชาชนในการบริหารจัดการการทองเท่ียวใหมีความ

Page 64: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

ชัดเจนมากขึ้น ในสวนของชาวบานพบวา ชาวบานใหความรวมมือกับผูนําชุมชนเปนอยางดีพฤติกรรมของชาวบานมีการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมท่ีเคยด่ืมแอลกอฮอลและเลนการพนันก็มีจํานวนลดลง และหันมาทําบุญท่ีวัดแทนเพื่อเปนการรักษาภาพพจนท่ีดีใหกับชุมชน ชาวบานสวนใหญมีการต่ืนตัวและเตรียมความพรอมในการตอนรับนักทองเท่ียว เชน มีการพัฒนาหมูบาน มีการทําความสะอาดและจัดระเบียบบานเรือน ซึ่งชาวบานมีการประชุมพูดคุยเร่ืองการทองเที่ยวเพ่ิมมากขึ้นเพราะผูนําชุมชนตองการทําความเขาใจกับชาวบานและสรางการมีสวนรวมของคนในชุมชนในการจัดการทองเท่ียว เจาหนาท่ีหนวยงานราชการหรือองคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอเขามาพบปะชาวบานหวยยางมากขึ้น ชาวบานก็ใหความรวมมือเปนอยางดีทําใหการขับเคลื่อนกิจกรรมดานการทองเท่ียวใหประสบผลสําเร็จ

ศักยภาพดานทุนทางสังคม

ผูศึกษาจะอธิบายถึงศักยภาพดานทุนทางสังคมที่ชุมชนไดรับการสนบัสนุนจากหนวยงานตางๆท่ีเกี่ยวของในการสงเสริมใหเกิดการทองเท่ียวเชิงอนุรักษ ดังตอไปนี้

ดานหนวยงานที่เก่ียวของ จากการศึกษาพบวา องคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอมีนโยบายพัฒนาการทองเท่ียวในชุมชนหวยยางท่ีมีลักษณะพัฒนาการทองเท่ียวเชิงอนุรักษ จัดเปนแหลงทองเท่ียวตามธรรมชาติ ทางวัฒนธรรมโดยมุงเนนเร่ืองการอนุรักษ การพักผอนหยอนใจ การศึกษาธรรมชาติ และการแลกเปลี่ยนเรียนรู โดยมีเปาหมายการพัฒนาการทองเท่ียวเชิงนิเวศคือ

1. มีขอตกลงรวมกันในการใชทรัพยากรการทองเท่ียวระหวางชุมชนและหนวยงานที่เกี่ยวของ

2. รักษาสภาพของทรัพยากรการทองเท่ียวทางธรรมชาติ ประวัติศาสตร วัฒนธรรม ประเพณีและวิถีชีวิตของชุมชนอยางยั่งยืน

3. กอใหเกิดการแลกเปลี่ยนความรูจากสิ่งท่ีใหทําในแตละกิจกรรมท้ังภายในและภายนอกชุมชน

4. มีการบริหารจัดการในรูปแบบธุรกิจชุมชน เนนการใหทุกคนในชุมชนมีสวนรวมเพ่ือกอใหเกิดอาชีพละกระจายรายไดท่ีเปนธรรมและท่ัวถึง ตลอดจนมีผลตอการพัฒนาคุณภาพชีวิตของชุมชน

นอกจากชุมชนหวยยางจะมีศักยภาพของสถานท่ีทองเท่ียวท่ีเอื้ออํานวยตอการเปนหมูบานทองเท่ียวเศรษฐกิจพอเพียงแลว ชุมชนยังไดมีการรวมตัวของชาวบานเพ่ือจัดทํากิจกรรมตางๆภายในชุมชน ซึ่งเปน

Page 65: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

การแสดงใหเห็นถึงศักยภาพของชุมชน โดยไดรับการคําแนะนําจากพระราชรัตนมงคลใหจัดตั้งกลุมบานพักโฮมสเตยขึ้นเพื่อรองรับนักทองเท่ียวท่ีเขามาในชุมชน นอกจากนนี้ยังไดรับการสนับสนุนการองคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอใหมีการจัดต้ังและอบรมใหความรูแกชาวบานในดานการทองเท่ียว ซึ่งทําใหเกิดองคกรชุมชนขึ้นดังนี้

กลุมโฮมสเตย

จากการสัมภาษณ นายปรารถนา แสนธิจักร ประธานกลุมโฮมสเตยชุมชนหวยยาง พบวา การรวมกลุมของสมาชิกบานพักโฮมเสตยยังไมมีการบริหารจัดการท่ีชัดเจน เนื่องจากสมาชิกยังขาดความรูความเขาใจในการจัดการบานพัก อีกท้ังการดําเนินการยังอยูในขั้นของการเริ่มตนทําใหใหกลุมยังไมคอยมีความพรอมเทาท่ีควร ในสวนของบานพักพบวา บานพักมีลักษณะของตัวบานที่ม่ันคงแข็งแรง มีอากาศถายเทสะดวก แสงสวางเขาถึง หองน้ําสะอาด และมีการเตรียมสิ่งอํานวยความสะดวกใหกับนักทองเท่ียว โดยเจาของบานพักจะทําความสะอาดที่พักและรอบบริเวณบานพักอยูเสมอ

ภาพประกอบท่ี 27 บริเวณภายนอกบานพัก ภาพประกอบท่ี 28 หองนอนสําหรับนักทองเที่ยว

Page 66: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

ตารางท่ี 2 รายชื่อกลุมโฮมสเตยบานหวยยางหมูท่ี 6 และบานหวยยางเหนือหมูที่ 9

ลําดับ ชื่อ-สกุล ตําแหนง 1 นายปรารถนา แสนธิจักร ประธานกลุม 2 นางไหมคํา ฮมปา รองประธาน 3 นางธิดารัตน ยางธิสาร เลขานุการ 4 นางบัวลอย โตะชาล ี กรรมการ 5 นายมีพิมพ ยางธิสาร กรรมการ 6 นายไมตรี สูญราช กรรมการ 7 นายแกง แพงดี กรรมการ 8 นายหนูเตรียม พลราชม กรรมการ 9. นายสรสินธ โตะชาลี กรรมการ 10. นายชัยพิทักษ ยางธิสาร กรรมการ 11. นางอรุณรัตน ยางธิสาร กรรมการ

ท่ีมา การอบรมสมาชิกบานโฮมสเตยที่องคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ

กลุมอาสาสมัครนําเท่ียว

อาสาสมัครนําเที่ยวเปนกลุมท่ีจัดต้ังขึ้น โดยการสนับสนุนจากองคการบริหารสวนตําบล เหลาโพนคอ ซึ่งไดทําการจัดอบรมขึ้นในวันท่ี 25 - 26 พฤศจิกายน 2554 ณ. หอประชมองคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ โดยมีวัตถุประสงค 1. เพ่ือใหนักทองเท่ียวเกิดความประทับใจตอการบริการของประชาชนเกี่ยวกับอาสาสมัครในชุมชน 2. เพ่ือใหประชาชนมีทักษะและประสบการณในการใหบริการนักทองเท่ียว และ 3. เพ่ือสรางรายไดเสริมแกประชาชนในการบริการดานการทองเท่ียว

Page 67: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

ภาพประกอบท่ี 29 อาสาสมัครนําเที่ยว ภาพประกอบท่ี 30 การบรรยายใหความรู

จากการสัมภาษณนายลิขิต ยางธิสาร อาสาสมัครนําเท่ียวพบวา ในชวงท่ีผานมาอาสาสมัครนําเที่ยวบางคนยังไมเคยนํานักทองเท่ียวไปยังสถานท่ีทองเท่ียวในชุมชน มีเพียงกลุมผูนําชุมชนท่ีทําหนาท่ีเปนอาสมัครนําเ ท่ียวพานักทองเท่ียวไปยังสถานที่ทองเที่ยว ในสวนของอาสาสมัครนําเท่ียวท่ีเคยรับนักทองเท่ียวพบวามีความพรอมคอนขางสูง สามารถแนะนําและอํานวยความสะดวกใหแกนักทองเท่ียวไดท้ังในดานการพักแรม อาหาร การเดินทาง ตลอดจนชี้แนะและอธิบายถึงประวัติความเปนมาของสถานท่ีทองเท่ียวในแตละสถานที่ได นายลิขิต ยางธิสาร กลาววา การเปนอาสาสมัครนําเท่ียวนอกตองมีคุณสมบัติที่ดีแลว อาสาสมัครนําเที่ยวตองมีความรูความสมารถในดานอื่นๆท่ีเกี่ยวของกับการทองเท่ียวดวย อันไดแก ความสามารถดานภาษา ตองมีความคลองแคลวแกไขสถานการณเฉพาะหนาได ความสมารถดานวิชาการ เชน ประวัติความเปนมาของสถานท่ีทองเที่ยว ฯลฯ ความสมารถดานการนําเท่ียว ตองมีความแมนยําในเสนทาง มีความสมารถในการคํานวณเวลา เราความสนใจนักทองเท่ียว เพ่ือสรางความประทับใจใหกับนักทองเท่ียวที่มาเยือน

Page 68: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

ตารางที่ 3 รายชื่ออาสาสมัครนําเที่ยวบานหวยยางหมู 6 และบานหวยยางเหนือหมู 9 ลําดับท่ี ชื่อ – สกุล ท่ีอยู หมายเหต ุ

1. นายยศตระพล สุขสบาย บานหวยยางเหนือ หมูท่ี 9 ต.เหลาโพนคอ อ.โคกศรีสุพรรณ จ.สกลนคร

2. นายคง ยางธิสาร บานหวยยางเหนือ หมูท่ี 9 ต.เหลาโพนคอ อ.โคกศรีสุพรรณ จ.สกลนคร

3. นายสงกรานต ทรายทอง บานหวยยางเหนือ หมูท่ี 9 ต.เหลาโพนคอ อ.โคกศรีสุพรรณ จ.สกลนคร

4. นายคําตา นาริเพ็ง บานหวยยางเหนือ หมูท่ี 9 ต.เหลาโพนคอ อ.โคกศรีสุพรรณ จ.สกลนคร

5. นายมานะชัย แสนธิจักร บานหวยยางเหนือ หมูท่ี 9 ต.เหลาโพนคอ อ.โคกศรีสุพรรณ จ.สกลนคร

6. นายจบ ยางธิสาร บานหวยยางเหนือ หมูท่ี 9 ต.เหลาโพนคอ อ.โคกศรีสุพรรณ จ.สกลนคร

7. นายเชิดชัย โตะชาล ี บานหวยยาง หมูท่ี 6 ต.เหลาโพนคอ อ.โคกศรีสุพรรณ จ.สกลนคร

8. นายอวน ยางธิสาร บานหวยยาง หมูท่ี 6 ต.เหลาโพนคอ อ.โคกศรีสุพรรณ จ.สกลนคร

9. นายสรสินธ โตะชาล ี บานหวยยาง หมูท่ี 6 ต.เหลาโพนคอ อ.โคกศรีสุพรรณ จ.สกลนคร

10. นายวิตตะ ยางธิสาร บานหวยยางเหนือ หมูท่ี 9 ต.เหลาโพนคอ อ.โคกศรีสุพรรณ จ.สกลนคร

11. นายลิขิต ยางธิสาร บานหวยยาง หมูท่ี 6 ต.เหลาโพนคอ อ.โคกศรีสุพรรณ จ.สกลนคร

12. นายทวีชัย ยางธิสาร บานหวยยางเหนือ หมูท่ี 9 ต.เหลาโพนคอ อ.โคกศรีสุพรรณ จ.สกลนคร

ท่ีมา โครงการอบรมอาสาสมัครนําเท่ียวเชิงนิเวศตําบลเหลาโพนคอ

Page 69: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

กลุมเพาะพันธุกลาไม

ภาพประกอบท่ี 31 กลุมเพาะพันธุกลาไม

ชาวบานหวยยางสวนใหญจะประกอบอาชีพทํานาเปนหลักและมีอาชีพเสริมเปนการเพาะพันธุกลาไม เดิมชาวบานหวยยางไมมีความรูเร่ืองการเพาะพันธุกลาไม จึงไดไปรับพันธุกลาไมมาเรขายจากกลุมเพาะพันธุกลาไมบานดานมวงคํา ตําบลดานมวงคํา อําเภอโคกศรีสุพรรณจังหวัดสกลนคร ผลปรากฏวาไดกําไรนอย นายเริง ยางธิสาร ประธานกลุมเพาะพันธุกลาไมบานหวยยางเหนือ จึงมีความคิดวานาไปเรียนรูวิธีการเพาะพันธุกลาไมจากกลุมเพาะพันธุกลาไมบานดานมวงคํา เพ่ือใหชาวบานไดทําการพันธุกลาไมเอง เริ่มแรกมีชาวบานท่ีสนใจเพาะพันธุกลาไมเพียงไมกี่คนแตเม่ือเห็นนายเริง ยางธิสาร ทําแลวมีกําไรและมีรายไดเพ่ิมมากขึ้น จึงมีชาวบานสนใจและหันมาเพาะพันธุกลาไมเพ่ิมมากขึ้น โดยชาวบานจะมีการถายทอดองคความรูเร่ืองการเพาะพันธุกลาใหกันไปเรื่อยๆ จนมาถึงป พ.ศ. 2542 ไดมีการจัดตั้งกลุมเพาะพันธุกลาขึ้นมีสมาชิกท้ังหมด 27 คน จนในปจจุบันมีสมาชิกเพ่ิมขึ้นเปนจํานวนมาก นอกยังมีท่ีไมเปนสมาชิกกลุมเพาะกลาไมแตเพาะขายสงใหกับพอคาคนกลางท่ีเขามารับกลาไมกับชาวบานอีกดวย การเพาะพันธุกลาไมจึงมีความสําคัญกับชาวบานหวยยางทั้ง 2 หมูบานเปนอยางมากเพราะทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงที่สําคัญทางเศรษฐกิจ จากอดีตที่เคยเปนหมูบานยากจนท่ีตองไปขอทานจากหมูบานอื่นสูการเปนหมูบานที่มีเศรษฐกิจดีเปนอับตนๆของจังหวัดสกนคร

Page 70: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

ศักยภาพดานทุนทางวัฒนธรรม

ชุมชนหวยยางเปนหมูบานท่ีมีวัฒนธรรมและความเชื่อดานพิธีกรรมท่ีสําคัญคือการนับถือผี เชน การเลี้ยงผีปูตา ฟอนภูไท พิธีเหยา พิธีสรงน้ําพระภู การบายศรีสูขวัญ ชุมชนหวยยางนับถือศาสนาพุทธเปนศาสนาหลักทําใหการประกอบพิธีกรรมสวนใหญตองพ่ึงพาอาศัยวัดเปนหลัก เชน การทําบุญตักบาตรท่ีวัด การนมัสการโบสถดิน ซึ่งเปนเปนความเชื่อท่ีชาวบานหวยยางใหความเคารพนับถือควบคูกับการประกอบการดําเนินชีวิตและการประกอบอาชีพ นอกจากประเพณีและวัฒนธรรมซึ่งประเพณีและวัฒนธรรมความเชื่อท่ีกลาวมาขางตนมีสวนสําคัญท่ีชวยใหหมูบานนําเอกลักษณท่ีมีในชุมชนมาผลักดันเกิดการทองเท่ียว โดยมีวิธีการปฏิบัติดังตอไปนี้

อุโบสถดิน

ภาพประกอบท่ี 32 โบสถดินแหงแรกของประเทศไทย

เปนโบสถดินแหงแรกของประเทศไทย ตั้งอยูท่ีบานหวยยางหมูท่ี 6 จัดสรางท่ีวัดปาพุทธนิมิต

สถิตสีมาราม (วัดบานนอย) กอตั้งวัดในป พ.ศ. 2470 สังกัดคณะสงฆธรรมยุต เนื่องจากเปนวัดท่ีสรางมานาน อุโบสถหลังเดิมสรางดวยไมไดพุพังตามกาลเวลาทําใหพระสงฆไมสามารถประกอบสังฆกรรมได ดังนั้นทางวัดพรอมพทุธศาสนิกชนบานหวยยางจึงขอพ่ึงพระบารมีพระคุณเจาสมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก ผานสํานักเลขานุการสมเด็จพระสังฆราช เพ่ือสรางอุโบสถหลังใหม เม่ือเจาพระคุณสมเด็จฯทรงรับโครงการสรางอุโบสถไวในพระราชอุปถัมภ และพระราชทานแนวทางการดําเนินงานวา

Page 71: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

ควรดําเนินงานตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อนอมเกลานอมกระหมอมถวายเปนพระราชกุศลเนื่องในมหามงคลวโรกาสท่ีพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงเจริญพระชนมายุ 84 พรรษา โดยมีพระราชรัตนมงคล ผูชวยเจาอาวาสวัดบวรนิเวศวิหาร พระอารามหลวง เปนผูริเร่ิมในการสรางโบสถดิน ในการนี้พระเจาหลานเธอพัชรกิติยาภาไดเสด็จมาวางศิลาฤกษดวยพระองคเองและไดรับการอนุเคราะหจากกรมราชทันธท่ีนํานักโทษท่ีมีความประพฤติดีมาชวยสรางโบสถดินจนแลวเสร็จและไดมีการฉลองโบสถดินเปนเวลา 7 คืน 7 วัน ในการนี้พระเจาหลานเธอพัชรกิติยาภาทรงเสด็จมาตัดหวายลูกนิมิตดวยพระองคเองในวันท่ี 24 กรกฎาคม 2555

การเดินทางไปเยือนยังโบสถดิน สามารถเดินทางไดโดยรถยนตต้ังอยูบานหวยยางหมูที่ 6 วัดปาพุทธนิมิตรสถิตสีมาราม (วัดบานนอย) กิจกรรมดานการทองเท่ียว นมัสการโบสถดินและเจดียพอเพียงท่ีประดิษฐานภายในวัดวัด เพ่ือเสริมสรางริมงคลใหกับชีวิต

พิธีการเล้ียงผีปูตา

ภาพประกอบท่ี 33 การเลี้ยงผีปูตาท่ีปาชุมชน

ในเดือนสามของแตละปจะมีการเลี้ยงผีปูตา ซึ่งชาวบานจะรวมกันเก็บรวบรวมเงินตามศรัทธาของ

ชาวบานมาซื้อไกทําพิธี โดยมีตัวแทนเรียกวาเจาจํ้า มาทําพิธีตามหลักท่ีเคยนับถือกันมา เพราะมีความเชื่อวาผีปูตาเปนผูดูแลคุมครองปกปกรักษาลูกหลาน ซึ่งจะมีการจัดพิธีบวงสรวงผีปูตาทุกๆปในวันขึ้น 3 ค่ํา เดือน 3 กอนลงทําไรไถนาก็จะมีการบอกกลาวผีปูตากอนจงจะทําได เมื่อเก็บเกี่ยวเสร็จก็นําไปถวายผีปูตา

Page 72: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

กอนจึงจะนําไปรับประทานได ถาไมปฏิบัติเชนนั้นผีปูตาก็จะแสดงสัญลักษณเพ่ือเปนการเตือนวาลูกหลานไมไดถวายสิ่งของท่ีตนเองปลูกฝงลงไปในท่ีดินของปูตา ดวยเหตุนี้ผีปูตาจึงเปนท่ีเคารพนับถือชาวบาน โดยพิธีการจะทําการบวงสรวงท่ีปาชุมชนซึ่งเปนท่ีท่ีศาลปูตาตั้งอยู เครื่องบูชาประกอบดวย เหลาไห ไกตัว ดอกไม ธูป เทียน ตามจํานวนคนท่ีอาศัยอยูในครอบครัว แลวก็จะมีการบอกกลาวผีปูตาโดยใหเจาจํ้าเปนผูสื่อสารหรือบอกกลาว

คุณคา/แนวคิด/สาระ ความเชื่อและวัฒนธรรมเรื่องการเลี้ยงผีปูตาเปนประเพณีท่ีมีมาแตบรรพบุรุษและถือวาเปนศิลปะเอกลักษณทางดานวัฒนธรรมประจําเผาภูไท

การฟอนภูไท

ภาพประกอบท่ี 34 การฟอนภูไทเพ่ือตอนรับแขกท่ีเขามาเยือนหมูบาน

ฟอนผูไท มีอยู 2 จังหวัดคือ จังหวัดนครพนมและจังหวัดสกลนคร ซึ่งเปนศิลปะดั้งเดิมของชาวผูไทท่ีไดอนุรักษศิลปะการรํานี้ไว ปจจุบันการรําผูไทจังหวัดนครพนม เปนการรําเพ่ือพิธีกรรมเซนสรวงสิ่งศักด์ิสิทธิ์ตามศิลปะดั้งเดิมอยางหนึ่งหรือเปนการรําเพ่ือความสนุกสนานในงานการละเลนของหมูบาน จังหวัดสกลนคร บางปท่ีขาวออกรวงงามดีก็จะพากันทําพิธีแหขาวเมาไปสักการะท่ีพระธาตุเชิงชุมแลวทําพิธีถวายตามประเพณีเดิม เปนการแสดงออกใหเห็นถึงความสามัคคีในหมูคณะเดียวกันโดยจะฟอนในงานเทศกาลเดือน 5 และเดือน 6

Page 73: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

อุปกรณและวิธีการเลน เชน แคน กลอง หาง ฉิ่ง ฉาบ กลองสองหนา ซอ พิณ ฆองวงเล็ก ไมกั๊บแกบ วิธีเลน หนุมสาว ชายหญิง จับคูเปนคูๆแลวฟอนทาตางๆใหเขากับจังหวะดนตรีโดยรําเปนวงกลมและมีทารํา 16 ทา เวลาฟอนท้ังชายหญิงจะไมสวมถุงเทาและรองเทา ท่ีสําคัญ ในขณะฟอนฝายชายจะถูกเนื้อตองตัวฝายหญิงไมไดเด็ดขาด มิฉะนั้นจะผิดผี อาจจะถูกปรับไหมตามจารีตประเพณีได คุณคา/แนวคิด/สาระ เปนการนําเอาเอกลักษณดานการแตงกาย ดานการฟอนรํา ดานมวยโบราณ มาแสดงออกเปนศิลปวัฒนธรรม เพ่ือใหคนท่ัวไปไดชื่นชมการฟอนภูไท เปนประเพณีท่ีมีมาแตบรรพบุรุษและถือวาเปนศิลปะเอกลักษณทางดานวัฒนธรรมประจําเผาภูไท

พิธีเหยา

ภาพประกอบท่ี 35 เครื่องเซนในพิธีเลี้ยงผีของผีหมอ

การเหยา (การรําผีฟา) เปนพิธีกรรมความเชื่อในการนับถือผี เปนการเสี่ยงทาย เม่ือมีการเจ็บปวยในครอบครัวก็เชื่อวาเปนการกระทําของผีจึงตองทําพิธีเหยาเพ่ือ “แกผี” วาผูเจ็บปวยนี้ผิดผีดวยสาเหตุใด ผีตองการใหทําอะไรจะไดปฏิบัติตาม เชื่อวาทําการแกผีแลวอาการเจ็บปวยก็จะหายตามปกติ โดยจะมีผูทําพิธีเหยาเรียกวา “ผีหมอ” จําพิธีเซนผี ติดตอสื่อสารกับผีโดยวิธีรองรําประกอบดนตรีประเภท แคน คํารองนั้นเชื่อวาเปนคําบอกของผีท่ีจะเชื่อมโยงถึงผูปวย คนคุมหรือคนเลี้ยงผีเรียกวา “แมเมือง” ในปหนึ่งๆลูกเมือง (ผีหมอ) จะทําการคารวะแมเมือง 1 คร้ัง เรียกวา “พิธีเลี้ยงผีของผีหมอ” (หมอเหยา) พิธีเหยาจําแนกได 4 ลักษณะดังนี้

Page 74: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

1. การเหยาเพื่อชีวิต เปนลักษณะการเหยาเพ่ือรักษาอาการเจ็บปวยหรือเหยาตออายุ ภาษาหมอเหยาหรือผีหมอเรียกวา “เหยาเพ่ือเลี้ยงม้ิงเลี้ยงหอ”

2. การเหยาเพื่อคุมผีออกเปนการสืบทอดหมอเหยา กลาวคือ เม่ือมีผูปวยรักษาอยางไรก็ไมหายหมอเหยาจะมีการเหยาคุมผีออก (เนื่องจากมีผีรายเขาสิง) ถาผีออกผูปวยจะลุกขึ้นมารายรํากับหมอเหยาและผูปวยท่ีหายเจ็บไขก็จะกลายเปนหมอเหยาตอ

3. การเหยาเพื่อเลี้ยงผี เปนการจัดเลี้ยงเพ่ือขอบคุณผี โดยจะจัดในชวงเดือน 4 หรือเดือน 6 ของทุกๆป ถาปใดหมอเหยาไมไดเหยามากนักหรือขาวปลาไมอุดมสมบูรณก็จะไมเลี้ยง หากแตจะทําพิธีฟายน้ําเหลา (ใชใบและดอกไมมาจุมน้ําเหลาและประพรมใหกระจายออกไป)

4. การเหยาเอาฮูปเอาฮอย เปนพิธีกรรมเหยาในงานประเพณี จะทํากันในงานบุญพระเวสฯของแตละปและจะทําติดตอกัน 3 ปเวน 1 ปจึงจะทําอีกสวนใหญผูท่ีทําพิธีเหยานี้จะเปนผูชายลวน

คุณคา/แนวคิด/สาระ ความเชื่อและวัฒนธรรมเร่ืองพิธีเหยาเปนประเพณีท่ีมีมาแตบรรพบุรุษและถือวาเปนศิลปะเอกลักษณทางดานวัฒนธรรมประจําเผาภูไท

พิธีสรงน้ําพระภ ู

ภาพประกอบท่ี 36 การถวายเพลพระสงฆเนื่องในงานพิธีสรงน้ําพระภ ู

พิธีสรงน้ําพระภูนี้ ชาวบานจะทําในชวงเดือน 6 ของทุกป โดยชาวบานในชุมชนหวยยางและหมูบานใกลเคียงจะทําอาหารขึ้นไปถวายเพลพระสงฆ และรับประทานรวมกันบนพระธาตุดอยอางกุง

Page 75: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

ในชวงบายพระสงฆจะทําพิธีและจะสรงน้ําพระพุทธศิริมงคลและพระธาตุดอยอางกุง โดยชาวบานมีความเชื่อวาหากปไหนไมไดทําพิธีสรงน้ําพระภูจะทําใหฝนไมตกตองตามฤดูกาล

พิธีบายศรีสูขวัญ

ภาพประกอบท่ี 37 พิธีบายศรีสูขวัญตอนรับผูมาเยือนในหมูบาน

พิธีสูขวัญ หรือท่ีเรียกวา "พิธีบายศร"ี หรือ "บายศรีสูขวัญ" เปนประเพณีสําคัญอยางหนึ่งของชาวอีสาน ประเพณีสูขวัญทํากันแทบทุกโอกาส ท้ังในมูลเหตุแหงความดีและไมดี ชาวอีสานถือวาเปนประเพณีเรียกขวัญ ใหมาอยูกับตัว พิธีสูขวัญนี้เปนไดท้ังการแสดงความชื่นชมยินดี และเปนการปลอบใจใหเจาของขวัญจากคณะ ญาติมิตรและบุคคลท่ัวไป สําหรับบานหวยยางเม่ือมีผูหลักผูใหญจากหนวยงานตางๆเปนท่ีเคารพนับถือหรือมีนักทองเท่ียวมาเยอืนหมูบานชาวบานก็มีความยินดีจัดพิธีสูขวัญเพ่ือเปนการตอนรับดุจญาติพ่ีนอง

ขอจํากัดของชุมชนหวยยาง จากการสัมภาษณผูนําชุมชนและชาวบานชุมชนหวยยาง พบวาผลกระทบของการทองเท่ียวมีตอ

ชุมชนในชวงท่ีผานมามีผลทําใหชาวบานภายในชุมชนหวยยางมีพฤติกรรมในการตอนรับนักทองเท่ียวแปลงเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม ซึ่งทําใหชุมชนเกิดตระหนักและเห็นคุณคาของธรรมชาติท่ีอยูรอบๆหมูบานเมื่อมีบุคคลภายนอกมาเยี่ยมเยือน ผูศึกษายังไดศึกษาถึงขอจํากัดของชุมชนในกาจัดการทองเที่ยวพบวาชุมชนมีขอจํากัดหลายดานดังตอไปนี้

Page 76: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

ขอจํากัดดานทุนทางทรัพยากรธรรมชาติ สถานที่ทองเท่ียวพบวายังไมมีปายชื่อของสถานที่ทองเท่ียวแตละแหง ไมมีถังขยะตามสถานท่ี

ทองเท่ียว นอกจากนี้ยังพบปญหาการคมนาคมไมสะดวก เชน ทางรถไปถึงสถานท่ีทองเท่ียว และถนนไมดีทําการสัญจรไปมาลําบากในชวงฤดูฝน

ขอจํากัดดานทุนทางทรัพยากรมนุษย การทํากิจกรรมดานการทองเท่ียวเยาวชนภายในหมูบานมีสวนรวมในการทํากิจกรรมนอยทําใหมี

ปญหาเรื่องการสืบทอดทางดานภูมิปญญา ทําใหประเพณีและวัฒนธรรมของชุมชนเริ่มหลายไป เชน การลําภูไท การประกอบอาหารพื้นบาน นอกจากนี้ชุมชนยังไมมีรายไดจากการทองเท่ียว โดยเฉพาะชาวบานท่ีไมไดอยูกลุมอาชีพหรือกลุมองคกรภายในชุมชน มีเพียงชาวบานบางสวนมีรายไดเกิดขึ้นจากการมีนักทองเท่ียวเขามาในชุมชน ปญหาท่ีพบคือ นักทองเท่ียวไมไดแวะดูกิจกรรมตางๆของชาวบานที่ไมไดอยูในกลุม อีกทั้งยังไมมีสถานท่ีในการเสนอขายสินคาทําใหชุมชนจึงไมไดผลประโยชนจากการทองเท่ียว

ขอจํากัดดานทุนทางสังคม ชาวบานขาดประสบการณและไมมีความเขาใจในการตอนรับนักทองเท่ียว ทําใหการทองเท่ียวยัง

ไมเปนรูปรางและไมมีการกําหนดรูปแบบท่ีชัดเจน ปญหาเร่ืองระบบการจัดการขยะในหมูบาน นอกจากยังชาวบานบางสวนมองวาการทองเท่ียวเปนเร่ืองของการทําลายสิ่งแวดลอมเพราะกิจกรรมบางกิจกรรมอาจทําใหเกิดความสูญเสียทางระบบนิเวศได ขาดงบประมาณในการสงเสริมใหเกิดการทองเท่ียว ชุมชนมีสวนรวมในการจัดการการทองเท่ียวนอย มีเพียงผูนําชุมชนและกรรมการหมูบานบางคนท่ีมีบทบาทในการจัดการทองเท่ียว ชาวบานไมไดมีสวนรวมในการวางแผนและกําหนดกิจกรรมตางๆดานการทองเท่ียว เพราะการบริหารจัดการการทองเท่ียวอยูในความดูแลขององคการบิหารสวนตําบลเหลาโพนคอ แตชุมชนมีเพียงหนาท่ีในการตอนรับนักทองเท่ียวท่ีเขามาในชุมชนเทานั้น

ขอจํากัดดานทุนทางวัฒนธรรม วัฒนธรรมภูไทมีการประยุกตพิธีกรรมบางอยางใหเขากับยุคสมัยจนทําใหประเพณีดั้งเดิมของชุมชนในอดีตเร่ิมหายไปเนื่องจากมีการรับวัฒนธรรมมาจากภายนอก เชน ภาษา อาหารพ้ืนบาน และการแตงกาย เปนตน

Page 77: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

บทท่ี 4

รูปแบบการทองเท่ียวท่ีเหมาะสมกับชุมชน

รูปแบบการทองเที่ยวในปจจุบัน

จากการสัมภาษณกลุมเปาหมายพบวา การจัดการการทองเที่ยวยังไมมีรูปแบบท่ีชัดเจน ซึ่งชาวบานสวนใหญมีความตองการใหชุมชนหวยยางเปนหมูบานทองเท่ียวเพราะตองการใหชุมชนมีรายไดเพ่ิมขึ้นและตองการนําเสนอหมูบานใหคนภายนอกไดรับรูถึงประวัติศาสตรความเปนมาของชุมชนหวยยาง แตยังขาดความรูความเขาใจในเรื่องของการจัดการการทองเท่ียวมีชาวบานบางสวนไดรับการอบรมใหความรูเรื่องการทองเที่ยวจากองคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ คือ การอบรมสมาชิกบานพักโฮมสเตยและอาสาสมัครนําเท่ียว จากประสบการณดานการทองเท่ียวท่ีผานมาพบวาชุมชนยังไมมีรายไดเกิดขึ้นจากการทองเที่ยว โดยเฉพาะชาวบานท่ีไมไดอยูกลุมอาชีพหรือกลุมองคกรภายในชุมชน มีเพียงชาวบานบางสวนท่ีมีรายไดเกิดขึ้นจากการมีนักทองเท่ียวเขามาในชุมชน ปญหาที่พบคือ นักทองเที่ยวไมไดแวะดูกิจกรรมตางๆของสมาชิกท่ีไมไดอยูในกลุม อีกทั้งยังไมมีสถานท่ีในการเสนอขายสินคาทําใหชุมชนจึงไมไดผลประโยชนจากการทองเท่ียวเทาท่ีควร

รูปแบบการทองเที่ยวท่ีพึ่งประสงคของชุมชน

จากการสัมภาษณกลุมเปาหมาย ไดแก ผูนําชุมชน อาสาสมัครนําเที่ยว และประธานกลุมอาชีพภายในชุมชน พบวามีการเสนอทางเลือกในการจัดรูปแบบการทองเท่ียวท่ีเหมาะสมกับชุมชนดังตอไปนี้

1. รูปแบบการทองเท่ียวท่ีไมทําลายสภาพแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติ กลาวคือ กิจกรรมทุกกิจกรรมท่ีเกิดขึ้นภายใตบริบทของการทองเที่ยวจะตองไมสงผลกระทบตอสิ่งแวดลอมท้ังทางตรงและทางออม

2. รูปแบบการทองเท่ียวท่ีสงเสริมประเพณีชาวภูไทชาวอีสาน กลาวคือ กิจกรรมการทองเท่ียวตองเปนเอกลักษณเฉพาะทองถิ่น เชน ดานวัฒนธรรมประเพณี ดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ประวัติศาสตรชุมชน อีกทั้งยังเปนการสรางโอกาสใหชุมชนไดนําเสนอภูมิปญญาดานตางๆเพ่ือเปนการแลกเปลี่ยนเรียนรูใหกับนักทองเท่ียว

Page 78: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

3. รูปแบบการทองเท่ียวท่ีมุงเนนใหชาวบานเขามามีสวนรวมมากท่ีสุด กลาวคือ มีสวนรวมในการวางแผน รวนกําหนดรูปกิจกรรม รวมทํากิจกรรม เพ่ือเปนการเสริมสรางกิจกรรมท่ีหลากหลายใหกับทุกภาคสวนของชุมชนมีสวนรวมและไดรับผลประโยชนจากการทองเที่ยวรวมกัน

4. รูปแบบการทองเท่ียวท่ีเนนความสนุกสนานและเพลิดเพลินควบคูกับการเรียนรู กลาวคือ นักทองเที่ยวตองไดรับความสนุกสนานเพลิดเพลินจากกิจกรรมที่เกิดขึ้นจากการทองเที่ยวควบคูกับการเรียนรูไปดวย

5. รูปแบบการทองเท่ียวท่ีเนนใหชาวบานมีรายไดเปนหลัก กลาวคือ ชาวบานตองไดรับผลประโยชนและเปนรายไดหลักใหกับชุมชน

6. รูปแบบการทองเท่ียวท่ีคํานึงถึงความพอใจของนักทองเท่ียวเปนอันดับแรก กลาวคือ กิจกรรมดานการทองเท่ียวตองเนนความพ่ึงพอใจของนักทองเท่ียวเปนอันดับแรก แตมีขอเสนอจากชาวบานบางสวนวา กิจกรรมบางกิจกรรมท่ีทําลายทรัพยากรธรรมชาติ แตไมสามารถปฏิเสธนักทองเที่ยวไดก็ขอใหมีการลดจํานวนของการทํากิจกรรมนั้นลง

7. รูปแบบการทองเท่ียวท่ีเนนความสะดวกสบายและความทันสมัยควบคูกับการอนุรักษภูมิปญญาดั้งเดิมของชุมชน กลาวคือ การจัดการดานการทองเท่ียวของชุมตองมีการผสมผสานระหวางความทันสมัยเพ่ือใหเกิดความสะดวกสบายใหกับนักทองเที่ยวควบคูกับการอนุรักษภูมิปญญาด้ังเดิมของชุมชนเพื่อไมเกิดการกลื้นกินทางวัฒนธรรม

รูปแบบการทองเที่ยวท่ีเหมาะสมกับชุมชน

จากสภาพปญหาท่ีกลาวมาขางตนผูศึกษาจึงไดจัดเวทีเพ่ือคนหารูปแบบการทองเท่ียวท่ีเหมาะสมกับชุมชนภายใตโครงการ การจัดกระบวนการเรียนรูเพ่ือนําไปสูการเปนหมูบานทองเท่ียวเศรษฐกิจพอเพียง กระบวนการนี้เปนเวทีแลกเปลี่ยนถึงแนวทางเพื่อพัฒนารูปแบบการทองเท่ียวที่ใหชุมชนมีสวนรวมในการจัดการทองเที่ยว โดยนิสิตไดนําเสนอผลการศึกษาใหกับชาวบานเพื่อใหชาวบานไดสังเคราะหขอมูลและทําความเขาใจรวมกัน ซึ่งมีกลุมเปาหมายเปน กลุมผูรูในชุมชน/ชาวบานท่ีเคยเปนขอทานขาว อาสาสมัครนําเที่ยว กลุมบานพักโฮมสเตย และเจาหนาท่ีจากองคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ โดยมีการแบงกลุมยอยออกเปน 3 กลุม เพื่อรวมระดมความคิดเห็นและนําเสนอรูปแบบการทองเท่ียวที่เหมาะสมกับชุมชนตามหัวขอท่ีกําหนดดังตอไปนี้

Page 79: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

1. เมื่อมีนักทองเท่ียวขาจรเขามาในชุมชน ชาวบานมีการเตรียมตอนรับนักทองเที่ยวอยางไร

ผลการระดมความคิดเห็นพบวา ชาวบานจะมีแบงนักทองเท่ียวออกเปน 2 กลุม

กลุมแรก เม่ือมีนักทองเที่ยวจํานวน 1-10 คน ในอันดับแรก มีการจัดเตรียมการตอนรับ ไมจําเปนตองเปนการตอนรับแบบเปนทางการ อาจมาตอนรับประมาณ 3-4 คน ประกอบดวย ผูนําชุมชนทั้งสองหมูบาน อาสาสมัคนําเท่ียว

สถานท่ีแรกท่ีจะพานักทองเท่ียวไป คือ โบสถดิน โดยมีเจาหนาท่ีคอยอํานวยความสะดวก นักทองเท่ียวไดกราบไหวสักการบูชา มีวิทยากรแนะนํารายละเอียดตางๆเกี่ยวกับโบสถดิน และแหลงทองเท่ียวสําคัญๆของหมูบานวามีท่ีไหนบาง เชน กลุมเพาะพันธุกลาไม พระหลักบานหลักเมืองคือหลวงพอองคแสน(อยูท่ีวัดโพธิ์ชัย) นักทองเท่ียวมีความสนใจจุดไหนก็พาไปตรงนั้น แลวแตความสนใจของนักทองเท่ียวเราก็คอยอํานวยความสะดวก บางครั้งอาจจะไปสํานักสงคภูนอยอางแกว ศาลาทรงงานท่ีอางเก็บน้ําหวยโท-หวยยาง ที่กลาวมาท้ังหมดนี้เปนการเขามาทองเท่ียวในระยะเวลา 1 วัน

กลุมสอง เมื่อมีนักทองเที่ยว 10 – 50 คน มีการเตรียมการตอนโดยผูนําชุมชน อาสาสมัคนําเท่ียว สวนรายละเอียดตางๆของการทองเท่ียวก็เปนเหมือนรูปแบบของกลุมยอย มีการบริการอยางสะดวกสบาย มีปายสถานท่ีจอดรถ มีการแนะนําหองสุขา และสถานท่ีสําคัญๆของหมูบาน เพราะนักทองเท่ียวกลุมนี้จะสามารถทําเงินใหกับชุมชนเปนอยางมาก รายไดหลักมาจากนักแสวงบุญ สิ่งท่ีขาดไมได คือของท่ีระลึกในแตละพ้ืนท่ี เชน ท่ีโบสถดิน มีเหรียญคุมภัยแจกใหกับผูท่ีเขามาสักการะ

2. เมื่อมีนักทองเท่ียวเขามาชาวบานมีการตอนรับนักทองเท่ียวอยางไร( การจัดการเก่ียวกับบานพักโฮมเสตยควรเปนอยางไร มีบริการอะไรบาง และคาใชจายเทาไหร)

ผลการระดมความคิดเห็นพบวาในสวนท่ีพักควรจัดเตรียมท่ีนอนใหเปนแบบพ้ืนบานแบบภูไท บรรยากาศแบบเรียบงาย ในขณะเดียวกันเม่ือนักทองเท่ียวเขามาเยือนผูที่ไดรับมอบหมายใหเปนบานพักโฮมเสตย สิ่งท่ีจะตองจัดเตรียมคือ

1.ความสะอาดของบาน หองน้ํา ท่ีนอน ความสะอาดในบาน อาหารเราก็นําเสนออาหารในทองถิ่น เชน แกงหนอไมไร แกงผักหวาน 2.การแตงกาย ชาวบานจะตองแตงการดวยชุดภูไทมาตอนรับนักทองเท่ียวเพ่ือแสดงใหเห็นถึงความพรอมเพียงและความเปนเอกลักษณการแตกายของชนเผาภูไท

Page 80: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

3.ตอนเย็นจัดพาแลงให โดยนักทองเที่ยวจะไดรับประทานอาหารพ้ืนเมืองของชาวภูไท ระหวางท่ีรับประทานอาหารก็จะไดชมการแสดงศิลปวัฒนธรรมพ้ืนบาน เชน การฟอนภูไท การเลนดนตรีพ้ืนเมือง การรองหมอลําท่ีเปนเอกลักษณของชาวภูไท สุดทายจัดทําพิธีบายศรีสูขวัญ ผูขอตอแขน เพ่ือเปนการรับขวัญสําหรับผูมาเยือน 4.มีของฝากจากบานพัก เชน หมอนขิด ผาไหม กลาไม เปนตน ภาพที่อยากใหนักทองเท่ียวไดเห็นคือ ความเปนภูไท (อาหาร วัฒนธรรม ประเพณี)

3. เมื่อมีนักทองเท่ียวเขามาในชุมชนเปนกลุมนักศึกษา มาพักคางคืน (ชาวบานมีการเตรียมการตอนรับอยางไร ใหเรียนรูอะไรบาง คาใชจายเทาไหร)

เม่ือมีรถพานักศึกษาเขามาใหมารวมตัวกันท่ีวัดโพธิ์ชัย จะมีผูนําชุมชน ผูสูงอายุ สมาชิกกลุมบานพักโฮมเสตยท่ีไดรับการอบรมมามาคอยตอนรับนักทองเท่ียว มีการแนะนําผูนําชุมชน ลําดับตอไปใหแยกนักทองเท่ียวออกเปนกลุมเขาพักที่บานพักโฮมเสตยที่ไดเตรียมไว มีสมาชิกโฮมเสตย 15 ทาน นักทองเท่ียวสามารถเขาพักไดบานละ 4-5 คน

เม่ือไดท่ีพักแลว ตอนกลางคืนหลังจากรับประทานอาหารเสร็จใหนักทองเท่ียวเขามารวมตัวกันท่ีวัดโพธิ์ชัย เพ่ือใหผูเฒาผูแกในชุมชนเลาถึงประวัติความเปนมาของหมูบาน (เรื่องประวัติศาสตรชุมชน) คาท่ีพัก 250 บาท /คน/วัน/คืน

วันรุงขึ้นพานักทองเที่ยวไปเรียนรูสถานท่ีทองเที่ยวตางๆของชุมชน เชน วัดโบสถดิน กลุมเพาะพันธุกลาไม กลุมทอผาไหม ศาลาทรงงาน วัดภูนอยอางแกว และรวมกิจกรรมปลูกปาบริเวณดอนปูตาหรือปาชุมชน ในกลุมของนักศึกษาจะไมไดพาไปท่ีน้ําตก ไมไดพาขึ้นภูเขาเพราะวาอันตราย ระยะทางไกลเกินไป

ในคืนท่ี 2 ใหนักทองเท่ียวมารวมตัวกันที่วัดตามเคย ชาวบานจะจัดพาแลงเพ่ือรับประทานอาหารรวมกันและชมการแสดงศิลปวัฒนธรรมพ้ืนบาน เชน การฟอนภูไท การเลนดนตรีพื้นเมือง การรองหมอลําท่ีเปนเอกลักษณของชาวภูไท สุดทายจัดทําพิธีบายศรีสูขวัญ ผูขอตอแขน เพ่ือเปนการรับขวัญสําหรับผูมาเยือน

Page 81: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

เชาของวันท่ี 3 นักทองเท่ียวประกอบอาหารในบานพักในการทําบุญตักบาตรท่ีวัด หลังจากนั้นก็นมัสการพระองคแสนท่ีเปนพระคูบานคูเมือง หลังจากนั้นผูกขอไมขอมือจากผูอาวุโสในหมูบานเสร็จแลวก็เดินทางกลับ

จากการเปดเวทีแลกเปลี่ยนความคิดเห็นของชุมชนผานการระดมความคิดเห็นโดยการแบงเปน 3 กลุมยอย ซึ่งชาวบานไดเสนอกิจกรรมตางๆท่ีเกิดขึ้นภายใตการทองเท่ียวทําใหเกิดรูปแบบท่ีชัดเจนขึ้น โดยแบงเปน 3 รูปแบบดังนี้

1. รูปแบบการทองเท่ียวเชิงนิเวศ (รูปแบบการทองเท่ียวแบบพักแรม 2 วัน 1 คืน)

เปนลักษณะการทองเที่ยวในแหลงทองเท่ียวท่ีเกี่ยวเนื่องกับธรรมชาติเปนหลักมีธรรมชาติเปนเอกลักษณเฉพาะถิ่น ท้ังนี้รวมถึงแหลงวัฒนธรรมและประวัติศาสตรท่ีเกี่ยวเนื่องกับระบบนิเวศในพ้ืนท่ี (ยศ สันตสมบัติ และคณะผูวิจัย. 2546) โดยไดมีการจัดกลุมนักทองเท่ียวออกเปน 3 กลุมคือ ประชาชนท่ัวไป นักเรียนนักศึกษา และผูที่มาศึกษาดูงาน ซึ่งมีรูปแบบกิจกรรมดังนี ้

รูปแบบการตอนรับ เม่ือนักทองเที่ยวลงจากรถคณะกรรมการและชาวบานจะมารอตอนรับ ผูนําชุมชนการตอนรับ เลาประวัติความเปนมาของหมูบานจากอดีตผูนําชุมชน พานักทองเท่ียวเขาท่ีพัก (สมาชิกบานพักโฮมสเตยมารอรับ) รับประทานอาหารกลางวันท่ีวัดโพธิ์ชัย ทําภารกิจสวนตัวเตรียมตัวเดินทาง นักทองเท่ียวขึ้นรถไปยังสถานท่ีทองเท่ียว โดยจะมีอาสาสมัครนําเท่ียวเปนผูนําทาง ซึ่งแบงออกเปน 2 เสนทาง คือ

วันแรก (ชวงบาย)

เสนทางท่ีจะไปเปนแหลงทองเที่ยวเชิงนิเวศและแหลงทองเท่ียวเชิงประวัติศาสตร โดยจุดเร่ิมตนอยูท่ีอางเก็บน้ําหวยโท - หวยยาง ไปท่ีดานหมีเดินเทาตามทางหาของปาของชาวบานไปนมัสการพระธาตุดอยอางกุง ลอดถ้ําอางกุง นมัสการหลวงปูภาท่ีถ้ําผาเก ชมวิวท่ีผาขาม ชมภาพเขียนกอนประวัติศาสตร ศึกษาประวัติคอมมิวนิสตท่ีถ้ําเสรีไทยหรือถ้ําผานาง และกราบนมัสการพระนอนท่ีสํานักสงฆภูนอยอางกุง

รูปแบบกิจกรรม - เดินปาศึกษาเสนทางธรรมชาติผานดานหมี

- กราบนมัสการพระอรหันตธาตุ 24 พระองค ที่พระธาตุดอยอางกุง - ลอดถ้ําใตบาดาลท่ีถ้ําอางกุง กราบนมัสการหลวงปูภา พระผูทรงอภิญญาแหงถ้ําผาเก - กราบนมัสการขอพรองคพระนอนสํานักสงฆภูนอยอางแกว

Page 82: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

นักทองเท่ียวเดินทางกลับหมูบาน รับประทานอาหารเย็นรวมกันท่ีวัดเขาบานพัก วันท่ีสอง (ชวงเชา – บาย)

นักทองเท่ียวรวมตัวกันที่วัดเพ่ือขึ้นรถไปยังอางเก็บน้ําหวยโท – หวยยาง เสนทางสําหรับวันท่ีสองเปนแหลงทองเท่ียวทางธรรมชาติ โดยจุดเร่ิมตนจะอยูที่อางเก็บน้ําหวยโท - หวยยาง นั่งเรือชมทัศนียภาพระหวางสองฝงของอางถึงทามวง จากนั้นก็เดินเทาไปตามเสนทางหาของปาของชาวบานนักทองเท่ียวจะไดสัมผัสกับธรรมชาติท่ีอุดมสมบรูณของภูยางอึ่ง สถานท่ีทองเท่ียวจุดแรกท่ีจะพบคือ จุดท่ีพบซากฟอสซิสไดโนเสาร จุดท่ีสองคือน้ําตกศรีตาดโตน ซึ่งอยูหางกันประมาณ 1.23 กิโลเมตร ซึ่งเปนจุดสูงสุดของหัวภู

รูปแบบกิจกรรม - ลองเรือชมทัศนียภาพโดยรอบอางเก็บน้ําหวยโท – หวยยาง - เดินปาศึกษาเสนทางธรรมชาติ - ชมจุดพบซากฟอสซิลไดโนเสารปาโลกลานป - สนุกสนานกับการเลนน้ําตกศรีตาดโตน

นอกจากนักทองเท่ียวจะไดสัมผัสกับธรรมชาติท่ีสวยงามแลว ยังไดเรียนรูวิธีการหาของปา เชน การเก็บเห็ด การหาหนอไม ฯลฯ ซึ่งนับเปนประสบการณท่ีแปลกใหม หลังจากนั้นนักทองเท่ียวเดินทางกลับบานพัก พักผอนตามอัธยาศัยเก็บของเพ่ือเดินทางกลับ

2. รูปแบบการทองเท่ียวเชิงวัฒนธรรม (รูปแบบการทองเท่ียวแบบพักแรม 2 วัน 1 คืน)

การทองเท่ียวท่ีมีวัตถุประสงคเพ่ือแสวงหาประสบการณใหมๆ อันประกอบดวยการเรียนรู การสัมผัส การชื่นชมเอกลักษณความงามของวัฒนธรรม คุณคาทางประวัติศาสตร วิถีชีวิตของกลุมชนอื่น โดยใหความเคารพแกอัตลักษณและความหลากหลายทางวัฒนธรรมของกลุมชาติพันธ ซึ่งมีวิถีชีวิตและจารีตประเพณีแตกตางกันออกไป (ยศ สันตสมบัติ และคณะผูวิจัย. 2546) ซึ่งมีรูปแบบกิจกรรมดังนี้

รูปแบบการตอนรับ เม่ือนักทองเท่ียวเดินทางมาถึงกรรมการและชาวบานในหมูบานรวมตอนรับนักทองเท่ียวท่ีวัดโพธิ์ชัย ผูนําชุมชนกลาวตอนรับแนะนํากรรมการทองเท่ียวในแตละฝาย ลําดับตอไปใหแยกนักทองเที่ยวออกเปนกลุมเขาพักท่ีบานพักโฮมเสตยท่ีไดเตรียมไว มีสมาชิกโฮมเสตย 15 ทาน นักทองเท่ียวสามารถเขาพักไดบานละ 4-5 คน นักทองเท่ียวเขาท่ีพักและพักผอนตาอัธยาศัย

Page 83: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

วันแรก (ชวงบาย) เม่ือไดท่ีพักแลว ตอนกลางคืนหลังจากรับประทานอาหารเสร็จใหนักทองเท่ียวเขามารวมตัวกันท่ีวัด

โพธิ์ชัย เพ่ือใหผูเฒาผูแก ในชุมชนเลาถึงประวัติความเปนมาของหมูบาน (เรื่องประวัติศาสตรชุมชน)

รูปแบบกิจกรรม

- นมัสการหลวงพอพอองคแสนพระคูบานคูเมือง - เรียนรูประวัติศาสตรชุมชน “การเปนหมูบานขอทาน” จากผูอาวุโสขอชุมชน - เรียนรูวิถีชีวิตของชาวบานในรูปแบบบานพักโฮมสเตย

วันแรก (ชวงเย็น) ใหนักทองเท่ียวมารวมตัวกันท่ีวัดเชนเดิมชาวบานจะมีจัดพาแลงเพ่ือรับประทานอาหารรวมกันและชมการแสดงศิลปวัฒนธรรมพ้ืนบาน เชน การฟอนภูไท การเลนดนตรีพ้ืนเมือง การรองหมอลําท่ีเปนเอกลักษณของชาวภูไท สุดทายจัดทําพิธีบายศรีสูขวัญ ผูขอตอแขน เพ่ือเปนการรับขวัญสําหรับผูมาเยือน รูปแบบกิจกรรม

งานพาแลงภูไทหวยยาง

- พิธีบายศรีสูขวัญเพ่ือตอนรับผูมาเยือน มีการผูกขอมือใหนักทองเท่ียว - ชมการแสดงศิลปวัฒนธรรมพ้ืนบาน เชน ฟอนภูไท ลําภูไท และดนตรีพ้ืนเมือง - รับประทานอาหารพ้ืนเมืองชาวภูไท เชน แกงหวาย แกงซั่วไก แกงหนอไมใสผัก

ซะแงะ แกงเห็ด ฯลฯ ซึ่งอาหารสวนใหญชาวบานจะไดมาจากภูยางอึ่งและ อางเก็บน้ําหวยโท – หวยยางเมื่อจบการแสดงชาวบานก็พานักทองเท่ียวเขาบานพัก

วันท่ีสอง (ชวงเชา – บาย) นักทองเท่ียวประกอบอาหารในบานพักในการทําบุญตักบาตรที่วัด ซึ่งเจาของบานจะทําหนาท่ีพานักทองเท่ียวลงมาท่ีวัด หลังจากใสบาตรเสร็จนักทองเท่ียวรับประทานอาหารรวมกับชาวบาน หลักจากนั้นพานักทองเท่ียวไปเรียนรูสถานท่ีทองเท่ียวตางๆของชุมชน เชน วัดโบสถดิน กลุมเพาะพันธุกลาไม กลุมทอผาไหม ศาลาทรงงาน วัดภูนอยอางแกว และรวมกิจกรรมปลูกปาบริเวณดอนปูตาหรือปาชุมชน ซึ่งในแตละฐานการเรียนรูแตละท่ีก็จะมีวิทยากร/ปราชญชาวบาน บรรยายเลาประวัติความเปนมาและใหความรูแกนักทองเท่ียว เม่ือครบทุกฐานการเรียนรูแลวรับประทานอาหารกลางวันที่วัดโพธิ์ชัย ใหนักทองเที่ยวไดแสดงความรูสึกท่ีไดเรียนรูวัฒนธรรมชาวภูไท หลังจากนั้นนักทองเที่ยวเดินทางกลับ

Page 84: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

3. รูปแบบการทองเท่ียวเชิงเกษตร (รูปแบบการเรียนรูแบบเชามาเย็นกลับ)

กิจกรรมการทองเท่ียวท่ีเกี่ยวของกับทรัพยากรเกษตรซึ่งทรัพยากรเกษตร หมายถึง ทรัพยากรเกษตรท่ีเกี่ยวของกับกาทองเท่ียว ไดแก ปจจัยการผลิตทางการเกษตร เชน ดิน น้ํา ความหลากหลายทางชีวภาพ แรงงาน ความรู เครือขายเกษตรกร องคกรชุมชน ตลอดจนสถาบันตางๆในชุมชนที่เกี่ยวของกับการทําการเกษตรของชุมชน รวมไปถึงผลผลิตและสินคาตางๆของชุมชนท่ีเกี่ยวของกับการใชทรัพยากรเกษตร (เทพกร ณ สงขลา. 2554.) ซึ่งมีรูปแบบกิจกรรมดังนี้

รูปแบบการตอนรับ

เม่ือนักทองเท่ียวเดินทางมาถึงกรรมการและชาวบานในหมูบานรวมตอนรับนักทองเท่ียวท่ีวัด โพธิ์ชัย ผูนําชุมชนกลาวตอนรับแนะนํากรรมการทองเท่ียวในแตละฝาย หลังจากนั้นกรรมการการทองเท่ียวพานักทองเท่ียวไปศึกษาดูงานกลุมเพาะพันธุกลาไมในสวนที่เตรียมไวสําหรับตอนรับนักทองเท่ียว

รูปแบบกิจกรรมการศึกษาดูงานและเรียนรูกลุมเพาะพันธกลาไมบานหวยยาง

- รับฟงประวัติความเปนมาของกลุมเพาะพันธกลาไมบานหวยยาง โดยประธานกลุมเพาะพันธกลาไม

- ศึกษาขอมูลการดําเนินการของกลุม การตลาด องคกรและเครือขายท่ีใหการสนับสนุนกลุมเพาะพันธกลาไม ตลอดจนเรียนรูขั้นตอนการเพาะพันธกลาไม เชน วิธีการปลูก อุปกรณ และขอมูลชนิดของพันธุไม

- เย่ียมชมสวนผักหวานบานของนายเริง ยางธิสาร

ซึ่งนักทองเท่ียวจะไดศึกษาถึงประวัติความเปนมาของกลุม กระบวนการทํางาน การตลาด องคกรและเครือขายทางสังคมของกลุม อีกท้ังยังไดเพ่ิมประสบการณดวยการการเขาชมสวนกลาไม นักทองเท่ียวอาจทดลองปลูกพันธุไมในสวนหรือซื้อพันธุไมกลับบานในราคาท่ีเปนกันเอง ซึ่งเปนการทํากิจกรรมรวมกับชาวบานผานการเรียนรูในระยะเวลาอันสั้น

Page 85: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

การจัดการทองเท่ียวโดยองคกรชุมชน

เมื่อระดมความคิดเห็นและกําหนดรูปแบบการทองเท่ียวแลว กระบวนการตอไปคือ การจัดต้ังกลุมองคกรชุมชนเพ่ือเปนแกนนําชุมชนในการพูดคุยและบริหารจัดการทองเท่ียวของชุมชน ซึ่งมติท่ีประชุมไดให “กลุมทองเท่ียวชุมชนภูไทหวยยาง” เปนชื่อกลุมที่ชาวบานรวมกันต้ังขึ้นและมีการจัดระบบโครงสรางในการบริหารจัดการ ประกอบดวยคณะบุคคลและตําแหนงตางๆดังนี้

นายทวีชัย ยางธิการ ผูใหญบานหมู 9 ประธาน นายพายัพ โตะชาลี ผูใหญบานหมู 6 รองประธาน ทานพระราชรัตนมงคล กรรมการท่ีปรึกษา นายอนุสรณ พลราชม นายกอบต.เหลาโพนคอ กรรมการท่ีปรึกษา ผอ.โรงเรียนบานหวยยาง กรรมการท่ีปรึกษา ผูใหญเลา ยางธิสาร อดีตผูใหญบานหมู 6 กรรมการท่ีปรึกษา ผูใหญหวล ยางธิสาร อดีตผูใหญบานหมู 6 กรรมการท่ีปรึกษา ผูใหญวิกรานต โตะชาลี อดีตผูใหญบานหมู 9 กรรมการท่ีปรึกษา นายเกียรติศักด์ิ ขันทีทาว นักวิชาการเกษตร เลขานุการ นายปรารถนา แสนธิจักร ประธานกลุมบานพักโฮมสเตย นายสงกรานต ทรายทอง ประธานอาสานําเท่ียว นางวงศจันทร ยางธิสาร ประธานฝายอาหาร นายจบ ยางธิสาร ประธานฝายการแสดงศิลปวัฒนธรรม นายสาคร ยางธิสาร ประธานฝายประชาสัมพันธการตลาด นายสุรัน ยางธิสาร ประธานฝายแหลงเรียนรูชุมชน น.ส.อรุนรัตน ยางธิสาร ประธานฝายตอนรับ นางปราณี ยางธิสาร ประธานฝายฟอนภูไท นางธิดารัตน ยางธิสาร ประธานฝายการเงินและบัญชี

ซึ่งลักษณะการดําเนินงานงานสมาชิกของกลุม ทองเท่ียวชุมชนภูไทหวยยาง มีการแบงบทบาทหนาท่ีความรับผิดชอบเปนฝายตางๆ โดยมีการประชุมหารือกับสมาชิกภายในกลุมเกี่ยวกับการดําเนินการและการกําหนดรูปแบบกิจกรรมการดําเนินงานของแตละฝาย เพ่ือนําไปสูรูปแบบการทองเท่ียวที่เหมาะสมกับชุมชน

Page 86: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

บทท่ี 5

สรุปผล อภิปรายผล และขอเสนอแนะ

การวิจัยเรื่อง รูปแบบการทองเท่ียวท่ีเหมาะสมกับชุมชนหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร โดยเก็บขอมูลที่หมูบานหวยยางหมูท่ี 6 และหมูบานหวยยางหมูท่ี 9 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ระยะเวลาในการศึกษาระหวางเดือนมิถุนายนถึงเดือนสิงหาคม 2555 วิธีการเก็บขอมูล คือ การสัมภาษณแบบมีโครงสราง การสัมภาษณระดับลึก การสังเกตแบบมีสวนรวม และการสนทนากลุม แนวคิดท่ีใชในการศึกษาคือ ทฤษฏีนิเวศวิทยาวัฒนธรรม(Cultural Ecology)ของ จูเลียน สจวด แนวคิดทุนชุมชน(Community Capital) ของสุวิทย เมษินทรีย และแนวคิดการทองเที่ยวโดยชุมชน(Community Base Sustainable Tourism)ของพจนา สวนศรี ซึ่งผูผูศึกษาไดสรุปผลการศึกษาตามลําดับดังนี้

1. วัตถุประสงคของการศึกษา 2. ประชากรและกลุมตัวอยาง 3. เครื่องมือและวิธีเก็บขอมูล 4. การเก็บรวบรวมขอมูล 5. สรุปผล 6. อภิปรายผล 7. ขอเสนอแนะ

1. วัตถุประสงคของการศึกษา

1. เพื่อศึกษาศักยภาพและขอจํากัดของชุมชนหวยยาง 2. เพื่อศึกษาและพัฒนารูปแบบการทองเที่ยวท่ีเหมาะสมกับชุมชนหวยยาง

Page 87: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

2. ประชากรและกลุมตัวอยาง

การศึกษาครั้งนี้ไดกําหนดประชากรในการศึกษา คือ ประชากรบานหวยยางหมู 6 จํานวน 740 คน และประชากรบานหวยยางเหนือหมู 9 จํานวน 858 คน โดยใชกลุมตัวอยางในการศึกษา คือ ผูนําชุมชนท้ังสองหมูบาน จํานวน 8 คน อาสาสมัครนําเท่ียวจํานวน 12 คน และปราชญชาวบานท้ัง 2 หมูบาน จํานวน 8 คน รวมท้ังสิ้น 28 คน

3. เคร่ืองมือและวิธีเก็บขอมูล ผูศึกษาไดใชเครื่องมือและวิธีการในการเก็บรวบรวมขอมูลจากการศึกษาภาคสนาม ดังนี้

1. แบบสัมภาษณแบบมีโครงสราง 2. การสัมภาษณระดับลึก 3. การสังเกตการณแบบมีสวนรวม 4. การสนทนากลุม 5. แบบประเมินผลของการจัดโครงการ

4. การเก็บรวบรวมขอมูล

การเก็บรวบรวมขอมูลมาใชในการศึกษาคร้ังนี้ ผูศึกษาไดดําเนินการตามลําดับ ดังนี้ 1. ศึกษาหนังสือที่เกี่ยวของจากหองสมุดมหาวิทยาลัยมหาสารคาม เพื่อเปนแนวทางในการศึกษา

ครั้งนี ้2. ศึกษาเอกสารมือสองท่ีไดจากหมูบานและองคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ 3. ขอหนังสือจากคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เพื่อขออนุญาต

เขาไปศึกษาและหนังสือสงตัวนิสิตในการฝกงาน 4. ดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูล โดยการสังเกตการณแบบมีสวนรวมและสัมภาษณประชากร

ตามท่ีกําหนดไวโดยผูศึกษาดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูลในพ้ืนเปนระยะเวลา 2 เดือน

5. สรุปผล

จากการใชระเบียบวิธีวิจัยดังที่กลาวมาขางตนทําใหผูศึกษาสรุปผลการศึกษาไดดังตอไปนี้ ประการแรก ประเด็นศักยภาพและขอจํากัดของชุมชนหวยยาง พบขอมูลท่ีสําคัญ คือ

Page 88: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

1. ศักยภาพของชุมชนหวยยาง 1.1. ดานตนทุนทางธรรมชาติและแหลงทองเท่ียวในชุมชน

ผลการศึกษาพบวา บานหวยยางเปนหมูบานท่ีมีความอุดมสมบรูณทางดานทรัพยากรธรรมชาติ เนื่องจากมีอางเก็บน้ําหวยโท - หวยยาง ซึ่งเปนแหลงน้ําที่มีความสําคัญตอคนในชุมชนเพราะใชในการอุปโภคบริโภคและยังใชประโยชนในดานการเกษตรนับวามีความสําคัญตอการประกอบอาชีพของคนในชุมชน นอกจากนี้แลวบานหวยยางยังมีสถานท่ีทองเที่ยวที่มีความสวยงามท้ังทางธรรมชาติและทางวัฒนธรรม ระหวางสองขางทางกอนถึงสถานท่ีทองเที่ยวทางธรรมชาติยังมีระบบนิเวศที่มีความอุดมสมบรูณ ในชวงฤดูฝนก็จะเห็นตนไมนาๆพรรณเขียวขจีปะปนกับนาขาวในทุงนาของชาวบาน ในชวงหนาแลงก็จะเห็นความหลากหลายทางอาชีพของชุมชน เชน การเลี้ยงสัตว การปลูกพืชเศรษฐกิจตามฤดูกาล โดยชุมชนมีแหลงทองเที่ยวท่ีสําคัญดังนี้

น้ําตกศรีตาดโตน

เปนน้ําตกที่สวยงาม ใสสะอาดมองเห็นปู ปลา มีดอกไมขึ้นเต็มริมแมน้ํา มีโขดหินเขียวชะอุม มีลานหินกวาง สามารถเปนท่ีพักแรมคางคืนได โดยน้ําตกศรีตาดโตนจะไหลลงสูจุดชมวิวหวยโท-หวยยาง

ถ้ําผาเก

เปนถ้ําท่ีหลวงปูภาพระเกจิอาจารยในอดีตเคยจําพรรษาและนั่งกรรมฐานภายในถ้ํามีพระนอนองคใหญมีพระพุทธรูปหลายยุคหลายสมัยเหมาะสําหรับนักทองเท่ียวท่ีชอบนั่งจําศีล ภาวนา มีน้ําไหลออกจากถ้ําตลอดท้ังปชาวบานเรียกวา “น้ําทิพย” และชาวบานเชื่อวาสามารถรักษาโรคตางๆได

ถ้ําผานาง (ถ้ําเสรีไทย)

เปนท่ีขุนพลภูพาน “นายเตียง ศิริขันธ ” มาพักหลบซอนเปนแหลงเก็บอาวุธและเปนท่ีฝกอาวุธ เปนถ้ําท่ีมีทําเลดีมาก คือ หนาถ้ําจะเปนหนาผา ศัตรูจะเขาขางหนาไมได โจมตีทางอากาศก็ลําบาก โบราณเลาวาท่ีหนาถ้ําจะมีภาพเขียนเปนภาพ “นางเปลือง”จะสามารถมองเห็นไดโดยการการปนผาดู

พระธาตุดอยอางกุงและพระพุทธศิริมงคล

พระธาตุดอยอางกุงและพระพุทธศิริมงคลสรางเเม่ือป พ.ศ. 2499 เปนพระธาตุท่ีกอสรางครอบพระอรหันธาตุ 24 พระองค เดิมหลวงปูภาเปนผูสรางองคเล็กไว ในอดีตชาวบานเคยอัญเชิญพระอรหันธาตุท้ัง 24 พระองคไว กอนหนานี้เปนโพรงไมจะมีพระหลายองค

ถ้ําอางกุง

Page 89: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

เปนถ้ําท่ีลึก ใหญ กวางขวางมาก ตามประวัติเปนถ้ําท่ีในอดีตเคยใชเปนสถานท่ีวิปสสนากรรมฐาน ปจจุบัน สภาพของถ้ํายังมีสภาพคงเดิมไมเปลี่ยนแปลง แทนท่ีทานท่ีใชนั่งวิปสสนากรรมฐานยังคงสภาพเดิม

จุดชมวิวเสาเฉลียง

เปนกอนหินใหญท่ีตั้งซอนกันและยื่นออกไปจากหนาผา สามารถชมวิวทิวทัศนท่ีสวยงามอีกจุดหนึ่งสามารถมองเห็นภูผาแดง ภูแผงมาและเทือกเขาประเทศลาว บรรยากาศยามเชามีทะเลหมอกและมีพระอาทิตยขึ้นท่ีสวยงาม และสามารถมองเห็นจุดท่ีพบฟอสซิลไดโนเสารไดเกือบทุกจุด

ดานหมี เปนลานหินกวางมีกอนหินขนาดใหต้ังสลับซับซอนกันเปนจุดเร่ิมตนของการเดินทางไปยังสถานท่ี

ตางๆในภูยางอึ่ง ในอดีตชาวบานเลาวาจะมีหมีมาหากินในบริเวณนี้เปนจํานวนมากจึงเปนท่ีมาของการตั้งชื่อวา “ดานหมี” นอกจากนี้บริเวณดานหมียังไปจุดชมวิวท่ีสามรถมองเห็นอางเก็บน้ําในระยะใกลและมีความสวยงามที่สุด

จุดพบฟอสซิลไดโนเสาร

ชุมชนหวยยาง-หวยยางเหนือมีการพบซากฟอสซิลไดโนเสาร โดยมีพระธุดงครูปหนึ่ง ชื่อ พระกึ่ม เปนผูคนพบ จากนั้นองคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอไดทําการสํารวจและเชิญนักธรณีวิทยาจากภูอุมขาวมาตรวจสอบ พบวาเปนไดโนเสารประเภทกินเนื้อ มีอายุ 107 ลานปเพราะดูจากสภาพของชั้นหิน

สํานักสงฆภูนอยอางแกว

เปนสํานักสงฆที่เครงครัดดานศาสนา มีความสงบ มีพระนอนโบราณองคใหญ มีจุดชมวิวท่ีเปนวัดท่ีพ่ึงทางจิตใจ สามารถมองเห็นอางเก็บน้ําหวยโท-หวยยาง

ภูผานอย

มีลักษณะหินสูงสลับซับซอนตั้งซอนต้ังซอนกันอยูสวยงามมาก ซึ่งผูกอการรายคอมมิวนิสตในอดีตใชเปนหอคอยระวังภัย เปนสานที่ลึกลับถาไมสังเกตชัดๆจะหาไมพบ

ภาพเขียนกอนประวัติศาสตร

เปนภาพเขียนโบราณท่ีเขียนไวบนถ้ําหินขนาดเล็ก สันนิษฐานวานาจะอยูในยุคเดียวกับภาพเขียนท่ีผาแตม คนเฒาคนแกเลาวาเปนภาพเขียนลายแทงขุมทรัพย หากสังเกตดูจะเหมือนลักษณะภูมิประเทศของเขตอุทยานภูผายล เพราะมีการทําจุดท่ีสําคัญๆไว

Page 90: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

อางแกว

เปนปฎิมากรรมทางธรรมชาติท่ีสวยงาม เปนอางขนาดใหญมีน้ําใสตลอดท้ังป สามารถใชน้ําในการทําการเกษตรไดเชนกับอางเก็บน้ําหวยโท-หวยยาง

ผาขาม

เปนหนาผาสูง ขางบนเปนจุดชมวิว เปนลานหิน เปนท่ีนั่งพักของนักเดินทาง จุดนี้สามารถมองเห็นภูมิประเทศของภูยางอึ่งและภูผาลม มีลมพัดเย็นตลอดท้ังป

1.2. ศักยภาพดานทุนทางทรัพยากรมนุษย

ศักยภาพดานทุนทางทรัพยกรท่ีมีในชุมชนพบวา ชุมชนหวยยางมีปราชญชาวบานซึ่งเปนที่เคารพนับถือของชาวบานท้ังดานการประกอบพิธีกรรมทางศาสนา พิธีกรรมดานความเชื่อ ดานการใชภูมิปญญาพ้ืนบาน เชน การจักสาน การรักษาโรคดวยสมุนไพร การแสดงศิลปวัฒนธรรมของกลุมผูสูงอายุ และการทําพิธีบายศรีสูขวัญ ซึ่งชุมชนไดมีการนําภูมิปญญาพ้ืนท่ีท่ีกลาวมาขางตนมาเปนสวนผลักดันใหเกิดการทองเท่ียวผานการนําเสนอโดยปราชญชุมชนผูมีความรูความสามารถในดานตางๆ มาแสดงใหนักทองเท่ียวไดศึกษาเรียนรูถึงภูมิปญญาพ้ืนบานของชุมชน อีกทั้งยังเปนสวนชวยใหเกิดกิจกรรมสําหรับผูสูงวัยในชุมชนอีกดวย

ดานผูนําชุมชนและชาวบาน พบวา ผูนํามีศักยภาพในการประชุมและสั่งการลูกบานไดเปนเอยางดี ใหความรวมมือในการประชาสัมพันธและประสานงานกับหนวยงานท่ีเกี่ยวของเกี่ยวกับนโยบายการทองเท่ียวเพ่ือพัฒนาศักยภาพของประชาชนในการบริหารจัดการการทองเท่ียวใหมีความชัดเจนมากขึ้น ในสวนของชาวบานพบวา ชาวบานมีการต่ืนมีการเตรียมความพรอมและใหความรวมมือกับผูนําชุมชนเปนอยางดีพฤติกรรม ซึ่งชาวบานมีการประชุมพูดคุยเรื่องการทองเท่ียวเพ่ิมมากขึ้นเพราะผูนําชุมชนตองการทําความเขาใจกับชาวบานและสรางการมีสวนรวมของคนในชุมชนในการจัดการทองเท่ียว

5.3. ศักยภาพดานทุนทางสังคม

ผลการศึกษาพบวาดานทุนทางสังคมที่ชุมชนไดรับการสนับสนุนจากหนวยงานตางๆท่ีเกี่ยวของในการสงเสริมใหเกิดการทองเท่ียวเชิงอนุรักษ ดานหนวยงานท่ีเกี่ยวของพบวาองคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอมีนโยบายพัฒนาการทองเที่ยวในชุมชนหวยยางมีลักษณะเปนการทองเที่ยวเชิงอนุรักษ นอกจาก

Page 91: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

ชุมชนหวยยางจะมีศักยภาพของสถานท่ีทองเท่ียวท่ีเอื้ออํานวยตอการเปนหมูบานทองเท่ียวเศรษฐกิจพอเพียงแลว ชุมชนยังไดมีการรวมตัวของชาวบานเพื่อจัดทํากิจกรรมตางๆภายในชุมชน ซึ่งเปนการแสดงใหเห็นถึงศักยภาพของชุม โดยไดรับการคําแนะนําจากพระราชรัตนมงคลใหจัดต้ังกลุมบานพักโฮมสเตยขึ้นเพ่ือรองรับนักทองเท่ียวท่ีเขามาในชุมชน นอกจากนนี้ยังไดรับการสนับสนุนการองคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอใหมีการจัดตั้งและอบรมใหความรูแกชาวบานในดานการทองเท่ียว ซึ่งทําใหเกิดองคกรชุมชนขึ้นดังนี้

กลุมโฮมสเตย พบวา การรวมกลุมของสมาชิกบานพักโฮมเสตยยังไมมีการบริหารจัดการท่ีชัดเจน เนื่องจากสมาชิกยังขาดความรูความเขาใจในการจัดการบานพัก อีกท้ังการดําเนินการยังอยูในขั้นของการเริ่มตนทําใหใหกลุมยังไมคอยมีความพรอมเทาท่ีควร ในสวนของบานพักพบวา บานพักมีลักษณะของตัวบานท่ีมั่นคงแข็งแรง อากาศถายเทสะดวก แสงสวางเขาถึง หองน้ําสะอาด และมีการเตรียมสิ่งอํานวยความสะดวกใหกับนักทองเท่ียว โดยเจาของบานพักจะทําความสะอาดท่ีพักและรอบบริเวณบานพักอยูเสมอ

กลุมอาสาสมัครนําเที่ยว พบวา ในชวงท่ีผานมาอาสาสมัครนํา เ ท่ียวบางคนยังไมเคยนํานักทองเท่ียวไปยังสถานที่ทองเท่ียวในชุมชน มีเพียงกลุมผูนําชุมชนท่ีทําหนาท่ีเปนอาสมัครนําเท่ียวพานักทองเท่ียวไปยังสถานท่ีทองเท่ียว ในสวนของอาสาสมัครนําเท่ียวท่ีเคยรับนักทองเที่ยวพบวามีความพรอมคอนขางสูง สามารถแนะนําและอํานวยความสะดวกใหแกนักทองเท่ียวไดท้ังในดานการพักแรม อาหาร การเดินทาง ตลอดจนชี้แนะและอธิบายถึงประวัติความเปนมาของสถานที่ทองเท่ียวในแตละสถานท่ีได

กลุมเพาะพันธุกลาไม พบวา เปนวิสาหกิจชุมชนที่มีความเขมแข็งมากของชุมชนมีความสําคัญกับชาวบานหวยยางท้ัง 2 หมูบานเปนอยางมากเพราะทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงที่สําคัญทางเศรษฐกิจ จากอดีตท่ีเคยเปนหมูบานยากจนท่ีตองไปขอทานจากหมูบานอื่นสูการเปนหมูบานท่ีมีเศรษฐกิจดีเปนอับตนๆของ จังหวัดสกนคร

ศาลาอนุสรณและจุดชมวิวอางเก็บน้ําหวยโท-หวยยาง พบวา ศาลาอนุสรณต้ังอยูบริเวณเดียวกันกับอางเก็บน้ําหวยโท - หวยยาง อดีตเคยเปนท่ีทรงงานของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ เนื่องจากพระองคไดมอบหมายงานใหกรมชลประทานมาสรางอางเก็บน้ําในป 2528 แลวเสร็จในป พ.ศ.2530 เพ่ือแกไขปญหาภัยแลงของหมูบานหวยยางใหมีน้ําในการทําการเกษตร ในการนี้พะองคเสด็จมาเปดอางดวยพระองคเองในป พ.ศ.2532 ปจจุบันบานหวยยาง-บานหวยยางเหนือมีแหลงน้ําท่ีอุดมสมบรูณมาใชใน

Page 92: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

การเกษตร จากท่ีเคยเปนหมูบานประสบปญหาภัยแลงและตองไปขอทานท่ีจังหวัดใกลเคียงมาเปนหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงและมีน้ําในการทําการเกษตรตลอดท้ังป

1.4. ศักยภาพดานทุนทางวัฒนธรรม

ผลการศึกษาพบวา ชุมชนหวยยางเปนหมูบานท่ีมีวัฒนธรรมและความเชื่อดานพิธีกรรมที่สําคัญคือการนับถือผี เชน การเลี้ยงผีปูตา ฟอนภูไท พิธีเหยา พิธีสรงน้ําพระภู การบายศรีสูขวัญ และการนมัสการโบสถดิน ซึ่งเปนเปนความเชื่อท่ีชาวบานหวยยางใหความเคารพนับถือควบคูกับการประกอบการดําเนินชีวิตและการประกอบอาชีพ นอกจากประเพณีและวัฒนธรรมซึ่งประเพณีและวัฒนธรรมความเชื่อท่ีกลาวมาขางตนมีสวนสําคัญท่ีชวยใหหมูบานนําเอกลักษณท่ีมีในชุมชนมาผลักดันเกิดการทองเท่ียว

2. ขอจํากัดของชุมชนหวยยาง

ผูศึกษาไดศึกษาถึงขอจํากัดของชุมชนในกาจัดการทองเท่ียวพบวาชุมชนมีขอจํากัดหลายดานดังตอไปนี้

1.3. ขอจํากัดดานทุนทางทรัพยากรธรรมชาติ

สถานท่ีทองเที่ยวพบวายังไมมีปายบอกชื่อ ไมมีถังขยะตามสถานที่ทองเท่ียว นอกจากนี้ยังพบการคมนาคมไมสะดวก เชน ทางรถไปถึงสถานท่ีทองเที่ยว และถนนไมดีทําการสัญจรไปมาลําบากในชวงฤดูฝน

1.4. ขอจํากัดดานทุนทางทรัพยากรมนุษย

ชาวบานขาดประสบการณและไมมีความเขาใจในการตอนรับนักทองเท่ียว ทําใหการทองเท่ียวยังไมเปนรูปรางและไมมีการกําหนดรูปแบบท่ีชัดเจน ปญหาเร่ืองระบบการจัดการขยะในหมูบาน นอกจากยังมองวาการทองเท่ียวเปนเรื่องของการทําลายสิ่งแวดลอมเพราะกิจกรรมบางกิจกรรมอาจทําใหเกิดความสูญเสียทางระบบนิเวศได ขาดงบประมาณในการสงเสริมใหเกิดการทองเท่ียว ยังไมมีความชัดเจนเร่ืองการจัดการและรูปแบบของการทองเท่ียว ชุมชนมีสวนรวมในการจัดการการทองเที่ยวนอย มีเพียงผูนําชุมชนและกรรมการหมูบานบางคนท่ีมีบทบาทในการจัดการทองเท่ียว ชาวบานไมไดมีสวนรวมในการวางแผนและกําหนดกิจกรรมตางๆดานการทองเท่ียว เพราะการบริหารจัดการการทองเท่ียวอยูในความดูแลขององคการบิหารสวนตําบลเหลาโพนคอ แตชุมชนมีเพียงหนาท่ีในการตอนรับนักทองเท่ียวท่ีเขามาในชุมชนเทานั้น

Page 93: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

1.5. ขอจํากัดดานทุนทางสังคม

การทํากิจกรรมดานการทองเท่ียวเยาวชนภายในหมูบานมีสวนรวมในการทํากิจกรรมนอยทําใหมีปญหาเร่ืองการสืบทอดทําใหประเพณีและวัฒนธรรมของชุมชนเร่ิมหลายไป เชน การลําภูไท การประกอบอาหารพ้ืนบาน นอกจากนี้ชุมชนยังไมมีรายไดจากการทองเท่ียว โดยเฉพาะชาวบานที่ไมไดอยูกลุมอาชีพหรือกลุมองคกรภายในชุมชน มีเพียงชาวบานบางสวนมีรายไดเกิดขึ้นจากการมีนักทองเท่ียวเขามาในชุมชน ปญหาท่ีพบคือ นักทองเที่ยวไมไดแวะดูกิจกรรมตางๆของชาวบานท่ีไมไดอยูในกลุม อีกท้ังยังไมมีสถานท่ีในการเสนอขายสินคาทําใหชุมชนจึงไมไดผลประโยชนจากการทองเท่ียว

1.6. ขอจํากัดดานทุนทางวัฒนธรรม

วัฒนธรรมภูไทโดยมีการประยุกตพิธีกรรมบางอยางใหเขากับยุคสมัย จนทําใหประเพณีดั้งเดิมของชุมชนท่ีมีในอดีตเริ่มหายไปเนื่องมีการวัฒนธรรมมาจากภายนอก เชน ภาษา การแตงกาย

ประการที่สอง ประเด็นรูปแบบการทองเที่ยวท่ีเหมาะสมกับชุมชนหวยยาง พบขอมูลที่สําคัญ คือ

1. รูปแบบการทองเท่ียวในปจจุบัน

จากการศึกษาพบวา การจัดการการทองเท่ียวยังไมมีรูปแบบท่ีชัดเจน ซึ่งชาวบานสวนใหญมีความตองการใหชุมชนหวยยางเปนหมูบานทองเท่ียวเพราะตองการใหชุมชนมีรายไดเพ่ิมขึ้นและตองการนําเสนอหมูบานใหคนภายนอกไดรับรูถึงประวัติศาสตรความเปนมาของชุมชนหวยยาง แตยังขาดความรูความเขาใจในเรื่องของการจัดการการทองเท่ียวมีชาวบานบางสวนไดรับการอบรมใหความรูเ ร่ืองการทองเท่ียวจากองคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ คือ การอบรมสมาชิกบานพัก โฮมสเตยและอาสาสมัครนําเท่ียว จากประสบการณดานการทองเท่ียวท่ีผานมาพบวาชุมชนยังไมมีรายไดเกิดขึ้นจากการทองเท่ียว โดยเฉพาะชาวบานท่ีไมไดอยูกลุมอาชีพหรือกลุมองคกรภายในชุมชน มีเพียงชาวบานบางสวนมีรายไดเกิดขึ้นจากการมีนักทองเที่ยวเขามาในชุมชน ปญหาท่ีพบคือ นักทองเท่ียวไมไดแวะดูกิจกรรมตางๆของกลุมอีกท้ังยังไมมีสถานท่ีในการเสนอขายสินคาทําใหชุมชนจึงไมไดผลประโยชนจากการทองเท่ียวเทาที่ควร

2. รูปแบบการทองเท่ียวท่ีเหมาะสมกับชุมชน

Page 94: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

จากการศึกษาพบวาชุมชนมีการเสนอทางเลือกในการจัดรูปแบบการทองเท่ียวที่เหมาะสมกับชุมชนดังตอไปนี้ รูปแบบการทองเท่ียวท่ีไมทําลายสภาพแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติ รูปแบบการทองเท่ียวท่ีสงเสริมประเพณีชาวภูไทชาวอีสาน รูปแบบการทองเที่ยวท่ีมุงเนนใหชาวบานเขามามีสวนรวมมากท่ีสุด รูปแบบการทองเท่ียวท่ีเนนความสนุกสนานและเพลิดเพลินควบคูกับการเรียนรู รูปแบบการทองเท่ียวท่ีเนนใหชาวบานมีรายไดเปนหลัก รูปแบบการทองเท่ียวท่ีคํานึงถึงความพอใจของนักทองเท่ียวเปนอันดับแรก และรูปแบบการทองเท่ียวท่ีเนนความสะดวกสบายและความทันสมัยควบคูกับการอนุรักษภูมิปญญาด้ังเดิมของชุมชน

3. รูปแบบการทองเท่ียวท่ีเหมาะสมกับชุมชน

ผลการศึกษาพบวาจากการเปดเวทีแลกเปลี่ยนความคิดเห็นของชุมชนผานการระดมความคิดเห็นโดยการแบงเปน 3 กลุมยอย ชาวบานไดเสนอกิจกรรมตางๆท่ีเกิดขึ้นภายใตการทองเท่ียว ทําใหเกิดรูปแบบท่ีชัดเจนขึ้น โดยแบงเปน 3 รูปแบบดังนี้

3.1. รูปแบบการทองเท่ียวเชิงนิเวศ

เปนลักษณะการทองเท่ียวในแหลงทองเที่ยวท่ีเกี่ยวเนื่องกับธรรมชาติเปนหลักมีธรรมชาติเปนเอกลักษณเฉพาะถิ่น ท้ังนี้รวมถึงแหลงวัฒนธรรมและประวัติศาสตรท่ีเกี่ยวเนื่องกับระบบนิเวศในพ้ืนท่ี โดยแบงออกเปน 2 เสนทาง คือ เสนทางแรกเปนแหลงทองเท่ียวทางธรรมชาติ โดยจุดเร่ิมตนจะอยูท่ีอางเก็บน้ําหวยโท - หวยยาง นั่งเรือชมทัศนียภาพระหวางสองฝงของอางถึงทามวง จากนั้นก็เดินเทาไปตามเสนทางหาของปาของชาวบานนักทองเท่ียวจะไดสัมผัสกับธรรมชาติที่อุดมสมบรูณของภูยางอึ่ง สถานท่ีทองเท่ียวจุดแรกท่ีจะพบคือ จุดท่ีพบซากฟอสซิสไดโนเสาร จุดท่ีสองคือน้ําตกศรีตาดโตน ซึ่งอยูหางกันประมาณ 1.23 กิโลเมตร ซึ่งเปนจุดสูงสุดของหัวภ ู

เสนทางที่สองเปนแหลงทองเท่ียวเชิงนิเวศและแหลงทองเท่ียวเชิงประวัติศาสตร โดยจุดเร่ิมตนอยูท่ีอางเก็บน้ําหวยโท - หวยยาง ไปท่ีดานหมีเดินเทาตามทางหาของปาของชาวบานไปนมัสการพระธาตุดอยอางกุง ลอดถ้ําอางกุง นมัสการหลวงปูภาท่ีถ้ําผาเก ชมวิวท่ีผาขาม ชมภาพเขียนกอนประวัติศาสตร ศึกษาประวัติคอมมิวนิสตท่ีถ้ําเสรีไทยหรือถ้ําผานาง และกราบนมัสการพระนอนท่ีสํานักสงฆภูนอยอางกุง

3.2. การทองเท่ียวเชิงวัฒนธรรม

Page 95: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

การทองเที่ยวท่ีมีวัตถุประสงคเพ่ือแสวงหาประสบการณใหมๆ อันประกอบดวยการเรียนรู การสัมผัส การชื่นชมเอกลักษณความงามของวัฒนธรรม คุณคาทางประวัติศาสตร วิถีชีวิตของกลุมชนอื่น โดยใหความเคารพแกอัตลักษณและความหลากหลายทางวัฒนธรรมของกลุมชาติพันธ ซึ่งมีวิถีชีวิตและจารีตประเพณีแตกตางกันออกไป ซึ่งมีรูปแบบกิจกรรมดังนี้ ชุมชนมีวัฒนธรรมท่ีเปนเอกลักษณของชุมชนสงเสริมใหเกิดการทองเท่ียวในดานวัฒนธรรมประเพณีของชุมชน เชน วัฒนธรรมการแตงกาย การประกอบอาหาร การตอนรับ การเลี้ยงผีปูตา พิธีเหยา พิธีสรงน้ําพระภู และประเพณีการรดน้ําขอพรผูใหญเนื่องในวันสงกรานตตามฮีตสิบสองคองสิบสี่ ซึ่งชุมชนไดมีการจัดรูปแบบการทองเท่ียวท่ีมีการผสมผสานระหวางการอนุรักษวัฒนธรรมภูไทและมีการฟนฟูประเพณีพ้ืนบานด้ังเดิมของชุมชนใหเขากับยุคสมัยในปจจุบัน

3.3. รูปแบบการทองเท่ียวเชิงเกษตร

กิจกรรมการทองเท่ียวท่ีเกี่ยวของกับทรัพยากรเกษตรซึ่งทรัพยากรเกษตร หมายถึง ทรัพยากรเกษตรท่ีเกี่ยวของกับกาทองเท่ียว ไดแก ปจจัยการผลิตทางการเกษตร เชน ดิน น้ํา ความหลากหลายทางชีวภาพ แรงงาน ความรู เครือขายเกษตรกร องคกรชุมชน ตลอดจนสถาบันตางๆในชุมชนที่เกี่ยวของกับการทําการเกษตรของชุมชน รวมไปถึงผลผลิตและสินคาตางๆของชุมชนท่ีเกี่ยวของกับการใชทรัพยากรเกษตร ซึ่งมีรูปแบบกิจกรรมดังนี้ นักทองเท่ียวจะไดศึกษาถึงประวัติความเปนมาของกลุม กระบวนการทํางาน การตลาด องคกรและเครือขายทางสังคมของกลุม อีกท้ังยังไดเพ่ิมประสบการณดวยการการเขาชมสวนกลาไม นักทองเท่ียวอาจทดลองปลูกพันธุไมในสวนหรือซื้อพันธุไมกลับบานในราคาท่ีเปนกันเอง ซึ่งเปนการทํากิจกรรมรวมกับชาวบานผานการเรียนรูในระยะเวลาอันสั้น

4. การจัดการทองเท่ียวโดยองคกรชุมชน

ผลการศึกษาพบวา ชุมชนการจัดตั้งกลุมองคกรชุมชนเพื่อเปนแกนนําชุมชนในการพูดคุยและบริหารจัดการทอเท่ียวของชุมชน ซึ่งมติท่ีประชุมไดให “กลุมทองเท่ียวชุมชนภูไทหวยยาง” เปนชื่อกลุมท่ีชาวบานรวมกันต้ังขึ้นและมีการจัดระบบโครงสรางหนาท่ีของกลุมโดยประกอบดวยคณะบุคคลและตําแหนงตางๆไดแก ประธาน รองประธาน กรรมการที่ปรึกษา เลขานุการ ประธานอาสานําเท่ียว

Page 96: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

ประธานกลุมบานพักโฮมสเตย ประธานฝายอาหาร ประธานฝายการแสดงศิลปวัฒนธรรม ประธานฝายประชาสัมพันธการตลาด ประธานฝายแหลงเรียนรูชุมชน ประธานฝายตอนรับ ประธานฝายฟอนภูไท ประธานฝายการเงินและบัญชี ซึ่งลักษณะการดําเนินงานงานสมาชิกของกลุม ทองเที่ยวชุมชนภูไทหวยยาง มีการแบงบทบาทหนาท่ีความรับผิดชอบเปนฝายตางๆ โดยมีการประชุมหารือกับสมาชิกภายในกลุมเกี่ยวกับการดําเนินการและการกําหนดรูปแบบกิจกรรมการดําเนินงานของแตละฝาย เพ่ือนําไปสูรูปแบบการทองเที่ยวท่ีเหมาะสมกับชุมชน

6. อภิปรายผล

จากการศึกษาเร่ือง รูปแบบการทองเที่ยวท่ีเหมาะสมกับชุมชนหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ไดพบประเด็นที่นํามาอภิปรายผลใหสอดคลองกับวัตถุประสงคของการวิจัยในครั้งนี้ ไดแก ประเด็นแรก คือ ศักยภาพและขอจํากัดของชุมชนหวยยาง และประเด็นท่ีสอง คือ รูปแบบการทองเท่ียวท่ีเหมาะสมกับชุมชนหวยยาง ซึ่งผูศึกษาจะอภิปรายผลดังนี้ ประเด็นแรก ศักยภาพและขอจํากัดของชุมชนหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ผลการศึกษาพบวาศักยภาพของชุมชนมีความพรอม เพราะทุนดานทรัพยากรธรรมชาติมีความอุดมสมบรูณท้ังแหลงทองเท่ียวภายในชุมชนและแหลงทองเที่ยวในอุทยานแหงชาติภูผายล ไดแก น้ําตกศรีตาดโตน ถ้ําผาเก ถ้ําผานาง (ถ้ําเสรีไทย) พระธาตุดอยอางกุง ถ้ําอางกุง จุดชมวิวเสาเฉลียง ดานหมี จุดพบฟอสซิลไดโนเสาร สํานักสงฆภูนอยอางแกว ภูผานอย ภาพเขียนกอนประวัติศาสตร อางแกว และผาขาม ชุมชนหวยยางยังมีทุนทางสังคมที่เปนเอกลักษณท้ังดาน การแตงกาย ภาษา การตนรับ การประกอบอาหาร การแสดงศิลปวัฒนธรรมพื้นบาน ประเพณีและวัฒนธรรม ไดแก การเลี้ยงผีปูตา ฟอนผูไท พิธีเหยา พิธีสรงน้ําพระภู และการบายศรีสูขวัญ ตอลดจนวีถีการดําเนินชีวิตและความเชื่อท่ียังคงพ่ึงพาอาศัยทรัพยากรธรรมชาติรอบๆหมูบาน นับเปนพ้ืนท่ีท่ีเอื้อตอการจัดการใหเปนแหลงทองเที่ยวเชิงอนุรักษซึ่งมีความสอดคลองกับแนวคิด การทองเท่ียวเชิงนิเวศของ ยศ สันตสมบัติ และคณะผูวิจัย (2546 : 10) ซึ่งใหคําจํากัดความไววา เปนการทองเท่ียวไปยังแหลงธรรมชาติ โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือเรียนรูทําความเขาใจกับการพัฒนาทางวัฒนธรรมและสภาพแวดลอมดวยความระมัดระวังไมใหเกิดความเสียหายตอระบบนิเวศ และในขณะเดียวกันก็ชวยสรางโอกาสทางเศรษฐกิจเพ่ือใหชาวบานในทองถิ่นไดรับประโยชนดวยตรงจากการอนุรักษธรรมชาติแวดลอม นอกจากนนี้ชุมชนหวยยางยังมีศักยภาพดานทุนทางทรัพยากรมนุษยเนื่องจากชุมชนหวยยางมีปราชญชาวบานซึ่งเปนท่ีเคารพนับถือของชาวบานทั้งดานการประกอบพิธีกรรม ประกอบกับผูนํามีศักยภาพในการประสานกับหนวยงานราชการ ชาวบานมีการเตรียมความพรอมและให

Page 97: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

ความรวมมือในการบริหารจัดการ ศักยภาพดานทุนทางสังคม ชุมชนหวยยางไดรับการสนับสนุนสงเสริมดานการทองเท่ียวจากองคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอใหมีการจัดตั้งองคกรชุมชนขึ้น คือ กลุมบานพักโฮมสเตย อาสาสมัครนําเท่ียวขึ้น กลุมเพาะพันธุกลาไม และศาลาอนุสรณทรงงาน ซึ่งสอดคลองกับแนวทุนชุมชนของสุวิทย เมษินทรีย (มปป.)ท่ีไดอธิบายวาทุนชุมชนคือสิ่งท่ีเปนมูลคาหรือมีคุณคาท่ีมิใชเงินตราเพียงอยางเดียว แตหมายถึงสิ่งอื่น ๆ ท่ีมีความสําคัญตอชีวิตความเปนอยูของคน เชน ทุนทรัพยากรท่ีกอใหเกิดผลผลิต รวมถึงเงินและสินทรัพยอื่น ๆ ท่ีเปนความรู ภูมิปญญา ประสบการณของคน ทุนทางสังคม วัฒนธรรมประเพณี ปจจัยบริการทางโครงสรางพ้ืนฐาน ซึ่งทุนทางชุมชนเปนปจจัยสําคัญที่ทําใหชุมชนหวยยางคนพบศักยภาพของชุมชนในดานตางๆ

จากศักยภาพท่ีกลาวมาขางตนทําใหผูวิจัยพบวาชุมชนหวยยางยังมีขอจํากัดท่ีเปนปญหาในการพัฒนารูปแบบการทองเท่ียว คือ ปญหาสิ่งอํานวยความสะดวกของสถานที่ทองเท่ียว ปญหาการคมนาคมไมสะดวก ความรูความเขาใจของชาวบาน พฤติกรรมและวัฒนธรรมบางอยางของชุมชนมีการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมสาเหตุการจากการรับวัฒนธรรมจากภายนอก การเปลี่ยนแปลงวิถีการผลิตและอาชีพชีพของคนในชุมชนหลังจากการสรางอางเก็บน้ํา ทําใหพฤติกรรมของคนในชุมชนเปลี่ยนแปลงไป ซึ่งสอดคลองกับงานแนวคิดนิเวศวิทยาวัฒนธรรมตามทัศนะของสจวด วาเปนความสัมพันธระหวางสภาพแวดลอมกับเทคโนโลยีทางการผลิต ซึ่งเปนตัวกําหนดสําคัญตอการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม โดยมีความสัมพันธระหวางเทคโนโลยีกับพฤติกรรมของมนุษย และความสําคัญของสภาพแวดลอมและอิทธิพลของสภาพแวดลอมตอพัฒนาการทางวัฒนธรรม

ประเด็นท่ีสอง รูปแบบการทองเที่ยวท่ีเหมาะสมกับชุมชนหวยยาง พบวาเรื่อง รูปแบบการทองเท่ียวท่ีเหมาะสมกับชุมชนหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ชุมชนเสนอทางเลือกในลักษณะรูปแบบการทองเท่ียวแบบผสมผสาน คือเปนการทองเท่ียวเพ่ือชมและเก็บเกี่ยวประสบการณจากสภาพแวดลอมทางภูมิศาสตร ประวัติศาสตร วัฒนธรรม ประเพณี วิถีชีวิตและภูมิปญหาพ้ืนบานของชุมชน และการเรียนรูระบบการผลิตในภาคเกษตรของชุมชน ซึ่งมี 3 รูปแบบหลักๆ คือ รูปแบบท่ีหนึ่ง รูปแบบการทองเท่ียวเชิงนิเวศเปนลักษณะการทองเท่ียวในแหลงทองเที่ยวท่ีเกี่ยวเนื่องกับธรรมชาติ ซึ่งรูปแบบกิจกรรมจะเปนการเดินทางศึกษาเสนทางธรรมชาติ เท่ียวชมสถานท่ีทองเที่ยวทางธรรมชาติ ซึ่งมีความสอดคลองกับงานของ พงศกร ชาวเชียงตุง (2550 : 78-80) ไดศึกษาถึงแนวทางพัฒนาแหลงทองเที่ยวเชิงนิเวศลําน้ําชี จังหวัดมหาสารคาม โดยมีการกําหนดสถานท่ีทองเท่ียวเชิงนิเวศ 5 แหง คือ บานทาขอนยาง บานโขงกุดหวาย สถาบันวิจัยวลัยรุกขเวช วนอุทยานชีหลง และหาดใหญบาน

Page 98: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

วังยาว เพื่อเปรียบเทียบศักยภาพในการบริหารจัดการและความตองการพัฒนาแหลงทองเท่ียวเชิงนิเวศท่ีมีแตกตางในแตสถานท่ี เพ่ือเปนการกําหนดรูปแบบกิจกรรมดานการทองเท่ียวในแตสถานที่เพ่ือสรางความประทับใจใหกับนักทองเท่ียว

รูปแบบท่ีสองการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมชุมชน เปนการชื่นชมเอกลักษณความงามของวัฒนธรรมโดยชุมชนไดนําวัฒนธรรมท่ีเปนเอกลักษณของชุมชนสงเสริมใหเกิดการทองเท่ียวในดานวัฒนธรรมประเพณีท่ีมีอยูในชุมชนมาใหนักทองเท่ียวไดแลกเปลี่ยนเรียนรู ซึ่งสอดคลองกับงานของ พรวิไล วงศไตรพิพัฒน (2552 : 198-201) ไดศึกษาเร่ือง เสนทางสายหิน : แนวทางการจัดการแหลงทองเท่ียวทางวัฒนธรรมเพ่ือสงเสริมเศรษฐกิจชุมชน จังหวัดนครราชสีมา ผลการวิจัยพบวา มีการนําวัฒนธรรมดั้งเดิมของชุมชนทองถิ่นท่ีเปนศาสนาสถานเปนศูนยรวมของคนในชุมชน จัดพิธีบวงสรวง เซนไหวเทพยดา จัดพิธีกินเขาค่ําและประเพณีลอยกระทงพระราชทาน ซึ่งกลายเปนประเพณีท่ีมีชื่อเสียงเปนเอกลักษณของอําเภอสูงเนิน สามารถดึงดูดนักทองเที่ยวใหมาสัมผัสบรรยากาศยอนยุคและเพ่ิมรายไดใหกับในทองถิ่นทําใหชุมชนมีเศรษฐกิจท่ีดีขึ้น

รูปแบบท่ีสาม การทองเที่ยวเชิงเกษตร เปนการศึกษาเรียนรูถึงประวัติความเปนมาของกลุมเพาะพันธุกลาไม กระบวนการทํางาน การตลาด องคกรและเครือขายทางสังคมของกลุม อีกท้ังยังไดเพิ่มประสบการณดวยการการเขาชมสวนกลาไม นักทองเที่ยวอาจทดลองปลูกพันธุไมในสวนหรือซื้อพันธุไมกลับบานในราคาท่ีเปนกันเอง ซึ่งเปนการทํากิจกรรมรวมกับชาวบานผานการเรียนรูในระยะเวลาอันสั้น สอดคลองกับงานของเทพกร ณ สงขลา (2554.) ท่ีไดศึกษาเกี่ยวกับความสัมพันธระหวางรูปแบบกิจกรรมการทองเท่ียวเชิงเกษตรและการใชทรัพยากรของชุมชน : กรณีศึกษาการทองเท่ียวเชิงเกษตรชางกลาง จังหวัดนครศรีธรรมราช พบวามีชุมชนมีการจําแนกรูปแบบกิจกรรมการทองเท่ียวเชิงเกษตร ไดแก สาธิตขั้นตอนการผลิต จําหนายสินคาทางการเกษตรของชุมชม เพ่ือสรางรายไดใหกับชุมชนที่มากกวาการเปนอาชีพเกษตรกร สวนการจัดการทองเท่ียวโดยองคกรชุมชน การจัดการการทองเท่ียวของชุมชนกําลังอยูในขั้นของการดําเนินการชุมชนจึงมีความจําเปนจัดต้ังกลุมองคกรชุมชนเพ่ือเปนแกนนําชุมชนในการพูดคุยและบริหารจัดการทองเท่ียวของชุมชน ชื่อกลุม “ทองเท่ียวชุมชนภูไทหวยยาง” ซึ่งชาวบานมีสวนรวมในการเสนอรูปแบบและแนวทางการจัดการการทองเท่ียว ซึ่งสอดคลองกับแนวคิดการทองเที่ยวโดยชุมชนของ พจนา สวนศรี (2546) การทองเที่ยวโดยชุมชน (community base sustainable tourism) คือ การทองเท่ียวท่ี

Page 99: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

คํานึงถึงความยั่งยืนของสิ่งแวดลอม สังคม และวัฒนธรรม กําหนดทิศทางโดยชุมชน จัดการโดยชุมชน เพ่ือชุมชน และชุมชนมีบทบาทเปนเจาของมีสิทธิในการจัดการดูแลเพ่ือใหเกิดการเรียนรูแกผูมาเยือน

ดังนั้นงานวิจัยนี้จึงเปนการกําหนดรูปแบบการทองเท่ียวท่ีมีความเหมาะสมกับชุมชน ซึ่งมาจากการมีสวนรวมของชุมชนในการเสนอรูปแบบการทองเที่ยวที่มีความเหมาะสมกับชุมชนท่ีมีแนวความคิดสอดคลองกับแนวคิดการทองเท่ียวโดยชุมชนนําไปสูการพัฒนารูปแบบการทองเท่ียวท่ีย่ังยืนของชุมชน

7. ขอเสนอแนะ

ขอเสนอแนะดานการพัฒนาชุมชน

1. ควรมีหนวยงานท่ีทําหนาเปนผูประสานงานกลางและเขามาใหการสนับสนุนชุมชนอยางจริงจัง แผนงานหรือนโยบายดานการทองเท่ียวควรมีสวนรวมระหวางชุมชนและองคกรปกครองสวนทองถิ่น

2. การตั้งเปาในการพัฒนาการทองเท่ียว ควรคํานึงถึงเร่ืองความสมารถในการรองรับของสถานท่ีทองเท่ียวกับจํานวนนักทองเท่ียว เพ่ือไมใหเกิดการทําลายระบบนิเวศและทรัพยากรธรรมชาติ

3. ควรพัฒนาเยาวชนภายในหมูบานใหมีความรูความสามารถเปนมัคคุเทศก เพ่ือแนะนําสถานท่ีทองเท่ียวตางๆภายในชุมชน

4. ควรมีการจัดเวทีแลกเปลี่ยนความรูใหกับชุมชนอยางตอเนื่อง เ พ่ือเพ่ิมความรูความเขาใจใหกับชาวบานในการจัดการการทองเท่ียว ท้ังดานวิชาการ และดานการปฏิบัติ

ขอเสนอแนะดานการวิจัย

1. ควรมีการวิจัยท่ีศึกษาถึงผลกระทบแบบเชิงลึกท่ีเกิดขึ้นจากการทองเท่ียว ท้ังทางตรงและทางออม

2. ควรมีการศึกษาวิจัยถึงองคความรูท่ีเปนเอกลักษณชุมชนท่ีสงเสริมใหเกิดการทองเท่ียวอยางจริงจัง

3. ควรมีการศึกษาวิจัยถึงพัฒนาการของชุมชนในการบริหารจัดการการทองเที่ยวเพ่ือเกิดการเปรียบเทียบผลของการพัฒนาศักยภาพชุมชน

Page 100: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

บรรณานุกรม

ดุษณี ชาวนาและคณะ. (2551). โครงการ รูปแบบการจัดการการทองเท่ียวโดยชุมชนอยางยั่งยืน ชุมชนผาแตก หมูท่ี 10 ตําบลสบเปง อําเภอแมแตง จังหวัดเชียงใหม. รายงานการวิจัยโครงการฉบับสมบรูณ : โครงการ รูปแบบการจัดการการทองเท่ียวโดยชุมชนอยางย่ังยืน ชุมชนผาแตก หมูท่ี 10 ตําบลสบเปง อําเภอแมแตง จังหวัดเชียงใหม.

ธัญญลักษณ มีหมู. (2552). ศักยภาพและแนวทางการจัดการทองเท่ียวเชิงนิเวศวัฒนธรรมในเขตตําบลทาหินโงม อําเภอเมือง จังหวัดชัยภูม.ิ วิทยานิพนธ ศศ.ม. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

พจนา สวนศรี. (2546). เอกสารการสอนชุดวิชา หนวยท่ี 8-15 การจัดการนันทนาการและการทองเท่ียวทางธรรมชาติ. นนทบุรี :มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

พงศกร ชาวเชียงตุง. (2550). แนวทางพัฒนาแหลงทองเท่ียวเชิงนิเวศลําน้ําชี จังหวัดมหาสารคาม. วิทยานิพนธ วท.ม มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

พรวิไล วงศไตรพิพัฒน. (2552). เสนทางสายหิน : แนวทางการจัดการแหลงทองเท่ียวทางวัฒนธรรมเพื่อสงเสริมเศรษฐกิจชุมชน จังหวัดนครราชสีมา. วิทยานิพนธ ศศ.ม. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

ยศ สันตสมบัติและคณะผูวิจัย. (2544). การทองเท่ียวเชิงนิเวศ ความหลากหลายทางวัฒนธรรมและการจัดการทรัพยากร. พิมพครั้งท่ี 1. นพบุรีการพิมพ. เชียงใหม.

วาทินี หมอไทย. (2552). แนวทางการพัฒนาการจัดการการทองเท่ียวเชิงนิเวศวัฒนธรรมโดยองคการบริหารสวนตําบล ลุมน้ํามูลตอนบน จังหวัดนครราชสีมา. วิทยานิพนธ ศศ.ม. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

วิภา ศรีระทุ. (2551). ศักยภาพแหลงทองเท่ียวเชิงนิเวศในอําเภอเขาคอ จังหวัดเพชรบูรณ. สารนิพนธ วท.ม. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : กรุงเทพฯ.

วีระพล ทองมา. (2546). “การทองเท่ียวโดยชุมชน (Community Based Tourism :CBT)” < www.dnp.go.th/fca16/file/i49xy4ghqzsh3j1.doc> 22 กุมภาพันธ 2555.

วุฒิศักดิ์ อุมา. (2552). “การทองเท่ียวเชิงวัฒนธรรม”. มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยศูนยอุบลราชธาน.ี < http://www.thaicivilization.com> 18 กุมภาพันธ 2555.

Page 101: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

พระราชรัตนมงคล. (2546). ตํานานผูไท. พิมพครั้งที่ 1. ศิลปสยามบรรจุภัณฑและการพิมพ : กรุงเทพฯ. เทพกร ณ สงขลา. (25554.) “ความสัมพันธระหวางรูปแบบกิจกรรมการทองเที่ยวเชิงเกษตรและการใช

ทรัพยากรของชุมชน : กรณีศึกษาการทองเท่ียวเชิงเกษตรชางกลาง จังหวัดนครศรีธรรมราช”. มหาวิทยาลัยนเรศวร . < http://gsbooks.gs.kku.ac.th/54/grc12/files/hdo4.pdf > 20 กันยายน 2555

สุวิทย เมษินทรีย. (มปป.) “การพัฒนาทุนชุมชน” สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดลําปาง. <http://www.cddlampang.net>

Page 102: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

ภาคผนวก

Page 103: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

ภาคผนวก ก

รายช่ือผูใหสัมภาษณ

Page 104: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

รายช่ือผูใหสัมภาษณ

1 นายทวีชัย ยางธิสาร เปนผูใหสัมภาษณ บานเลขท่ี 234 หมูที่ 9 บานหวยยางเหนือ ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สัมภาษณวันท่ี 30 มิถุนายน 2555

2 นางเรณู ยางธิสาร เปนผูใหสัมภาษณ บานเลขท่ี 206 หมูที่ 6 บานหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สัมภาษณวันที่ 30 มิถุนายน 2555 กรกฎาคม 2555

3 นายหวล ยางธิสาร เปนผูใหสัมภาษณ บานเลขท่ี 215 หมูท่ี 6 บานหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สัมภาษณวันที่ 2 กรกฎาคม 2555

4 นางไหมคํา ฮมปา เปนผูใหสัมภาษณ บานเลขท่ี 197 หมูที ่ 6 บานหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สัมภาษณวันที่ 11 กรกฎาคม 2555

5 นางญาณี ยางธิสาร เปนผูใหสัมภาษณ บานเลขท่ี 1 หมูท่ี 6 บานหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สัมภาษณวันที่ 12 กรกฎาคม 2555

6 นายเกร็ดแกว ยางธิสาร เปนผูใหสัมภาษณ บานเลขท่ี 27 หมูท่ี 6 บานหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สัมภาษณวันท่ี 12 กรกฎาคม 2555

7 นายสุรัน โตะชาลี เปนผูใหสัมภาษณ บานเลขท่ี 113 หมูที่ 6 บานหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สัมภาษณวันท่ี 12 กรกฎาคม 2555

8 นายเมคินธ ยางธิสาร เปนผูใหสัมภาษณ บานเลขท่ี 133 หมูที ่ 6 บานหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สัมภาษณวันที่ 13 กรกฎาคม 2555

9 นายสดใส ยางธิสาร เปนผูใหสัมภาษณ เปนผูใหสัมภาษณ บานเลขท่ี 207 หมูท่ี 6 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สัมภาษณวันท่ี 13 กรกฎาคม 2555

10 นายสมทรง สรอยสงค เปนผูใหสัมภาษณ บานเลขที่ 246 หมูท่ี 6 บานหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สัมภาษณวันท่ี 13 กรกฎาคม 2555

11 นางวงจันทร ยางธิสาร เปนผูใหสัมภาษณ บานเลขที่ 245 หมูที่ 9 บานหวยยางเหนือ ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สัมภาษณวันท่ี 13 กรกฎาคม 2555

12 นายยศตะพล สุขสบาย เปนผูใหสัมภาษณ บานเลขท่ี 239 หมูท่ี 6 บานหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สัมภาษณวันท่ี 14 กรกฎาคม 2555

13 มายมนูญ ยางธิสาร เปนผูใหสัมภาษณ บานเลขท่ี 219 หมูที่ 9 บานหวยยางเหนือ ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สัมภาษณวันท่ี 14 กรกฎาคม 2555

Page 105: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

14 นายปารถนา แสนธิจักร เปนผูใหสัมภาษณ บานเลขท่ี 109 หมูท่ี 9 บานหวยยางเหนือ ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สัมภาษณวันท่ี 14 กรกฎาคม 2555

15 นายสงกรานต ทรายทอง เปนผูใหสัมภาษณ บานเลขท่ี 146 หมูท่ี 9 บานหวยยางเหนือ ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สัมภาษณวันท่ี 16 กรกฎาคม 2555

16 นายสรสินธ โตะชาลี เปนผูใหสัมภาษณ บานเลขท่ี 208 หมูที ่ 6 บานหวยยา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สัมภาษณวันท่ี 16 กรกฎาคม 2555

17 นายลิขิต ยางธิสาร เปนผูใหสัมภาษณ บานเลขท่ี 11 หมูท่ี 6 บานหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สัมภาษณวันที่ 16 กรกฎาคม 2555

18 นายคําตา นาริเพ็ง เปนผูใหสัมภาษณ บานเลขที ่ 110 หมูที่ 9 บานหวยยางเหนือ ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สัมภาษณวันท่ี 16 กรกฎาคม 2555

19 นายคง ยางธิสาร เปนผูใหสัมภาษณ บานเลขท่ี 155 หมูท่ี 9 บานหวยยางเหนือ ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สัมภาษณวันท่ี 17 กรกฎาคม 2555

20 นายวิตตะ ยางธิสาร เปนผูใหสัมภาษณ บานเลขท่ี 22 หมูที่ 9 บานหวยยางเหนือ ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สัมภาษณวันท่ี 17 กรกฎาคม 2555

21 นางวิชิน ยางธิสาร เปนผูใหสัมภาษณ บานเลขท่ี 215 หมูท่ี 6 บานหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สัมภาษณวันที่ 20 กรกฎาคม 2555

22 นายมานะชัย แสนธิจักร เปนผูใหสัมภาษณ บานเลขท่ี 182 หมูท่ี 9 บานหวยยางเหนือ ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สัมภาษณวันท่ี 20 กรกฎาคม 2555

23 นายธีระพงษ ยางธิสาร เปนผูใหสัมภาษณ บานเลขท่ี 198 หมูที่ 6 บานหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สัมภาษณวันท่ี 21 กรกฎาคม 2555

24 นายจบ ยางธิสาร เปนผูใหสัมภาษณ บานเลขท่ี 5 หมูท่ี 9 บานหวยยางเหนือ ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สัมภาษณวันท่ี 22 กรกฎาคม 2555

25 นายเริง ยางธิสาร เปนผูใหสัมภาษณ บานเลขท่ี 59 หมูที่ 9 บานหวยยางเหนือ ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สัมภาษณวันท่ี 22 กรกฎาคม 2555

26 นายมีชัย ยางธิสาร เปนผูใหสัมภาษณ บานเลขท่ี 28 หมูท่ี 9 บานหวยยางเหนือ ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สัมภาษณวันท่ี 22 กรกฎาคม 2555

27 นายสาคร ยางธิสาร เปนผูใหสัมภาษณ บานเลขท่ี 146 หมูท่ี 6 บานหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สัมภาษณวันที่ 23 กรกฎาคม 2555

Page 106: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

28 นายวิกรานต โตะชาล ี เปนผูใหสัมภาษณ บานเลขท่ี 13 หมูที่ 9 บานหวยยางเหนือ ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สัมภาษณวันท่ี 28 กรกฎาคม 2555

29 นายเชิดชัย โตะชาล ี เปนผูใหสัมภาษณ บานเลขท่ี 149 หมูที่ 6 บานหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สัมภาษณวันที่ 28 กรกฎาคม 2555

30 นายอวน ยางธิสาร เปนผูใหสัมภาษณ บานเลขท่ี250 หมูท่ี 6 บานหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สัมภาษณวันที่ 28 กรกฎาคม 2555

31 นายพายัพ โตะชาลี เปนผูใหสัมภาษณ บานเลขท่ี 53 หมูท่ี 6 บานหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สัมภาษณวันที่ 11 สิงหาคม 2555

Page 107: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

ภาคผนวก ข

แบบสัมภาษณ

Page 108: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

แบบสัมภาษณมีโครงสราง

พัฒนานิพนธเรื่อง : รูปแบบการทองเที่ยวท่ีเหมาะสมกับชุมชนหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ

อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร

ตอนท่ี 1 ขอมูลท่ัวไปของผูใหสัมภาษณ

ชื่อ-สกุล............................................................................................................................................... 1. บานเลขท่ี......................................................................................................................................... 2. อายุ.........ป 3. สถานภาพสมรส

( ) โสด ( ) สมรส ( ) หยาราง ( ) มาย 4. ศาสนา

( ) พุทธ ( ) อิสลาม ( ) อื่น ๆโปรดระบุ................ 5. การศึกษา

( ) ประถมศึกษา ( ) มัธยมศึกษาตอนตน ( ) มัธยมศึกษาตอนปลาย ( ) ปวช. ปวส. ( ) ปริญญาตรี ( ) อื่น ๆ โปรดระบุ....................

6. ทานประกอบอาชีพใดเปนอาชีพหลัก ( ) เกษตรกรรม ( ) คาขาย ( ) ประมง ( ) ขาราชการ ( ) รับจางทั่วไป ( ) อื่น ๆโปรด ระบุ...................

7. อาชีพรองของทาน (อาชีพท่ีใชเวลาในการประกอบอาชีพนอยกวาอาชีพหลัก) (ตอบไดมากกวา 1 ขอ) ( ) ทําไร/ทําสวน ( ) หาของปา ( ) คาขาย ( ) รับจาง ( ) ไมมี ( ) อื่น ๆ โปรดระบุ.............................. 8. รายไดเฉลี่ยของทาน......................................... บาท / เดือน 9. ทานไดอาศัยอยูในชุมชนนี้มาเปนระยะเวลา ................... ป 10. ทานมีตําแหนงทางสังคมในชุมชนหรือไม ( ) กรรมการหมูบาน ( ) กรรมการกลุมอาชีพ ระบุ....................................................... ( ) อื่นๆ ระบ.ุ.................................................. ( ) ไมไดเปน

Page 109: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

ตอนท่ี 2 : ผลกระทบของการทองเที่ยวท่ีเกิดข้ึนตอชุมชนหวยยาง

ขอท่ี ขอความ ใช ไมใช 11 ทานตองการใหชุมชนหวยยางเปนหมูบานทองเที่ยวหรือไม 12 ทานเคยเขารับการอบรมหรือประชุมเกี่ยวกับการทองเท่ียวหรือไม 13 ปจจุบันทานเปนกรรมการหรือมีบทบาทเกี่ยวกับการทองเท่ียวหรือไม 14 ทานเคยเขารวมการตอนรับนักทองเท่ียวท่ีเขามาเท่ียวในชุมชนหรือไม 15 ทานสามารถแนะนําหรือใหความรูกับนักทองเที่ยวได 16 ทานมีรายไดเกิดขึ้นจากการมีนักทองเท่ียวเขามาในชุมชน

17 วัฒนธรรมภูไทไดรับการอนุรักษและฟนฟูจากการทองเท่ียวในชุมชน 18 สมาชิกกลุมเพาะกลาไมมีรายไดเพ่ิมขึ้นจากการทองเท่ียว 19 สมาชิกกลุมทอผาไหมมีรายไดเพ่ิมขึ้นจากการทองเท่ียว

20 รานอาหาร หรือรานขายของชําในชุมชนมีรายไดเพ่ิมขึ้นจากการทองเท่ียว 21 เยาวชนมีการใชเวลาวางใหเปนประโยชนจากการตอนรับนักทองเท่ียว 22 ชุมชนมีขยะเพ่ิมขึ้นจากการมีนักทองเท่ียวเขามาในชุมชน 23 ทานมีเวลาทํางานสวนตัวนอยลงจากการมีนักทองเท่ียวเขามาในชุมชน 24 ชาวบานมีการดื่มแอลกอฮอลเพ่ิมขึ้นจากการมีนักทองเท่ียวเขามาในชุมชน 25 ชาวบานมีการไปทําบุญท่ีวัดมากขึ้นจากการมีนักทองเท่ียวเขามาในชุมชน 26 ชาวบานมีการเลนการพนันนอยลงจากการมีนักทองเท่ียวเขามาในชุมชน 27 ชาวบานสวนใหญมีการทําความสะอาดหรือจัดระเบียบบานเรือนมากขึ้น 28 เจาหนาท่ีหนวยงานราชการเขามาพบปะชาวบานหวยยางมากขึ้นหรือบอยขึ้น 29 อบต.เหลาโพนคอเขามาพบปะชาวบานหวยยางมากขึ้นหรือบอยขึ้น 30 ชาวบานหวยยางมีการประชุมหรือพุดคุยเรื่องสวนรวมมากขึ้นหรือบอยขึ้น

Page 110: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

ตอนท่ี 3 : รูปแบบการทองเที่ยวท่ีเหมาะสมกับชุมชนหวยยาง

ขอที ่ ขอความ ใช ไมใช 31 รูปแบบการทองเท่ียวที่ไมทําลายสภาพแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติ 32 รูปแบบการทองเท่ียวที่สงเสริมประเพณีชาวภูไท 33 รูปแบบการทองเท่ียวที่สงเสริมประเพณีชาวอีสาน 34 รูปแบบการทองเท่ียวที่มุงเนนใหชาวบานเขามามีสวนรวมมากที่สุด 35 รูปแบบการทองเท่ียวที่เนนความสนุกสนานและเพลิดเพลินเปนหลัก 36 รูปแบบการทองเท่ียวที่เนนใหนักทองเที่ยวมีการเรียนรูเปนหลัก 37 รูปแบบการทองเท่ียวที่เนนความสนุกสนานและเพลิดเพลินควบคูกับการเรียนรู 38 รูปแบบการทองเท่ียวที่เนนใหชาวบานมีรายไดเปนหลัก 39 รูปแบบการทองเท่ียวที่คํานึงถึงความพอใจของนักทองเท่ียวเปนอันดับแรก 40 รูปแบบการทองเท่ียวที่เนนความสะดวกสบายและความทันสมัย

41. ทานคิดวาชุมชนหวยยางมีความพรอมในการพัฒนาเปนหมูบานทองเที่ยวหรือไม อยางไรบาง

..........................................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................................

42. ทานคิดวาชาวบานหวยยางมีปญหาอุปสรรคในการเขามารวมพัฒนารูปแบบการทองเท่ียวหรือไมอยางไรบาง

..........................................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................................

สัมภาษณวันท่ี.........................................

Page 111: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

ภาคผนวก ค ภาพประกอบ

Page 112: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

ปายแสดงเสนทางบนถนนสายหลัก สกลนคร - นาแก

ปายแสดงเสนทางของสถานท่ีทองเท่ียวแตละจุด

Page 113: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

ปายบอกเสนทางไปน้ําตกศรีตาดโตน

ภูมิประเทศและพ้ืนท่ีทํากิน

Page 114: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

ถนนสายหลักท่ีใชในการเดินทางไปยังสถานท่ีทองเที่ยวในเขตอุทยานแหงชาติภูผายล

เรือขามฝากท่ีไดรับการสนับสนุนจากองคการบิหารสวนตําบลเหลาโพนคอ

Page 115: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

ความสัมพันธของชุมชนกับทรัพยากรธรรมชาติ การหาของปา

เห็ดที่ชาวบานหามาจากปาท่ีภูยางอึ่ง

หนอไมไรจากภูยางอึ่ง

Page 116: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

วิถีชีวิตของคนในชุมชน

ประเพณีสรงน้ําพระเนื่องในวันสงกรานต

การทําบุญใสบาตรของชาวบาน

Page 117: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

การมีสวนรวมของชุมชนการจัดการทองเที่ยว

ชาวบานรวมกันทําบายศรีเพ่ือตอนรับนักทองเท่ียว

การแตงกายชุดภูไทในการตอนรับผูมาเยือน

Page 118: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

ชาวบานประชุมวางแผนการทํางานเพื่อตอนรับนักทองเท่ียวหลังจากจัดโครงการแบงหนาท่ีแตละฝาย

การบรรยายใหความรูนักทองเที่ยวของอาสาสมัครนําเท่ียว

Page 119: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

การสัมภาษณกลุมเปาหมาย

กิจกรรมท่ีเขารวมกับชุมชน

Page 120: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

ภาคผนวก ง ปฏิทินแสดงฤดูกาลทองเท่ียว

Page 121: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

ปฏิทินแสดงชวงฤดูกาลของสถานที่ทองเท่ียวในแตละรอบป

สถานท่ีทองเท่ียว

เดือน

ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ษ. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. 1.จุดชมวิวพัทยานอย

2.พระพุทธศิริมงคล 3.น้ําตกศรีตาดโตน 4. ถ้ําผาเก 5.ถ้ําอางกุง 6.จุดชมวิวเสาเฉลียง 7.ดานหมี 8.ถ้ําผานาง (ถ้ําเสรีไทย)

9.จุดพบฟอสซิลไดโนเสาร

10.สํานักสงฆภูนอยอางแกว

11. ภูผานอย 12.ภาพเขยีนทางประวัติศาสตร

13.อางแกว 14.ผาขาม 15.โบสถดิน อื่นๆ.......................

หมายเหต ุ : ***สถานที่ทองเที่ยวบางสถานท่ีสามารถเท่ียวไดตลอดท้ังป***

Page 122: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

ภาคผนวก จ

สถิตินักทองเท่ียวท่ีเขามาเที่ยวในสถานท่ีทองเท่ียวของชุมชน

Page 123: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

สถิตินักทองเท่ียวท่ีเขามาเท่ียวที่ในบานหวยยาง ต.เหลาโพนคอ อ.โคกศรีสุพรรณ จ.สกลนคร

ชุดท่ี 1 นักทองเท่ียวจากฝายขาวชอง 3 (มามอบที่ดินเพ่ือสรางศูนยพัฒนาเด็กเล็ก) ชวงเดือน กรกฎาคม 2554

สถานท่ีทองเท่ียว/รูปแบบกิจกรรม

นมัสการพระธาตุดอยอางกุง เดินปาศึกษาเสนทางธรรมชาติ

ชุดท่ี 2 นักทองเท่ียวจากกรุงเทพฯ จํานวน 6 คน (รูจักจากการประสัมพันธสถานท่ีทองเท่ียวทางอินเตอรเน็ต) ชวงเดือน กรกฎาคม 2554

สถานท่ีทองเท่ียว/รูปแบบกิจกรรม

เที่ยวน้ําตกศรีตาดโตน เลนน้ํา เดินปาศึกษาเสนทางธรรมชาติ หาของปา เชน เห็ด หนอไม

ชุดท่ี 3 คณะนักทองเท่ียวจาก กศน. โคกศรีสุพรรณ (สํารวจและพัฒนาสถานท่ีทองเท่ียว) ชวงเดือน มิถุนายน 2554

สถานท่ีทองเท่ียว/รูปแบบกิจกรรม

เที่ยวน้ําตกศรีตาดโตน การเต็นทคางคืนท่ีพระธาตุดอยอางกุง พัฒนาสถานท่ีทองเท่ียว

ชุดท่ี 4 คณะนักทองเท่ียวจากองคการบริหารสวนจังหวัดสกลนคร จํานวน 20 คน

สถานท่ีทองเท่ียว/รูปแบบกิจกรรม

ชมทัศนยีภาพเมืองสกลนครบนนอตาออ บริเวณหนาผานาง เดินปาศึกษาเสนทางธรรมชาติและประวัติศาสตรความเปนมาของถ้ํา

Page 124: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

ชุดท่ี 5 คณะศึกษานิเทศกครูจากโรงเรียนในพ้ืนท่ีและนายอําเภอโคกศรีสุพรรณ (ศึกษาดูงานและสํารวจสถานท่ีทองเท่ียว)

สถานท่ีทองเท่ียว/รูปแบบกิจกรรม

เดินปาศึกษาเสนทางธรรมชาติ เลนน้ําท่ีน้ําตกศรีตาดโตน ตกปลา ,หาเห็ด,หาหนอไมปา รับประทานอาหารรวมกัน ณ. น้ําตกศรีตาดโตน

ชุดท่ี 6 คณะนักศึกษาจากวิทยาลัยพยาบาลจังหวัดนครพนม จํานวน 20 คน

สถานท่ีทองเท่ียว/รูปแบบกิจกรรม

เดินปาศึกษาเสนทางธรรมชาติ เลนน้ําท่ีน้ําตกศรีตาดโตน ตกปลา ,หาเห็ด,หาหนอไมปา

ชุดท่ี 7 คณะนักทองเที่ยวจากประเทศเดนมารกและอาสาสมัครฝนหยาดเดียว

สถานท่ีทองเท่ียว/รูปแบบกิจกรรม

เดินปาศึกษาเสนทางธรรมชาติ เลนน้ําท่ีน้ําตกศรีตาดโตน ตกปลา ,หาเห็ด,หาหนอไม

ชุดท่ี 8 นักศึกษาจากมหาวิทยาลัยมหาสารคามจํานวน 5 คน (เก็บขอมูลและสํารวจพ้ืนท่ีทําวิจัย)

สถานท่ีทองเท่ียว/รูปแบบกิจกรรม

เดินปาศึกษาเสนทางธรรมชาติ นมัสการพระธาตุดอยอางกุง ลอดถ้ําใตบาดาล ท่ีถ้ําอางกุง กราบนมัสการหลวงปูพา พระผูทรงอภิญญาแหงถ้ําผาเก

Page 125: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

ชุดท่ี 9 สมาพันธออฟโรดจังหวัดสกลนคร (ปลูกปา)

สถานท่ีทองเท่ียว/รูปแบบกิจกรรม

บุกเบิกเสนทางออฟโรดสําหรับนักผจญภัย ปลูกปา นมัสการพระธาตุดอยอางกุง ลอดถ้ําใตบาดาล ท่ีถ้ําอางกุง

ชุดท่ี 10 คณะศึกษาดูงานจากเทศบาลตําบลพันนา อําเภอสวางแดนดิน จังหวัดสกลนคร (เนื่องในโอกาสศึกษาดูงานกลุมเพาะพันธุกลาไมบานหวยยาง) วันท่ี 31 พฤษภาคม 2555

สถานท่ีทองเท่ียว/รูปแบบกิจกรรม

ศึกษาดูงานกลุมเพาะพันธุกลาไมบานหวยยาง เยี่ยมชมอุโบสถดินแหงแรกในประเทศไทย ณ วัดปาพุทธนิมิตรสถิตสีมาราม บานหวยยาง

ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนค

ชุดท่ี 11 สมาพันธอฟโรดภาคอีสานตอนลาง จํานวน 23 คันรถ (มอบถังน้ํา ณ. พระธาตุดอยอางกุง) วันท่ี 27 - 28 มิถุนายน 2555

สถานท่ีทองเท่ียว/รูปแบบกิจกรรม

กางเต็นทคางคืนท่ีอุทยานแหงชาติภูผายล บุกเบิกเสนทางออฟโรดสําหรับนักผจญภัย มอบถังน้ํา ณ. พระธาตุดอยอางกุง นมัสการพระธาตุดอยอางกุง ลอดถ้ําใตบาดาล ท่ีถ้ําอางกุง กราบนมัสการหลวงปูพา ณ. ถ้ําผาเก

Page 126: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

ชุดท่ี 12 คณะนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยมหาสารคามและเจาหนาท่ีอนุรักษปาไมอุทยานแหงชาติภูผายล จํานวน 12 คน (เก็บขอมูลสถานท่ีทองเที่ยวและสํารวจระยะทางของแหลองทองเท่ียวแตละสถานท่ี) วันท่ี 3 สิงหาคม 2555

สถานท่ีทองเท่ียว/รูปแบบกิจกรรม

เดินปาศึกษาเสนทางธรรมชาติ เก็บขอมูลสถานทองเท่ียวและสํารวจระยะทางของแหลองทองเที่ยวแตละสถานท่ี เก็บขอมูลจุดที่ขุดพบซากฟอสซิส เลนน้ําท่ีน้ําตกศรีตาดโตน ตกปลา ,หาเห็ด,หาหนอไม รวมรับประทานอาหาร ณ. น้ําตกศรีตาดโตน

ชุดท่ี 13 คณะแสวงบุญจากกรุงเทพฯสายธรรมยุต จํานวน 23 คันรถ วันท่ี 10 สิงหาคม 2555

สถานท่ีทองเท่ียว/รูปแบบกิจกรรม

วัดปาพุทธนิมิต นมัสการพระธาตุท่ีโบสถดิน

ชุดท่ี 14 คณะอาจารยและนิสิตจากมหาวิทยาลัยมหาสารคาม จํานวน 20 คน (การทดลองจัดทองเท่ียวโดยองคกรชุมชนหวยยาง) วันท่ี 25 – 26 สิงหาคม 2555

สถานท่ีทองเท่ียว/รูปแบบกิจกรรม

เรียนรูวิถีชีวิตของชุมชนหวยยางในรูปแบบการทองเที่ยวแบบบานพักโฮมสเตย แนะนําชุมชนหวยยางและเรียนรูประวัติศาสตรหมูบาน เย่ียมชมอุโบสถดิน เรียนรูกลุมเพาะพันธุกลาไม

Page 127: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

งานพาแลงภูไทหวยยาง - บายศรีสูขวัญ - ชมการแสดงศิลปวัฒนธรรม(ฟอนภูไทและดนตรีพ้ืนเมือง - รับประทานอาหารพ้ืนบานภูไทหวยยาง นักทองเท่ียวทําบุญตักบาตรรวมกับชาวบานบานหวยยาง เรียนรูแหลงทองเท่ียวทางธรรมชาติในเขตอุทยานแหงชาติภูผายล

- เดินปาศึกษาเสนทางธรรมชาติเรียนรูวิถีชีวิตของชาวบานในการหาของปา - อาสาสมัครนําเท่ียวแนะนําสถานท่ีทองเท่ียว - เยี่ยมชมพระธาตุดอยอางกุง - นมัสการหลวงปูภาที่ถ้ําผาเก - ลอดถ้ําผาเก นักทองเท่ียวรับประทานอาหารที่ถ้ําผาเก

Page 128: รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับชุมชนห้วยยาง

ประวัติของผูศึกษา

ชื่อ สกุล นางสาวดุจเดือน เบ็ญจรูญ วันเดือนปท่ีเกิด 17 มีนาคม พ.ศ. 2534 สถานท่ีเกิด 136 หมูท่ี 1 ตําบลเชียงใหม อําเภอโพธิ์ชัย จังหวัดรอยเอ็ด ประวัติการศึกษา พ.ศ. 2544 มัธยมศึกษาตอนตน โรงเรียนเชียงใหมประชานุสรณ พ.ศ. 2546 มัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนเชียงใหมประชานุสรณ ปจจุบัน ปริญญาตรี (ศศ.บ.) สาขา การพัฒนาชุมชน