คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6...

128

Upload: grad-huachiew

Post on 22-Mar-2016

221 views

Category:

Documents


0 download

DESCRIPTION

คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต) ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 4 ประจำปีการศึกษา 2553 สำหรับเผยแพร่บนเว็บไซต์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ

TRANSCRIPT

Page 1: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)
Page 2: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)
Page 3: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

คํานํา

คูมือวิทยานิพนธ การศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) ฉบับนี้ เปนฉบับปรับปรุงครั้งท่ี 4 ประจําปการศึกษา พ.ศ. 2553 บัณฑิตวิทยาลัยไดมีคําส่ังแตงตั้งคณะทํางานซ่ึงเปนผูแทนจากหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาของมหาวิทยาลัย ประกอบดวย ผูชวยศาสตราจารย ดร.ชุติระ ระบอบ อาจารยดร.สุณี ชาญณรงค อาจารย ดร.วรรณรัตน รัตนวรางค อาจารย ดร.ปนหทัย ศุภเมธาพร อาจารย ดร. ปวีณา วองตระกูล อาจารย ดร.ล่ันทม จอนจวบทรง อาจารย ดร.จตุรงค บุณยรัตนสุนทร อาจารย ดร.วิชุดา กิจธรธรรม และอาจารย ฤทธิชัย เตชะมหัทธนันท โดยมี ผูชวยคณบดีบัณฑิตวิทยาลัยและเลขานุการบัณฑิตวิทยาลัย เปน เลขานุการและผูชวยเลขานุการ ตามลําดับ เพ่ือทําหนาท่ีปรับปรุงคูมือใหทันสมัย บัณฑิตวิทยาลัยจึงใครขอขอบพระคุณคณะทํางานเปนอยางสูงไว ณ โอกาสนี ้

ในครั้งนี้ไดมีการปรับปรุงเนื้อหาของคูมือใหทันสมัยยิ่งขึ้น ท้ังในเรื่อง บทนํา ขั้นตอนการทําวิทยานิพนธและการศึกษาอิสระ การเขียนเคาโครง สวนประกอบของวิทยานิพนธและการศึกษาอิสระ วิธีการพิมพเปนรายงาน วิธีการอางอิง การเขียนบรรณานุกรม และจรรยาบรรณนักวิจัย ตลอดจนตัวอยางการพิมพวิทยานิพนธและการศึกษาอิสระในภาคผนวกท่ี 1, 2 และ 3 ตอนทานเลม ท้ังนี้เพ่ือชวยใหนักศึกษา หรือ นักวิจัยรุนใหมสามารถอานและทําความเขาใจไดโดยงายกับการศึกษาท้ัง 3 ระดับ ไมวา จะเปน วิทยานิพนธ การศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) หรือ การศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) ตลอดจนขั้นตอนตาง ๆ ในการดําเนินงานทําการศึกษาเพื่อใหบรรลุเปาหมายและประสบความสําเร็จ โดยคํานึงถึงคุณภาพเปนส่ิงสําคัญ

นอกจากนี้บัณฑิตวิทยาลัยไดนําคูมือขึ้นไวบนเวบไซตของบัณฑิตวิทยาลัย ท่ี URL: grad.hcu.ac.th เพ่ือชวยใหนักศึกษาสามารถเขาถึงไดโดยงาย สะดวก และประหยัด ท้ังยังชวยประหยัดการใชกระดาษ และรักษาส่ิงแวดลอมอีกทางหนึ่งดวย

บัณฑิตวิทยาลัยหวังเปนอยางยิ่งวา คูมือฉบับนี้จะชวยใหนักศึกษาสามารถทําวิทยานิพนธ การศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) อยางมีคุณภาพ ไดมาตรฐาน และเปนท่ียอมรับทางวิชาการในท่ีสุด

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรต ิ

กุมภาพันธ 2554

(1)

Page 4: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)
Page 5: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

บทที ่1

บทนํา

1.1 ความหมายของวิทยานิพนธ การศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) และการศึกษาอิสระ (3-4 หนวยกิต)

การศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษามีจุดมุงหมายเพื่อสรางบุคลากรที่มีความชํานาญในดาน

วิชาการหรือวิชาชีพช้ันสูง รวมถึงการสรางองคความรูใหมท่ีจะเปนประโยชนตอสังคมในภาพรวม ดังนั้นการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษาจึงมุงหวังใหผูเรียนมีความรู ประสบการณ และทักษะการวิจัยเบ้ีองตน ซ่ึงทุกหลักสูตรในระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ไดระบุเปนเง่ือนไขไววา นักศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษาทุกคนจะตองทําการศึกษาหรือวิจัยในหัวขอท่ีสําคัญและนาสนใจจนเสร็จสมบูรณ จึงจะสําเร็จเปนมหาบัณฑิต ไดอยางเต็มภาคภูมิใจ

เม่ือทําการศึกษาหรือวิจัยสําเร็จเรียบรอยแลว จะดองทํารายงานผลงานโดยจัดพิมพเปนรูปเลมอยางชัดเจน และเรียกรายงานการศึกษาหรือการวิจัยซ่ึงเปนสวนหนึ่งของการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษานี้วา วิทยานิพนธ หรือ การศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) หรือ การศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) สําหรับการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติไดกําหนดใหนักศึกษาเลือกศึกษาได 1 ใน 3 ระดับนี้ โดยขึ้นอยูกับเง่ือนไขและความพรอมของแตละหลักสูตร รวมท้ังความตองการของผูเรียน เปนสําคัญ

ดังนั้น วิทยานิพนธ หรือ การศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) หรือ การศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) จึงหมายถึง รายงานการศึกษาหรือวิจัยในหัวขอท่ีสําคัญและนาสนใจจนเสร็จสมบูรณครบถวนตามขั้นตอนระเบียบวิธีวิจัยท่ีดี (ซ่ึงมีรายละเอียดแตกตางกันในเรื่องขนาดและคุณภาพของผลงานท่ีไดจากการศึกษา จําแนกเปน 3 ระดับ ดังจะไดกลาวตอไป) การศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษาทุกหลักสูตรของมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ มีแผนการศึกษาใหเลือกเรียนได 2 แผน คือ แผน ก. และ แผน ข. ดังแสดงในตารางท่ี 1-1 นักศึกษาทุกหลักสูตรท่ีเลือกเรียนแผน ก. ตองทําวิทยานิพนธ (12-15 หนวยกิต) สําหรับนักศึกษาท่ีเลือกเรียนแผน ข. จะเลือกทําการศึกษาอิสระ ซ่ึงมีจํานวนหนวยกิต แตกตางกันตามแตหลักสูตร อาทิเชน

Page 6: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

2

หลักสูตรสังคมสงเคราะหศาสตรมหาบัณฑิต (Master of Social Work, MSW) สามารถเลือกทําการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) หลักสูตรพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน (Master of Nursing Sciences, MNS) จะตองทําการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) หลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรม (Master of Management, MM) จะตองทําการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต)

และหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวรรณคดีจีนสมัยใหมและรวมสมัย (Master of Arts, MA) จะตองทําการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) เปนตน

ตารางที่ 1-1

แผนการศึกษาในแตละหลักสูตรของบัณฑิตวิทยาลัย (จํานวนหนวยกิต)

แผนการศึกษา แผน ก. วิทยา

นิพนธ

แผน ข. การศึกษา

อิสระ 1. หลักสูตรสังคมสงเคราะหศาสตรมหาบัณฑิต 12 3 2. หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต 12 3 3. หลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต (สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรม) 12 3 4. หลักสูตรพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาวิชาการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน) 12 6 5. หลักสูตรพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาวิชาการพยาบาลผูใหญ) 12 6 6. หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาวิชาวรรณคดีจีนสมัยใหมและรวมสมัย) 12 6 7. หลักสูตรเภสัชศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาวิชาเทคโนโลยีเภสัชกรรม) 15 6 8. หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาวิชาวิทยาศาสตรเครื่องสําอาง) 15 6 9. หลักสูตรนิเทศศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาวิชาการสื่อสารสุขภาพ) 12 6 10. หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาวิชาการสื่อสารภาษาไทยเปนภาษาท่ีสอง) 12 6 11. หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาวิชาภาษาอังกฤษระดับสูงเพื่อการสื่อสาร) 12 6 12. หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาวิชาการจัดการสิ่งแวดลอมและความปลอดภัย) 12 6 13. หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาวิชาจีนศึกษา) 12 6 14. หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาวิชาการสอนภาษาจีน) 12 6 13. หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาวิชาภาษาจีนเพื่อการสื่อสารเชิงธุรกิจ) 12 6

Page 7: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

3

1.2 ความแตกตางของวิทยานิพนธ การศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต)

วิทยานิพนธ การศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) และการศึกษาอิสระ (3-4 หนวยกิต) ของมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรต ิมีรูปแบบและการจัดทําคลายคลึงกัน คือ ยึดหลักของระเบียบวิธีการวิจัยท่ีดี (Research Methodology) อยางไรก็ตาม ผลงานท้ังสามระดับนี้ นอกจากมีความแตกตางกันในดานคุณภาพและปริมาณของการวิจัย ซ่ึงรวมถึงความละเอียด ลุมลึกและความแมนยําของผลงานแลว ยังมีความแตกตางในเรื่องจํานวนหนวยกิต ระยะเวลาในการศึกษา และการสอบปองกัน ดังแสดงในตารางท่ี 1-2

ตารางที่ 1-2 ความแตกตางระหวางวิทยานิพนธ และการศึกษาอิสระ

ประเภท จํานวน

หนวยกิต ระยะเวลาในการศึกษา การสอบปองกัน วิทยานิพนธ

(แผน ก.) 12-15 ไมเกิน 5 ป นับจากภาคการศึกษาแรก

ท่ีเขาศึกษา มีกรรมการผูทรงคุณวุฒิภายนอกรวมเปนกรรมการสอบ

การศึกษาอิสระ

(แผน ข.)

6 ไมเกิน 5 ป นับจากภาคการศึกษาแรกท่ีเขาศึกษา

มีคณะกรรมการผูทรงคุณวุฒิเปนกรรมการสอบ

การศึกษาอิสระ (แผน ข.)

3 ภายใน 1 ภาคการศึกษา นับจากไดรับการอนุมัติจากอาจารยท่ีปรึกษา

มีการประเมินในช้ันเรียนโดยคณะกรรมการซึ่งไดรับการแตงต้ังจากคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

ในการทําผลงานท้ัง 3 ระดับนี้ จะถือวา วิทยานิพนธ เปนรายงานท่ีสมบูรณท่ีสุด รองลงมา

คือ การศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) และตามดวยการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) ดังมีรายละเอียด ดังนี ้วิทยานิพนธ (12-15 หนวยกิต) หมายถึง รายงานการศึกษาวิจัยทางวิชาการท่ีมีระเบียบวิธี

วิจัยท่ีดีและมีคุณภาพสูงทางวิชาการ ประกอบดวย - หัวขอในการศึกษาท่ีชัดเจน

Page 8: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

4

- การทบทวนวรรณกรรมท่ีมีการวิเคราะหและสังเคราะหแนวคิด ทฤษฎี และผลงานวิจัยท่ีเกี่ยวของ เพ่ือใหเห็นความสัมพันธกับประเด็นท่ีจะศึกษาอยางชัดเจน จนสามารถกําหนดกรอบแนวความคิดของการวิจัยได

- การตั้งสมมติฐาน (ถามี) - การพัฒนาและทดสอบความถูกตองและแมนยําของเครื่องมือ - การกําหนดประชากรและเลือกกลุมตัวอยางและการเก็บขอมูลอยางเปนระบบ - การวิเคราะหขอมูลท่ีถูกตองตามหลักสถิต ิ - การสรุปและเสนอแนะท่ีสอดคลองกับผลการวิจัย

โดยมีเปาหมายสูงสุดอันเปนผลมาจากการศึกษาในระดับวิทยานิพนธ คือ การสรางองคความรูใหม ท่ีมีคุณคาและเกิดประโยชนตอสังคมและประเทศตอไป การศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) มีรูปแบบและการดําเนินงานคลายกับวิทยานิพนธแตแตกตางกันในดานความลุมลึก และความเขมขนทางวิชาการท่ีนอยกวาและยืดหยุนไดมากกวาในระดับของวิทยานิพนธ กลาวคือ ในการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) มีการกําหนดกรอบแนวคิด การทบทวนแนวคิด ทฤษฎี หรือ วรรณกรรมท่ีเกี่ยวของ ซ่ึงอาจทําอยางกวาง ๆ เพ่ือใหเห็นความเช่ือมโยงเกี่ยวกับประเด็นท่ีจะศึกษา และอาจไมจําเปนตองตั้งสมมติฐานในการศึกษา การศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) หมายถึง รายงานผลการศึกษาคนควา โดยมีลักษณะการจัดการเรียนการสอนถือเปนอีกหนึ่งวิชาท่ีตองการใหนักศึกษาไดฝกหัดทําผลงานทางวิชาการขั้นตน เพ่ือใหเกิดความรูความเขาใจ และทักษะในการวิจัยมากยิ่งขึ้น ท้ังยังกําหนดเวลาท่ีตองทําการศึกษาและจัดทํารายงานใหเสร็จส้ินภายใน 1 ภาคการศึกษา มีการประเมินแบบรายวิชาท่ัวไป โดยคณะกรรมการซ่ึงไดรับการแตงตั้งจากคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย นอกจากความเขมขนทางวิชาการและจํานวนหนวยกิตดังท่ีไดกลาวมาแลว ยังมีความแตกตางในเรื่องของการสอบอีกดวย ผูท่ีเลือกทําวิทยานิพนธและการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) จะตองทําการสอบปองกันเม่ือทําผลงานเสร็จเปนท่ีเรียบรอยแลว โดยคณะกรรมการสอบปองกันประกอบดวยอาจารยท่ีปรึกษา อาจารยท่ีปรึกษารวม (ถามี) อาจารยประจําหรืออาจารยพิเศษท่ีแตงตั้งโดยคณบดีบัณฑิตวิทยาลัยเปนผูสอบ ในกรณีท่ีเปนวิทยานิพนธ คณะกรรมการสอบปองกันจะตองประกอบดวย ผูทรงคุณวุฒิภายนอก อยางนอย 1 ทาน มารวมเปนกรรมการสอบปองกัน แตการสอบปองกนัการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) ไมจําเปนตองมีผูทรงคุณวุฒิภายนอกมารวมเปนกรรมการสอบปองกัน

Page 9: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

5

สําหรับการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) ซ่ึงถือเปนหนึ่งรายวิชา มีการสอบในช้ันเรียน และมีการประเมินผลเชนเดียวกับรายวิชาท่ัวไป โดยคณะกรรมการซ่ึงไดรับการแตงตั้งจากคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย นอกจากนี้ผลการประเมินวิทยานิพนธและการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) จะเปน S หรือ U (satified หรือ unsatisfied) เทานั้น ขณะท่ีการศึกษาอิสระ (3-4 หนวยกิต) ผลการประเมินเปนระดับคะแนน (Grade) 8 ระดับ ซ่ึงมีแตมระดับคะแนนคลายกับรายวิชาท่ัวไป คือ A, B+, B, C+, C, D+, D, และ F อยางไรก็ตาม ไมวานักศึกษาจะเลือกทําวิทยานิพนธ การศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) หรือ การศึกษาอิสระ (3-4 หนวยกิต) ผลการศึกษาในครั้งนี้ถือเปนโอกาสอันดีท่ีนักศึกษาจะไดรับการฝกฝนใหเปนนักวิจัยท่ีดี ท่ีตองทําการวางแผนการศึกษาวิจัย รูจักการคิดเชิงวิเคราะหอยางมีระบบ มีเหตุผล มีนิสัยรักการศึกษาคนควา อันเปนคุณสมบัติท่ีพึงประสงคของผูท่ีเปนมหาบัณฑิต

1.3 คุณลักษณะที่ดีของวิทยานิพนธ การศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต)

ดวยเหตุท่ีวิทยานิพนธ การศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) เปนสวนหนึ่งของการศึกษาในระดับมหาบัณฑิต ดังนั้น แนวคิดเกี่ยวกับคุณลักษณะท่ีดีของวิทยานิพนธ การศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) ท่ีพึงปรารถนาจึงเปนประเด็นท่ีนักศึกษาควรตระหนักถึงและวางแผนไวลวงหนาวา ทําอยางไรจึงจะทําใหวิทยานิพนธ การศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) ของตนมีคุณภาพเปนท่ียอมรับในทางวิชาการ และสามารถนําไปอางอิงในการศึกษาวิจัยของผูอ่ืนตอไปได วิทยานิพนธ การศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) มีบทบาทสําคัญตอนักศึกษาและตอผูอ่ืนอยางนอย 2 ประการ คือ ประการแรก เปนการเพ่ิมพูนความรู ทักษะ และประสบการณในการผลิตผลงานทางวิชาการใหกับนักศึกษา โดยมีคณาจารยเปนท่ีปรึกษา พรอมท้ังมีคณะกรรมการคอยติดตาม พิจารณาและประเมินผล เพ่ือใหไดผลงานท่ีดีมีคุณภาพ ประการท่ีสอง เปนประโยชนแกผูอ่ืนท่ีสนใจสามารถนําผลท่ีไดจากการศึกษาไปใชในการศึกษา อางอิง ตอยอด ขยายองคความรูใหม ๆ หรือ นําไปประยุกตใชในการแกไขและปรับปรุงปญหา หรือ นําไปพัฒนาใหเกิดประโยชนตอไปได

Page 10: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

6

คุณลักษณะที่ดีของวิทยานิพนธ การศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) มีดังนี้ 1.3.1 ประโยชนที่ไดรับ งานวิทยานิพนธ การศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) ท่ีนักศึกษาจัดทําขึ้น ควรเปนเรื่องท่ีสําคัญและนาสนใจ มีประโยชนหรือนําไปตอยอดได จึงควรมีวัตถุประสงคท่ีชัดเจน และตอบคําถามไดวา “ทําเพ่ืออะไร” หรือ ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับมีอยางไรบาง ในกรณีท่ีจุดมุงหมายและประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับยังไมชัดเจน นักศึกษาควรไดรับคําปรึกษาจากอาจารยท่ีปรึกษาเพ่ือพิจารณา ปรับปรุง และแกไขเปนอันดับแรก 1.3.2 การสรางองคความรูใหม การผลิตผลงานทางวิชาการเปนวิธีการสําคัญวิธีหนึ่งในการสรางองคความรู (Body of knowledge) ซ่ึงเปนผลมาจากการส่ังสมของการแสวงหา การคนพบ และประสบการณของสมาชิกในสังคมนั้นๆ การศึกษาหรือการวิจัยไมวาจะเปน วิทยานิพนธ การศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) หรือ การศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) ลวนมีโอกาสสําคัญในการสรางองคความรูใหมใหมีคุณคาและเกิดประโยชนแกสังคม ในทางตรงกันขามการผลิตผลงานท่ีไดจากการศึกษาหรือการวิจัยท่ีนําเอาองคความรูเดิมของผูอ่ืนมาทําซํ้า มาปรับปรุง หรือ แกไขเพียงเล็ก นอย เชน การเปล่ียนพ้ืนท่ีหรือเปล่ียนกลุมตัวอยาง ท่ีไมทําใหผลการศึกษาวิจัยเปล่ียนแปลงไปจากเดิมมากนัก จึงไมนับวาเปนวิทยานิพนธ การศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) ท่ีพึงปรารถนา 1.3.3 ความสอดคลองที่ชัดเจนของหัวขอกับแนวคิดและทฤษฎี วิทยานิพนธ การศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) ท่ีดี ควรมีการศึกษาคนควาแนวคิดและทฤษฎีท่ีเกี่ยวของกับหัวขอของผลงานท่ีศึกษาหรือวิจัยอยางกวางขวางและลึกซ้ึง รวมถึงการวิเคราะหและสังเคราะหใหเกิดกรอบแนวคิดของงานดวยตัวผูทําการศึกษาเอง มิใชเพียงแคคัดลอกและนํามาเรียงตอกันเทานั้น ควรเรียบเรียงดวยสํานวนของตนเอง เพ่ือใหตกผลึกในแนวคิดถึงปญหางานท่ีศึกษาท่ีแทจริง ท้ังยังแสดงถึงความตั้งใจจริง ใฝรู ขวนขวายคนหาองคความรูท่ีเกี่ยวของ ซ่ึงจะเปนประโยชนโดยตรงกับผูศึกษาหรือวิจัย และทําใหเกิดความชัดเจนในหัวขอเรื่อง ซ่ึงจะเปนประโยชนในการวิเคราะห และอภิปรายผล และสงผลถึงคุณภาพของวิทยานิพนธ การศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) ของนักศึกษาอีกทางหนึ่งดวย 1.3.4 ความถูกตองและนาเชื่อถือของระเบียบวิธีวิจัย ในการศึกษาหรือการวิจัยควรดําเนินการโดยยึดหลักระเบียบวิธีวิจัยท่ีดี ตั้งแต การตั้งคําถามการวิจัย การสรางกรอบแนวคิด หรือ การสรางกรอบการอธิบายในระดับทฤษฎีท่ีมีตอปรากฏการณท่ีตั้งใจจะศึกษา การตั้งสมมติฐาน (ถามี) การ

Page 11: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

7

ออกแบบการวิจัย การสุมตัวอยาง การเก็บรวบรวมขอมูล การวิเคราะหขอมูล และการนําเสนองานวิจัย ระเบียบวิธีวิจัยท่ีดีควรเนนความถูกตอง (validity) และเช่ือถือได (reliability) ควรมีขั้นตอนท่ีเรียบงาย ไมควรใหยุงยากหรือสลับซับซอนเกินความจําเปน แตท้ังนี้ขึ้นอยูกับประเภท จุดมุงหมาย และชนิดของผลงานอีกดวย 1.3.5 ความครอบคลุมของเนื้อหา รายงานท่ีศึกษาควรมีเนื้อหาท่ีครอบคลุมประเด็นตาง ๆ ท่ีเกี่ยวของอยางครบถวน และตองมีความลึกซ้ึง คมชัดในประเด็นท่ีเปนจุดเนนของหัวขอวิทยานิพนธ การศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) และการศึกษาอิสระ (3-4 หนวยกิต) อยางมีคุณภาพ ผานการวิเคราะหและสังเคราะหอยางด ีไมฉาบฉวย รวบรัด จนทําใหละท้ิงหรือขามขั้นตอนท่ีสําคัญของงานท่ีศึกษาหรือวิจัย หรือนําเสนอผลงานท่ีคลุมเครือ ไมชัดเจน 1.3.6 จริยธรรมในการวิจัย งานท่ีศึกษาหรือวิจัยควรเปนงานท่ีนักศึกษาคิดคนปญหาขึ้นมาเอง หรือ เปนการทํางานรวมระหวางนักศึกษากับอาจารยท่ีปรึกษา ไมซํ้าซอนกับผลงานของผูอ่ืน ควรเคารพในหลักมนุษยธรรมในระหวางการดําเนินงาน ไมสงผลกระทบในทางลบตอกลุมตัวอยางท่ีเปนมนุษย หากนักศึกษาสามารถทําใหวิทยานิพนธ การศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) มีคุณลักษณะท้ัง 6 ขอดังกลาวนี้ได ผลงานของนักศึกษาก็จะไดรับการยอมรับในทางวิชาการ และจะมีคุณคายิ่งตอการเสริมสรางและพัฒนาองคความรูใหม ๆ ใหกับสังคมไทย

Page 12: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

บทที ่2

ขั้นตอนการทําวิทยานิพนธ เพ่ือใหการทําวิทยานิพนธของหลักสูตรมหาบัณฑิตเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ บรรลุเปาหมายของการจัดการเรียนการสอน บัณฑิตวิทยาลัยจึงออกประกาศท่ี 021/2543 กําหนดแนวปฏิบัติขั้นตอนการทําวิทยานิพนธ สําหรับทุกหลักสูตรของบัณฑิตศึกษา

2.1 ขั้นตอนการทําวิทยานิพนธ ในการดําเนินงานจัดทําวิทยานิพนธ มี 4 ขั้นตอนใหญ ๆ ดังนี ้

1. การคนหาหัวขอวิทยานิพนธและการเลือกอาจารยท่ีปรึกษา 2. การจัดทําและการสอบเคาโครง 3. การจัดทํารายงานและการสอบปองกันวิทยานิพนธ 4. การจัดทํารูปเลมฉบับสมบูรณ I. การคนหา ‘หัวขอ’ วิทยานิพนธและการเลือก ‘อาจารยที่ปรึกษา’

เนื่องจากทุกหลักสูตรของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ระบุใหนักศึกษาตองจัดทําผลงานวิชาการหนึ่งเรื่อง เพ่ือเปนการฝกฝนทักษะการทําผลงานวิชาการ และเปนสวนหนึ่งของการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา ในแผน ก. ระบุใหนักศึกษาจะตองจัดทําวิทยานิพนธซ่ึงนักศึกษาอาจเริ่มตนคนหาหัวขอท่ีตนเองสนใจตั้งแตเริ่มเขาศึกษา โดยคณะกรรมการประจําหลักสูตรจะเปนผูกําหนดใหมีการเลือกแผนการเรียนหลังจากท่ีเขาศึกษาแลวไมต่ํากวา 2 ภาคการศึกษา (ดังแสดงในแผนภูมิท่ี 2.1) 1) การคนหาหัวขอวิทยานิพนธ ในทางปฏิบัติ การคนหาหัวขอวิทยานิพนธนี้ ควรเริ่มตนดวยการคนควาเอกสารวิชาการตาง ๆ หรือทบทวนวรรณกรรมท่ีเกี่ยวของกับหัวขอวิทยานิพนธท่ีนาสนใจ ควรเปนหัวขอเรื่องท่ีสําคัญ นาสนใจ และมีความเปนไปไดในทางปฏิบัติจนเสร็จสมบูรณ พรอมท้ังกอใหเกิดผลงานท่ีมีคุณคาและเกิดประโยชนในเชิงวิชาการและ/หรือในทางปฏิบัต ิ และจะตองเกี่ยวของกับเนื้อหาสาระวิชาของแตละหลักสูตรอีกดวย

Page 13: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

9

แผนภูมิที่ 2.1 ขั้นตอนการทําวิทยานิพนธ

I. การคนหา ‘หัวขอ’ วิทยานิพนธ และการเลือก ‘อาจารยที่ปรึกษา’ 1) การคนหาหัวขอวิทยานิพนธ 2) การเลือกอาจารยที่ปรึกษา (และอาจารยที่ปรึกษารวม-ถามี) 3) การยื่นคํารองและแสดงความจํานงขอทําวิทยานิพนธ 4) การพิจารณาอนุมัติหัวขอวิทยานิพนธ 5) การแตงตั้งอาจารยที่ปรึกษาและคณะกรรมการกลั่นกรองเคาโครง 6) การลงทะเบียนวิทยานิพนธ II. การจัดทําและการสอบ ‘เคาโครง’ 1) การเขียนเคาโครงวิทยานิพนธ 2) การยื่นคํารองแสดงความจํานงขอสอบเคาโครงวิทยานิพนธ 3) การสอบกลั่นกรองเคาโครง 4) เงื่อนเวลาในการสอบเคาโครง

III. การจัดทํารายงานและการสอบปองกัน ‘วิทยานิพนธ’ 1) การทําวิทยานิพนธ 2) การยื่นคํารองแสดงความจํานงขอสอบปองกัน 3) การสอบปองกันวิทยานิพนธ IV. การจัดทํา ‘รูปเลม’ ฉบับสมบูรณ และการตีพิมพเผยแพรผลงาน 1) การปรับปรุงแกไขวิทยานิพนธ 2) การจัดทํารูปเลม 3) การจัดทําบทความและการตีพิมพเผยแพรผลงาน

ข้ันตอนการทําวิทยานิพนธ

Page 14: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

10

2) การเลอืกอาจารยที่ปรึกษา (และอาจารยที่ปรึกษารวม) เม่ือไดหัวขอวิทยานิพนธแลว ใหนําหัวขอเหลานี้ไปปรึกษาหารือกบัคณาจารยในหลักสูตรถึงความสําคัญ ความนาสนใจ และความเปนไปไดของการทําวิทยานิพนธในหัวขอดังกลาว พรอมท้ังขอหารือเพ่ือเลือกอาจารยท่ีปรึกษาไปในคราวเดียวกัน ในการเลือกอาจารยท่ีปรึกษา นักศึกษาควรพิจารณาถึงความสนใจและความเช่ียวชาญของอาจารยท่ีปรึกษาในสาขาวิชาเดียวกันหรือเกี่ยวของกับหัวขอวิทยานิพนธเปนอันดับแรก พรอมท้ังพิจารณาปจจัยอ่ืนๆ ของอาจารยท่ีปรึกษารวมดวย เชน ดานบุคลิกภาพ ทัศนคติ ลักษณะการใหคําปรึกษา ความพรอมในการใหคําปรึกษา ภาระงานของอาจารยท่ีปรึกษา เนื่องจากในการทําวิทยานิพนธของนักศึกษาจะมีอาจารยท่ีปรึกษาเปนพ่ีเล้ียง เปนท่ีปรึกษา และเปนผูช้ีแนะ เพ่ือใหวิทยานิพนธครั้งนี้ประสบความสําเร็จบรรลุตามเปาหมายพรอมๆกับการสรางทัศนคติและทักษะในกระบวนการวิจัยท่ีดีใหกบันักศึกษาไปในคราวเดียวกัน ดังนั้น อาจารยท่ีปรึกษาจึงเปนผูท่ีมีบทบาทท่ีสําคัญตอความสําเร็จในการทําวิทยานิพนธของนักศึกษา ท้ังในดานกระบวนการวิจัยท่ีดีและเปนการเรียนการสอนเพ่ือใหเกิดความรู ความเขาใจ และเกิดทักษะในกระบวนการวิจัยอีกดวย อนึ่งในการเลือกอาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธนี้ ควรเปนไปดวยความสมัครใจของท้ังสองฝาย และควรเปนเรื่องท่ีอาจารยมีความสนใจหรือมีความชํานาญเฉพาะในสาขานั้น ๆ อาจารยที่ปรึกษารวม (ถามี) อยางไรก็ตามในบางครั้งท้ังนักศึกษาและอาจารยท่ีปรึกษา (หลัก) อาจมีความรูและประสบการณไมครอบคลุมอยางท่ัวถึงในหัวขอวิทยานิพนธ ซ่ึงอาจขอหารือแตงตั้งอาจารยท่ีปรึกษารวมเพ่ิมเติมไดอีก 1-2 ทาน ตามความเหมาะสม เพ่ือใหเกิดความสมบูรณของวิทยานิพนธ ดวยความเห็นชอบท้ังสองฝาย คือ จากอาจารยท่ีปรึกษาหลักและนกัศึกษารวมกัน 3) การยื่นคํารองและแสดงความจํานงขอทําวิทยานิพนธ เม่ือนักศึกษาไดหัวขอวิทยานิพนธ อาจารยท่ีปรึกษาและอาจารยท่ีปรึกษารวม(ถามี) และไดลงรายวิชาครบถวนตามหลักสูตร (ยกเวนรายวิชาวิทยานิพนธ) โดยมีเกรดเฉล่ียสะสมไมต่ํากวา 3.00 นักศึกษาจะตองยื่นคํารองขอลงทะเบียน (บ-1) และคํารองแสดงความจํานงขอทําวิทยานิพนธ พรอมเสนอหัวขอวิทยานิพนธ และอาจารยท่ีปรึกษาตามแบบฟอรมท่ีกําหนด (บ-2) ลวงหนาไมนอยกวา 30 วัน กอนการลงทะเบียนวิชาวิทยานิพนธ 4) การพิจารณาอนุมัติหัวขอวิทยานิพนธ เม่ือไดรับคํารอง คณะกรรมการประจําหลักสูตร จะพิจารณาใหความเห็นชอบหัวขอวิทยานิพนธพรอมท้ังเสนอแตงตั้งอาจารยท่ีปรึกษาและอาจารยท่ีปรึกษารวมวิทยานิพนธ (ถามี)

Page 15: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

11

5) การแตงตั้งอาจารยที่ปรึกษาและคณะกรรมการกลั่นกรองเคาโครง เม่ือผานการเห็นชอบของคณะกรรมการประจําหลักสูตร แลว บัณฑิตวิทยาลัยจะประกาศแตงตั้งอาจารยท่ีปรึกษา อาจารยท่ีปรึกษารวม (ถามี) และคณะกรรมการกล่ันกรองเคาโครง 6) การลงทะเบียนวิทยานิพนธ นักศึกษาลงทะเบียนเรียน 12-15 หนวยกิต ในรายวิชาวิทยานิพนธ ตามความเหมาะสมและเง่ือนไขการลงทะเบียนของแตละหลักสูตร II. การจัดทําและการสอบ ‘เคาโครง’ 1) การเขียนเคาโครงวิทยานิพนธ เม่ือหัวขอวิทยานิพนธผานการเห็นชอบของคณะกรรมการประจําหลักสูตรฯแลว นักศึกษาเริ่มเขียนเคาโครง (รายละเอียดดูในบทท่ี 3) ภายใตการกํากับดูแลของอาจารยท่ีปรึกษาอยางใกลชิด จนเสร็จเรียบรอย พรอมทําการสอบเคาโครง 2) การยื่นคํารองแสดงความจํานงขอสอบเคาโครงวิทยานิพนธ นักศึกษายื่นคํารองแสดงความจํานงขอสอบกล่ันกรองเคาโครงตามแบบฟอรมกําหนด (บ-3) ตอบัณฑิตวิทยาลัย โดยผานความเห็นชอบของอาจารยท่ีปรึกษา 3) การสอบกลั่นกรองเคาโครงวิทยานิพนธ ในการสอบกล่ันกรองเคาโครงวิทยานิพนธ นักศึกษาจะตองเตรียมการนําเสนอเคาโครงวิทยานิพนธดวยปากเปลาตอหนาคณะกรรมการกล่ันกรองเคาโครงวิทยานิพนธ เม่ือผานการสอบกล่ันกรอง และไดดําเนินการแกไข (ถามี) พรอมท้ังจัดทําเคาโครงฉบับสมบูรณตามขอแนะนําของคณะกรรมการประจําหลักสูตร สงใหบัณฑิตวิทยาลัย 4) เงื่อนเวลาในการสอบเคาโครงวิทยานิพนธ นักศึกษาตองสอบกล่ันกรองเคาโครงวิทยานิพนธ ใหเสร็จส้ินภายในภาคการศึกษาแรกท่ีลงทะเบียนรายวิชาวิทยานิพนธ ในกรณีท่ีนักศึกษาไมสามารถดําเนินการใหเสร็จส้ินภายในเวลาท่ีกําหนด นักศึกษาตองยืน่คํารองขอผอนผันเปนคราว ๆไป (โดยใชแบบฟอรม บ-9) ในกรณีท่ีนักศึกษาสอบกล่ันกรองเคาโครงวิทยานิพนธ “ไมผาน” นักศึกษาตองยื่นคํารองโดยใชแบบฟอรมท่ีกําหนด (บ-8) พรอมแนบความคิดเห็นของคณะกรรมการกล่ันกรองเคาโครงตอผูอํานวยการสํานักทะเบียนและประมวลผล โดยผานความเห็นชอบของอาจารยท่ีปรึกษา ประธานหลักสูตร และคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

Page 16: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

12

III. การจัดทําและการสอบปองกัน ‘วิทยานิพนธ’ 1) การทําวิทยานิพนธ

หลังจากท่ีผานการสอบกล่ันกรองเคาโครงเปนท่ีเรียบรอย นักศึกษาลงมือทําวิทยานิพนธตามขอแนะนําของคณะกรรมการตอไป โดยทําการทดลองหรือรวบรวมขอมูล วิเคราะหขอมูล สรุปและรายงานผลการศึกษา ตามกระบวนการทําวิทยานิพนธของแตละหลักสูตร พรอมท้ังทําการพิมพในรูปแบบตามท่ีกําหนดในคูมือของบัณฑิตวิทยาลัย (บทท่ี 4 และ 5) 2) การยื่นคํารองแสดงความจํานงขอสอบปองกันวิทยานิพนธ เม่ือนักศึกษาพรอมและไดรับความเห็นชอบจากอาจารยท่ีปรึกษาแลว นักศึกษาจะตองยื่นคํารองแสดงความจํานงขอสอบปองกันวิทยานิพนธ พรอมขอแตงตั้งคณะกรรมการสอบปองกันตามแบบฟอรม บ-5 พรอมท้ังนัดหมายอาจารยท่ีปรึกษาและคณะกรรมการเพ่ือกําหนดวันและเวลาสอบปองกัน 3) การสอบปองกันวิทยานิพนธ บัณฑิตวิทยาลัยแตงตั้งคณะกรรมการสอบปองกันวิทยานิพนธตามระเบียบของมหาวิทยาลัย ในกรณีของการสอบปองกันวิทยานิพนธ ประกอบดวยประธานหลักสูตร อาจารยท่ีปรึกษาและกรรมการผูทรงคุณวุฒิภายนอกมหาวิทยาลัยมารวมเปนกรรมการสอบดวย นักศึกษาตองเสนอรูปเลมของวิทยานิพนธ ซ่ึงประกอบดวยรายงานและบทคัดยอท่ีไดรับความเห็นชอบจากอาจารยท่ีปรึกษาตอคณะกรรมการสอบปองกันทุกคนกอนวันสอบอยางนอย 2 สัปดาห ในการสอบปองกันวิทยานิพนธ นักศึกษาจะตองนําเสนอในรูปของการสอบปากเปลาตอคณะกรรมการสอบปองกันวิทยานิพนธ ในกรณีท่ีสอบปองกันวิทยานิพนธ “ไมผาน” นักศึกษาจะตองทําการแกไขปรับปรุงใหสมบูรณ เพ่ือยื่นความจํานงขอสอบปองกันใหมเปนครั้งสุดทาย IV. การจัดทํา ‘รูปเลม’ ฉบับสมบูรณ และการตีพิมพเผยแพรผลงาน 1) การปรับปรุงแกไขวิทยานิพนธ ในกรณีท่ีคณะกรรมการอนุมัติให “ผาน” การสอบปองกัน นักศึกษาตองทําการแกไขรูปเลมตามขอเสนอแนะ(ถามี) และสงรายงานฉบับรางท่ีแกไขแลวเสนอใหคณะกรรมการสอบปองกันทุกทานเพ่ือลงนามใหความเห็นชอบแลวจึงนําตนฉบับรายงานท่ีปรับปรุงแกไขแลว สงใหกับบัณฑิตวิทยาลัย เพ่ือทําการตรวจสอบมาตรฐานรูปเลม และการพิมพกอนนําไปเขาเลม (โดยใชแบบฟอรม บ-7)

Page 17: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

13

2) การจัดทํารูปเลม นักศึกษาจัดทํารูปเลมฉบับสมบูรณสงมอบใหบัณฑิตวิทยาลัยจํานวน 3 เลม 3) การจัดทําบทความและการตีพิมพเผยแพรผลงาน นักศึกษาจะตองจัดทําบทความวิชาการจากการทําวิทยานิพนธ เพ่ือตีพิมพเผยแพรผลงานในวารสารทางวิชาการ 1 ช้ิน สงหลักฐานแสดงการตอบรับหรือเลมวารสารฉบับท่ีตีพิมพผลงานมอบใหบัณฑิตวิทยาลัย การสําเร็จการศึกษา นักศึกษาสําเร็จการศึกษาในภาคการศึกษานั้น ไดก็ตอเม่ือนักศึกษาไดนําเสนอคณะกรรมการสอบปองกันเพ่ือลงนามใหความเห็นชอบกอนวันปดภาคการศึกษาในแตละภาคการศึกษา นอกจากนี้นักศึกษาจะตองมีสถานภาพเปนนักศึกษาอยูในวันท่ีสงรูปเลมฉบับสมบูรณ ในกรณีท่ีวิทยานิพนธยังไมเสร็จสมบูรณ ใหกําหนดสัญลักษณ P และจะเปล่ียนเปน S (สอบผาน) หรือ U (สอบไมผาน) ภายหลังเม่ือเสร็จสมบูรณแลว

2.2 ขั้นตอนการทํา ‘การศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต)’ ในการจัดทําการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) มีขั้นตอนในการดําเนินการคลายคลึงกับการจัดทําวิทยานิพนธ ซ่ึงประกอบดวย 4 ขั้นตอนใหญ เชนเดียวกัน ดังนี ้

I. การคนหา ‘หัวขอ’ งานวิจัยและการเลือก ‘อาจารยที่ปรึกษา’ II. การจัดทําและการสอบ ‘เคาโครง’ III. การจัดทํารายงานและการสอบปองกัน ‘การศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต)’ IV. การจัดทํา ‘รูปเลม’ ฉบับสมบูรณ (ดังแสดงในแผนภูมิท่ี 2.2)

I. การคนหา ‘หัวขอ’ การศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) และการเลือก ‘อาจารยที่ปรึกษา’ 1) การคนหาหัวขอ การศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) ถานกัศึกษาเลือกเรียนใน แผน ข. และหลักสูตรกําหนดใหลงทะเบียนการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) นักศึกษาอาจเริ่มตนคนหาหัวขอของการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) ท่ีตนเองสนใจตั้งแตเริ่มเขาศึกษา หรือ อยางชาเม่ือนักศึกษาสอบผานรายวิชามาแลวไมต่ํากวา 18 หนวยกิต

Page 18: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

14

แผนภูมิที่ 2.2 ขั้นตอนการทําการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต)

I. การคนหา ‘หัวขอ’ งานวิจัยและการเลือก ‘อาจารยที่ปรึกษา’ 1) การคนหาหัวของานวิจัย 2) การเลือกอาจารยที่ปรึกษา (และอาจารยที่ปรึกษารวม-ถามี) 3) การยื่นคํารองและแสดงความจํานงขอทําการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) 4) การพิจารณาอนุมัติหัวขอการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) 5) การแตงตั้งอาจารยที่ปรึกษาและคณะกรรมการกลั่นกรองเคาโครง 6) การลงทะเบียนเรียนการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) II. การจัดทําและการสอบ ‘เคาโครง’ 1) การเขียนเคาโครงงานวิจัย 2) การยื่นคํารองแสดงความจํานงขอสอบเคาโครงงานวิจัย 3) การสอบกลั่นกรองเคาโครง 4) เงื่อนเวลาในการสอบเคาโครง III. การจัดทํารายงานและการสอบปองกัน ‘การศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต)’ 1) การทํารายงานการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) 2) การยื่นคํารองแสดงความจํานงขอสอบปองกัน 3) การสอบปองกันการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) IV. การจัดทํา ‘รูปเลม’ ฉบับสมบูรณ 1) การปรับปรุงแกไขการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) 2) การจัดรูปเลม

ข้ันตอนการทําการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต)

Page 19: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

15

หัวขอการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) ในทางปฏิบัติการคนหาหัวขอการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) ควรเริ่มตนจากการคนควาเอกสารวิชาการตาง ๆ หรือ การทบทวนวรรณกรรมท่ีเกี่ยวของกับหัวของานวิจัยท่ีนาสนใจเลือกมาทําเปนการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) ของตนเอง ซ่ึงควรเปนหัวขอเรื่องท่ีสําคัญและนาสนใจ มีความเปนไปไดในทางปฏิบัติท่ีสามารถดําเนินการทําวิจัยจนสําเร็จสมบูรณ พรอมท้ังกอใหเกิดผลงานวิจัยท่ีมีคุณคาและเกิดประโยชนในเชิงวิชาการและ/หรือในทางปฏิบัติ และจะตองเกี่ยวของและสัมพันธสอดคลองกับเนื้อหาสาระวิชาของแตละหลักสูตรอีกดวย 2) การเลือกอาจารยที่ปรึกษา (และอาจารยที่ปรึกษารวม-ถามี) เม่ือไดหัวขอหรือประเด็นงานวิจัยท่ีนาสนใจแลว ควรนําหัวขอ หรือ ประเด็นงานวิจัยนี้ไปปรึกษาหารือกับคณาจารยในหลักสูตร เพ่ือหารือถึงความสําคัญ ความนาสนใจ และความเปนไปไดของการทําการวิจัยในหัวขอดังกลาว พรอมท้ังทาบทามอาจารยท่ีปรึกษาไปในคราวเดียวกัน ในการเลือกอาจารยท่ีปรึกษา นักศึกษาควรพิจารณาถึงความสนใจและความเช่ียวชาญของอาจารยท่ีปรึกษาในสาขาวิชาเดียวกันหรือเกี่ยวของกับหัวขอของการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) เปนอันดับแรก พรอมท้ังพิจารณาปจจัยอ่ืน ๆ ของอาจารยท่ีปรึกษารวมดวย เชน ดานบุคลิกภาพ ทัศนคติ ลักษณะการใหคําปรึกษา ความพรอมในการใหคําปรึกษา ภาระงานของอาจารยท่ีปรึกษา เปนตน ท้ังนี้เพราะในการทําการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) ของนักศึกษาจะมีอาจารยท่ีปรึกษา เปนพ่ีเล้ียง เปนท่ีปรึกษา และเปนผูช้ีแนะ เพ่ือใหงานวิจัยครั้งนี้ประสบความสําเร็จบรรลุตามเปาหมาย พรอม ๆ กับการสรางทัศนคติและทักษะในงานวิจยัท่ีดีใหกับนักศึกษาไปในคราวเดียวกันนี้ดวย ดังนั้นอาจารยท่ีปรึกษาจึงเปนผูท่ีมีบทบาทสําคัญตอความสําเร็จของงานวิจัย ท้ังในดานขบวนการทํางานวิจัยท่ีดีและเปนการเรียนการสอนเพ่ือใหเกิดความรู ความเขาใจ และเกิดทักษะในงานวิจัยอีกดวย อนึ่งในการเลือกอาจารยท่ีปรึกษาการศึกษาอิสระ 6 หนวยกิตนี้ ควรเปนไปดวยความสมัครใจและความพรอมของท้ังสองฝาย ควรเปนเรื่องท่ีอาจารยมีความสนใจหรือมีความชํานาญในสาขานั้น ๆ เฉพาะ และมีความพรอมในการใหคําปรึกษาการทําการศึกษาอิสระนี้ไดอยางดี อาจารยที่ปรึกษารวม (ถามี) ในบางครั้งท้ังนักศึกษาและอาจารยท่ีปรึกษาอาจมีความรูและประสบการณไมครอบคลุมอยางท่ัวถึงในหัวขอเรื่องงานวิจัยนี้ อาจทาบทามอาจารยท่ีปรึกษารวมเพ่ิมเติมไดอีก 1-2 ทาน ตามความเหมาะสม ท้ังนี้เพ่ือใหเกิดความสมบูรณของงานวิจัยยิ่งขึ้น

Page 20: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

16

3) การยื่นคํารองและแสดงความจํานงขอทําการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) เม่ือนักศึกษาไดหัวขอเรื่องงานวิจัย อาจารยท่ีปรึกษา (อาจารยท่ีปรึกษารวม-ถามี) และไดลงรายวิชาครบถวนตามหลักสูตร (ยกเวนรายวิชาการศึกษาอิสระ 6 หนวยกิต) โดยมีแตมเฉล่ียสะสมไมต่ํากวา 3.00 แลว นักศึกษาจะตองยื่นคํารองขอลงทะเบียน (บ-1) และคํารองแสดงความจํานงขอทําการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) พรอมเสนอหัวขอศึกษา และอาจารยท่ีปรึกษาตามแบบฟอรมท่ีกําหนด (บ-2) ลวงหนาไมนอยกวา 30 วัน กอนการลงทะเบียนการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) 4) การพิจารณาอนุมัติหัวขอการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) เม่ือไดรับคํารอง คณะกรรมการประจําหลักสูตรฯจะพิจารณาใหความเห็นชอบหัวขอการศึกษาอิสระ 6 หนวยกิตพรอมท้ังเสนอแตงตั้งอาจารยท่ีปรึกษา 5) การแตงตั้งอาจารยที่ปรึกษาและคณะกรรมการกลั่นกรองเคาโครง เม่ือหัวขอการศึกษาอิสระผานการเห็นชอบของคณะกรรมการประจําหลักสูตรฯ แลว บัณฑิตวิทยาลัยจะประกาศแตงตั้งอาจารยท่ีปรึกษา (อาจารยท่ีปรึกษารวม-ถามี) และคณะกรรมการกล่ันกรองเคาโครง 6) การลงทะเบียนการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) นักศึกษาลงทะเบียน 6 หนวยกิต ในรายวิชาการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) ท้ังนี้เปนไปตามความเหมาะสมและเง่ือนไขการลงทะเบียนของแตละหลักสูตร II. การจัดทําและการสอบ ‘เคาโครง’ 1) การเขียนเคาโครงการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) เม่ือหัวขอของการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) ไดผานการเห็นชอบของคณะกรรมการประจําหลักสูตรฯ แลว นักศึกษาก็เริ่มเขียนเคาโครง (รายละเอียดดูในบทท่ี 3) ภายใตการดูแลของอาจารยท่ีปรึกษาอยางใกลชิด จนเสร็จเรียบรอยและพรอมท่ีจะสอบเคาโครง 2) การยื่นคํารองแสดงความจํานงขอสอบเคาโครงการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) นักศึกษาก็ยื่นคํารองแสดงความจํานงขอสอบกล่ันกรองเคาโครงตามแบบฟอรมกําหนด (บ-3) 3) การสอบกลั่นกรองเคาโครง การสอบกล่ันกรองเคาโครงเปนการสอบโดยใหนักศึกษานําเสนอเคาโครงตอคณะกรรมการกล่ันกรองเคาโครง เม่ือนักศึกษาผานการสอบเคาโครงและไดดําเนินการแกไข (ถามี) พรอมท้ังจัดทําเคาโครงฉบับสมบูรณตามขอแนะนําของคณะกรรมการฯ สงแกบัณฑิตวิทยาลัยเรียบรอยแลว นักศึกษาสามารถดําเนินงานวิจัยในขั้นตอนตอไป

Page 21: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

17

4) เงื่อนเวลาในการสอบเคาโครง นักศึกษาตองสอบกล่ันกรองเคาโครงใหเสร็จส้ินในภาคการศึกษาแรกท่ีลงทะเบียนวิชาการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) ในกรณีท่ีนักศึกษาไมสามารถดําเนินการดังกลาวใหเสร็จส้ินได ภายในเวลาท่ีกําหนด (ภาคเรียนแรกท่ีลงทะเบียน) นักศึกษาตองยื่นคํารองขอผอนผันเปนคราว ๆไป (บ-9) III. การจัดทํารายงานและการสอบปองกัน ‘การศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต)’

1) การทํารายงานการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) หลังจากท่ีผานการสอบกล่ันกรองเคาโครงและแกไขตามคําแนะนําของกรรมการฯ เปนท่ีเรียบรอย นักศึกษาสามารถดําเนินการทําการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) ในขั้นตอนตอไป ดวยการเก็บและรวบรวมขอมูล วิเคราะหขอมูล สรุปและรายงานผลการศึกษา (บทท่ี 4 และ 5) ตามกระบวนการทําการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) ของแตละหลักสูตร พรอมท้ังทําการพิมพในรูปแบบตามท่ีกําหนดในคูมือของบัณฑิตวิทยาลัย 2) การยื่นคํารองแสดงความจํานงขอสอบปองกัน เม่ือนักศึกษาพรอมและไดรับความเห็นชอบจากอาจารยท่ีปรึกษาในการเขาสอบปองกันแลว นักศึกษาจะตองยื่นคํารองแสดงความจํานงขอสอบปองกัน พรอมขอแตงตั้งคณะกรรมการสอบปองกันตามแบบฟอรมท่ีกําหนด (บ-5) พรอมท้ังนัดหมายอาจารยท่ีปรึกษาและคณะกรรมการเพ่ือกําหนดวันและเวลาสอบปองกัน 3) การสอบปองกันการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) ในการนี้บัณฑิตวิทยาลัยแตงตั้งคณะกรรมการสอบปองกันการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) ตามระเบียบของมหาวิทยาลัย ซ่ึงเปนกรรมการผูทรงคุณวุฒิจากภายในหรือภายนอกมหาวิทยาลัยมารวมเปนกรรมการสอบดวยก็ได นักศึกษาตองเสนอรูปเลมของการศึกษาอิสระซ่ึงประกอบดวยรายงานและบทคัดยอท่ีไดรับความเห็นชอบจากอาจารยท่ีปรึกษาตอคณะกรรมการสอบทุกคนกอนวันสอบอยางนอย 2 สัปดาห ในกรณีที่สอบปองกัน “ไมผาน” ในกรณีท่ีไมผานการสอบปองกัน นักศึกษาจะตองทําการแกไขปรับปรุงใหสมบูรณขึ้น เพ่ือยื่นความจํานงขอสอบปองกันใหมเปนโอกาสสุดทาย

Page 22: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

18

IV. การจัดทํา ‘รูปเลม’ ฉบับสมบูรณ 1) การปรับปรุงแกไขการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) ในกรณีท่ีคณะกรรมการอนุมัติใหผานการสอบปองกัน นักศึกษาตองแกไข (ถามี) และสงรายงานฉบับรางเสนอใหคณะกรรมการสอบปองกันทุกทานเพ่ือลงนามใหความเห็นชอบแลวจึงนําตนฉบับรายงานท่ีปรับปรุงแกไขแลวตามขอเสนอแนะของคณะกรรมการจํานวน 1 เลม ใหกับบัณฑิตวิทยาลัย เพ่ือทําการตรวจสอบมาตรฐาน รูปเลมและการพิมพกอนนําไปเขาเลม (แบบฟอรม บ-7) 2) การจัดรูปเลม จัดทํารูปเลมฉบับสมบูรณสงมอบใหบัณฑิตวิทยาลัย การจบการศึกษา ในกรณีท่ีทําการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) จะถือวา นักศึกษาจบการศึกษาในภาคการศึกษานั้น ๆ ก็ตอเม่ือนักศึกษาไดนําเสนอคณะกรรมการสอบปองกันเพ่ือลงนามใหความเห็นชอบ และผานการสอบประมวลความรูกอนวันปดภาคเรียนในแตละภาคนั้น

นอกจากนี้นักศึกษาจะตองมีสถานภาพเปนนักศึกษาอยูในวันท่ีสงรุปเลมฉบับสมบูรณ ในกรณีท่ีการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) ยังไมเสร็จสมบูรณ ใหกําหนดสัญลักษณ P และจะเปล่ียนเปน S (สอบผาน) หรือ U (สอบไมผาน) ภายหลังเม่ือเสร็จสมบูรณแลว ความแตกตางระหวาง ‘วิทยานิพนธ’ และ ‘การศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต)’ จึงเห็นไดวา โดยภาพรวมแลวการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) มีความคลายคลึงกับวิทยานิพนธมาก แตมีความตางกันบางบางประการ (ดังแสดงในตารางท่ี 3 หนา 22) ซ่ึงพอจะแยกเปนประเด็นและสรุปไดดังนี ้

1. การเลือกเรียน ผูท่ีประสงคลงทะเบียนวิทยานิพนธจะตองเปนผูท่ีเลือกเรียนใน แผน ก. และผูท่ีประสงคลงเรียนวิชาการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) จะตองเปนผูท่ีเลือกเรียนใน แผน ข. ของแตละหลักสูตร

2. จํานวนหนวยกิต ผูท่ีเลือกทําการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) จะตองลงทะเบียน จํานวน 6 หนวยกิต ในขณะท่ีผูท่ีเลือกวิทยานิพนธจะตองลงทะเบียน จํานวน 12 หนวยกิต

3. ในการสอบกล่ันกรองเคาโครง ท้ังวิทยานิพนธและการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) จะตองผานการสอบกล่ันกรองเคาโครงเหมือนกัน แตถาสอบวิทยานิพนธ ‘ไมผาน’ จะตองเปล่ียนการ

Page 23: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

19

ลงทะเบียนวิทยานิพนธ เปนการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) แทน แตในกรณีท่ีสอบการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) ‘ไมผาน’ จะตองทําการแกไขปรับปรุงตามความเห็นของกรรมการกล่ันกรองใหเรียบรอย

4. ในการสอบปองกัน ซ่ึงท้ังวิทยานิพนธและการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) ก็ระบุใหมีการผานการสอบปองกันเชนกัน แตถาเปนการสอบปองกันการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) ไมจําเปนตองมีกรรมการผูทรงคุณวุฒิจากภายนอกมหาวิทยาลัยมารวมเปนกรรมการสอบปองกันเหมือนวิทยานิพนธ ในกรณีของการสอบปองกันการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) อาจเปนกรรมการผูทรงคุณวุฒิจากภายในหรือภายนอกมหาวิทยาลัยก็ได แตการสอบปองกันวิทยานิพนธจะตองมีกรรมการผูทรงคุณวุฒิจากภายนอกมหาวิทยาลัยมารวมเปนกรรมการสอบปองกันดวยทุกครั้ง

5. การสอบประมวลความรู ในรายท่ีเลือกทําการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) จะตองทําการสอบประมวลความรูหลังจากจัดทําการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) เปนท่ีเรียบรอยแลว ตางจากผูท่ีเลือกวิทยานิพนธ หรือ แผน ก. ท่ีอาจจะตองสอบผานการประมวลความรูกอนท่ีจะลงทะเบียนวิทยานิพนธหรือไม ท้ังนี้ขึ้นอยูกับเง่ือนไขของแตละหลักสูตร

6. การจัดทําบทความและการตีพิมพเผยแพรผลงาน นักศึกษาท่ีเลือกวิทยานิพนธจะตองจัดทําบทความวิชาการจากการทําวิทยานิพนธเพ่ือตีพิมพเผยแพรผลงานในวารสารทางวิชาการ 1 ช้ิน พรอมกับรูปเลมฉบับสมบูรณ ในขณะท่ีนักศึกษาท่ีเลือกเรียนแผน ข. ไมจําเปนตองการจัดทําบทความวิชาการจากการศึกษาอิสระเพ่ือตีพิมพเผยแพรผลงานของตนเองดังเชนนักศึกษาในแผน ก

2.3 ขั้นตอนการทํา ‘การศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต)’ บางหลักสูตรไดกําหนดใหแผน ข. มีการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) ซ่ึงตองลงทะเบียนและศึกษาใหเสร็จส้ินภายใน 1 ภาคการศึกษานั้น ๆ ซ่ึงมีขั้นตอนในการดําเนินการคลายคลึงกับวิทยานิพนธและการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) คือ ยึดหลักระเบียบการวิจัยท่ีดี แตมีการดําเนินการเรียนการสอนเหมือนอีกหนึ่งรายวิชา คือ ไมตองสอบเคาโครง การสอบประเมินเปนการสอบประเมินในช้ันเรียนโดยอาจารยท่ีปรึกษาและ/หรือคณาจารยรายวิชา และผลการประเมินไดเกรด (A, B+, B, C+, C, D+, D หรือ F) ในขั้นตอนการจัดทํา การศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) มีการดําเนินการคลายคลึงกับวิทยานิพนธและการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) แตไมตองสอบเคาโครงเหมือนการจัดทําวิทยานิพนธและการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) ดังนั้นในการจัดทําการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) จึงประกอบดวย 3 ขั้นตอน ดังนี ้

I. การคนหา ‘หัวขอ’ การศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) และการเลือก ‘อาจารยที่ปรึกษา’

Page 24: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

20

II. การจัดทําและการสอบปองกัน ‘การศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต)’ III. การจัดทํา ‘รูปเลม’ ฉบับสมบูรณ (ดังแสดงในแผนภูมิท่ี 2.3) I. การคนหา ‘หัวขอ’ การศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) และการเลือก ‘อาจารยที่ปรึกษา’

1) การคนหาหัวขอการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) การเรียนรายวิชาการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) ในแผน ข. ระบุใหนักศึกษาจะตองศึกษาคนควาอิสระโดยจัดทํางานวิจัยขึ้นมาหนึ่งช้ิน ซ่ึงนักศึกษาอาจเริ่มตนคนหาหัวขอท่ีตนเองสนใจตั้งแตเริ่มเขาศึกษา หรือ อยางชาเม่ือนักศึกษาสอบผานรายวิชามาแลวไมต่ํากวา 18 หนวยกิต หัวขอการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) ในทางปฏิบัติ การคนหาหัวขอการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) ควรเริ่มตนดวยการคนควาเอกสารวิชาการตาง ๆ หรือ ทบทวนวรรณกรรมท่ีเกี่ยวของกับหัวของานวิจัย ซ่ึงควรเปนหัวขอเรื่องท่ีสําคัญ นาสนใจ และมีความเปนไปไดในทางปฏิบัติในการทําวิจัยจนเสร็จสมบูรณ พรอมท้ังกอใหเกิดผลงานวิจัยท่ีดี มีคุณคา และเกิดประโยชนในเชิงวิชาการและ/หรือในทางปฏิบัติ และจะตองเกี่ยวของกับเนื้อหาสาระวิชาของแตละหลักสูตรอีกดวย 2) การเลือกอาจารยที่ปรึกษา เม่ือไดหัวขอหรือประเด็นท่ีสนใจแลวก็ควรนําไปหารือกับคณาจารยในหลักสูตร เพ่ือปรึกษาถึงความสําคัญ ความนาสนใจ และความเปนไปไดของการทําการวิจัยในหัวขอดังกลาว พรอมท้ังทาบทามอาจารยท่ีปรึกษาไปในคราวเดียวกัน ในการเลือกอาจารยท่ีปรึกษา นักศึกษาควรพิจารณาถึงความสนใจและความเช่ียวชาญของอาจารยท่ีปรึกษาในสาขาวิชาเดียวกันหรือเกี่ยวของกับหัวขอวิทยานิพนธเปนอันดับแรก พรอมท้ังพิจารณาปจจัยอ่ืน ๆ ของอาจารยท่ีปรึกษารวมดวย เชน ดานบุคลิกภาพ ทัศนคติ ลักษณะการใหคําปรึกษา ความพรอมในการใหคําปรึกษา ภาระงานของอาจารยท่ีปรึกษา เปนตน ท้ังนี้เพราะในการทําวิทยานิพนธของนักศึกษาจะมีอาจารยท่ีปรึกษา เปนพ่ีเล้ียง เปนท่ีปรึกษา และเปนผูช้ีแนะ เพ่ือใหงานวิจัยครั้งนี้ประสบความสําเร็จบรรลุตามเปาหมาย พรอม ๆ กับการสรางทัศนคติและทักษะในงานวิจัยท่ีดีใหกับนักศึกษาไปในคราวเดียวกันนี้ดวย ดังนั้นอาจารยท่ีปรึกษาจึงเปนผูท่ีมีบทบาทท่ีสําคัญตอความสําเร็จของงานวิจัย ท้ังในดานขบวนการทํางานวิจัยท่ีดีและเปนการเรียนการสอนเพ่ือใหเกิดความรู ความเขาใจ และเกิดทักษะในงานวิจัยอีกดวย

Page 25: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

21

อนึ่ง ในการเลือกอาจารยท่ีปรึกษา ควรเปนไปดวยความสมัครใจของท้ังสองฝาย และควรเปนเรื่องท่ีอาจารยมีความสนใจหรือมีความชํานาญในสาขานั้น ๆ เฉพาะ 3) การยื่นคํารองและแสดงความจํานงขอทําการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) เม่ือนักศึกษาไดหัวขอเรื่อง อาจารยท่ีปรึกษา และไดลงรายวิชาครบถวนตามหลักสูตร (ยกเวนรายวิชาการศึกษาอิสระ 3 หนวยกิต) โดยมีแตมเฉล่ียสะสมไมต่ํากวา 3.00 นักศึกษาจะตองยื่นคํารองขอลงทะเบียน (บ-1) และคํารองแสดงความจํานงขอทําการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) พรอมเสนอหัวขอศึกษา และอาจารยท่ีปรึกษาตามแบบฟอรมท่ีกําหนด (บ-2) ลวงหนาไมนอยกวา 30 วัน กอนการลงทะเบียนวิชาการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) 4) การพิจารณาอนุมัติหัวขอการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) เม่ือไดรับคํารอง คณะกรรมการประจําหลักสูตรฯจะพิจารณาใหความเห็นชอบหัวขอวิจัยพรอมท้ังเสนอแตงตั้งอาจารยท่ีปรึกษา

5) การแตงตั้งอาจารยที่ปรึกษาและคณะกรรมการการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) เม่ือหัวขอการศึกษาอิสระผานการเห็นชอบของคณะกรรมการประจําหลักสูตรแลว บัณฑิตวิทยาลัยจะประกาศแตงตั้งอาจารยท่ีปรึกษาและคณะกรรมการการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) 6) การลงทะเบียนเรียนการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) นักศึกษาลงทะเบียนเรียน 3 หนวยกิต ในรายวิชาการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) ท้ังนี้ท้ังนั้นเปนไปตามความเหมาะสมและเง่ือนไขการลงทะเบียนของแตละหลักสูตร

II. การจัดทําและการประเมินผล ‘การศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต)’ 1) การจัดทําการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) เม่ือผานการเห็นชอบของคณะกรรมการประจําหลักสูตรฯแลว นักศึกษาก็เริ่มเขียนเคาโครง (จะกลาวโดยละเอียดใน บทท่ี 3) ภายใตการดูแลของอาจารยท่ีปรึกษาอยางใกลชิด จนเสร็จเรียบรอย หลังจากท่ีจัดทําเคาโครงเปนท่ีเรียบรอย นักศึกษาก็สามารถดําเนินขั้นตอนตอไป ไมวาจะเปน การพัฒนาเครื่องมือหรือแบบสอบถาม การเก็บและรวบรวมขอมูล วิเคราะหขอมูล สรุปและรายงานผลการศึกษา (บทท่ี 4 และ 5) ตามกระบวนการทําการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) ของแตละหลักสูตร พรอมท้ังทําการพิมพในรูปแบบตามท่ีกําหนดในคูมือของบัณฑิตวิทยาลัย

Page 26: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

22

แผนภูมิที่ 2.3 ขั้นตอนการทําการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต)

I. การคนหา ‘หัวขอ’ วิจัยและการเลือก ‘อาจารยที่ปรึกษา’

1) การคนหาหัวขอวิจัย 2) การเลือกอาจารยที่ปรึกษา 3) การยื่นคํารองและแสดงความจํานงขอทําการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) 4) การพิจารณาอนุมัติการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) 5) การแตงตั้งอาจารยที่ปรึกษาและคณะกรรมการสอบปองกัน 6) การลงทะเบียนเรียนการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต)

II. การจัดทําและการประเมินผล ‘การศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต)

1) การจัดทําการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) 2) การประเมินผลการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต)

III. การจัดทํา ‘รูปเลม’ ฉบับสมบูรณ

1) การปรับปรุงแกไขการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) 2) การจัดรูปเลม

2) การประเมินผลการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) คณาจารยประจําวิชาจะกําหนดวันสอบการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) ซ่ึงเปนการนําเสนอดวยปากเปลาของนักศึกษาในงานวิจัยท่ีไดดําเนินงานตลอดท้ังภาคการศึกษาตอคณะกรรมการสอบการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต)

ข้ันตอนการทําการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต)

Page 27: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

23

นักศึกษาตองเสนอรูปเลมรายงานและบทคัดยอ ท่ีไดรับความเห็นชอบจากอาจารยท่ีปรึกษาตอคณะกรรมการสอบทุกคนกอนวันสอบอยางนอย 2 สัปดาห 3) ในกรณีที่ ‘ไมผาน’ การประเมินผลการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) ในกรณีท่ีสอบไมผาน นักศึกษาจะตองลงทะเบียนการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) ใหมอีกครั้ง III. การจัดทํา ‘รูปเลม’ ฉบับสมบูรณ 1) การปรับปรุงแกไขการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) ในกรณีท่ีคณะกรรมการอนุมัติใหผานการสอบ นักศึกษาตองแกไข (ถามี) และสงรายงาน 1 เลม ใหกับเลขานุการบัณฑิตวิทยาลัย เพ่ือทําการตรวจสอบมาตรฐาน รูปเลมและการพิมพกอนนําไปเขาเลม (แบบฟอรม บ-7) 2) การจัดรูปเลม จัดทํารูปเลมฉบับสมบูรณสงมอบใหบัณฑิตวิทยาลัย ขอแตกตางระหวางวิทยานิพนธ การศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) (ดังแสดงในตารางท่ี 3.1) การศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) มีประเด็นท่ีแตกตางจากวิทยานิพนธและการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) คือ แผนการศึกษา จํานวนหนวยกิต ขั้นตอนการประเมินการเรียนการสอนซ่ึงเหมือนกับรายวิชาท่ัวไป ไมวาจะเปนการสอบเคาโครง การประเมินรายวิชา และระยะเวลาในการศึกษา ผูท่ีเลือกเรียนใน แผน ข. จะตองเลือกเรียนวิชาการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) และลงทะเบียน จํานวน 3 หรือ 4 หนวยกิต ในขั้นตอนการประเมินรายวิชานี้ การจัดทําการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) ไมจําเปนตองมีขั้นตอนการสอบเคาโครงดวยคณะกรรมการฯ เหมือนกับวิทยานิพนธและการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) แตเปนบทบาทหนาท่ีของนักศึกษารวมกับอาจารยท่ีปรึกษาในการรวมกันเพ่ือพัฒนาเคาโครงการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) การประเมินและระยะเวลาท่ีใชในรายวิชาการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) จะเหมือนกับรายวิชาท่ัวไป คือ เปนการประเมินในช้ันเรียนโดยอาจารยท่ีปรึกษาและ/หรือคณาจารยประจําวิชา และใหผลการประเมินเปนเกรด (A, B+, B, C+, C, D+, D หรือ F) ในขณะท่ีวิทยานิพนธและการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) จะแสดงผลเปน S หรือ U ในเรื่องระยะเวลาในการศึกษา การจัดทําการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต)จะตองจัดทําใหเสร็จสมบูรณภายใน 1 ภาคการศึกษาเหมือนการเรียนในวิชาท่ัวไป

Page 28: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

24

นอกจากนี้เม่ือจัดทํารูปเลมของการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) เปนท่ีเรียบรอยแลว จะตองเขาสอบประมวลความรูใหผาน จึงจะถือวา จบการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษาอยางสมบูรณ

ตารางที่ 3.1

ขอแตกตางระหวางวิทยานิพนธ การศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต)

ประเภท วิทยานิพนธ การศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต)

การศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต)

แผนการศึกษา (แผน ก.) (แผน ข.) (แผน ข.) จํานวนหนวยกิต 12-15 6 3 การสอบเคาโครง สอบ สอบ ไมสอบ ถาสอบเคาโครง ‘ไมผาน’

ตองเปลี่ยนจากวิทยานิพนธไปเปนการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต)

แกไขปรับปรุงตามความเห็นของกรรมการฯ

แกไขปรับปรุงตามความเห็นของกรรมการฯ

การสอบปองกัน มีกรรมการผูทรงคุณวุฒิภายนอกรวมเปนกรรมการสอบ

มีคณะกรรมการผูทรงคุณวุฒิเปนกรรมการสอบ

มีการประเมินในช้ันเรียนโดยคณะกรรมการซึ่งแตงต้ังจากคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

การจัดทําบทความและการตีพิมพเผยแพรผลงาน

ตองจัดทําบทความวิชาการจากการทําวิทยานิพนธเพื่อตีพิมพเผยแพรผลงานทางวิชาการ 1 ช้ิน

ไมจําเปนตองการจัดทําบทความวิชาการจากการศึกษาอิสระเพื่อตีพิมพเผยแพร

ไมจําเปนตองการจัดทําบทความวิชาการจากการศึกษาอิสระเพื่อตีพิมพเผยแพร

ระยะเวลาในการศึกษา ไมเกิน 5 ป นับจากภาคการศึกษาแรกท่ีเขาศึกษา

ไมเกิน 5 ป นับจากภาคการศึกษาแรกท่ีเขาศึกษา

ภายใน 1 ภาคการศึกษา นับจากไดรับการอนุมัติจากอาจารยท่ีปรึกษา

เกรดที่ไดรับ S หรือ U S หรือ U A, B+, B, C+, C, D+, D, หรือ F

การสอบประมวลความรู จะตองสอบกอนลงทะเบียนวิทยานิพนธหรือไมข้ึนอยูกับเง่ือนไขของแตละหลักสูตร

หลังจากการทํา การศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต)

หลังจากการทํา การศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต)

Page 29: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

บทที ่3

การเขียนเคาโครงวิทยานิพนธ

การเขียนเคาโครงวิทยานิพนธ เปนขั้นตอนสําคัญอีกขั้นตอนหนึ่งท่ีนักศึกษาตองกระทําภายหลังจากท่ีไดหัวขอวิทยานิพนธแลว ความสําคัญของการเขียนเคาโครงวิทยานิพนธ นอกจากเพ่ือเสนอตอคณะกรรมการกล่ันกรองเคาโครงฯ ใหพิจารณาวาเหมาะสมหรือไม และควรแกไขหรือปรับปรุงอยางไรแลว ยังเปนการวางกรอบและแนวทางการศึกษาเพ่ือใหบรรลุเปาหมาย มิใหเบ่ียงเบนไปจากขอตกลงตามท่ีไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการกล่ันกรองเคาโครงดวย ดังนั้นจึงอาจกลาวไดวา ‘เคาโครงวิทยานิพนธ’ จึงเปรียบเสมือน ‘แผนงานของวิทยานิพนธ’ ท่ีระบุความเปนมาหรือมีหลักการและเหตุผลอยางไรจึงตองทําการศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงคหรือเปาหมายอยางไร หรือตองการศึกษาหาคําตอบใหกับปญหาอะไร รวมท้ังขอบเขตวิทยานิพนธอยางไร เปนตน เคาโครงวิทยานิพนธประกอบดวย 3 บท คือ บทท่ี 1 บทนํา บทท่ี 2 แนวคิด ทฤษฎี และการทบทวนวรรณกรรมท่ีเกี่ยวของ และบทท่ี 3 ระเบียบวิธีการศึกษา ซ่ึงท้ัง 3 บทนี้ เปนสวนตนสวนหนึ่งของรายงานวิทยานิพนธ ในขั้นตอนการเขียนเคาโครงนี้เปนเหมือนการเขียนแผนงานวาจะดําเนินงานเพ่ือใหบรรลุเปาหมาย หรือตอบปญหาท่ีศึกษาไดอยางไร เปนแผนท่ีคาดวาจะลงมือปฏิบัติในอนาคต ยังไมไดลงมือทําหรือเก็บขอมูลจริง ดังนั้นเคาโครงวิทยานิพนธ จึงนําเสนอในมิติของการวางแผนวาจะลงมือกระทํางานอยางไรบาง รายละเอียดเกี่ยวกับการเขียนท้ัง 3 บท มีพอสังเขป ดังนี ้ บทที ่1 บทนํา

1.1 ความเปนมาและความสําคญัของปญหา 1.2 วัตถุประสงคของการศึกษา 1.3 ขอบเขตของการศึกษา 1.4 คํานิยามศัพทหรือคํานิยามเชิงปฏิบัติการ (ถามี) 1.5 ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ

บทที ่2 แนวคิด ทฤษฎ ีและงานวิจัยที่เกี่ยวของ 2.1 แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยท่ีเกี่ยวของ 2.2 กรอบแนวคิดในการศึกษา 2.3 สมมติฐานในการศึกษา (ถามี)

Page 30: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

26

บทที ่3 ระเบียบวิธีการศึกษา 3.1 ประชากรและกลุมตัวอยาง 3.2 เครื่องมือท่ีใชเก็บขอมูล 3.3 การทดสอบความแมนตรง และความเช่ือถือไดของเครื่องมือ 3.4 การเก็บรวบรวมขอมูล 3.5 การวิเคราะหขอมูล 3.6 ระยะเวลาท่ีใชในการศึกษา 3.7 ขอจํากัดของการศึกษา (ถามี)

ในแตละหัวขอมีคําอธิบายในรายละเอียดดังตอไปนี ้

Page 31: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

27

บทที ่1

บทนํา

1.1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา ความเปนมาและความสําคัญของปญหานี้เปนสวนประกอบสําคัญสวนแรกของเคาโครงวิทยานิพนธ ซ่ึงจะเปนสวนท่ีกําหนดแนวทางกวางๆ ท่ัวไปเกี่ยวกับเรือ่งท่ีจะทําการศึกษา โดยช้ีใหเห็นถึงความสําคัญของประเด็นหรือปญหาท่ีเลือก คําถามเกี่ยวกับปญหา วัตถุประสงค สมมติฐาน รวมท้ังประโยชนท่ีพึงจะไดรับจากการศึกษา แนวทางการเขียนความเปนมาและความสําคัญของปญหา ส่ิงแรกท่ีนักศึกษาตองกลาวถึง คือ เหตุผลท่ีตนเลือกศึกษาเรื่องนั้น หรือ อีกนัยหนึ่ง ก็คือ แสดงถึงความสําคัญของเรื่องท่ีเลือกศึกษานั้น โดยเฉพาะอยางยิ่งตองอธิบายใหไดวา ปญหาหรือเรื่องดังกลาว มีท่ีมา มีเหตุผล มีความจําเปน และมีความสําคัญอยางไร จึงควรคาแกการศึกษาหาคําตอบตอปญหานี ้ การเขียนความเปนมาและความสําคัญของปญหา ในบางกรณีอาจตองกลาวถึงความเปนมาของปญหาหรือเรื่องท่ีจะศึกษา บรรยายอยางยอ ถึงสภาพแวดลอม ท่ีเกี่ยวของ หรือ อาจตองอางถึงผลการศึกษาวิจัยในเรื่องทํานองนีว้า ไดผลประการใด และยังมีจุดออน ขอควรแกไข หรือ ประเด็นท่ีควรศึกษาเพ่ิมเติมรวมท้ังศึกษาในตางเวลา หรือ ตางพ้ืนท่ีทางภูมิศาสตร เพ่ือใหไดความรูท่ีสมบูรณยิ่งขึ้น กลาวอีกนัยหนึ่งก็คือ เปนการหาชองวาง (gap) ของเรื่องท่ีศึกษา การเขียนขอความขางตนนี้สามารถเขียนได 2 ลักษณะ คือ ลักษณะหนึ่งเปนขอความในทางบวก กลาวคือระบุวา ปญหาหรือเรื่องท่ีจะศึกษานั้นมีความสําคัญอยางไร อีกลักษณะหนึ่งเปนขอความในทางลบ กลาวคือระบุวา ถาหากไมทําการศึกษาในปญหานั้น แลวจะเกิดผลเสียอะไรบาง การท่ีจะเลือกเขียนขอความในลักษณะใดนั้น ไมมีกฎเกณฑหรือกติกาตายตัว แตจะขึ้นอยูกับความสันทัดและความพอใจของผูศึกษาเอง รวมท้ังขึ้นอยูกับลักษณะของปญหาหรือเรื่องท่ีจะศึกษาดวย กลาวโดยสรุป ในสวนของความเปนมาและความสําคัญของปญหา เปนสวนท่ีบรรยายเพ่ือโนมนาวความคิดของผูอานใหคลอยตาม และเห็นความสําคัญ ความนาสนใจ และประโยชนท่ีไดรับจากการหาคําตอบของประเด็นหรอืปญหาท่ีจะทําการศึกษาใหได

Page 32: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

28

1.2 วัตถุประสงคของการศึกษา

ลักษณะท่ีสําคัญของการเขียนวัตถุประสงค คือ จะตองระบุใหชัดเจนวา ในการศึกษาจะตองการบรรลุวัตถุประสงคใดบาง โดยจะตองเช่ือมโยงกับหัวขอ ความสําคัญของปญหา และขอบเขตของการศึกษาท่ีเขียนไวในตอนตน และตอบคําถามหรือปญหาในการศึกษาและสอดคลองกับกรอบแนวคิดท่ีกําหนดไว การกําหนดวัตถุประสงคหรือเปาหมายของการศึกษาใหชัดเจนไวในตอนตนเชนนี้จะชวยใหการเขียนสมมติฐาน ประโยชนท่ีจะไดรับ ตลอดจนการเก็บรวบรวมขอมูลเปนไปไดอยางตรงประเด็น ในบางกรณีอาจมีการระบุเปน ‘วัตถุประสงคหลัก’ และแตกแยกเปน ‘วัตถุประสงคยอย’ เพ่ิมเติม เพ่ือครอบคลุมเปาหมายของการศึกษาท้ังหมด

1.3 ขอบเขตของการศึกษา

เม่ือนําเสนอความสําคัญของปญหา หรือเรื่องท่ีจะทําการศึกษาแลว ตองระบุถึงขอบเขตของการศึกษาตามหัวขอเรื่องหรือปญหาท่ีแจงไวตอนตน การกําหนดขอบเขตของการศึกษานี้เปนส่ิงสําคัญอยางมากสําหรับการศึกษา เพราะเปนส่ิงท่ีช้ีใหเห็นถึงความเปนไปไดของโครงการวิทยานิพนธ ไดเปนอยางด ี โดยท่ัวไปแลวขอบเขตของการศึกษาจะกระทําใน 2 ระดับ คือระดับหนึ่งเปนขอบเขตท่ีกําหนดไวในหัวเรื่องเลย อีกระดับหนึ่งเปนขอบเขตท่ีกําหนดในรายละเอียดของเคาโครงวิทยานิพนธ การกําหนดขอบเขตไวในหัวเรื่องอาจทําไดบางแตอาจทําไดไมสมบูรณ โดยเฉพาะในกรณีท่ีมีขอบเขตหรือขอจํากัดอยูหลายประการ ตัวอยางเชน ช่ือเรื่อง “การศึกษาทัศนคติของเยาวชนท่ีมีตอผูสูงอาย ุ : ศึกษาเฉพาะกรณีของเยาวชนในเขตกรุงเทพมหานคร” ซ่ึงถาหากตองการจะกําหนดขอบเขตใหมากกวานี้ในหัวเรื่อง ก็จะทําใหหัวเรื่องยาวมากทําใหไมเหมาะสม การท่ีจะกําหนดขอบเขตของการศึกษาไวในหัวเรื่องหรือไวในเคาโครงนั้นยังขึ้นอยูกับวัตถุประสงคหรือเปาหมายท่ีจะทําการศึกษาดวย กลาวคือ ถาการศึกษานั้นตองการศึกษาปญหาหรือเรื่องโดยท่ัวไป เพ่ือหาขอสรุปหรือพิสูจนสมมติฐานท่ีเปนหลักการ โดยท่ัวไป กรณีเชนนี้ก็ไมควรจํากัดขอบเขตไวในหัวเรื่องการศึกษา แตในทางตรงกันขาม หากการศึกษาประสงคจะใหไดผลเพ่ือตอบคําถาม หรือพิสูจนสมมติฐานในประเด็นท่ีเฉพาะเจาะจงบางอยาง กรณีเชนนี้สมควรจะใหหัวเรื่องส่ือความหมายในการจํากัดขอบเขตการศึกษาไวดวย

Page 33: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

29

การกําหนดขอบเขตของการศึกษานี้ หมายรวมถึงการท่ีจะใหความหมายและขอคิดเกี่ยวกับปญหาหรือเรื่องท่ีจะทําการศึกษานั้น ชัดเจนเหมาะสมยิ่งขึ้น ดังนั้นขอบเขตของการศึกษาในท่ีนี้จึงอาจหมายรวมถึง

(ก) ขอบเขตในทางวิชาการหรือทางทฤษฎี ไดแก การกําหนดขอสมมติบางประการเพ่ือใหการศึกษาเปนไปได เชน การตั้งขอสมมติฐานเกี่ยวกับคานิยมของวัยรุน ในการศึกษาเพ่ือทดสอบพฤติกรรมการบริโภคสินคาฟุมเฟอยของวัยรุน เปนตน หรือ ในการศึกษานี้ผูศึกษาสนใจท่ีจะนําเอาทฤษฎีใดมาใช (อาจมีหลายทฤษฎี) เปนการเลือกทฤษฎีใดทฤษฎีหนึ่งเฉพาะ

(ข) ขอบเขตในทางภูมิศาสตร ไดแก การกําหนดเลือกศึกษาเฉพาะภูมิภาค เฉพาะจังหวัด เฉพาะเขต เปนตน

(ค) ขอบเขตเกี่ยวกับระยะเวลา ไดแก การเลือกศึกษาเฉพาะชวงระยะเวลาหรือกําหนดระยะเวลา เชน ระหวาง พ.ศ. 2504 - 2544 หรือระหวางชวงแผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 1 – ฉบับท่ี 8 เปนตน

(ง) อ่ืนๆ เชน ขอบเขตทางกฎหมาย ขอบเขตทางประชากร กลุมตัวอยาง ขอบเขตในมิติตางๆ ทางสังคม เปนตน

ในสวนของการกําหนดขอบเขตของการศึกษานี ้ นักศึกษาควรกําหนดขอบเขตของปญหาหรือเรื่องท่ีจะศึกษาใหชัดเจน กระทัดรัดไดใจความ และเปนไปไดมากท่ีสุดเทาท่ีจะทําได แตก็ตองระวังไมใหเปนการกําหนดขอบเขตของการศึกษาจนกระท่ังไมอาจไดผลการศึกษาท่ีมีคุณคาท่ีชัดเจน

1.4 คํานิยามศัพทหรือคํานิยามเชิงปฏิบัติการ (ถามี)

โดยปกติแลวการกําหนดคํานิยามศัพทในเคาวิทยานิพนธนั้น จะกระทําเฉพาะกรณีท่ีมีคําศัพทบางคําในเคาโครงเปนคําท่ีมิไดเปนท่ีเขาใจกันโดยท่ัวไป เชน คําวา กระบวนทัศน ความแปลกแยก ภาวะถดถอย เปนตน นอกจากนี้ยังรวมถึงศัพทหรือวลีท่ีอาจเขาใจไดหลาย ๆ ลักษณะ และ/หรือจะนิยามขึ้นใหมเปนการเฉพาะสําหรับวิทยานิพนธนี้เทานั้น เชน ครัวเรือน ประชากรในวัยแรงงาน รายได เปนตน อยางไรก็ตาม นักศึกษาควรเขาใจวา โดยปกติแลวจะไมนิยมนิยามศัพทหรือวลีใดๆ ไว ในเคาโครงวิทยานิพนธ ยกเวนเฉพาะในกรณีท่ีถาหากไมนิยามไวใหชัดเจนแลว อาจมีผลใหผูอานเขาใจผิดหรือสําคัญผิดในสาระสําคญัของเคาโครงวิทยานิพนธเทานั้น

Page 34: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

30

นอกจากนั้น อาจเปนการนิยามตัวแปรท่ีตองการศึกษาก็ได

1.5 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ

ประเด็นนี้อาจกลาวไดวา เปนประเด็นท่ีสําคัญมากอีกประเด็นหนึ่งในเคาโครงวิทยานิพนธก็ได เพราะจะเปนขอท่ีใชประเมินวา วิทยานิพนธนี้มีผลท่ีจะนําไปใชใหเกิดประโยชนไดมากนอยเพียงใด ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับแตกตางจากวัตถุประสงคของการศึกษา กลาวคือ ในแงของวัตถุประสงคนั้นจะระบุวา การศึกษาเรื่องนั้น ๆ จะใหผลในเรื่องใดบาง ซ่ึงจะตอบปญหาของวิทยานิพนธไดวาท่ีเราสงสัยใครรู สนใจและทําการศึกษา จะใหผลใดๆ ปรากฎออกมาบาง แตในแงของประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับนี้จะระบุวา เม่ือทําศึกษาและไดผลดังท่ีคาดหมายตามวัตถุประสงคนั้นแลว จะนําผลท่ีไดรับนี้ไปใชทําอะไรไดบาง หรืออาจกลาวไดวา ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ เปนสวนตอของวัตถุประสงค เม่ือไดผลการศึกษาท่ีบรรลุวัตถุประสงคแลว ผลลัพทนี้จะนําไปใชประโยชนอะไรไดบาง ดังนั้นนักศึกษาจึงควรเขียนใหชัดเจนใหไดวางานท่ีตนทํานั้นจะใหผลไดท่ีเปนประโยชนในแงใด เพียงใด อยางไร

Page 35: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

31

บทที ่2

แนวคิด ทฤษฎ ีและงานวิจัยที่เกี่ยวของ ในบทนี้ควรจัดลําดับการเขียนเปน 3 ประเด็น คือ แนวคิดทฤษฎีและการทบทวนวรรณกรรมท่ีเกี่ยวของ หลักการและเหตุผลหรือกรอบแนวคิดในการศึกษา และสมมติฐานในการศึกษา (ถามี) แตละประเด็นมีแนวทางดังนี ้

2.1 แนวคิด ทฤษฎ ีและงานวิจัยที่เกี่ยวของ

นักศึกษาตองบรรยายถึงแนวคิด ทฤษฎี และการทบทวนวรรณกรรมตางๆ ท่ีเกี่ยวของกับหัวขอวิทยานิพนธท่ีมีผูทําการศึกษาหรือคิดคนเอาไว ซ่ึงเปนท่ียอมรับกันโดยท่ัวไปแลว มีลักษณะเปนไปในทํานองของการทบทวนวรรณกรรม หรือ วรรณกรรมปริทัศน (literature reviews) วัตถุประสงคของการทบทวนวรรณกรรมนี้เพ่ือสํารวจความรู แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยท่ีเกี่ยวของวา มีคําตอบท่ีผูอ่ืนไดเคยเผยแพรตีพิมพไวสําหรับเรื่องท่ีเปนปญหาของงานท่ีศึกษาหรือยัง ซ่ึงถามีคําตอบชัดเจนแลวก็ไมมีเหตุผลใดท่ีจะตองไปทําการศึกษาซํ้าใหเปนการเสียเวลาโดยเปลาประโยชน แตถายังไมมีคําตอบท่ีชัดเจนในคําถามดังกลาว ก็จะเปนโอกาสอันดีท่ีจะไดทําการศึกษาตอไป พรอมกันนี้ การทบทวนวรรณกรรมจะทําใหเขาใจในแนวคิดและทฤษฎีท่ีเกี่ยวของกับคําถามท่ีตองการทราบ และสงผลใหเกิดการสังเคราะหตัวแปรและเสนทางความสัมพันธจนพัฒนาเปนแนวคิดในการศึกษา ตลอดจนการตั้งสมมติฐานของการศึกษาอีกดวย การบรรยายในสวนนีเ้ปนเรื่องของศิลปะของผูศึกษาแตละคนอยางแทจริง เพราะวิธีการเขียนวรรณกรรมปริทัศนนั้นมีรูปแบบแตกตางกันไป และโดยปกติมักจะเขียนโดยผูกเรื่องท้ังหมดใหเขาแนวทางท่ีตองการเสียกอน แลวจึงเขียนบรรยายไปตามแนวทางนั้นโดยยกทฤษฎี แนวคิด หรือ ผลการวิจัยมาสนับสนุน ดังนั้นความสามารถในการผูกเรื่องโยงเขาหาประเด็นหลักของงานท่ีจะทํา และหาทฤษฎีแนวคิดตาง ๆมาสนับสนุนนั้นจึงเปนเรื่องเฉพาะตัว อยางไรก็ด ี วิธีหนึ่งท่ีควรจะหลีกเล่ียง ก็คือ การเขียนโดยบรรยายถึงทฤษฎีแตละทฤษฎี แนวคิดแตละแนวคิด หรือผลงานวิจัยแตละเรื่อง เรียงตามลําดับเรื่อยไป จนในท่ีสุดหาความตอเนื่องผสมผสานกลมเกลียวไมได ปญหาท่ีนักศึกษามักจะพบบอย ๆ คือ ไมสามารถหาแนวคิดทฤษฎีท่ีสอดคลองกับประเด็นท่ีจะศึกษา เพราะไมมีทฤษฎีวาดวยการนั้น หรือไมเคยมีแนวคิดอยางนั้น ๆ หรือไมเคยมีผูทํา

Page 36: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

32

การศึกษาเรื่องนั้นๆ มากอนเลย อันท่ีจริงปญหานี้เปนเรื่องปกติธรรมดา เพราะถาหากวามีทฤษฎีหรือแนวคิดตรงกับเรื่องท่ีจะศึกษาอยูแนชัดแลว หรือมีผูทําการศึกษาในเรื่องนั้นๆ ไวแลว ก็ไมนาจะมีเหตุผลท่ีจะตองทําการศึกษาในเรื่องนั้นใหซํ้าซอนอีก นักศึกษาจึงควรเขาใจวา แนวคิด ทฤษฎี หรือผลงานวิจัยโดยตรง หากเปนเพียงส่ิงท่ีมีสวนเขามาสนับสนุนการวางรากฐานแนวคิดในการศึกษาครั้งนี ้ และเปนสวนท่ีจะกําหนดแนวความคิดของการศึกษาท่ีจะเขียนในลําดับถัดไปใหมีน้ําหนักขึ้น ท้ังนี้เพราะโดยปกติแลว เรามักจะไดแนวคดิท่ีจะทําการศึกษาในเรื่องหนึ่งมาจากแนวคิดทฤษฎี หรือผลการวิจัยของผูอ่ืนท่ีไดทําขึ้นไวแลวท้ังนั้น อาจมีทฤษฎีอยูแลวแตเราเห็นวา นาจะทดสอบใหม อาจมีแนวคิดอยูแลว แตเราอยากวิเคราะหใหม โดยการเปล่ียนขอสมมติบางอยาง หรืออาจมีผลงานวิจัยอยูแลว แตเราเห็นวายังไมเหมาะสมถูกตอง เราจึงอยากจะทําการศึกษาใหม

2.2 กรอบแนวคิดในการศึกษา

หลังจากศึกษาแนวคิด ทฤษฎี ทบทวนวรรณกรรม และงานวิจัยท่ีเกี่ยวของแลว นักศึกษาจะตองทําการสรุปประเด็นสําคัญ เพ่ือนํามาผูกและสรางใหเปนกรอบแนวคิดในการศึกษา กรอบแนวคิดนี้หากเปนการศึกษาเชิงปริมาณ ตองแสดงถึงความสัมพันธของตัวแปรตาง ๆ แตถาเปนการศึกษาเชิงคุณภาพ ตองแสดงประเด็นท่ีจะทําการศึกษาใหชัดเจนดังตัวอยางท่ีแสดงไวในภาคผนวก

2.3 สมมติฐานในการศึกษา (ถามี)

สมมติฐาน หมายถึง ส่ิงท่ีตั้งเปนเปาหมายไวลวงหนาวา การศึกษานี้ตองการตอบคําถามหรือพิสูจนอะไร หรือส่ิงท่ีคาดวาจะไดรับเม่ือเสร็จส้ินการศึกษา งานวิทยานิพนธทุกเรื่องควรจะมีสมมติฐานท่ีแนชัดอยูดวย แตการตั้งสมมติฐานนั้นไมจําเปนตองตั้งเปนสมมติฐานทางสถิติเสมอไป อาจตั้งสมมติฐานเชิงบรรยายก็ได หากวิทยานิพนธนั้นเปนเชิงวเิคราะห สมมติฐานนั้นจึงอาจเปนไดท้ังสมมติฐานท่ีเฉพาะเจาะจง หรือ อาจตั้งเปนสมมติฐานอยางกวาง ๆ ไมเฉพาะเจาะจงก็ได การตั้งสมมติฐานนั้นจะงายถาหากขอบเขต วัตถุประสงคของการศึกษา และกรอบแนวคิดไดตั้งไวอยางดีและเหมาะสมตั้งแตตน เพราะสมมติฐานนั้นจะตองตัง้ขึ้นใหสอดคลองและเพ่ือท่ีจะไดทําการศึกษาตรงเปาหมาย วัตถุประสงคภายใตขอบเขตและกรอบแนวคิดท่ีกําหนดไวเปนอยางด ี

Page 37: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

33

บทที ่3

ระเบียบวิธีการศึกษา ในบทนี้นักศึกษาจะตองระบุใหชัดเจนวา การศึกษานี้เปนการศึกษาแบบใด กลาวคือเปน การศึกษาเชิงปริมาณ การศึกษาเชิงคุณภาพ หรือการทดลองนอกจากนี้อาจระบุในรายละเอียดเพ่ิมเติมเพ่ือขยายความชนิดของการศึกษาใหชัดเจนยิ่งขึ้น รวมถึงการออกแบบระเบียบวิธีในการศึกษาในประเด็นตาง ๆ ดังตอไปนี ้

3.1 ประชากรและกลุมตัวอยาง ควรเลือกประชากรท่ีใชในการศึกษาใหชัดเจน ซ่ึงเปนผูใหขอมูลหรือใหผลการศึกษาท่ีถูกตองและแมนยําตรงกับคําถามของการศึกษา จึงเปนเหตุผลสําคัญวาทําไมจึงตองศึกษาประชากรกลุมนี ้ อยางไรก็ตามในการศึกษาจริงอาจเลือกศึกษาในประชากรท้ังหมด หรือเลือกตัวแทนจากประชากร หรือ กลุมตัวอยาง เพ่ือเปนผูใหขอมูลหรือผลของการศึกษาแทนประชากรท้ังหมดได ในการเลือกตัวแทนหรือกลุมตัวอยางออกมาจากประชากรมีหลากหลายวิธี ท้ังนี้จะเลือกใชวิธีใดก็ตาม ท่ีสําคัญคอืผลของการเลือกจะตองใหไดกลุมตัวอยางท่ีมีปริมาณเพียงพอในการท่ีจะเปนตัวแทนท่ีดีของประชากร การศึกษาเชิงทําการทดลอง ควรระบุถึงรูปแบบท่ีทําการศึกษาใหชัดเจนวาเปนการทําการทดลองเรื่องใด เพ่ือศึกษาถึงปจจัยใด หรือตองการพิสูจนหรือตอบคําถามใด

3.2 เคร่ืองมือที่ใชเก็บขอมูล

การศึกษาเชิงปริมาณ/คุณภาพ ควรระบุชนิดของเครื่องมือท่ีใชในการเก็บขอมูล ตัวอยางเชน แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ แบบทดสอบ เครื่องบันทึกเสียง สมุดจดบันทึก เปนตน สําหรับแบบสอบถาม แบบสัมภาษณ และแบบทดสอบควรอธิบายถึงสวนประกอบของเนื้อหาวามีกี่สวน มีรายละเอียดอยางไรบาง อนึ่งเนื้อหาสวนนี้ควรสอดคลองกับวัตถุประสงคและกรอบแนวคิดของการศึกษา สวนการศึกษาเชิงการทดลองนั้นใหระบุวัตถุดิบ สารเคมีแหลงท่ีมาใหชัดเจน

Page 38: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

34

3.3 การทดสอบความแมนตรง และความเชื่อถือไดของเคร่ืองมือ

วิธีวิเคราะหผลหรือการประเมินผล ตองแสดงใหเห็นถึงวิธีการพัฒนาเครื่องมือท่ีใชในการศึกษา และการทดสอบเครื่องมือท้ังในดานความแมนตรง (validity) และความเช่ือถือได (reliability) ใหอยูในระดับท่ีนาพอใจกอนทําการเก็บรวบรวมขอมูลจริง หรือมีการทดสอบตามความแมนตรงและความนาเช่ือถือของวิธีวิเคราะหหรือการประเมินหรืออาจจะอางอิงจากวิธีท่ีมีผูอ่ืนเคยตีพิมพเผยแพรแลว รวมท้ังตําราตาง ๆ

3.4 การเก็บรวบรวมขอมูล ควรระบุรายละเอียดของการเก็บขอมูลใหชัดเจนวาไดมีการเก็บขอมูลอยางไร เชน การสัมภาษณเชิงลึก การสัมภาษณดวยตนเอง การนําแบบสอบถามใหกลุมตัวอยางตอบดวยตนเอง หรือ มีผูอ่ืนชวยเหลือ กลาวคือ เปนการอธิบายใหผูอานเขาใจชัดเจนเกี่ยวกับวิธีการเก็บ วันและเวลาท่ีเก็บ ลักษณะของการเก็บ สถานท่ีเก็บ เปนตน

3.5 การวิเคราะหขอมูล การอธิบายวิธีการวิเคราะหขอมูลในเคาโครงอาจจะกลาวอยางกวาง ๆ หรือโดยละเอียดก็ได ขึ้นอยูกับวานักศึกษาเองเตรียมวางแผนการลวงหนาไวอยางไร และหัวเรื่องท่ีทําการศึกษานั้นเอ้ือใหกําหนดแนวทางไดมากนอยเพียงใด อยางนอยท่ีสุดในแนวทางการวิเคราะหนี้ควรระบุวาจะใชวิธีการพิสูจนสมมติฐานอยางไร ใชเทคนิคการวิเคราะหแบบใด เปนตนวา วิเคราะหโดยใชแนวคิดทฤษฎีใด หรือวิเคราะหเชิงเสนตรง หรืออ่ืน ๆ นอกจากนี ้ ควรจะระบุเหตุผลประกอบวาเลือกใชเทคนิคนั้น ๆ เพราะเหตใุด รวมท้ังมีขอสมมติและขอจํากัดประการใดบางหรือไม อยางไรก็ด ีแนวทางในการวิเคราะหดังกลาวมานี้มิไดเปนขอผูกมัดผูศึกษาวาในการศึกษาจริงจะตองวิเคราะหตามแนวนี้เทานั้น เพราะเหตุวาในการศึกษาจริง อาจพบปญหาบางอยาง หรือมีเหตุการณบางอยางท่ีไมอาจวิเคราะหตามแนวทางนั้น ๆ ก็เปนได และการเปล่ียนแปลงปรับปรุงแนวทางท่ีเหมาะสมในขั้นศึกษาจริงจึงเปนไปได วิธีการวิเคราะห เชน การใชโปรแกรมสําเร็จรูปคอมพิวเตอร การใชเทคนิคหรือวิธีการเชิงปริมาณ

Page 39: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

35

3.6 ระยะเวลาที่ใชในการศึกษา

นักศึกษาตองระบุถึงส่ิงท่ีจะดําเนินการและระยะเวลาท่ีใชในการดําเนินการ นับตั้งแตการคนควาขอมูล ทบทวนวรรณกรรม การเตรียมเคาโครง การสรางเครื่องมือ การเก็บขอมูล เปนตน โดยปกติจะจัดทําเปนตารางหรือแผนภูมิ

3.7 ขอจํากัดของการศึกษา (ถามี)

การทําวิทยานิพนธนั้นถาหากนักศึกษาพบวามีขอจํากัดกค็วรจะเขียนขอจํากัดไวดวย ท้ังนี้เพราะการท่ีนักศึกษาไมเขียนถึงขอจํากัดหรือเตรียมอุดชองโหวตาง ๆ ไว จะทําใหเขาใจไดวา นักศึกษาไมทราบถึงปญหาอุปสรรคและรายละเอียดปลีกยอยท่ีตนทําการศึกษาดีพอ หรือไมทราบวางานของตนขาดความสมบูรณท่ีใดบาง ดังนั้นการแสดงวานักศึกษาไดคิดรอบคอบถึงประเด็นปญหาขอจํากัด และชองโหวตางๆ ใหไดมากท่ีสุดหรือท้ังหมด จึงเปนส่ิงท่ีดีและพึงกระทําแตตองระวัง ไมควรเขียนถึงขอจํากัดในลักษณะท่ีเปนการปกปองตนเอง จนกระท่ังทําใหคุณคาของวิทยานิพนธหมดส้ินไปเพราะมีขอจํากัดมากจนทําอะไรไมได

การนําเคาโครงการศึกษาไปเปนสวนหนึ่งของรายงานฉบับสมบูรณ อนึ่ง การจัดทําเคาโครง หรือแผนงานการศึกษา ซ่ึงประกอบดวย บทท่ี 1 – 3 นี้ สามารถนําท้ัง 3 บทนี้ไปเปนสวนแรกของรูปเลมรายงานฉบับสมบูรณ เม่ือเสร็จส้ินการศึกษาและจัดทําตอในบทท่ี 4 ผลการศึกษา และบทท่ี 5 การอภิปรายผลการศึกษา อยางไรก็ตามการนําสวนของเคาโครงไปใชในรายงานฉบับสมบูรณจะตองปรับเนื้อหาตางๆ ใหทันสมัยทันตอเหตุการณ และเปนไปตามความเปนจริงของการศึกษา เพราะวาเม่ือเวลาผานไปอาจมีเนื้อหาความรูท่ีทันสมัยยิ่งขึ้น และในการทําการศึกษาจริงอาจแตกตางคลาดเคล่ือน หรืออาจตองปรับใหเขากับสถานการณจริง ซ่ึงอาจตางจากท่ีเคยวางแผนไวก็เปนได

Page 40: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

บทที ่4

สวนประกอบของวิทยานิพนธ

ในการจัดพิมพรูปเลมวิทยานิพนธ มีสวนประกอบใหญๆ แบงออกไดเปน 2 สวน คือ 4.1 สวนเนื้อหาของการศึกษา 4.2 สวนประกอบของรายงานฉบับสมบูรณ

4.1 สวนเนื้อหาของการศึกษา

สวนท่ีเปนเนื้อหาของการศึกษาโดยตรง นิยมเรียบเรียงและแบงเปนบท (Chapter) ตามลําดับดังนี้

บทท่ี 1 บทนํา บทท่ี 2 แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยท่ีเกี่ยวของ บทท่ี 3 ระเบียบวิธีการศึกษา บทท่ี 4 ผลการศึกษา บทท่ี 5 สรุปผลการศึกษา อภิปรายผลและขอเสนอแนะ

บรรณานุกรม ภาคผนวก (ถามี)

ในบางกรณีการแบงเปนบทๆ อาจแตกตางไปจากนี้ ขึ้นอยูกับเนื้อหา ความเหมาะสม และความปรารถนาของผูศึกษา ตัวอยางเชน ผลการศึกษาในบางครั้งอาจมีเนื้อหาหลายประเด็นและมีปริมาณมาก ซ่ึงอาจแยกผลการศึกษา (บทท่ี 4) ออกเปนหลายบทกไ็ด หรือ ผูศึกษาบางทานอาจแยกบทท่ี 5 สรุปผลการศึกษา อภิปรายผล ขอเสนอแนะ (Conclusion, Discussion & Recommendations) ออกไปเปน 2 บท ไดแก บทท่ี 5 อภิปรายผล (Discussion) และบทท่ี 6 สรุปผลการศึกษาและขอเสนอแนะ (Conclusion & Recommendations) เปนตน ซ่ึงจะขอกลาวท้ัง 7 สวน พอสังเขปดังนี้ (แสดงตัวอยางท้ังหมดไวในภาคผนวก ดานทายเลม) 4.1.1 บทนํา (Introduction) เปนช่ือของบทท่ี 1 กลาวถึงความเปนมา และความสําคัญของปญหา วัตถุประสงค ขอบเขต คํานิยามศัพท และประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ

Page 41: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

37

4.1.2 แนวคิด ทฤษฎ ีและงานวิจัยที่เกี่ยวของ (Literature Reviews) มักจัดใหเปนบทท่ี 2 ซ่ึงเกี่ยวกับวรรณกรรมปริทัศนท่ีเกี่ยวของ ทฤษฎี แนวคิด งานวิจัยท่ีเกี่ยวของกับเรื่องท่ีศึกษา 4.1.3 ระเบียบวิธีการศึกษา (Methodology) เปนบทท่ีบรรยายถึงวิธีการท่ีใชในการศึกษาโดยละเอียดวามีขั้นตอนในการทําอยางไรบาง แตละขั้นตอนใชเอกสารขอมูลหรือเครื่องมือประเภทใด ชนิดใด เอกสารขอมูลหรือเครื่องมือนั้นๆ ไดมาอยางไร ตลอดจนการวิเคราะหขอมูล 4.1.4 ผลการศึกษา (Results) เปนการนําผลท่ีไดจากการเก็บและวิเคราะหขอมูล ซ่ึงอาจนําเสนอในรูปของการบรรยายเปนขอความ ตาราง กราฟ และแผนภูมิ โดยเนนการนําเสนอผลการศึกษาท่ีชัดเจน เขาใจไดงาย 4.1.5 สรุปผลการศึกษา อภิปรายผล ขอ เสนอแนะ (Conclusion, Discussion & Recommendations) ในบทนี้จะเริ่มตนดวยการสรุปผลการศึกษาจากขอมูลท่ีนําเสนอในบทของผลการศึกษาเฉพาะท่ีสําคัญ แลวจึงอภิปรายผลท่ีไดเม่ือเปรียบเทียบกับการศึกษาของผูอ่ืนท่ีเกี่ยวของใกลเคียงกัน และความเห็นของผูทําการศึกษาตอประเดน็เหลานี้ ตามดวยขอจํากัดของการศึกษาครั้งนี้ (ถามี) และจะสรุปดวยขอเสนอแนะจากตัวผูท่ีทําการศึกษา โดยเฉพาะสําหรับผูท่ีตองการศึกษาตอยอดในประเด็นเหลานี้ตอไป ตลอดจนประโยชนในทางประยุกตผลการศึกษาท่ีได 4.1.6 บรรณานุกรม (Bibliography) ในวิทยานิพนธ หรือ การศึกษาอิสระ แตละเรื่องจะตองมีรายการอางอิง อันไดแก แหลงขอมูลท่ีใชอางอิงท้ังหมด ซ่ึงประกอบดวย รายช่ือหนังสือ วารสารของผูแตงท้ังภาษาไทยและภาษาตางประเทศ website ตางๆ บรรณานุกรมจะอยูตอจากสวนเนื้อเรื่องและกอนภาคผนวก (จะกลาวถึงวิธีการเขียนอางอิงและบรรณานุกรมในบทท่ี 6 และ7) 4.1.7 ภาคผนวก (Appendix) คือ ขอความท่ีไมสามารถบรรจุอยูในสวนเนื้อหา แตเปนสวนท่ีเสริมใหเกิดความเขาใจชัดเจนขึ้น ภาคผนวกเปนขอมูลท่ีใชในการเขียนวิทยานิพนธ หรือ การศึกษาอิสระ แตไมไดอางอิงโดยตรงหรือไมสมควรอางอิงในสวนเนื้อหา เพราะมีความยาวมากหรือไมเหมาะสมแกการพิมพไวในสวนเนื้อหา หนาแรกของภาคผนวกใหขึ้นหนาใหมมีคําวา ‘ภาคผนวก’ อยูกลางหนากระดาษ ในกรณีท่ีมีหลายภาคผนวกใหใชเปนผนวก ก ผนวก ข ผนวก ค แตละภาคผนวกใหขึ้นหนาใหม

Page 42: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

38

อนึ่ง บทคัดยอ ซ่ึงเปนสวนหนึ่งท่ีสําคัญท่ีสรุปผลการศึกษาท้ังหมดไวในเนื้อความ 1-2 หนา จะไมปรากฏในสวนนี้ แตนิยมจัดทําไวในสวนหนาของรูปเลมถัดจากหนาปกและหนาอนุมัติ บทท่ี 1-3 อันไดแก บทนํา แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยท่ีเกี่ยวของ และระเบียบวิธีการศึกษา จะเปนในลักษณะเดียวกันกับเคาโครงงานวิทยานิพนธ แตอาจตองปรับใหเนื้อหาทันสมัย และแสดงระเบียบวิธีการศึกษาจริงท่ีไดดําเนินการไป เพ่ือใหเหมาะสมกับเปนรายงานการศึกษาท้ังหมด

4.2 สวนประกอบของรายงานฉบับสมบูรณ

ในสวนนี้จะประกอบดวยท้ังสวนนําและสวนปดทายของรายงานฉบับสมบูรณ ซ่ึงสวนนําจะประกอบดวย หนาปก หนาอนุมัติ บทคัดยอ กิตติกรรมประกาศ สารบัญ สารบัญอ่ืน ๆ (ถามี) และคําอธิบายสัญลักษณและคํายอ (ถามี) ซ่ึงท้ัง 7 สวนนี้อยูดานหนาและเรียงตามลําดับ กอนสวนเนื้อหาของการศึกษา และจะตอทายปดเลมดวย ประวัติผูเขียน เปนอันจบรายงานฉบับสมบูรณ ดังมีรายละเอียด ดังนี ้ 4.2.1 หนาปก (Cover) หมายถึง หนาท่ีระบุช่ือหัวเรื่องของวิทยานิพนธ หรือการศึกษาอิสระ ท้ังภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ช่ือพรอมนามสกุลของผูเขียน และใหใชคํานําหนานาม เชน นาย นางสาว นาง และไมตองเขียนคุณวุฒิใด ๆ ไวทายช่ือ เพราะรายละเอียดดังกลาวจะปรากฏอยูในประวัติผูเขียนอยูทายเลม แตถามียศ ฐานันดรศักดิ ์หรือสมณศักดิ์ก็ใหใสไวดวย 4.2.2 หนาอนุมัติ (Approved Page) ของวิทยานิพนธ ถาเขียนเปนภาษาไทย ใหเขียนหนาอนุมัติเปนภาษาไทย ถาเขียนวิทยานิพนธเปนภาษาอังกฤษหรือภาษาตางประเทศอ่ืนใด ก็ใหเขียนหนาอนุมัติเปนภาษาท่ีใชเขียนวิทยานิพนธนั้น ๆ 4.2.3 บทคัดยอ (Abstract) เปนสวนท่ีสําคัญท่ีสุดสวนหนึ่งของวิทยานิพนธ เนื่องจากเปนการสรุปผลการศึกษาท่ีทําใหผูอานทราบถึงเนื้อหาของวิทยานิพนธ หรืองานท้ังหมดอยางส้ันและกระทัดรัด สวนประกอบของบทคัดยอท่ีสําคัญ มีดังนี้ วัตถุประสงค และขอบเขตของการศึกษา วิธีการศึกษา รวมถึงเครื่องมือท่ีใช วิธีการเก็บขอมูล จํานวนและลักษณะของกลุมท่ีศึกษา ผลการศึกษา รวมถึงระดับนัยสําคัญทางสถิต ิ(ถามีการทดสอบ) ลักษณะของบทคัดยอท่ีดี ควรมีลักษณะดังนี ้

Page 43: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

39

- เปนการเขียนรอยแกวตอเนื่องกันไป หลีกเล่ียงการใชเลขลําดับขอหรือยอหนา - ความถูกตอง โดยระบุจุดประสงคและเนื้อหาของเรื่องตามท่ีปรากฏในเลม - ความสมบูรณ เชน คํายอ คําท่ีไมคุนเคย ใหเขียนเต็มเม่ือกลาวถึงครั้งแรก ไมจําเปนตอง

อางเอกสารอางอิง ยกตัวอยาง ยกขอความ สมการ ตาราง หรือ ภาพวาดใดๆ - การกําหนด คําสําคัญ (Key Words) ในบทคัดยอ สําหรับทําดรรชนีเพ่ือการสืบคน

สามารถใชพจนานุกรมราชบัณฑิตยสถาน หรือ Dictionary ซ่ึงเปนท่ียอมรับกันท่ัวไปเปนแนวทางในการสะกดคํา

- ควรใชคําเฉพาะท่ีกระชับ ชัดเจน ประโยคแตละประโยคมีความหมาย โดยเฉพาะประโยคนํา พยายามเขียนใหส้ันท่ีสุด

- ความนาอานและราบรื่น ควรคํานึงถึงหลักการใชภาษาตามความเหมาะสม ในกรณีท่ีเขียนบทคัดยอเปนภาษาตางประเทศ ใหคํานึงถึงการใชกาล (Tense) ใหถูกตองตามมาตรฐานท่ีใชกันในแตละสาขาวิชา ตัวอยางเชน สมาคมจิตวิทยาอเมริกัน (APA) กําหนดไววาเม่ือกลาวถึง วัตถุประสงค สมมติฐาน วิธีศึกษา และการทดสอบใหใชอดีตกาล (Past Tense) ในสวนท่ีเปน รายงานผลการศึกษา สรุป และประยุกตผลการศึกษา ใหใชปจจุบันกาล (Present Tense) ใหถูกตอง

4.2.4 กิตติกรรมประกาศ (Acknowledgements) คือ ขอความกลาวขอบคุณผูชวยเหลือและใหความรวมมือในการศึกษาเพ่ือเขียนวิทยานิพนธ เปนการแสดงถึงจรรยาบรรณทางวิชาการท่ีผูศึกษาควรถือปฏิบัต ิ 4.2.5 สารบัญ (Index) เปนรายการท่ีแสดงถึงสวนประกอบท้ังหมดของวิทยานิพนธ โดยเรียงตามลําดับเลขหนา 4.2.6 สารบัญอื่นๆ (Other Index-ถามี) เชน สารบัญตาราง สารบัญภาพ หรือสารบัญแผนภูมิ เปนสวนบอกเลขหนาของตาราง ภาพ หรือแผนภูมิท้ังหมดท่ีมีอยู 4.2.7 คําอธิบายสัญลักษณและคํายอ (Symbol & Abbreviate-ถามี) เปนสวนอธิบายถึงสัญลักษณและคํายอตางๆ ท่ีใช ท้ัง 7 สวนนี้เปนสวนท่ีอยูดานหนา โดยเรียงลําดับจาก 4.2.1 ถึง 4.2.7 และอยูกอนสวนเนื้อหาของการศึกษาท้ังหมด (4.1.1-4.1.7) และจะตามดวยสวนปดทายหรือหนาสุดทายของรายงานฉบับสมบูรณ ซ่ึงไดแก ประวัติผูเขียน

Page 44: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

40

4.2.8 ประวัติผูเขียน (Biography) ประวัติผูเขียนใหเขียนเปนประเด็น โดยแยกเปนขอ ๆ ดังนี ้ - ช่ือนามสกุล พรอมคํานําหนา ไดแก นาย นางสาว นาง ถามียศ ฐานันดรศักดิ ์ สมณศักดิ ์หรือตําแหนงทางวิชาการ ก็ใหใสไวดวย - วัน เดือน ป และสถานท่ีเกิด - วุฒิการศึกษาตั้งแตขั้นปริญญาบัณฑิตหรือเทียบเทาขึ้นไป สถานศึกษา และปการศึกษาท่ีสําเร็จการศึกษา - ประสบการณ ผลงานทางวิชาการ รางวัลทางวิชาการ รางวัลหรือทุนการศึกษาเฉพาะท่ีสําคัญ - ตําแหนงและสถานท่ีทํางานของผูเขียน

Page 45: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

บทที ่5

วิธีการพิมพวิทยานิพนธ

เพ่ือใหการพิมพวิทยานิพนธมีความเปนระเบียบและเหมาะสม ควรปฏิบัติตามวิธีการดังตอไปนีอ้ยางเครงครัด

5.1 ตัวพิมพและกระดาษที่ใชพิมพ

ใหใชตัวพิมพจากคอมพิวเตอร โดยตัวอักษรเปนสีดําและเปนตัวพิมพแบบเดียวกันท้ังเลม ใชอักษร Angsana new ขนาด 16 points ยกเวนขอความท่ีตองการเนน เชน หัวขอเชิงอรรถ หรือ บรรณานุกรม สําหรับกระดาษท่ีใชพิมพใหใชกระดาษปอนดไมมีบรรทัดชนิด 80 แกรม ขนาด A-4 ยี่หออะไรก็ได โดยใหพิมพเพียงหนาเดียว การใชตัวเลขในการพิมพไมวาจะอยูในเนื้อเรื่องหรือการลําดับหนาบทหรือหัวขอก็ตาม จะใชตัวเลขไทยหรืออารบิกก็ได แตตองใชอยางเดียวกันโดยตลอดท้ังเลม

5.2 การเวนขอบของกระดาษและการขึ้นบรรทัดใหม

หัวกระดาษตอนบนและขอบซายมือใหเวนท่ีวางไวประมาณ 11/2 นิ้ว ตอนลางและขอบขวามือเวนไวประมาณ 1 นิ้ว ถาพิมพคําสุดทายไมจบในบรรทัดนั้น ๆ ใหยกคํานั้นท้ังคําไปพิมพในบรรทัดถัดไป หามนําสวนทายของคําไปพิมพในบรรทัดใหม เชน คําวา ปรารถนา หามแยกบรรทัดเปน ปรา-รถนา หรือ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรต ิ หามแยกเปน มหาวิทยาลัยหัว-เฉียวเฉลิมพระเกียรต ิ

5.3 การเวนระยะการพิมพ

การเวนระยะระหวางบรรทัดใหเวน 1 บรรทัด สวนการยอหนาใหเวนระยะจากแนวปกติซายมือประมาณ 1/2 นิ้ว และตองใหเหมือนกันหมดท้ังเลม และระยะการพิมพของแตละประโยคหรือ วลีใช 1 เคาะ และตองใหเหมือนกันท้ังเลม

Page 46: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

42

5.4 การขึ้นหนาใหม

ถาพิมพมาถึงบรรทัดสุดทายของหนากระดาษและจะตองขึ้นหนาใหม แตมีขอความเหลืออีกเพียงบรรทัดเดียวก็จะจบยอหนาเดิม ใหพิมพตอไปในหนาเดิมจนจบยอหนา แลวจึงขึ้นยอหนาใหมในหนาถัดไป

แตถาจะตองขึ้นยอหนาใหมแตมีเนื้อท่ีเหลือใหพิมพไดอีกเพียงบรรทัดเดียวในหนานั้น ใหยกยอหนานั้นไปตั้งตนพิมพในหนาถัดไป

5.5 การลําดับหนา

ในการลําดับหนาท้ังหมดอาจจะแบงออกไดเปน 5.5.1 การลําดับหนาของสวนนํา ซ่ึงประกอบดวย หนาอนุมัติ (Approved Page) บทคัดยอ (Abstract) กิตติกรรมประกาศ (Acknowledgements) สารบัญ (Index) สารบัญอ่ืน ๆ (Other Index-ถามี) และคําอธิบายสัญลักษณและคํายอ (Symbol & Abbreviate-ถามี) ใหใชตัวเลขในเครื่องหมายวงเล็บ (1), (2), (3), ... หรือ (๑), (๒), (๓), … โดยพิมพไวตรงกลางกระดาษหางจากขอบบนของกระดาษ 1/2 นิ้ว 5.5.2 การลําดับหนาที่เหลือ ซ่ึงไดแก สวนท่ีเปนเนือ้หาของการศึกษา ซ่ึงประกอบดวย บทนํา (Introduction) ทบทวนวรรณกรรม (Literature Reviews) ระเบียบวิธีการศึกษา (Method) ผลการศึกษา (Results) สรุปผลการศึกษา อภิปรายผล และขอเสนอแนะ (Conclusion, Discussion & Recommendations) บรรณานุกรม (Bibliography) และภาคผนวก (Appendix) (ถามี) รวมถึงสวนทาย ไดแก ประวัติผูเขียน (Biography) ใหพิมพตัวเลขโดยไมตองมีวงเล็บท่ีมุมขวาบน หางจากขอบบนของกระดาษ 1 นิ้ว และหางจากขอบขวา 1 นิ้ว

5.6 การพิมพบทและหัวขอในบท

5.6.1 บท เม่ือขึ้นบทใหมใหขึ้นหนาใหมทุกครั้ง และตองมีเลขลําดับบท โดยพิมพคําวา “บทท่ี........” ไวท่ีกลางหนากระดาษหางจากขอบบน 11/2 นิ้ว บรรทัดตอมาใหพิมพช่ือบทไวท่ีกลางหนากระดาษเชนเดียวกัน โดยใหเวนระยะหางจากบทท่ี ...... 2 บรรทัด

Page 47: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

43

ถาช่ือบทนั้นยาวเกินกวา 1 บรรทัด หรือ มากกวา 48 ตัวอักษร ใหแบงเปน 2-3 บรรทัดตามความเหมาะสม โดยใหพิมพเรียงลงมาในลักษณะของสามเหล่ียมหัวกลับ ไมตองขีดเสนใตช่ือบท แตใหใช ตัวเนนขอความ หรือ ตัวเขม (bold) ตอจากนั้นจึงจะเริ่มพิมพเนื้อเรื่องตอไปหางจากช่ือบท 2 บรรทัด 5.6.2 หัวขอใหญและหัวขอยอย การพิมพหัวขอใหญ หมายถึง หัวขอสําคัญในแตละบทใหใชตัวเนนขอความ หรือ ตัวเขม (bold)โดยพิมพไวกลางหนากระดาษ ถาหัวขอใหญนั้นไมไดอยูบนสุดของกระดาษใหเวนระยะ 1 บรรทัดกอนและจึงคอยขึ้นหัวขอใหญ แตถาหากขึ้นหัวขอใหญแลวมีท่ีวางสําหรับพิมพ เนื้อเรื่องไดไมมากกวา 1 บรรทัด ก็ใหยกหัวขอนั้นไปอยูในหนาถัดไป ถาในหัวขอใหญยังมีหัวขอยอยอีก ใหพิมพหัวขอยอยดังกลาวไวท่ียอหนาใหม โดยเวนระยะพอสมควร และหากมีหัวขอยอยลงไปอีกก็ใหขึ้นบรรทัดใหมเวนระยะใหเยื้องกับหัวขอใหญ ลําดับกอนหนานั้น โดยใชหลักเกณฑของการใหเลขกํากับ 5.6.3 การใหเลขกํากับ การใหเลขกํากับหัวขอในแตละบทใหเริ่มจากหมายเลข 1, 2, 3, … ตามลําดับในหัวขอใหญ และหัวขอยอยท่ีอยูภายใตหัวขอใหญท่ี 1 ใหเปน 1.1, 1.2, 1.3 ... และหากยังมีหัวขอยอยในขอ 1.1 อีกก็ใหเปน 1.1.1, 1.1.2, 1.1.3 … (หากเกนิกวา 3 ตัวเลขขึ้นไป ควรใช 1) หรือ (1) แทน)

5.7 การพิมพตาราง

การพิมพตาราง ใหพิมพคําวา ตารางพรอมท้ังเลขกํากับ เชน ตารางท่ี 1.1 หรือ ตารางท่ี 1 ไวตรงกลาง หางจากขอบซายและขอบขวาเทากัน และหางจากขอความตอนบนกอนขึ้นตาราง 2 บรรทัดในบรรทัดตอมาถัดจากช่ือตารางใหเวน 1 บรรทัด ถาหากช่ือ ตารางยาวเกินกวา 1 บรรทัด ใหพิมพบรรทัดตอมาในลักษณะของสามเหล่ียมหัวกลับเชนเดียวกันกับช่ือบท ในกรณีท่ีตารางมีความยาวเกินกวาหนึ่งหนา ตองระบุ “ตารางท่ี X (ตอ)” ไวท่ีดานบนของตารางสวนท่ีเกินและขึ้นหนาใหมเสมอ โดยไมตองระบุช่ือตาราง เม่ือจบตารางใหเวน 2 บรรทัดแลวจึงพิมพขอความตอไป

Page 48: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

44

5.8 แหลงอางอิงและเชิงอรรถของตาราง

ใหลงแหลงอางอิงท่ีใตตาราง โดยพิมพไวใตตารางหางจากตาราง 1 บรรทัด ในกรณีท่ีมีเชิงอรรถหรือมีหมายเหตุสําหรับตารางนั้น ใหพิมพหมายเหตุถัดจากแหลงอางอิงลงมา โดยเวน 1 บรรทัด เม่ือจบเชิงอรรถใหเวน 2 บรรทัดแลวจึงพิมพขอความตอไป ขนาดของตารางไมควรใหญเกินกวาหนากระดาษเวนแตจําเปน ถาตารางใหญเกินกวาครึ่งหนาและตองพิมพแยกในอีกหนาหนึ่งตางหาก ใหพิมพช่ือตารางและแหลงอางอิงตาง ๆ โดยจัดใหท้ังหมดอยูกลางหนากระดาษ ในเนื้อเรื่องหากมีการอางอิงถึงตารางใด ก็ใหอางถึงเลขกํากับตารางนั้นดวยทุกครั้ง

5.9 การพิมพบรรณานุกรม

ใหพิมพคําวา บรรณานุกรม ไวตรงกลางบรรทัดบนสุดของหนาแรกของบรรณานุกรม โดยพิมพหางจากขอบบน 11/2 นิ้ว ตอจากนั้นใหเวน 2 บรรทัด แลวพิมพรายละเอียดของบรรณานุกรม โดยแยกตามประเภทของเอกสารดังนี ้

ก. หนังสือ ข. บทความ (ในวารสารหรือหนังสือ) ค. เอกสารอ่ืนๆ (วิทยานิพนธ จุลสาร เอกสารอัดสําเนาตาง ๆ) ง. การสัมภาษณ จ. ส่ิงพิมพ อิเล็กทรอนิกส ฉ. โสตทัศนวัสด ุ

ใหพิมพเอกสารแตละประเภท โดยแยกตามประเภทดังกลาวขางตน ในกรณีท่ีมีเอกสารจํานวนไมมาก จะใชวิธีเรียงตามลําดับตัวอักษรของช่ือผูแตงหรือช่ือเรื่อง โดยไมแยกประเภทของเอกสารก็ได และหากเอกสารภาษาตางประเทศดวย ใหพิมพแยกตางหากจากภาษาไทยโดยใหถือหลักการเดียวกับเอกสารภาษาไทย

5.10 ภาคผนวก

หนาแรกของภาคผนวกใหขึ้นหนาใหมมีคําวา ภาคผนวกอยูกลางหนากระดาษ และใหลําดับเลขหนาตอเนื่องกันไป หนาถัดไปใหพิมพคําวา ภาคผนวก ก ไวตรงกลางของบรรทัดบนสุด

Page 49: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

45

หางจากบน 11/2 นิ้ว บรรทัดตอมาใหพิมพช่ือภาคผนวกโดยเวนจากบรรทัดบน 2 บรรทัด ถาช่ือยาวเกิน 1 บรรทัด ใหปฏิบัติเชนเดียวกับการพิมพช่ือบท (พิมพเรียงกันลงมาในลักษณะของสามเหล่ียมหัวกลับ) ตอจากช่ือภาคผนวกใหเวน 2 บรรทัดพิมพแลวจึงพิมพขอความตอไป ถามีหลายภาคผนวกใหขึ้นหนาใหมทุกภาคผนวก โดยใหเรียงตามลําดับอักษร ภาคผนวก ก ภาคผนวก ข ภาคผนวก ค เรื่อยไป

Page 50: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

บทที ่6

วิธีการอางอิง การเขียนรายงานในระดับบัณฑิตศึกษาไมวาจะเปนวิทยานิพนธ หรือ การศึกษาอิสระ โดยปกติแลวจะตองใชขอมูลทางวิชาการ ตลอดจนแนวความคิด ทฤษฎีจากแหลงขอมูลตาง ๆ ท้ังภายในและภายนอกท่ีเปนของผูอ่ืน โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือใชประกอบ หรือ สนับสนุนการเขียนรายงานการศึกษานั้นใหมีความนาเช่ือถือมากยิ่งขึ้น จึงตองมีรูปแบบการพิมพท่ีเปนแบบแผนในการเขียนอางอิง หรือ การเชิงอรรถ อันเปนการแสดงใหเห็นวาไดมีการศึกษาคนควา สรุป วิเคราะห สังเคราะห โดยมีหลักฐานแสดงแหลงท่ีมาของขอมูล โดยทําใหเปนไปตามหลักเกณฑในการเขียนหรือพิมพไดอยางถูกตอง นอกจากการระบุถึงแหลงท่ีมาของขอมูลแลว การอางอิงยังจะชวยใหผูอานไดทราบถึงแหลงท่ีมาตาง ๆ และสามารถตรวจสอบหลักฐานเดิม เพ่ือศึกษาคนควาเพ่ิมเติม อีกท้ังยังเปนการใหเกียรติกับเจาของผลงานเดิม นับเปนมารยาทท่ีดีท่ีควรกระทํา และเปนผูท่ีมีจรรยาบรรณอีกดวย

6.1 การอางอิงและประเภทการอางอิง

6.1.1 การอางอิง (Citation) เปนการบันทึกท่ีมาของแหลงขอมูล หรือขอความท่ียกมากลาวอาง โดยการสรุปความ ถอดความ หรือ คัดลอกความ รวมท้ังขอเท็จจริงตาง ๆ เชน ตัวเลข สถิติ รูปภาพ แผนภูมิ เปนตน ท่ีไดนํามาจากแหลงขอมูลตาง ๆ เพ่ือใชประกอบและ/หรือสนับสนุนวิทยานิพนธ หรือ การศึกษาอิสระ 6.1.2 ประเภทของการอางอิง การอางอิงในวิทยานิพนธและการศึกษาอิสระท่ีเปนท่ีสากลนิยมมี 2 ประเภทใหญ ๆ คือ 1) การอางอิงแทรกในเนื้อหา เปนการอางอิงแหลงท่ีมาเกี่ยวกับแหลงสารสนเทศ หรือ

ทรัพยากรสารสนเทศท่ีใชในการอางอิงแทรกหรือปนไปกับเนื้อหา ท่ีเรียกวา นาม-ป (Name-Year) 2) การอางอิงแยกจากเนื้อหา เปนการอางอิงท่ีระบุแหลงท่ีมาเกี่ยวกับแหลงสารสนเทศ หรือ ทรัพยากรสารสนเทศท่ีใชในการอางอิง การอธิบายขยายความเนื้อหาซ่ึงไมสามารถแทรกในเนื้อหาได หรือ โยงไปยังบทหรือหนาอ่ืน ๆ การอางอิงแบบนี้มักอยูตอนลางของหนา ท่ีเรียกวา เชิงอรรถ (footnote)

Page 51: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

47

จากงานวิจัยของ จํากัด จูสนิท (2535) ในเรื่องความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของเจาหนาท่ีตรวจคนเขาเมือง ฝายตรวจยานพาหนะทางอากาศ ทาอากาศยานกรุงเทพ พบวา ความพึงพอใจโดยสวนรวมอยูในเกณฑปานกลาง

6.2 การอางอิงนาม-ป การอางอิงแบบนาม-ป เปนการอางอิงแหลงท่ีมาของเนื้อหา ทฤษฎี แนวคิด หรือ คัดลอกขอความบางสวนมาโดยตรง โดยเขียนหรือพิมพแหลงท่ีมาอยูในเครื่องหมายวงเล็บ ( ) แทรกอยูกอนหรือตอจากเนื้อหาท่ีมีการนําเอาขอมูลนั้นมาอางอิง ปจจุบันการอางอิงดวยวิธีนี้ไดรับความสนใจและเปนท่ีนิยมกันมากท่ีสุด เพราะงายตอการเขียนหรือพิมพ สะดวก และประหยัด แตขอเสีย คือ ผูอานจะเกิดความรําคาญท่ีตองสะดุดเปนชวง ๆ เนื่องจากมีการอางอิงแทรกเปนระยะ ๆ และผูอานไมทราบรายละเอียดในทันที ตองเสียเวลาเปดไปดูหนาบรรณานุกรม

6.2.1 ตําแหนงการพิมพอางอิงแบบนาม-ป การอางอิงแบบนาม-ปอาจขึ้นตนขอความ หรือตอนทายขอความก็ไดแลวแตความเหมาะสม โดยยึดหลักเกณฑดังตอไปนี ้ (1) สรุปเนื้อหาหรือแนวคิด

ผลงานวิจัยเรื่องความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของเจาหนาท่ีตรวจคนเขาเมือง ฝายตรวจยานพาหนะทางอากาศ ทาอากาศยานกรุงเทพ พบวา ความพึงพอใจโดยสวนรวมอยูในเกณฑ ปานกลาง (จํากัด จูสนิท. 2535)

(2) อางชื่อผูแตงกอนสรุปเนื้อหาหรือแนวคิด

(3) คัดลอกเนื้อหาหรือแนวคิด ปจจุบันระบบการศึกษาไดเปล่ียนจากการสอนแบบบรรยาย โดยใหนักเรียนจดจําและ ทองจํามาเนนหนักในทางท่ีจะสงเสริมใหนักเรียนรูจักศึกษาคนควาดวยตนเอง (นวนิตย อินทรามะ. 2542 : 17-18)

Page 52: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

48

(4) อางชื่อผูแตงกอนเนื้อหาหรือแนวคิดที่คัดลอกมา นวนิตย อินทรามะ (2542 : 17-18) กลาววาในปจจุบันระบบการศึกษาไดเปล่ียนจาก

การสอนแบบบรรยาย โดยใหนักเรียนจดจําและทองจํามาเนนหนักในทางท่ีจะสงเสริมให นักเรียนรูจักศึกษาคนควาดวยตนเอง

(5) ถาสรุปประเด็นหรือเนื้อหา ใหระบุแตเพียงช่ือผูแตง และปพ.ศ. โดยไมตองระบุหมายเลขหนา

6.2.2 รูปแบบการอางอิงแบบนาม-ป การอางอิงแบบนี้แตกตางกันออกไปตามประเภทของแหลงขอมูลท่ีนํามาใช อันไดแก 1. หนังสือ ส่ิงพิมพท่ีจัดทําเปนเลม ไดแก หนังสือตําราวิชาการ หนังสือความรูท่ัวไป หนังสืออางอิง วิทยานิพนธ รายงานการวิจัย เอกสารการประชุมสัมมนา รายงานประจําป หนังสือแปล ฯลฯ โดยท่ัวไปมีรูปแบบ องคประกอบ และการพิมพ ดังนี ้ (ผูแตง.//ปท่ีพิมพ/:/เลขหนาท่ีใชในการอางอิง) หมายเหตุ : 1) เครื่องหมาย “/” หมายถึง การเวน 1 ระยะ หรือ 1 เคาะ

2) ระหวางช่ือและนามสกุล เวน 1 เคาะ 1) ผูแตง หมายถึง บุคคลท่ีเปนผูผลิต ผูใหขอมูล ผูรับผิดชอบ ผูแปล ผูใหสัมภาษณ รวมท้ังหนวยงานของราชการ หรือ นิติบุคคล ซ่ึงมักปรากฏอยูในหนาปก หรือ หนาปกใน 1.1) ผูแตงคนเดียว ชาวไทย พิมพช่ือและนามสกุลตามปกต ิ ถึงแมวาจะเขียนเปนภาษาตางประเทศก็ตาม เพราะถือวาเปนท่ียอมรับกันแลววาในประเทศไทยใชเชนนี ้ สวนคํานําหนานาม (นาย นางสาว นาง) คํานําหนาทางวิชาการ (ศาสตราจารย รองศาสตราจารย ผูชวยศาสตราจารย) คํานําหนาวิชาชีพ (นายแพทย แพทยหญิง เภสัชกร นายสัตวแพทย ทันตแพทย ฯลฯ) ยศทหาร/ตํารวจ (รอยเอก พันโท พันตร ีฯลฯ) ไมตองพิมพคํานําหนานาม คํานําหนาทางวิชาการ คํานําหนาวิชาชีพ และยศทหารตํารวจ เชน (ยืน ภูวรวรรณ. 2548 : 20)

Page 53: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

49

(เปรม ติณสูลานนท. 2545 : 50) (Ma-Yuree Nokyoongthong. 1977 : 25-28) สําหรับผูท่ีมีคํานําหนานามเนื่องจากลําดับช้ันทางพระราชวงศ สมณศักดิ ์บรรดาศักดิ ์และฐานะสตรีท่ีไดรับเครื่องราชอิสริยาภรณช้ันสูง ใหพิมพคําหนานามกอนช่ือตามปกต ิดังนี ้ (สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมาร.ี 2547 : 55) (ม.ร.ว. ถนัดศร ีสวัสดิวัฒน. 2545 : 60) (พระยาอนุมานราชธน. 2497 : 20-25) (พระราชวรมุน.ี 2546 : 18-19) (คุณหญิงพรทิพย โรจนสุนันท. 2546 : 46) 1.2) ผูแตงคนเดียว หลายเร่ือง ปพิมพเดียวกัน เม่ือนํามาอางอิงไมพรอมกัน ใหเพ่ิมตัวอักษร ก ข ค ง... ตามลําดับ สําหรับภาษาไทย สวนภาษาตางประเทศใหใชตัวอักษรพิมพเล็ก a b c d…ตามลําดับ โดยพิมพไวหลังปท่ีพิมพ ดังนี้ (เจาพระยาทิพากรวงศ. 2540ก : 127-128) (เจาพระยาทิพากรวงศ. 2540ข : 137-140) (Nirdgren. 1992a : 364-472) (Nirdgren. 1992b : 36-47) 1.3) ผูแตงคนเดียว หลายเร่ือง ปพิมพตางกัน เม่ือนํามาอางอิงพรอมกัน ใหพิมพช่ือผูแตงครั้งแรก ปท่ีพิมพ และเลขหนาท่ีอางอิง คั่นดวยเครื่องหมายอัฒภาค (;) ตามดวยปท่ีพิมพ และเลขหนาท่ีอางอิงของรายการถัดไปจนครบ เชน (เจาพระยาทิพากรวงศ. 2540 : 127-128 ; 2543 : 137-140) (Nirdgren. 1992 : 364-472 ; 2000 : 36-47 ; 2003 : 19) 1.4) ผูแตงชาวตางประเทศ ซ่ึงเปนชาวตะวันตกหรือชาติท่ีนิยมเรียกช่ือสกุลเปนทางการ ใหพิมพเฉพาะช่ือสกุลเทานั้น เชน (เชลดอน. 2549 : 15) (Smith. 1999 : 61) ถาผูแตงชาวตางประเทศที่มีชื่อสกุลเหมือนกัน (ช่ือสกุลซํ้ากัน) ใหพิมพช่ือตน อักษรยอ ช่ือกลาง (ถามี) เพ่ือปองกันการสับสนวาขอมูลนั้นเปนของผูใด เชน (John M. Smith. 1999 : 20) (Adam J. Smith. 1999 : 20)

Page 54: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

50

1.5) ผูแตง 2 คน ใหระบุช่ือผูแตงคนแรก เช่ือมดวยคําวา “และ” หรือ “and” เวน 1 ระยะกอนและหลังคําดังกลาว ตามดวยช่ือผูแตงคนท่ี 2 เชน (มานิจ ประเสริฐสุวรรณ และ สุพัตรา สุภาพ. 2548 : 55) (Kennedy and Rywin. 2002 : 25-29) 1.6) ผูแตง 3 คน ใหระบุช่ือผูแตงคนท่ี 1 คั่นดวยเครื่องหมายจุลภาค (,) เวน 1 ระยะตามดวยช่ือผูแตงคนท่ี 2 เช่ือมดวยคําวา “และ” หรือ “and” เวน 1 ระยะกอนและหลังคําดังกลาว ตามดวยช่ือผูแตงคนท่ี 3 (วัลลภ สวัสดิวัลลภ, สุเวช ณ หนองคาย และ นารีรัตน เทียมเมือง. 2540 : 40-41) (Kahn, Kennedy and Starski. 1999 : 16) 1.7) ผูแตงมากกวา 3 คน ใหระบุช่ือผูแตงคนแรกตามดวยคําวา “และคณะ” หรือ “และคนอ่ืน ๆ” สวนภาษาตางประเทศ “and others” หรือ “et al” (et alli) (วัลลภ สวัสดิวัลลภ และคณะ. 2545 : 47) (Molen and Others. 2000 : 40) 1.8) นามแฝง หรือนามปากกา ใหระบุตามท่ีปรากฏ เชน (ส. ศิวรักษ. 2545 : 56) (น ณ ปากน้ํา. 2548 : 66-69) 1.9) ผูแตงที่เปนหนวยงาน หรือนิติบุคคล ใหระบุช่ือหนวยงาน หรือ นิติบุคคล หากแหลงท่ีมานั้นมีหนวยงานใหญและหนวยงานยอย ใหระบุหนวยงานใหญกอน เวน 2 ระยะ แลวตามดวยหนวยงานยอย เชน (กระทรวงสาธารณสุข. 2552 : 25) (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรต ิ บัณฑิตวิทยาลัย. 2544 : 28-29) 2) ปที่พิมพ หมายถึง ปท่ีผลิต ปท่ีสรางหรือเผยแพร ใหระบุเฉพาะเลขป พ.ศ. หรือ ป ค.ศ. หรือ ปท่ีจดลิขสิทธ์ิ หรือ ระบุอักษรยอวา “ม.ป.ป.” (ไมปรากฏปท่ีพิมพ) หรือ “n.d.” (no date) สวนท่ีมีการระบุเดือนปท่ีพิมพ ใหพิมพช่ือเดือนเต็ม สําหรับท่ีมีการระบุ “วันเดือนปท่ีพิมพ วันเดือนปท่ีทําการสัมภาษณ” ใหพิมพวันเดือนปตามลําดับ เชน (นาย ต. 11-17 มกราคม 2548 : 24) 3) เลขหนาที่ใชในการอางอิง ใหระบุเฉพาะหมายเลขหนาท่ีใชในการอางอิง โดยมีเครื่องหมายจุดคู (:) คั่น เวน 1 ระยะ กอนและหลังเครื่องหมายดังกลาว

Page 55: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

51

2. หนังสือที่ไมปรากฏผูแตง ใหระบุช่ือเรื่องแทนผูแตง โดยพิมพช่ือเรื่องดวยตัวหนา (ชื่อเร่ือง.//ปท่ีพิมพ/:/เลขหนาท่ีใชในการอางอิง)

(อลังการแผนดินวัฒนธรรม. 2543 : 132) (เอกสารประกอบการเรียนวิชาสารนิเทศกับการศึกษาคนควา. 2538 : 194)

3. บทความในวารสารหรือหนังสือพิมพ ใหพิมพช่ือบทความในเครื่องหมายอัญประกาศ (“ช่ือบทความ”//(วัน)เดือนปท่ีพิมพ/:/เลขหนาท่ีใชในการอางอิง) (“Y2K กับผลกระทบตอซอฟตแวรคอมพิวเตอร” ธันวาคม 2541 : 20-32) 4. พาดหัวขาวหรือหัวขอขาวหนังสือพิมพ ใหพิมพพาดหัวขาวหรือหัวขอขาวในเครื่องหมายอัญประกาศ (“พาดหัวขาวหรือหัวขอขาว”//วันเดือนปท่ีพิมพ/:/เลขหนาท่ีใชในการอางอิง) (“เช่ือมทุกขอมูลดวย Metadata ศักยภาพใหมท่ีนาจับตามอง” 27 พฤษภาคม-2 มิถุนายน 2545 : 17, 18) 5. การสัมภาษณ ระบุช่ือผูใหสัมภาษณ วันเดือนปท่ีทําการสัมภาษณ และคําวาสัมภาษณ (ช่ือผูใหสัมภาษณ.//วันเดือนปท่ีทําการสัมภาษณ/:/สัมภาษณ) (พรรณศิริ แจมอรุณ. 20 เมษายน 2553 : สัมภาษณ) 6. วัสดุไมตีพิมพ ไดแก แถบบันทึกเสียง (tape cassette) แผนท่ี (map) ไมโครฟลม (microfilm) ไมโครฟช (microfich) แถบวิดีทัศน (video tape cassette) ซีด ี (CD=compact disc) วี

Page 56: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

52

ซีด ี (VCD=video compact disc) ภาพนิ่ง (slide) ภาพเล่ือน (filmstrip) ฯลฯ ใหระบุช่ือผูผลิต ปท่ีผลิต และประเภทของวัสด ุ (ผูผลิต.//ปท่ีผลิต/:/ประเภทวัสดุไมตีพิมพ) (สิปปนนท เกตุทัต. 2536 : แถบบันทึกเสียง) (แผนที่กรุงเทพมหานคร. 2523 : แผนท่ี) (“นิทานโบราณวาดวยราชสีหกับชาง” กรกฎาคม 2417 : ไมโครฟลม) (หนอนพยาธิในประเทศไทย. 2518 : ภาพยนตร) (Collins Cobuild on CD-ROM. n.d. : CD) (Burke. January-February 1992 : CD-ROM) 7. อินเทอรเน็ต (Internet) และฐานขอมูลอิเล็กทรอนิกสออนไลน (ผูผลิต.//ปท่ีผลิตหรือปท่ีเผยแพร)/:/ออนไลน) (ปรันยา ม.ป.ป. : ออนไลน) (James. 1992 : Online) (Norstrom Personal Touch America. 1998 : Online) หมายเหต:ุ ถาเปนช่ือหนวยงาน เชน (กระทรวงพาณิชย. 2553: Online) 8. แหลงสารสนเทศทุติยภูมิ ใหระบุแหลงอางอิงปฐมภูมิกอน ตามดวยคําวา “อางถึงใน” หรือ “Cited in” เวน 2 ระยะ ตามดวยแหลงสารสนเทศทุติยภูมิ (ผูแตง.//ปท่ีพิมพ/:/เลขหนาท่ีใชในการอางอิง//อางถึงใน//ผูแตง.//ปท่ีพิมพ/:/ เลขหนาท่ีใชในการอางอิง) (ประภาศร ีสีหอําไพ. 2535 : 164 อางถึงใน เสถียร โพธินันทะ. 2496 : 27)

Page 57: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

53

6.3 เชิงอรรถ เชิงอรรถ (Footnote) เปนการอธิบายขอความท่ีนอกเหนือจากเนื้อหา หรือ อธิบายขอความบางตอน เพ่ือใหเกิดความเขาใจแจมแจงและนาเช่ือถือมากยิ่งขึน้ หรือ รายละเอียดเพ่ิมเติมขอความบางแหงในวิทยานิพนธ หรื อการศึกษาอิสระ โดยนํามาเขียนหรือพิมพไวท่ีสวนลางของหนา

6.3.1 ประเภทของเชิงอรรถ เชิงอรรถแบงออกเปน 2 ชนิด คือ 1. เชิงอรรถขยายความหรือเสริมความ (Content Footnote) เปนเชิงอรรถท่ีอธิบายคํา ความหมาย หรือ อธิบายขยายความเพ่ิมเติม ทําใหผูอานเขาใจเนื้อหาไดมากยิ่งขึ้น พวกแขกอินเดียเขามาทํามาหากินในเมืองไทยมากในรัชกาลนี ้ ตามท่ีปรากฏใน

หนังสือพิมพบางกอกกาเลนเดอร ใน พ.ศ. 2405 พอคาแขกรวมกลุมกับอยูท่ีตึกขาว และตึกแดง2 ริมแมน้ําเจาพระยาฝงตะวันตกใกลกับตลาดสมเด็จเจาพระยาวังนอย ท้ังตึกขาวและตึกแดงมีโรงเก็บสินคา… ---------------------------------------- 2บริเวณท่ีเรียกวาตึกขาวตึกแดงคือท่ีในบริเวณถนนทาดินแดงในปจจุบัน เยื้องกับ

ทาน้ําราชวงศ

2. เชิงอรรถโยง (Cross-reference Footnote) เปนเชิงอรรถท่ีช้ีแนะหรือโยงใหผูอานหา

รายละเอียดเพ่ิมเติมจากสวนอ่ืนหรือหนาอ่ืนท่ีเขียนไว เพ่ือลดความซํ้าซอนหรือไมตองกลาวซํ้าอีก 2.6 สามารถใชรหัสในเขตขอมูลท่ีมีคาคงท่ี3 เพ่ือการจํากัดการคน เพ่ือเก็บสถิติเพ่ือสราง

แฟมขอมูลเฉพาะกิจและอ่ืน ๆ --------------------------------------- 3ดูคําอธิบายเขตขอมูลท่ีมีคาคงท่ีในหนา 28

Page 58: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

54

6.3.2 หลักการเขียนหรือพิมพเชิงอรรถ 1) แยกเนื้อหากับเชิงอรรถใหอยูคนละสวนโดยขีดเสนคั่นขวางจากขอบซายประมาณครึ่งหนา และหางจากบรรทัดสุดทายของเนื้อหา 2 บรรทัด เชิงอรรถหางจากเสนขวางนี ้1 บรรทัด 2) เวนระยะหางจากขอบซายมือ 1 แทป (1 Tab) ตามดวยเครื่องหมาย ประจําเชิงอรรถนั้นๆ โดยยกระดับสูงครึ่งบรรทัดเหนือตัวอักษร เครื่องหมายประจําในเชิงอรรถกับเนื้อหาตองตรงกัน 3) การพิมพเชิงอรรถแตละรายการใหพิมพบรรทัดตามปกต ิ และควรใหอยูในหนาเดียวกับเนื้อหานั้น ไมใหเขียนหรือพิมพตอในหนาถัดไป สําหรับเชิงอรรถท่ีมีมากกวาหนึ่งบรรทัด บรรทัดถัดมาใหพิมพชิดซายโดยไมตองเวนวรรค 4) เชิงอรรถท่ีมีมากกวา 1 รายการ แตละรายการใหพิมพบรรทัดหางกันตามปกต ิ 5) หากเนื้อหาไมเต็มหนา ใหพิมพเชิงอรรถในสวนลางของหนากระดาษ 6) เชิงอรรถท้ังหมดตองนําไปทํารายการอางอิง 6.3.3 รูปแบบการลงรายการเชิงอรรถ 1) หนังสือ หมายเลขผูแตง.//(ปท่ีพิมพ)//ชื่อเร่ือง.//หนา/เลขหนาท่ีใชในการอางอิง. 1กีรต ิ บุญเจือ. (2528) ตรรกวิทยาทั่วไป. หนา 22. 2หลวงวิจิตรวาทการ. (2529) มันสมอง. หนา 78-80. 3พุทธทาสภิกข.ุ (2528) สมถวิลปสนาสําหรับยุคปรมาณู. หนา 60. 4John Rex. (1980) Key Problems of Sociological Theory. p 80. 5สมาคมหองสมุดแหงประเทศไทย. (2538) ทําเนียบนามหองสมุดเฉพาะในประเทศไทย. หนา 3-9. 2) หนังสือแปล

หมายเลขผูแตง.//(ปท่ีพิมพ)//ชื่อเร่ือง.//แปลโดย//ช่ือผูแปล.//หนา/เลขหนาท่ีใชในการอางอิง.

1ลารี ่ ลอง และ แนนซ่ี ลอง. (2543) เทคโนโลยีคอมพิวเตอรและสารสนเทศ. แปลโดย ลานนา ดวงสิงห. หนา 3.

Page 59: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

55

2เดือน บุนนาค, ผูแปล. (2543) เศรษฐศาสตร. หนา 3. 3) หนังสือที่ไมปรากฏผูแตง หมายเลขชื่อเร่ือง.//(ปท่ีพิมพ)//หนา/เลขหนาท่ีใชในการอางอิง. 1เอกสารประกอบการเรียนวิชาสารนิเทศกับการศกึษาคนควา. (2538) หนา 194. 4) หนังสือที่รวบรวมบทความ หมายเลขผูแตง.//(ปท่ีพิมพ)//”ช่ือบทความหรือช่ือตอนหรือช่ือบท”//ใน// ชื่อเร่ือง.//หนา/เลขหนาท่ีใชในการอางอิง. 1วัลลภ สวัสดิวัลลภ. (2540) “การเขียนรายงานและภาคนิพนธ” ใน สารนิเทศเพ่ือการศึกษาคนควา. หนา 135. 2Fred J. Tichner. (1981) “Apprenticeship and Employee Training” in The New Encyclopedia Britannica, Macropedia v. 1. p 1018-1023.

5) บทความวารสาร หมายเลขผูแตง.//(เดือนปท่ีพิมพ)//”ช่ือบทความ”//ชื่อวารสาร.//ปท่ีหรือเลมท่ี/(ฉบับท่ี)/

หนา/เลขหนาท่ีใชในการอางอิง.

1มณฑล พจนพรวัฒนา. (กุมภาพันธ 2545) “จับตา Mobile Banding” Internet Magzaine. 7 (2) หนา 20. 2Kirk Doran. (January 1996) “Unified Disparity : Theory and Practice of Union Listing” Computer in Libraries. 16 (1) p 39.

6) หนังสือพิมพ หมายเลขผูแตง.//(วันเดือนปท่ีพิมพ)//”หัวขอขาวหรือหัวขอในคอลัมน

หรือช่ือบทความ”//ชื่อหนังสือพิมพ.//หนา/เลขหนาท่ีใชในการอางอิง.

Page 60: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

56

1พิชัย ทองดีเลิศ. (27 พฤษภาคม-2 มิถุนายน 2545) “การทําธุรกรรมทางการเรียนยุค IT” Telecom Journal. หนา 20. 2D. Goldman. (21 May 1985) “New Focus on Multiple Personality” New York Time. p 22. 7) การสัมภาษณ หมายเลขช่ือผูใหสัมภาษณ//เปนผูใหสัมภาษณ//ช่ือผูสัมภาษณ//เปน

ผูสัมภาษณ//ท่ี…(สถานท่ีทําการสัมภาษณ)//เม่ือ…(วันเดือนปท่ีทําการสัมภาษณ) 1ฤทธิชัย เตชะมหัทธนันท เปนผูใหสัมภาษณ สุรชัย พิชญพิสิฐานนท เปนผู

สัมภาษณ ท่ีคณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรต ิเม่ือวันท่ี 20 พฤษภาคม 2549. 8) วัสดุไมตีพิมพ หมายเลขผูแตง.//(ปท่ีผลิต)//ชื่อเร่ือง.//[ประเภทวัสดุไมตีพิมพ] 1สิปปนนท เกตุทัต. (2536) บทบาทของนักวิจัยในสังคมปจจุบัน. [แถบบันทึกเสียง] 2แผนที่กรุงเทพมหานคร. (2523) [แผนท่ี] 3“นิทานโบราณวาดวยราชสีหกับชาง” (กรกฎาคม 2417) ดรุโณวาท. [ไมโครฟลม] 4หนอนพยาธิในประเทศไทย. (2518) [ภาพนิ่ง] 5สมโภชกรุงรัตนโกสินทร. (2525) [ภาพนิ่ง] 6Collins Cobuild on CD-ROM. (n.d) [CD] 9) อินเทอรเน็ต หมายเลขผูแตง.//(ปท่ีสรางหรือเผยแพร)//”ช่ือบทความ(ถามี)”//ชื่อเร่ืองหรือ

วารสาร.//[ออนไลน] 1ปรัยา. (ม.ป.ป.) “หองสมุดมีชีวิต” [ออนไลน] 2Norstrom Personal Touch America. (1998) [Online]

Page 61: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

57

3T. Jefferson. (1989) The Declaration of the Independence. [Online] 10) แหลงทุติยภูมิหรือแหลงรอง (Secondary Sources) หมายถึง ขอความ หรือแนวคิดนั้นไมไดนําจากตนแหลง แตพบจากแหลงท่ีมีผูนํามาอางอิงไวอีกทีหนึ่ง ใหอางอิงแหลงทุติยภูมิกอนแลวตามดวยแหลงปฐมภูมิ

หมายเลขผูแตง.//(ปท่ีพิมพ)//ชื่อเร่ือง.//หนา/เลขหนาท่ีใชในการอางอิง//อางถึงใน ผูแตง.//(ปท่ีพิมพ)//ชื่อเร่ือง.//หนา/เลขหนาท่ีใชในการอางอิง

1ประภาศร ี สีหอําไพ. (2535) พ้ืนฐานการศึกษาทางศาสนาและวัฒนธรรม.

หนา 164 อางถึงใน เสถียร โพธินันทะ. (2496) ประวัติพระพุทศาสนา. หนา 27. 6.3.4 หลักเกณฑการลงสวนตาง ๆ ในเชิงอรรถ 1) ชื่อผูแตง ผูใหสัมภาษณ 1.1) ผูแตงคนเดียวชาวไทย ไมตองระบุคํานําหนานาม คํานําหนาทางวิชาการ คํานําหนาทางวิชาชีพ ยศทหาร/ตํารวจ ยกเวน คํานําหนานามเนื่องจากลําดับช้ันทางพระราชวงศ สมณศักดิ์ บรรดาศักดิ์ และฐานะสตรีท่ีไดรับเครื่องราชอิสริยาภรณช้ันสูง สวนชาวตางประเทศใหระบุช่ือและนามสกุลเหมือนคนไทย เชน ยืน ภูวรวรรณ ม.ร.ว.ถนัดศร ี สวัสดิวัฒน สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี พระยาอนุมานราชธน ทานผูหญิงวิริยะ ชวกุล ซิดนีย อี. เชดอน Harrold A. Robbins 1.2) ผูแตง 2 คน ใหระบุช่ือผูแตงคนแรก ตามดวยคําวา “และ” หรือ “and” กอนและหลังคําดังกลาว เวน 1 ระยะ แลวตามดวยช่ือผูแตงคนท่ี 2 มานิจ ประเสริฐสุวรรณ และ สุพัตรา สุภาพ John F. Kennedy and Lew Rywin

Page 62: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

58

1.3) ผูแตง 3 คน ใหระบุช่ือผูแตงคนท่ี 1 คั่นดวยเครื่องหมายจุลภาค (,) เวน 1 ระยะตามดวยช่ือผูแตงคนท่ี 2 เช่ือมดวยคําวา “และ” หรือ “and” กอนและหลังคําดังกลาว เวน 1 ระยะ แลวตามดวยช่ือผูแตงคนท่ี 3 วัลลภ สวัสดิวัลลภ, สุเวช ณ หนองคาย และ นารีรัตน เทียมเมือง. Michel A. Kahn, Kathleen Kennedy and Allan Starski. 1.4) ผูแตงมากกวา 3 คน ใหระบุช่ือผูแตงคนแรก ตามดวยคําวา “และคณะ” หรือ “et al” (et alli) หรือ “และคนอ่ืน ๆ“ หรือ “and others” โดยใหเลือกใชอยางใดอยางหนึ่ง วัลลภ สวัสดิวัลลภ และคณะ Gerald R. Molen and Others 1.5) ผูแตงที่เปนหนวยงาน ใหระบุช่ือหนวยงาน หากแหลงท่ีมานั้นมีหนวยงานใหญและหนวยงานยอย ใหระบุหนวยงานใหญกอน เวน 2 ระยะ แลวตามดวยหนวยงานยอย เชน กระทรวงสาธารณสุข มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรต ิ บัณฑิตวิทยาลัย 1.6) นามแฝงหรือนามปากกา ใหระบุนามแฝงหรือนามปากกาตามท่ีปรากฏ เชน ส. ศิวรักษ น. ปากน้ํา 2) ปที่พิมพ ปที่ผลิต ปที่สรางหรือเผยแพร ใหระบุเฉพาะหมายเลขเทานั้น หากมีเดือน ใหพิมพช่ือเดือนเต็ม และหากมีวันท่ีใหระบุวันท่ีดวย หากไมพบระบุ “ม.ป.ป.” (ไมปรากฏปท่ีพิมพ) หรือ “n.d.” (no date) 3) ชื่อบทความ ชื่อตอน ชื่อบท พาดหัวขาว หัวขอในคอลัมน ใหพิมพในเครื่องหมายอัญประกาศ (“………”) เชน “พาณิชยอิเล็กทรอนิกสประเด็นสุดฮิตของมหกรรมสัมมนาแหงสหัสวรรษ” “The role of technology in the future of libraries” 4) ชื่อเร่ือง ชื่อวารสาร ชื่อหนังสือพิมพ ใหขีดเสนใต หรือพิมพตัวหนา ภาษาตางประเทศ ใหใชอักษรตัวใหญเฉพาะตัวแรกของทุกคํา ยกเวน คํานําหนานาม คําบุพบท คําสันธาน ซ่ึงอยูภายในช่ือเรื่องใหใชอักษรตัวเล็ก เชน The Element of Research 5) เลขหนาที่ใชในการอางอิง ใหพิมพคําวา “หนา” หรือ “p” (Page) กอนและหลังคําหรืออักษรยอดังกลาว

Page 63: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

59

6) ประเภทวัสดุไมตีพิมพ และเว็บไซต ใหระบุประเภทวัสดุนั้น ๆ ในเครื่องหมาย วงเล็บเหล่ียม “[……….]” ไดแก แถบบันทึกเสียง ภาพนิ่ง วีดิทัศน แถบบันทึกภาพ ไมโครฟลม CD-ROM VCD DVD ฯลฯ สวนเว็บไซตใหระบุคําวา “ออนไลน” หรือ “Online” เปนตน

ตารางที่ 6.1 เปรียบเทียบการอางอิงแบบเชิงอรรถและการอางอิงแบบนาม-ป

เชิงอรรถ นาม-ป

1. มีกฎเกณฑการเขียนซับซอนมากกวา 1. มีกฎเกณฑการเขียนไมซับซอน 2. ยุงยากตอการเขียนหรือพิมพรายงาน เพราะตองคอยระวังในเรื่องการเวนหนากระดาษดานลางใหเพียงพอตอการเขียนรายการอางอิง

2. ทําไดงายและสะดวก เพราะเขียนหรือพิมพแทรกในเนื้อหาไดเลย จึงไมตองคอยระวังเรื่องการเวนเนื้อท่ีกระดาษ

3. ขอความท่ีตองการเนนวาอางอิงมาจากทรัพยากรสารสนเทศหลายรายการ ไมสะดวกตอการลงรายการอางอิงแบบเชิงอรรถ

3. ขอความท่ีเนนวาอางอิงมาจากทรัพยากรสารสนเทศหลายรายการ ใชวิธีการนี้ไดสะดวก

4. การอานเนื้อหารายงานเปนไปโดยราบรื่นไมสะดุด เพราะสวนของรายการอางอิงจะอยูท่ีสวนลางของหนากระดาษ

4. การอานเนื้อหารายงานสะดุดในชวงท่ีมีรายการอางอิง โดยเฉพาะถามีการอางอิง ทรัพยากรสารสนเทศหลายๆ รายการ

5. ทราบรายละเอียดของทรัพยากรสารสนเทศท่ีอางถึงไดทันที เพราะจะปรากฏอยูดานลางของหนากระดาษ

5. ถาตองการทราบรายละเอียดของทรัพยากรสารสนเทศท่ีนํามาอางอิง จะตองเสียเวลาพลิกไปดูหนาบรรณานุกรม

Page 64: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

บทที ่7

การเขียนบรรณานุกรม เม่ือทําการอางอิงแหลงท่ีมาของเนื้อหา ทฤษฎี และ/หรือแนวคิดในวิทยานิพนธ หรือการศึกษาอิสระ ไมวาจะดวยวิธีการอางอิงแบบใดก็ตาม เม่ือเรียบเรียงเนือหาทุกบทจนครบถวนและเสร็จเรียบรอยแลว ขั้นตอนสุดทาย คือ นําการอางอิงท้ังหมดมาจดัทําบรรณานุกรม (Bibliography) หรือ รายการอางอิง (Cited References) โดยจัดเรียงลําดับอักษรตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน หรือ Dictionary ท่ีเปนท่ียอมรับท่ัวไป และแยกภาษาของบรรณานุกรมไวเปนสวนประกอบตอนทายเลม

7.1 บรรณานุกรมและประเภทของบรรณานุกรม

บรรณานุกรม (Bibliographies) หมายถึง รายช่ือแหลงขอมูลประเภทตางๆ ท่ีนํามาใชในการทําวิทยานิพนธ หรือการศึกษาอิสระ ประเภทของบรรณานุกรม บรรณานุกรมอาจแบงตามลักษณะของการจัดทําได 3 ประเภท คือ 1) บรรณานุกรมแบบสมบูรณ (Exhaustive Bibliographies) เปนรายช่ือแหลงขอมูลท่ี นํามาใชท้ังหมด ไมวาจะมากหรือนอยก็ตาม จะอางอิงหรือไมอางอิงก็ตาม โดยไมคํานงึถึงวา จะมีความสําคัญตองานเขียนมากหรือนอยเพียงใด การทําลักษณะนี้มุงเนนความสมบูรณของบรรณานุกรม เพ่ือประโยชนในการศึกษาคนควาเพ่ิมเติม 2) บรรณานุกรมเลือกสรร (Selected Bibliographies) เปนรายช่ือแหลงขอมูลท่ีนํามาใชเฉพาะเลมท่ีไดรับการพิจารณาคัดเลือกแลววา มีความสําคัญและเปนประโยชนตองานเขียนจริง ๆ เทานั้น มุงเนนความถูกตอง เช่ือถือได ทันสมัย และเปนท่ียอมรับของนักวิชาการเปนสําคัญ สวนมากจะมีบรรณนิทัศน (Annotation) ซ่ึงกลาวถึงเรื่องยอๆ ของแหลงขอมูล หรือ มีการวิจารณประกอบทาย บรรณานุกรมประเภทนี้นับวา เปนวิธีการท่ีอํานวยความสะดวกใหผูอานไดทราบขอบเขตและคุณคาของแหลงขอมูล 3) บรรณานุกรมอางอิง (Literature Bibliographies) เปนรายช่ือแหลงขอมูลท่ีนํามาใชอางอิงในเนื้อหาท้ังหมด ปจจุบันมักเรียกวา รายการอางอิงหรือเอกสารอางอิง (Cited References or References)

Page 65: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

61

7.2 รูปแบบ องคประกอบ และการพิมพบรรณานุกรม

บรรณานุกรมมีรูปแบบ องคประกอบ และการพิมพแตกตางกันออกไปตามประเภทของแหลงขอมูล โดยมีรายละเอียดตาง ๆ ดังนี ้ 1) หนังสือ ส่ิงพิมพท่ีจัดทําเปนเลม มีรูปแบบ องคประกอบ และการพิมพดังนี ้ ผูแตง.//(ปท่ีพิมพ)//ชื่อเร่ือง.//ครั้งท่ีพิมพ.//สถานท่ีพิมพ/:/ผูรับผิดชอบในการพิมพ. กีรต ิ บุญเจือ. (2528) ตรรกวิทยาทั่วไป. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพแหงจุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย พุทธทาสภิกข.ุ (2528) สมถวิปสนาสําหรับยุคปรมาณู. กรุงเทพมหานคร : มหาจุฬาลงกรณราช- วิทยาลัย. สมาคมหองสมุดแหงประเทศไทย. (2538) ทําเนียบนามหองสมุดเฉพาะในประเทศไทย. กรุงเทพมหานคร : สมาคม. หลวงวิจิตรวาทการ. (2529) มันสมอง. กรุงเทพมหานคร : โอเดียนสโตร. อุดม เชยกีวงศ และ นคร จิโรจพันธุ. (2526) สหกรณผูบริโภค. กรุงเทพมหานคร :

โอเดียนสโตร. Rex, John. (1980) Key Problems of Sociological Theory. New York : McGraw-Hill. UNESCO. (1980) Unesco Worldwide Action in Education. France : Unesco.

2) หนังสือแปลที่มีผูแตงเดิม

ผูแตง.//(ปท่ีพิมพ)//ชื่อเร่ือง.//ครั้งท่ีพิมพ.//แปลโดย//ช่ือผูแปล.//สถานท่ีพิมพ/:/

ผูรับผิดชอบในการพิมพ. ลอง, ลารี ่และ ลอง, แนนซ่ี. (2543) เทคโนโลยีคอมพิวเตอรและสารสนเทศ. แปลโดย ลานนา ดวงสิงห. กรุงเทพมหานคร : เพียรสัน เอ็ดดูเคช่ัน อินโดไซนา.

Page 66: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

62

หนังสือแปลที่ไมมีผูแตงเดิม ช่ือผูแปล,/ผูแปล//(ปท่ีพิมพ)//ชื่อเร่ือง.//ครั้งท่ีพิมพ.//สถานท่ีพิมพ/:/ผูรับผิดชอบ ในการพิมพ. เดือน บุนบาค, ผูแปล. (2543) เศรษฐศาสตร. พิมพครั้งท่ี 3. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพ- มหาวิทยาธรรมศาสตร. 3) หนังสือที่ไมปรากฏผูแตง ชื่อเร่ือง.//(ปท่ีพิมพ)//ครั้งท่ีพิมพ.//สถานท่ีพิมพ/:/ผูรับผิดชอบในการพิมพ. กฎหมายตราสามดวง. (2520) พระนคร : องคการคาคุรุสภา. เอกสารประกอบการเรียนวิชาสารนิเทศกับการศึกษาคนควา. (2538) กรุงเทพมหานคร : ภาควิชาบรรณารักษศาสตร คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. 4) หนังสือรวมบทความวิชาการ รวมบทคัดยอวิทยานิพนธ ตําราวิชาการที่มีผูแตงหลายคน ผูแตง.//(ปท่ีพิมพ)//”ช่ือบทความหรือช่ือตอนหรือช่ือบท”//ใน//ชื่อเร่ือง.// ช่ือบรรณาธิการหรือผูรวบรวม (ถามี).//หนาท่ีปรากฏช่ือบทความหรือช่ือตอน หรือช่ือบท.//ครั้งท่ีพิมพ.//สถานท่ีพิมพ/:/ผูรับผิดชอบในการพิมพ. วัลลภ สวัสดิวัลลภ. (2540) “การเขียนรายงานและภาคนิพนธ” ใน สารนิเทศเพ่ือการศึกษา คนควา. พิมพครั้งท่ี 2 แกไขปรับปรุงและเพ่ิมเติม. หนา 77-171. นครปฐม : ภาควิชา บรรณารักษศาสตร คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร สถาบันราชภัฏนครปฐม. Tichner, Fred J. (1981) ”Apprenticeship and Employee Training” in The New Encyclopedia Britannica, Macropedia V 1. page 1018-1023. Chicago : Encyclopedia Britannica.

Page 67: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

63

5) เอกสารการประชุมหรือสัมมนาทางวิชาการ

ผูแตง.//(ปท่ีพิมพ)//”ช่ือเรื่องหรือช่ือบท/ช่ือตอนในเอกสารการประชุมหรือสัมมนา”// ใน//ชื่อเร่ืองการประชุม/สัมมนา.//ขอความเกี่ยวกับการจัดประชุมหรือสัมมนา// ช่ือบรรณาธิการหรือผูรวบรวม (ถามี).//หนาท่ีปรากฏช่ือบทความหรือช่ือตอน หรือช่ือบท.//ครั้งท่ีพิมพ.//สถานท่ีพิมพ/:/ผูรับผิดชอบในการพิมพ.

กานตมณี ศักดิ์เจริญ. “วิธีอานหนังสือและการอานหนังสือใหฟง” ใน การประชุมใหญสามัญ ประจําป 2552 และการประชุมวิชาการเร่ือง การอานเพ่ือพัฒนาชาติ วันที่ 8-11 ธันวาคม 2552 ณ โรงแรมแอมบาสซาเดอร กรุงเทพมหานคร จัดโดยสมาคมหองสมุดแหงประเทศ ไทยในพระบรมราชูปถัมภสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี. หนา 43- 51. กรุงเทพมหานคร : หางหุนสวนจํากัด รวิน พริ้นติ้ง กรุป. จีรเดช มโนสรอย, สุดา เสาวคนธ และ อภิญญา มโนสรอย. (2543) “หญาหวาน (Stevia)” ใน การสัมมนาทางวิชาการเร่ือง เทคโนโลยีชีวภาพเภสัชกรรม คร้ังที่ 2 เร่ืองการวิจัยและ พัฒนาผลิตภัณฑธรรมชาติเพ่ือการแพทยแผนไทย. หนา 42-50. เชียงใหม : ศูนยวิจัยและ พัฒนาวัตถุดิบยา เครื่องสําอาง และผลิตภัณฑธรรมชาติ สถาบันวิจัยและพัฒนา วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม.

6) บทความวารสาร ผูแตง.//(เดือนปท่ีพิมพ)//“ช่ือบทความ”//ชื่อวารสาร.//ปท่ีหรือเลมท่ี/(ฉบับท่ี)/

หนา/เลขหนาท่ีปรากฏบทความ. “การบรรเลงดนตรีไทยตามประเพณ”ี (มกราคม 2553) วารสารวัฒนธรรมไทย. 49 (1) หนา 20-24. นครชัย เผ่ือนปฐม. (มกราคม-มีนาคม 2540) “การคนหาทางการแพทยใน World Wide Web” สงขลานครินทรเวชสาร. 15 (1) หนา 27-34. Buracom, Ponlapat. (2002) “Social responsibilities of business : evidence and explanations” Thai Journal of Public Administration. 1 page 103-122.

Page 68: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

64

Doran, Kirk. (January 1996) “Unified disparity : theory and practice of union listing” Computer in Libraries. 16 (1) page 39-45.

7) หนังสือพิมพ ผูแตง.//(วันเดือนปท่ีพิมพ)//“พาดหัวขาว/หัวขอขาว/หัวขอในคอลัมน/ช่ือบทความ”

ชื่อหนังสือพิมพ.//หนา/เลขหนาท่ีปรากฏพาดหัวขอขาว หัวขอขาว หัวขอใน คอลัมน หรือช่ือบทความ.

พิชัย ทองดีเลิศ. (27 พฤษภาคม – 2 มิถุนายน) “การทําธุรกรรมทางการเรียนยุค IT” Telecom Journal. หนา 20. 8) วิทยานิพนธ ผูแตง.//(ปท่ีพิมพ)//ชื่อเร่ือง.//วิทยานิพนธ//อักษรยอช่ือปริญญา//(ภาควิชาหรือ สาขาวิชา)//สถานท่ีพิมพ/:/บัณฑิตวิทยาลัย//ช่ือมหาวิทยาลัย. สุภา ฉายแสง. (2543) การออกแบบและพัฒนาระบบสารสนเทศผูปวยนอกของสถานพยาบาล รัฐวิสาหกิจ. วิทยานิพนธ วท.ม. (สาขาวิชาวิทยาศาสตรคอมพิวเตอร) กรุงเทพมหานคร : บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. 9) การสัมภาษณ ช่ือผูใหสัมภาษณ//เปนผูใหสัมภาษณ//ช่ือผูสัมภาษณ//เปนผูสัมภาษณ//ท่ี… (สถานท่ีทําการสัมภาษณ)//เม่ือ…(วันเดือนปท่ีทําการสัมภาษณ) สมปอง อนเดช เปนผูใหสัมภาษณ ศุจิกา ดวงมณี เปนผูสัมภาษณ ท่ีมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิม พระเกียรติ เม่ือวันท่ี 28 พฤษภาคม 2553.

Page 69: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

65

10) วัสดุไมตีพิมพ ผูผลิต.//(ปท่ีผลิต)//ชื่อเร่ือง.//[ประเภทวัสดุไมพิมพ]//สถานท่ีผลิต/:/ผูรับผิดชอบ ในการผลิต. หนอนพยาธิในประเทศไทย. (2518) [ภาพยนตร] กรุงเทพมหานคร : คอมมิวนิเคช่ัน

เอดส อินเตอรเนช่ัน. สายหยุด นิยมวิภาต, ผูบรรยาย. (2537) ประเด็นปญหาการวิจัยทางการพยาบาลคลินิก. [เทปโทรทัศน] ขอนแกน : คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน. 11) เว็บไซต (Web Site) ในเว็บไซตมีส่ิงพิมพอิเล็กทรอนิกสตาง ๆ มากมาย ไมวาจะเปนหนังสือ วารสาร หนังสือพิมพ หรือเปนบทความท่ีผลิตขึ้นเพ่ือเผยแพรบนเว็บไซต ผูแตง.//(ปท่ีสรางหรือเผยแพร)//“ช่ือบทความ (ถามี)”//ชื่อเร่ือง.//[ออนไลน]// แหลงท่ีมา/:/ท่ีอยูของเว็บไซต//(วันเดือนปท่ีทําการสืบคน) เวบไซตที่เปนหนังสือ Norstrom Personal Touch America. (1998) [Online] Available : http://www.npta.com (14 November 2000) เวบไซตที่เปนบทความวารสาร James, J. S. (1992) “Alpha-APA : New Anti-HIV Compound” AIDS Treatment News.

[Online] Available : gopher.tc.umm.edu/Libraries/Newspapers,Magazine and Newsletters/MedicalPublications/AIDSNews/lssure (18 September 2000)

เวบไซตที่เปนหนังสือพิมพ ประเวศ วะสี. (2 ธันวาคม 2548) “การจัดการความรูกระบวนการปลดปลอยมนุษย” ประชาไท. [ออนไลน] แหลงท่ีมา : http://www.prachatai.com/05web/th/home/ index.php (19 เมษายน 2549)

Page 70: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

66

บทความที่เว็บไซตจัดทําและเผยแพร “การบริหารความรู = Knowledge Management” (ม.ป.ป.) [ออนไลน] แหลงท่ีมา : http://elib.fda.moph.go.th/Planweb/PlanWebpage/Km-2nd3.html (20 เมษายน 2549) 12) แหลงทุติยภูมิหรือแหลงรอง ใหระบุแหลงทุติยภูมิกอน เวน 2 ระยะ กอนและหลังคําวา “อางถึงใน” หรือ “Cited in” ตามดวยแหลงปฐมภูมิ รูปแบบ องคประกอบ และการพิมพมีดังนี ้

ผูแตง.//(ปท่ีพิมพ)//ชื่อเร่ือง.//ครั้งท่ีพิมพ(ถามี).//สถานท่ีพิมพ/:/ผูรับผิดชอบใน การพิมพ//อางถึงใน//ผูแตง.//(ปท่ีพิมพ)//ชื่อเร่ือง.//ครั้งท่ีพิมพ(ถามี).// สถานท่ีพิมพ/:/ผูรับผิดชอบในการพิมพ.

แมนมาส ชวลิต. (2509) ประวัติหอสมุดแหงชาต.ิ พระนคร : กรมศิลปากร อางถึงใน สมเด็จกรมพระยาดํารงราชานุภาพ. (2459) ตํานานหอพระสมุด หอพระมณเฑียรธรรม หอวชิรญาณ หอพุทธศาสนสังคหะ และหอสมุดสําหรับพระนคร. พระนคร : โรงพิมพ โสภณพิพรรฒธนากร.

7.3 หลักเกณฑการลงรายละเอียดสวนตางๆ ในบรรณานุกรม

หลักเกณฑการลงรายละเอียดตางๆ ในบรรณานุกรม มีดังนี ้ 1) ชื่อผูแตง ผูใหสัมภาษณ ใหใชหลักเกณฑเดียวกับการอางอิง ยกเวน ชาวตางประเทศใหพิมพช่ือสกุลตามดวยเครื่องหมายจุลภาค (,) เวน 1 ระยะ ตามดวยช่ือตน (อาจเปนอักษรยอ) เวน 1 ระยะ ตามดวยช่ือกลาง (ถามี) ปดทายดวยเครื่องหมายมหัพภาค (.) เวน 2 ระยะ 2) ปที่พิมพ ปที่ผลิต ปที่สรางหรือเผยแพร วันเดือนปที่พิมพหรือสัมภาษณ ใหพิมพไวในเครื่องหมายวงเล็บ (...) หลังเครื่องหมายเวน 2 ระยะ 3) ชื่อบทความ ชื่อตอน ชื่อบท พาดหัวขาว หัวขอขาว หัวขอในคอลัมน ใหพิมพไวในเครื่องหมายอัญประกาศ “....” หลังเครื่องหมายเวน 2 ระยะ 4) ชื่อเร่ือง ชื่อวารสาร ชื่อหนังสือพิมพ ใหขีดเสนใตหรือพิมพดวยตัวหนา ตามดวยเครื่องหมายมหัพภาค เวน 2 ระยะ

Page 71: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

67

5) หนาที่ปรากฏบทความ ชื่อตอน ชื่อบท ขาว หัวขอในคอลัมน กอนระบุเลขหนาใหระบุคําวา “หนา” หรือ “page” ตามดวยเลขหนาท่ีปรากฏตัง้แตตนจนจบ เชน หนา 20 page 19-24 เปนตน กรณีท่ีเนื้อหาไมไดจบในหนาเดียว ใหระบุหนาแรก ตามดวยเครื่องหมายจุลภาค เวน 1 ระยะ ตามดวยหมายเลขหนาส้ินสุด ปดทายดวยเครื่องหมายมหัพภาค 6) คร้ังที่พิมพ ถาเปนการพิมพครั้งแรกไมตองระบุ จะระบุก็ตอเม่ือเปนการพิมพครั้งท่ี 2 เปนตนไป พรอมท้ังขอความท่ีเกี่ยวของ เชน พิมพครั้งท่ี 2 พิมพครั้งท่ี 3 แกไข พิมพครั้งท่ี 4 ปรับปรุงเพ่ิมเติม พิมพครั้งท่ี 5 แกไขปรับปรุงเพ่ิมเติม 2nd 3rd 4th ed rev. เปนตน ตามดวยเครื่องหมายมหัพภาค เวน 2 ระยะ 7) ประเภทวัสดุไมตีพิมพหรือเวบไซต ใหพิมพในเครื่องหมายวงเล็บเหล่ียม เวน 2 ระยะ 8) สถานที่พิมพ หรือสถานที่ผลิต หมายถึง ช่ือจังหวัด ช่ือเมือง ช่ือรัฐ ท่ีผูรับผิดชอบในการพิมพนั้นตั้งอยู เชน กรุงเทพมหานคร ขอนแกน เชียงใหม New York London Paris เปนตน ถาไมปรากฏสถานท่ีพิมพหรือสถานท่ีผลิตใหระบุอักษรยอ ม.ป.ท. (ไมปรากฏสถานท่ีพิมพ) หรือ n.pl. (no place) ตามดวยเครื่องหมายทวิภาค (:) เวน 1 ระยะกอนและหลังเครื่องหมายดังกลาว 9) ผูรับผิดชอบในการพิมพหรือการผลิต หมายถึง สํานักพิมพ โรงพิมพ หนวยงาน หรือ นิติบุคคล ตามดวยเครื่องหมายมหัพภาค 9.1) สํานักพิมพ ใหระบุเฉพาะช่ือสํานักพิมพเทานั้น เชน บริษัท สํานักพิมพแม็ค จํากัด ใหระบุวา สํานักพิมพแม็ค เปนตน สวนสํานักพิมพของสถาบันการศึกษาเพ่ือมิใหเกิดความสับสนวาเปนส่ิงพิมพของสถาบันการศึกษาใหระบุคําวา “สํานักพิมพ” ดวย เชน สํานักพิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร เปนตน 9.2) โรงพิมพ ใหระบุคําวา “โรงพิมพ” ดวย เชน โรงพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว เปนตน 9.3) หนวยงานราชการ ใหระบุช่ือหนวยงานราชการท่ีปรากฏ หากมีหนวยงานใหญและหนวยงานยอย ใหระบุหนวยงานยอย เวน 2 ระยะ ตามดวยหนวยงานใหญ ในกรณีท่ีหนวยงานราชการเปนท้ังผูแตงและผูรับผิดชอบในการพิมพ ในสวนของผูรับผิดชอบในการพิมพใหระบุเฉพาะคํานําหนานามหนวยงานเทานั้น เชน กระทรวง กรม กอง สํานัก สํานักงาน เปนตน 9.4) ไมปรากฏผูรับผิดชอบในการพิมพหรือการผลิต ใหระบุอักษรยอ “ม.ป.พ.” หรือ “n.p.” (no publisher) 10) แหลงที่มา ถาเปนเว็บไซต ใหระบุคําวา “แหลงท่ีมา” หรือ “Available” ตามดวยเครื่องหมายจุดคู เวน 1 ระยะ กอนและหลังเครื่องหมายดังกลาว แลวตามดวยแหลงท่ีมา เชน

Page 72: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

68

แหลงท่ีมา : http://www.hcu.ac.th/journal/ndex.htm Available : gopher.tc.umm.edu/Libraries/Newspapers, Magazine and Newsletters /Medicalpublications/AIDSNews/Issue 11) หนาที่ปรากฏบทความ ชื่อตอน ชื่อบท ขาว หัวขอในคอลัมน ใหระบุเลขหนาท่ีปรากฏตั้งแตตนจนจบ กอนระบุเลขหนาใหระบุคําวา “หนา” หรือ “p” (Page) เชน หนา 20 p 19-24 เปนตน ในกรณีท่ีมีเนื้อหาของบทความ หรือ ขาวตอในหนาอ่ืน ใหระบุหนาแรก ตามดวยเครื่องหมายจุลภาค เวน 1 ระยะ ตามดวยหมายเลขหนาส้ินสุด ปดทายดวยเครื่องหมายมหัพภาค 12) วันเดือนที่ทําการสืบคน ใชสําหรับเว็บไซตเทานั้น โดยพิมพวันเดือนปท่ีทําการสืบคนในเครื่องหมายวงเล็บ เชน (19 เมษายน 2549) (19 April 2006) เปนตน

Page 73: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

บทที่ 8

จรรยาบรรณนักวิจัย1

8.1 ความเปนมา

ปจจุบันนี้ผลการวิจัยมีความสําคัญตอการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมเปนอยางยิ่ง หากงานวิจัย ท่ีปรากฏสูสาธารณชน มีความเท่ียงตรง นําเสนอส่ิงท่ีเปนความจริงสะทอนใหเห็นสภาพปญหาท่ีเกิดขึ้น อยางแทจริง ก็จะนําไปสูการแกไขปญหาไดตรงจุดและมีประสิทธิภาพ

การท่ีจะใหไดมาซ่ึงงานวิจัยท่ีดี มีคุณภาพ จําเปนตองมีสวนประกอบสําคัญหลายประการ นอกจากการดําเนินตามระเบียบวิธีการวิจัยอยางมีคุณภาพแลว คุณธรรม หรือ จรรยาบรรณของนักวิจัยเปนปจจัยสําคัญยิ่งประการหนึ่งท่ีสําคัญยิ่ง

คณะกรรมการสภาวิจัยแหงชาติ สาขาสังคมวิทยา มีตระหนักถึงความสําคัญของจรรยาบรรณ นักวิจัยดังกลาว จึงไดริเริ่มดําเนินการยกรางจรรยาบรรณนักวิจัยเพ่ือเปนมาตรฐานเดียวกันท้ังประเทศ เพ่ือใหนักวิจัย นักวิชาการ ในสาขาวิชาการตางๆ สามารถนําไปปฏิบัติได โดยผานกระบวนการขอรับความคิดเห็นจากนักวิจัย ผูทรงคุณวุฒิในสาขาวิชาตางๆ และไดปรับปรุงใหเหมาะสม รัดกุม ชัดเจน จนกระท่ังไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารสภาวิจัยแหงชาติ ประกาศใหเปนหลักเกณฑควรประพฤติของนักวิจัยท่ัวไป

8.2 วัตถุประสงค

เพ่ือเปนแนวทางในการประพฤติปฏิบัติของนักวิจัยท่ัวไป โดยมีลักษณะเปนขอพึงสังวรณ

มากกวาจะเปนขอบังคับ อันจะนําไปสูการเสริมสรางจรรยาบรรณในหมูนักวิจัยตอไป

1 คัดลอกจาก คณะกรรมการสภาวิจัยแหงชาติ. (2554) “จริยธรรมของนักวิจัย”

http://www.nrct.go.th/downloads/d20100604113504.pdf. [ออนไลน]

Page 74: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

70

8.3 นิยาม

นักวิจัย หมายถึง ผูท่ีดําเนินการคนควาหาความรูอยางเปนระบบ เพ่ือตอบประเด็นท่ีสงสัย โดย มีระเบียบวิธีอันเปนท่ียอมรับในแตละศาสตรท่ีเกี่ยวของ ซ่ึงครอบคลุมท้ังแนวคิด มโนทัศน และวิธีการท่ีใช ในการรวบรวมและวิเคราะหขอมูล

จรรยาบรรณ หมายถึง หลักความประพฤติอันเหมาะสมแสดงถึงคุณธรรมและจริยธรรมใน การประกอบอาชีพ ท่ีกลุมบุคคลแตละสาขาชีพประมวลขึ้นไวเปนหลัก เพ่ือใหสมาชิกในสาขาวิชาชีพนั้นๆ ยึดถือปฏิบัต ิเพ่ือรักษาช่ือเสียงและสงเสริมเกียรติคุณของสาขาวิชาชีพของตน

จรรยาบรรณนักวิจัย หมายถึง หลักเกณฑควรประพฤติปฏิบัติของนักวิจัยท่ัวไป เพ่ือใหการ ดําเนินงานวิจัยตั้งอยูบนพ้ืนฐานของจริยธรรมและหลักวิชาการท่ีเหมาะสม ตลอดจนประกันมาตรฐาน ของการศึกษาคนควาใหเปนไปอยางสมศักดิศ์รีและเกียรติภูมิของนักวิจัย

. 8.4 จรรยาบรรณนักวิจัยและ แนวทางปฏิบัต ิ

ขอ 1 นักวิจัยตองซ่ือสัตยและมีคณุธรรมในทางวิชาการและการจัดการ นักวิจัยตองมีความซ่ือสัตยตอตนเองไมนําผลงานของผูอ่ืนมาเปนของตนไมลอกเลียนงาน

ของผูอ่ืน ตองใหเกียรติและอางถึงบุคคลหรือแหลงท่ีมาของขอมูลท่ีนํามาใชในงานวิจัย ตองซ่ือตรงตอการแสวงหาทุน วิจัยและมีความเปนธรรมเกี่ยวกับผลประโยชนท่ีไดจากการวิจัย แนวทางปฏิบัต ิ

1.1 นักวิจัยตองมีความซ่ือสัตยตอตนเองและผูอ่ืน 1.1.1 นักวิจัยตองมีความซ่ือสัตยในทุกขั้นตอนของกระบวนการวิจัย ตั้งแตการเลือกเรื่องท่ีจะทําวิจัย การ เลือกผูเขารวมทําวิจัย การดําเนินการวิจัย ตลอดจนการนําผลงานวิจัยไปใชประโยชน 1.1.2 นักวิจัยตองใหเกียรติผูอ่ืน โดยการอางถึงบุคคลหรือแหลงท่ีมาของขอมูลและความคิดเห็นท่ีนํามาใชในงานวิจัย

1.2 นักวิจัยตองซ่ือตรงตอการแสวงหาทุนวิจัย 1.2.1 นักวิจัยตองเสนอขอมูลและแนวคิดอยางเปดเผยและตรงไปตรงมาในการเสนอโครงการวิจัยเพ่ือขอรับทุน 1.2.2 นักวิจัยตองเสนอโครงการวิจัยดวยความซ่ือสัตยโดยไมขอทุนซํ้าซอน

1.3 นักวิจัยตองมีความเปนธรรมเกี่ยวกับผลประโยชนท่ีไดจากการวิจัย

Page 75: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

71

1.3.1 นักวิจัยตองจัดสรรสัดสวนของผลงานวิจัยแกผูรวมวิจัยอยางยุติธรรม 1.3.2 นักวิจัยตองเสนอผลงานอยางตรงไปตรงมาโดยไมนําผลงานของผูอ่ืนมาอางวาเปนของตน

ขอ 2 นักวิจัยตองตระหนักถึงพันธกรณีในการทําวิจัย ตามขอตกลงที่ทําไวกับหนวยงานที่

สนับสนุนการวิจัยและตอหนวยงานที่ตนสังกัด นักวิจัยตองปฏิบัติตามพันธกรณีและขอตกลงการวิจัยท่ีผูเกี่ยวของทุกฝายยอมรับรวมกัน

อุทิศ เวลาทํางานวิจัยใหไดผลดีท่ีสุดและเปนไปตามกําหนดเวลา มีความรับผิดชอบไมละท้ิงงานระหวางดําเนินการ แนวทางปฏิบัต ิ

2.1 นักวิจัยตองตระหนักถึงพันธกรณีในการทําวิจัย 2.1.1 นักวิจัยตองศึกษาเง่ือนไข และกฎเกณฑของเจาของทุนอยางละเอียดรอบคอบ เพ่ือปองกัน ความขัดแยงท่ีจะเกิดขึ้นในภายหลัง 2.1.2 นักวิจัยตองปฏิบัติตามเง่ือนไข ระเบียบและกฎเกณฑ ตามขอตกลงอยางครบถวน

2.2 นักวิจัยตองอุทิศเวลาทํางานวิจัย 2.2.1 นักวิจัยตองทุมเทความรูความสามารถและเวลาใหกับการทํางานวิจัย เพ่ือใหไดมาซ่ึง ผลงานวิจัยท่ีมีคุณภาพและเปนประโยชน

2.3 นักวิจัยตองมีความรับผิดชอบในการทําวิจัย 2.3.1 นักวิจัยตองมีความรับผิดชอบ ไมละท้ิงงานโดยไมมีเหตุผลอันควร และสงงานตามกําหนดเวลา ไมทําผิดสัญญาขอตกลงจนกอใหเกิดความเสียหาย 2.3.2 นักวิจัยตองมีความรับผิดชอบในการจัดทํารายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ เพ่ือใหผลอันเกิดจาก การวิจัยไดถูกนําไปใชประโยชนตอไป ขอ 3 นักวิจัยตองมีพ้ืนฐานความรูในสาขาวิชาการที่ทําวิจัย

นักวิจัยตองมีพ้ืนฐานความรูในสาขาวิชาการท่ีทําวิจัยอยางเพียงพอและมีความรูความชํานาญหรือ มีประสบการณ เกี่ยวเนื่องกับเรื่องท่ีทําวิจัย เพ่ือนําไปสูงานวิจัยท่ีมีคุณภาพ และเพ่ือปองกันปญหาการ วิเคราะห การตีความ หรือการสรุปท่ีผิดพลาด อันอาจกอใหเกิดความเสียหายตองานวิจัย

Page 76: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

72

แนวทางปฏิบัต ิ 3.1 นักวิจัยตองมีพ้ืนฐานความรูความชํานาญหรือประสบการณเกี่ยวกับเรื่องท่ีทําวิจัยอยาง

เพียงพอเพ่ือ นําไปสูงานวิจัยท่ีมีคุณภาพ 3.2 นักวิจัยตองรักษามาตรฐานและคุณภาพของงานวิจัยในสาขาวิชาการนั้น ๆ เพ่ือปองกัน

ความเสียหายตอ วงการวิชาการ ขอ 4 นักวิจัยตองมีความรับผิดชอบตอส่ิงที่ศึกษาวิจัย ไมวาเปนส่ิงที่มีชีวิตหรือไมมีชีวิต นักวิจัยตองดําเนินการดวยความรอบคอบระมัดระวัง และเท่ียงตรงในการทําวิจัยท่ีเกี่ยวของ

กับคน สัตว พืช ศิลปวัฒนธรรม ทรัพยากร และส่ิงแวดลอม มีจิตสํานึกและปณิธานท่ีจะอนุรักษ ศิลปวัฒนธรรม ทรัพยากรและส่ิงแวดลอม แนวทางปฏิบัต ิ

4.1 การใชคนหรือสัตวเปนตัวอยางทดลอง ตองทําในกรณีท่ีไมมีทางเลือกอ่ืนเทานั้น 4.2 นักวิจัยตองดําเนินการวิจัยโดยมีจิตสํานึกท่ีจะไมกอความเสียหายตอคน สัตว พืช

ศิลปวัฒนธรรม ทรัพยากร และส่ิงแวดลอม 4.3 นักวิจัยตองมีความรับผิดชอบตอผลท่ีจะเกิดแกตนเอง กลุมตัวอยางท่ีใชในการศึกษา

และสังคม

ขอ 5 นักวิจัยตองเคารพศักดิศ์รี และสิทธิของมนุษยที่ใชเปนตัวอยางในการวิจัย นักวิจัยตองไมคํานึงถึงผลประโยชนทางวิชาการจนละเลย และขาดความเคารพในศักดิ์ศรี

ของเพ่ือน มนุษยตองถือเปนภาระหนาท่ีท่ีจะอธิบายจุดมุงหมายของการวิจัยแกบุคคลท่ีเปนกลุมตัวอยาง โดยไมหลอกลวงหรือบีบบังคับ และไมละเมิดสิทธิสวนบุคคล แนวทางปฏิบัต ิ

5.1 นักวิจัยตองมีความเคารพในสิทธิของมนุษยท่ีใชในการทดลองโดยตองไดรับความยินยอมกอนทําการวิจัย

5.2 นักวิจัยตองปฏิบัติตอมนุษยและสัตวท่ีใชในการทดลองดวยความเมตตา ไมคํานึงถึงแตผลประโยชนทางวิชาการจนเกิดความเสียหายท่ีอาจกอใหเกิดความขัดแยง

5.3 นักวิจัยตองดูแลปกปองสิทธิประโยชนและรักษาความลับของกลุมตัวอยางท่ีใชในการทดลอง

Page 77: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

73

ขอ 6 นักวิจัยตองมีอิสระทางความคิด โดยปราศจากอคติในทุกขั้นตอนของการทําวิจัย นักวิจัยตองมีอิสระทางความคิด ตองตระหนักวา อคติสวนตน หรือ ความลําเอียงทาง

วิชาการ อาจสงผลใหมีการบิดเบือนขอมูลและขอคนพบทางวิชาการ อันเปนเหตุใหเกิดผลเสียหายตองานวิจัย แนวทางปฏิบัต ิ

6.1 นักวิจัยตองมีอิสระทางความคิด ไมทํางานวิจัยดวยความเกรงใจ 6.2 นักวิจัยตองปฏิบัติงานวิจัยโดยใชหลักวิชาการเปนเกณฑและไมมีอคติมาเกี่ยวของ 6.3 นักวิจัยตองเสนอผลงานวิจัยตามความเปนจริง ไมจงใจเบ่ียงเบนผลการวิจัย โดยหวัง

ผลประโยชนสวนตน หรือ ตองการสรางความเสียหายแกผูอ่ืน ขอ 7 นักวิจัยพึงนําผลงานวิจัยไปใชประโยชนในทางที่ชอบ นักวิจัยพึงเผยแพรผลงานวิจัยเพ่ือประโยชนทางวิชาการและสังคมไมขยายผลขอคนพบจน

เกิดความ เปนจริง และไมใชผลงานวิจัยไปในทางมิชอบ แนวทางปฏิบัต ิ

7.1 นักวิจัยพึงมีความรับผิดชอบและรอบคอบในการเผยแพรผลงานวิจัย 7.2 นักวิจัยพึงเผยแพรผลงานวิจัยโดยคํานึงถึงประโยชนทางวิชาการ และสังคม ไมเผยแพร

ผลงานวิจัยเกิน ความเปนจริงโดยเห็นแกประโยชนสวนตนเปนท่ีตั้ง 7.3 นักวิจัยพึงเสนอผลงานวิจัยตามความเปนจริงไมขยายผลขอคนพบโดยปราศจากการ

ตรวจสอบ ยืนยัน ในทางวิชาการ

ขอ 8 นักวิจัยพึงเคารพความคิดเห็นทางวิชาการของผูอื่น นักวิจัยพึงมีใจกวาง พรอมท่ีจะเปดเผยขอมูลและขั้นตอนการวิจัยยอมรับฟงความคิดเห็น

และเหตุผลทางวิชาการของผูอ่ืน และพรอมท่ีจะปรับปรุงแกไขงานวิจัยของตนใหถูกตอง แนวทางปฏิบัต ิ

8.1 นักวิจัยพึงมีมนุษยสัมพันธท่ีด ียินดีแลกเปล่ียนความคิดเห็น และสรางความเขาใจในงานวิจัยกับเพ่ือน รวมงานและนักวิชาการอ่ืนๆ

8.2 นักวิจัยพึงยอมรับฟง แกไขการทําวิจัยและการเสนอผลงานวิจัยตามขอแนะนําท่ีด ีเพ่ือสรางความรูท่ี ถูกตองและสามารถนําผลงานวิจัยไปใชประโยชนได

Page 78: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

74

ขอ 9 นักวิจัยพึงมีความรับผิดชอบตอสังคมทกุระดับ นักวิจัยมีจิตสํานึกท่ีจะอุทิศกําลังสติปญญาในการทําวิจัย เพ่ือความกาวหนาทางวิชาการ

เพ่ือความ เจริญและประโยชนสุขของสังคมและมวลมนษุยชาต ิแนวทางปฏิบัต ิ

9.1 นักวิจัยพึงไตรตรองหาหัวขอการวิจัยดวยความรอบคอบและทําการวิจัยดวยจิตสํานึกท่ีจะอุทิศกําลัง ปญญาของตนเพ่ือความกาวหนาทางวิชาการ เพ่ือความเจริญของสถาบันและประโยชนสุขตอสังคม

9.2 นักวิจัยพึงรับผิดชอบในการสรางสรรคผลงานวิชาการเพ่ือความเจริญของสังคม ไมทําการวิจัยท่ีขัดกับ กฎหมาย ความสงบเรียบรอยและศีลธรรมอันดีของประชาชน

9.3 นักวิจัยพึงพัฒนาบทบาทของตนใหเกิดประโยชนยิ่งขึ้นและอุทิศเวลา น้ําใจ กระทําการสงเสริมพัฒนาความรูจิตใจ พฤติกรรมของนักวิจัยรุนใหมใหมีสวนสรางสรรคความรูแกสังคมสืบไป

Page 79: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)
Page 80: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

ภาคผนวกที่ 1 ตัวอยางวิทยานิพนธ

Page 81: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

การศึกษาปจจัยทํานายการเกิดภาวะแทรกซอนของผูเปนเบาหวานในชุมชน ภายใตทฤษฎีการพยาบาลของคิง

A STUDY OF PREDICTABLE FACTORS OF DIABETES MELLITUS COMPLICATION IN THE COMMUNITY UNDER KING’ S NURSING THEORY

โดย นางสาวจิราพร เดชมา

วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน บัณฑิตวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรต ิ พ.ศ. 2553

Page 82: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

(นายแพทยเจษฎา พันธวาศิษฎ) จากสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

วิทยานิพนธ การศึกษาปจจัยทํานายการเกิดภาวะแทรกซอนของผูเปนเบาหวาน ในชุมชนภายใตทฤษฎีการพยาบาลของคิง

A Study of Predictable Factors of Diabetes Mellitus Complication in the Community Under King’s Nursing Theory ชื่อนักศึกษา นางสาวจิราพร เดชมา รหัสประจําตัว 494029 สาขาวิชา การพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน ปการศึกษา 2553

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ และสํานักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา ไดตรวจสอบและอนุมัติใหวิทยานิพนธฉบับนี้ เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต เม่ือวันท่ี 28 เมษายน พ.ศ. 2553

__________________________________คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย (ผูชวยศาสตราจารยพรรณราย แสงวิเชียร) คณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ ________________________ประธานกรรมการ (ผูชวยศาสตราจารย ดร.หทัยชนก บัวเจริญ)

___________________________________กรรมการและอาจารยท่ีปรึกษาหลัก (ผูชวยศาสตราจารย ดร.วนิดา ดุรงคฤทธิชัย)

________________________กรรมการและอาจารยท่ีปรึกษารวม (อาจารย ดร.วิชุดา กิจธรธรรม) ________________________กรรมการผูทรงคุณวุฒ ิ

Page 83: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

วิทยานิพนธ การศึกษาปจจัยทํานายการเกิดภาวะแทรกซอนของผูเปนเบาหวานในชุมชน ภายใตทฤษฎีการพยาบาลของคิง A Study of Predictable Factors of Diabetes Mellitus Complication in the Community Under King’s Nursing Theory

ชื่อนักศึกษา นางสาวจิราพร เดชมา รหัสประจําตัว 494029 สาขาวิชา การพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน ปการศึกษา 2553

บทคัดยอ

การวิจัยเชิงสํารวจครั้งนี้ มีวัตถุประสงคเพ่ือศึกษาปจจัยทํานายภาวะแทรกซอนผูเปนเบาหวานชนิดท่ี 2 ในชุมชนภายใตทฤษฎีการพยาบาลของคิง กลุมตัวอยาง คือ ผูเปนเบาหวานชนิดท่ี 2 ท่ีมีภาวะแทรกซอนและมีอายุ 35 ปขึ้นไปในอําเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม จํานวน 300 คน เครื่องมือท่ีใชเปนแบบสัมภาษณ ท่ีสรางตามแนวคิดระบบบุคคล ระบบระหวางบุคคลและระบบสังคมของคิง วิเคราะหขอมูลดวยคาเฉล่ีย สวนเบ่ียงเบนมาตรฐานและการวิเคราะหถดถอยแบบขั้นตอน

ผลการวิจัย พบวา กลุมตัวอยางสวนมากเปนเพศหญิง อายุระหวาง 56 – 65 ป สําเร็จการศึกษาระดับประถมศึกษา ไมไดประกอบอาชีพ รายไดของครอบครัวเฉล่ียตอเดือน 5,001 – 10,000 บาท จํานวนสมาชิกในครอบครัว 3 – 5 คน ปวยดวยโรคเบาหวานมานาน 1 – 5 ป มีการรับรูบทบาทของครอบครัว บทบาทของชุมชนและบทบาทของพยาบาลในการจัดการโรคเบาหวาน มากท่ีสุด รองลงมา คือ การรับรูตอโรคและความรุนแรงของโรค และความเครียดการจัดการความเครียดนอยท่ีสุด

ภาวะแทรกซอนท่ีศึกษามีท้ังหมด 4 ปจจัย คือ น้ําตาลในเลือดสูง ภาวะแทรกซอนทางตา ทางไต ทางระบบประสาทและการเกิดแผลท่ีเทา ผลปรากฏวาปจจัยท่ีสามารถทํานายการเกิดภาวะ

(1)

Page 84: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

น้ําตาลในเลือดสูง คือ ความสามารถในการควบคุมโรคของตนเอง โดยอธิบายการเปล่ียนแปลงของน้ําตาลในเลือดไดรอยละ 3.0 ปจจัยท่ีสามารถทํานายภาวะแทรกซอนทางตา คือ ระยะเวลาท่ีเปนโรค โดยอธิบายการเกิดภาวะแทรกซอนทางตาไดรอยละ 1.5 ปจจัยท่ีสามารถทํานายการเกิดภาวะแทรกซอนทางไต คือ ฐานะทางเศรษฐกิจและระยะเวลาท่ีเปนโรคเบาหวาน โดยฐานะทางเศรษฐกิจ อธิบายการเกิดภาวะแทรกซอนทางไตไดรอยละ 9.8 และระยะเวลาท่ีเปนโรคเบาหวาน อธิบายการเกิดภาวะแทรกซอนทางไตไดรอยละ 11.9 ปจจัยท่ีสามารถทํานายการเกิดภาวะ แทรกซอนทางระบบประสาทและการเกิด แผลท่ีเทา คือ อายุ การรับรูตอบทบาทของคนในครอบครัวในการจัดการเบาหวานใหผูเปนเบาหวานและความเครียด โดยอายุอธิบายการเกิดภาวะแทรกซอนทางระบบประสาทและการเกิดแผลท่ีเทาไดรอยละ 2.6 การรับรูตอบทบาทของคนในครอบครัว อธิบายการเกิดภาวะแทรกซอนทางระบบประสาท และการเกิดแผลท่ีเทาไดรอยละ 4.2 สวนความเครียด อธิบายการเกิดภาวะแทรกซอนทางระบบประสาทและการเกิดแผลท่ีเทาไดรอยละ 5.5

ขอเสนอแนะจากการศึกษา พยาบาลเวชปฏิบัติชุมชนและบุคลากรสุขภาพ ควรนําปจจัยท่ีมีอิทธิพลตอการเกิดภาวะแทรกซอนจากโรคเบาหวานมาออกแบบระบบการใหบริการสุขภาพแกกลุมเส่ียงและกลุมผูเปนเบาหวานท่ีอาจเกิดภาวะแทรกซอน โดยเนนการมีสวนรวมของครอบครัว ผูนําชุมชน บุคลากรสุขภาพ รวมถึงอาสาสมัครสาธารณสุข ออกแบบการเยี่ยมบานโดยเนนสรางการรับรูท่ีถูกตองของคนในครอบครัวในการประเมินความรูความเขาใจปญหา และความตองการ การมีสวนรวมในการดูแลผูเปนเบาหวานในครอบครัว รวมท้ังนําขอมูลสวนท่ีประเมินไดมา วางแผนการพยาบาลและประเมินผล ซ่ึงจะทําใหไดนวัตกรรมการเยี่ยมบานกลุมเส่ียงท่ีใชทฤษฎีการพยาบาลของคิงเปนฐานในการดูแล

(2)

Page 85: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

Thesis Title A Study of Predictable Factors of Diabetes Mellitus Complication in the Community under King’s Theory By Miss. Jiraporn Dechma Identification No. 494029 Degree Master of Nursing Science Program (M.N.S) Major Community Nurse Practitioner Academic Year 2010

ABSTRACT

The survey research objectives was to examine the predictive factors of complication of Diabetes Mellitus patients in community under King’s Nursing Theory. The sample included 300 diabetes types 2 patients with complications, aged of 35 years or higher, in Nakornchaisri, Nakornprathom province. The questionnaire was enquired about personal information, and heath behaviors related to individual, interpersonal, and social system in King’s Nursing Theory. The data were analyzed by Mean, Standard deviation, and stepwise regression analysis.

The results have shown that respondents mainly were female, age ranged between 56-65 years, primary school level, unemployed, income ranged 5,001-10,000 baht monthly, family member ranged 3-5 persons. A length of sickness with diabetes was 1-5 years. The diabetes patients had the highest level of health behaviors for preventing complication in interpersonal level, followed by individual and social level, respectively.

The studied complications of Diabetes Mellitus patients were blood sugar level, eye complication, renal complication, nervous complication, and footsore. The predictive factor for

(3)

Page 86: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

blood sugar level was patient’s care ability in diabetes complications. When patient’s care ability in diabetes complications increased in 1 point, the blood sugar can be reduced 2.337 points. It can explain the changing of blood sugar by 3.0%. The predictive factor for eye complication from diabetes was a length of diseases. When a length of disease was one point or higher, the eye complication was increased 0.009 point. It can explain eye complication by 1.5%. The predictive factors for renal complication were economic status and length of disease. If the economic status of diabetic patients improved 1 point, the rental complication increased by 2.538 point. It can explained the renal complication by 9.8%. When a length of disease increased by 1 point, the rental complication increased by 0.018 point, while the length of disease can explain the onset of renal complication by 11%. The predictive factor for nervous complication included age and perception of family member’s role in diabetes management and stress. When the age increased for one point, the nervous complication was increased by 0.007 point. It can explain the nervous complication by 2.6%. While the family member’s role in diabetes management increased by 1 point, the nervous complication was decreased by 0.016 point. It can explain the nervous complication by 4.2%. When the diabetes patients’ stress increased by 1 point, the nervous complication increased by 0.116 point. It can explain the nervous complication by 5.5%.

The results suggested that the community nurse practitioners and health personnel should take those significant factors for designing health care service system by empowering family members, community leaders, health personnel, and health community volunteers to help the recipient who risk to have diabetes complications. In addition, home health care plan should be designed by stress the assessment of perception of family members in management involve them in taking care of the diabetes patients. Further, the innovation from home visit based on King’s Nursing Theory should be created from home health care plan design.

(4)

Page 87: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

กิตติกรรมประกาศ

วิทยานิพนธฉบับนี้ สําเร็จไดดวยความกรุณาของ อาจารย ดร.นภาพร แกวนิมิตชัย อาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ ท่ีไดเสียสละเวลาใหคําปรึกษา แนะนํา และตรวจแกไขขอบกพรองตาง ๆ จนกระท่ังวิทยานิพนธฉบับนี้สําเร็จลุลวงดวยความสมบูรณครบถวน ผูวิจัยจึงขอกราบขอบพระคุณเปนอยางสูงมา ณ ท่ีนี ้

ขอกราบขอบพระคุณ อาจารย ดร. ยุวดี เกตสัมพันธ อาจารยท่ีปรึกษารวม ท่ีไดกรุณาใหขอเสนอแนะท่ีเปนประโยชนตอผูวิจัย และตรวจแกไขขอบกพรองตาง ๆ ขอขอบพระคุณอาจารยบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยหัวเฉยีวเฉลิมพระเกียรติ ทุกทานท่ีไดประสิทธิประสาทความรูแกผูวิจัย ขอขอบพระคุณผูทรงคุณวุฒิท่ีไดตรวจเครื่องมือท่ีใชในการวิจัยในครั้งนี้ ขอขอบคุณกลุมตัวอยางโรงพยาบาลหัวเฉียวท่ีกรุณาใหผูวิจัยไดเก็บขอมูลในการวิจัยครั้งนี ้

ขอขอบคุณ คุณพรพล คงอ่ิม คุณกัลยาณี อางสกุล และคุณรุงนภา สงาแสง ท่ีไดใหความชวยเหลือเปนอยางดีในการวิจัยครั้งนี ้ ทายนี้ ขอกราบขอบพระคุณ คุณพอคุณแม ท่ีใหความหวงใย และเปนกําลังใจใหกับผูวิจัยมาตลอด และขอบคุณนองสาว เพ่ือน ๆ นักศึกษาสาขาวิชาการจัดการระบบสุขภาพ รุน 1 ท่ีเปนกําลังใจ รวมท้ังคุณเปมิกา ธนะพุฒิธาดา ท่ีเปนผูจัดพิมพวิทยานิพนธ และเปนกําลังใจแกผูวิจัยมาโดยตลอด

ณภัทร ธนะพุฒินาท

(5)

Page 88: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

สารบัญ

หนา บทคัดยอ..................................................................................................................................Abstract...................................................................................................................................กิตติกรรมประกาศ...................................................................................................................สารบัญ.....................................................................................................................................สารบัญตาราง............................................................................................................................สารบัญแผนภูมิ........................................................................................................................สารบัญภาพ..............................................................................................................................

(1) (3) (5) (6) (8) (9)

(10)

บทที ่ 1. บทนํา 1.1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา..............................................................

1.2 วัตถุประสงคของการวิจัย.......................................................................................1.3 ขอบเขตในการวิจัย................................................................................................1.4 นิยามตัวแปร........................................................................................................

1 9 9 9

2. วรรณกรรมและงานวิจัยที่เกี่ยวของ 2.1 โรคเบาหวาน.......................................................................................................

2.2 ภาวะแทรกซอนของโรคเบาหวาน...................................................................... 2.3 ปจจัยเส่ียงตอการเกิดภาวะแทรกซอนของโรคเบาหวานตามกรอบทฤษฎี การพยาบาลของคิง.............................................................................................. 2.4 การประเมินภาวะแทรกซอนของระบบประสาทสวนปลายโดยการตรวจเทา..... 2.5 บทบาทพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชนในการจัดการภาวะแทรกซอนของ โรคเบาหวานในชุมชน.........................................................................................2.6 กรอบแนวคิดในการวิจัย......................................................................................

14 19

32 47

51 54

3. วิธีดําเนินงานวิจัย 3.1 ประชากรและกลุมตัวอยาง.............................................................55

(6)

Page 89: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

สารบัญ (ตอ) หนา 3.2 เครื่องมือท่ีใชในการวิจัย........................................................................................

3.3 การเก็บรวบรวมขอมูล......................................................................................... 3.4 การวิเคราะหขอมูล...............................................................................................

56 59 62

4. ผลการศึกษา 4.1 ลักษณะท่ัวไปและขอมูลสุขภาพของผูเปนเบาหวานชนิดท่ี 2 ในชุมชน...............

4.2 การรับรูของผูเปนเบาหวานชนิดท่ี 2 ตอโรคความรุนแรงของโรค บทบาท ของครอบครัว บทบาทของชุมชน และบทบาทในการจัดการโรคเบาหวาน รวมท้ังความเครียด การจัดการความเครียดและระดับความเครียด.......................4.3 การตรวจรางกาย...................................................................................................4.4 การศึกษาคาสัมประสิทธ์ิสหสัมพันธระหวางตัวแปร...........................................4.5 การศึกษาปจจัยทํานายการเกิดภาวะแทรกซอนในผูเปนเบาหวานชนิดท่ี 2 ในชุมชน................................................................................................................

65

71 78 84

84

5. สรุปผลการวิจัย อภิปราย และขอเสนอแนะ 5.1 สรุปผลการวิจัย....................................................................................................

5.2 อภิปรายผลการวิจัย................................................................................................5.3 ขอเสนอแนะ.........................................................................................................

89 93 98

บรรณานุกรม............................................................................................................................ 100 ภาคผนวก ผนวก ก. คําช้ีแจงและการพิทักษสิทธิกลุมตัวอยางในการเขารวมวิจัย......................

ผนวก ข. ขอตกลงเบ้ืองตนของการใชสถิติการวิเคราะหถดถอยแบบขั้นตอน........... ผนวก ค. รายช่ือผูทรงคุณวุฒิตรวจสอบเครื่องมือท่ีใชเก็บรวบรวมขอมูล.................

110 121 128

ประวัติผูเขียน........................................................................................................................... 129

(7)

Page 90: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

สารบัญตาราง

ตารางที ่ หนา 4.1 ขอมูลท่ัวไปและขอมูลสุขภาพของผูเปนเบาหวานชนิดท่ี 2 ในชุมชน จําแนกตาม

จํานวนและรอยละ...................................................................................................4.2 จํานวน รอยรอยละ คาเฉล่ียและสวนเบ่ียงเบนมาตรฐานของผูเปนเบาหวาน ชนิดท่ี 2 ในชุมชน จําแนกตามการรับรูของผูเปนเบาหวาน.......................................4.3 จํานวน รอยละ คาเฉล่ียและสวนเบ่ียงเบนมาตรฐานของผูเปนเบาหวานชนิดท่ี 2 ในชุมชน จําแนกตามการรับรูบทบาทของครอบครัว บทบาทของชุมชน และ บทบาทของพยาบาลในการจัดการโรคเบาหวาน.....................................................4.4 จํานวน รอยละ คาเฉล่ียและสวนเบ่ียงเบนมาตรฐานของผูเปนเบาหวาน ชนิดท่ี 2 ในชุมชน จําแนกตามการรับรูบทบาทของชุมชนในการจัดการโรคเบาหวาน.........4.5 จํานวน รอยละ คาเฉล่ียและสวนเบ่ียงเบนมาตรฐานของผูเปนเบาหวานชนิดท่ี 2 ในชุมชน ตามความเครียด การจัดการความเครียด และระดับความเครียดของ ผูเปนเบาหวาน.........................................................................................................4.6 จํานวน รอยละ คาเฉล่ียและสวนเบ่ียงเบนมาตรฐานของผูเปนเบาหวานชนิดท่ี 2 ในชุมชน จําแนกตามการตรวจรางกาย......................................................................................

66

74

75

77

77

80

(8)

Page 91: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

สารบัญแผนภูมิ

แผนภูมิที ่ หนา 2.1 กรอบแนวคิดในการวิจัย............................................................................................. 54

(9)

Page 92: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

สารบัญภาพ

ภาพที่ หนา 2.1 การเกิดภาวะแทรกซอนจากโรคเบาหวาน..................................................................

2.2 อุปกรณการตรวจเทาโมโนฟลาเมนท.........................................................................2.3 ตําแหนงการตรวจสอบประสาทรับความรูสึกท่ีเทา....................................................2.4 วิธีการตรวจสอบประสาทความรูสึกท่ีเทาดวยโมโนฟลาเมนท..................................

24 48 49 50

(10)

Page 93: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

บทที่ 1

บทนํา

1.1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา

เบาหวานเปนโรคเรื้อรังท่ีเปนปญหาสาธารณสุขท่ีสําคัญ เพราะจํานวนผูปวยท่ีมากขึ้นและผลกระทบของโรค ซ่ึงกอใหเกิดการสูญเสียทางเศรษฐกิจของบุคคล ครอบครัว และของรัฐ ทําให ผูเปนโรคนี้มีคุณภาพชีวิตท่ีลดลง โดยเฉพาะจากภาวะแทรกซอนตาง ๆ ท่ีมักเกิดขึ้นตามมาและยากตอการรักษา เชน ความผิดปกติของปลายระบบประสาท จอประสาทตาเส่ือม โรคหลอดเลือดหัวใจและสมอง โรคไต รวมถึงแผลบริเวณเทา (วรรณี นิธิยานันท และคณะ. 2550) จากการศึกษาขององคการอนามัยโลกและมูลนิธิเบาหวานนานาชาติ (International Diabetes Federation : IDF) พบวาปจจุบันมีผูเปนเบาหวานราว 246 ลานคนท่ัวโลก และจะเพ่ิมเปน 2 เทาตัวในอีก 20 ปขางหนา ซ่ึงสวนใหญจะเปนการเพ่ิมขึ้นในประเทศกําลังพัฒนา (ธงชัย ประฏิภาณวัต. 2550) ในป พ.ศ. 2546-2548 พบวา ท่ัวโลกมีประชากรปวยเปนโรคเบาหวานจํานวน 150 ลานคน สูงกวาท่ีคาดการณไวถึง 26 ลานคน และเสียชีวิตสูงมากถึง 3.2 ลานคนตอป โดยมีอัตราเสียชีวิต 6 คนตอนาที ขณะท่ีปพ.ศ. 2550 พบผูปวยโรคนี้ เพ่ิมขึ้น 1 คนในทุก ๆ 5 วินาที และเสียชีวิตแลวเกือบ 4 ลานคน สวนขอมูลจากสหพันธเบาหวานนานาชาติ ไดคาดการณไววาจํานวนผูท่ีเปนโรคเบาหวานจะเพ่ิมเปน 380 ลานคนในป พ.ศ. 2568 ในจํานวนนี้ 4 ใน 5 เปนชาวเอเชีย (สํานักงานกองทุนสนับสนุนและสรางเสริมสุขภาพ. 2550) โดยพบวา ในประเทศอินเดียมีจํานวนผูเปนเบาหวานมากท่ีสุด คือ 79.4 ลานคน รองลงมา คือ จีน 42.3 ลานคน และสหรัฐอเมริกา 30.3 ลานคน (เอ่ียมศิริ กิจประเสริฐ. 2550) สําหรับประเทศสหรัฐอเมริกา นั้นพบวา ผูเปนเบาหวานมีจํานวนเพ่ิมขึ้นรอยละ 5.9 (ฉัตรชัย ศรีบัณฑิต. 2551) ในประเทศไทยนั้นโรคเบาหวานเปนปญหาสาธารณสุขสําคัญเชนเดียวกับระดับสากลเนื่องจากเปนสาเหตุการเจ็บปวยและการตายท่ีสําคัญของคนไทย รวมท้ังอัตราความชุกมีแนวโนมสูงขึ้นเปนลําดับ (สถิติการเฝาระวังโรค สํานักระบาดวิทยา. 2549) โดยในชวงป พ.ศ. 2546-2548 พบวา มีผูเสียชีวิตจากโรคเบาหวานปละ 200,000 คน (เยาวรัตน ปรปกษขาม และคณะ. 2549) ในป 2550 มีประมาณ 400,000 ราย เสียชีวิตแลวเกือบ 8,000 คน และจากการศึกษาของ วิโรจน เจียมจรัส

Page 94: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

2.6 กรอบแนวคิดในการวิจัย

แผนภูมิที่ 2.1 กรอบแนวคิดที่ใชในการวิจัย

ระบบบุคคล - อาย ุ - เพศ - ระดับการศึกษา - ฐานะทางเศรษฐกิจ - ระยะเวลาท่ีเปนโรคเบาหวาน - ระดับน้ําตาลในเลือด - การรับรูเกี่ยวกับโรค - ความสามารถในการควบคุมโรคของตนเอง - ภาวะน้ําตาลในเลือดสูง

- ภาวะแทรกซอนทางตา - ภาวะแทรกซอนทางไต - ภาวะแทรกซอนทางระบบประสาทและการเกิดแผลท่ีเทา

ระบบสังคม - บทบาท อํานาจหนาท่ีทางสังคม - ความเครียด

ระบบระหวางบุคคล

- การรับรูตอบทบาทของคนใน ครอบครัวในการจัดการเบาหวาน ใหผูเปนเบาหวาน - การรับรูตอบทบาทของพยาบาลในการจัดการเบาหวานใหผูเปนเบาหวาน

54

Page 95: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

กลุมตัวอยางสวนใหญรักษาโรคเบาหวาน โดยใชสิทธิหลักประกันสุขภาพถวนหนา/สิทธิประกันสังคม/สิทธิผูสูงอายุ (รอยละ 77.7) รองลงมา คือ ใชสิทธิราชการ (รอยละ 17.0) และเสีย คารักษาเอง (รอยละ 4.3)

ผูเปนเบาหวานโดยมากเปนหัวหนาครอบครัว (รอยละ 38.0) รองลงมา คือ เปนสมาชิก (รอยละ 32.0) และแมบาน (รอยละ 30.0) ผูท่ีมีอํานาจหรือมีบทบาทมากท่ีสุดในบาน คือ ตัวผูเปนเบาหวานเอง (รอยละ 52.4) ลูกหลาน (รอยละ 30.3) และคูสมรส (รอยละ 14.3) และครึ่งหนึ่งจะเปนผูดูแลตนเอง (รอยละ 55.0) รองลงมา ลูกหลานเปนผูดูแล (รอยละ 34.0) และสามีหรือภรรยาเปนผูดูแล (รอยละ 10.4)

กลุมตัวอยางเกือบท้ังหมดเคยไดรับความรูเรื่องโรคเบาหวาน (รอยละ 97.0) โดยไดรับความรูจากบุคลากรทางการแพทยเปนหลัก (รอยละ 92.7) รองลงมา คือ จากเอกสารหรือคูมือหรือแผนพับ (รอยละ 14.7) และวิทยุ/โทรทัศน (รอยละ 8.0) สวนใหญออกกําลังกาย (รอยละ 74.0) โดยเดินเร็วมากท่ีสุด (รอยละ 36.50) รองลงมา คือ กายบริหาร (รอยละ 24.77) และวิ่งเหยาะ (รอยละ 13.98) จํานวนครั้งท่ีออกกําลังกายในแตละสัปดาหท่ีมากท่ีสุด คือ 3-4 ครั้ง (รอยละ 48.64) รองลงมา คือ 1-2 ครั้ง (รอยละ 44.54) และ 5-7 ครั้ง (รอยละ 6.82) ระยะเวลาท่ีใชออกกําลังกาย แตละครั้ง คือ 30 นาที (รอยละ 37.72) รองลงมา คือ 15 นาที (รอยละ 32.28) และนอยกวา 15 นาที (รอยละ 12.28)

ตารางที่ 4.1

ขอมูลทั่วไปและขอมูลสุขภาพของผูเปนเบาหวานชนิดที่ 2 ในชุมชน จําแนกตามจํานวนและรอยละ

ขอมูลทั่วไปและขอมูลสุขภาพ จํานวน รอยละ เพศ ชาย หญิง

รวม

92 208 300

30.70 69.30 100.00

66

Page 96: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

ตารางที่ 4.1 (ตอ)

ขอมูลทั่วไปและขอมูลสุขภาพ จํานวน รอยละ อายุ (ป) 35 – 55 ป 56 – 75 ป 76 – 96 ป

รวม

82 177 41 300

27.30 59.10 13.60 100.00

สถานภาพสมรส โสด คู หมาย หยา แยก

รวม

25 211 56 8

300

8.30 70.30 18.70 2.70

100.00 ศาสนา พุทธ คริสต

รวม

299 1

300

99.70 0.30

100.00 ระดับการศึกษา ไมไดเรียน ประถมศึกษา มัธยมศึกษา ประกาศนียบัตร/อนุปริญญา ปริญญาตร ี

รวม

27 212 38 8 15 300

9.00 70.60 12.70 2.70 5.00

100.00

67

Page 97: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

บรรณานุกรม

กาญจนา ประสารปราน. (2535) ความสัมพันธระหวางความสามารถในการดูแลตนเองกับ พฤติกรรมการดูแลตนเองเกี่ยวกับการควบคุมอาหารในผูปวยเบาหวาน. วิทยานิพนธ วท.ม. (สาขาวิชาพยาบาลศาสตร) กรงุเทพมหานคร : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล. กันต เชิญรุงโรจน. (2550) รายงานลการสํารวจพฤติกรรมเส่ียงโรคไมติดตอและการบาดเจ็บ. กรุงเทพมหานคร : สํานักงานโรคไมติดตอ กระทรวงสาธารณสุข. กระทรวงสาธารณสุข. (2549) ขอมูลโรคไมติดตอและบาดเจ็บ. นนทบุรี : กระทรวงสาธารณสุข. กระทรวงสาธารณสุข. (2550) โรคเร้ือรังภัยคุกคามสุขภาพคนไทย. นนทบุร ี: กระทรวงสาธารณสุข. กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข. (2549) วารสารสุขภาพจิตแหงประเทศไทย. 14 (3) หนา 199-200. เกศินี ไขนิล. (2536) ความสัมพันธระหวางความเชื่อดานสุขภาพกับพฤติกรรมการดูแลตนเอง ของหญิงตั้งครรภเบาหวาน. วิทยานิพนธ วท.ม. (สาขาวิชาการพยาบาลศาสตร) กรุงเทพมหานคร : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล. จารุนันทร สมณะ. (2541) การสอนอยางมีแบบแผนและการเยี่ยมบานที่มีผลตอการลดระดับ น้ําตาลในเลือดและควบคุมภาวะแทรกซอนของผูปวยเบาหวานโรงพยาบาลแมออน จังหวัดเชียงใหม. วิทยานิพนธ ส.ม. (สาธารณสุขศาสตร) เชียงใหม : มหาวิทยาลัยเชียงใหม. จิรประภา ภาวิไล. (2535) การศึกษาการรับรูตอภาวะสุขภาพ พฤติกรรมการดูแลตนเองและ ภาวะสุขภาพของผูปวยภายหลังการผาตัดเปลี่ยนลิ้นหัวใจ. วิทยานิพนธ วท.ม. (สาขาวิชาพยาบาลศาสตร) กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยมหิดล. จิรพงศ อุกะโชค. (2543) แผลที่เทาเหตุเกิดโรคเบาหวานอีก 20 ป. นนทบุรี : โรงพยาบาล นนทเวช. ฉวีวรรณ ทองสาร. (2550) การพัฒนาแนวปฏิบัติการพยาบาลเพ่ือการจัดการตนเองในการบริโภค อาหารของผูปวยเบาหวานชนิดที่ 2 ที่ไมสามารถควบคุมระดับน้ําตาลในเลือด. สารนิพนธ พย.ม. (สาขาการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน) นครศรีธรรมราช : มหาวิทยาลัย วลัยลักษณ. ฉัตรชัย ศรีบัณฑิต. (2551) เบาหวานนับวันกลายเปนโรคยอดฮิต. [ออนไลน] แหลงท่ีมา : http://www.absolute-health.org/doc-003.htm (17 กรกฎาคม 2553)

100

Page 98: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

บรรณานุกรม (ตอ) ฉัตรวลัย ใจอารีย. (2533) ความสัมพันธระหวางการสนับสนุนทางสังคม พฤติกรรมการดูแล สุขภาพกับคุณภาพชีวิตของผูปวยหัวใจวายเลือดคั่ง. วิทยานิพนธ วท.ม. (สาขาพยาบาลศาสตร) กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยมหิดล. ชัชลิต รัตรสาร. (2546) INTENSIVE THERAPY OF TYPE 2 DIABETES. สงขลา : ภาควิชาอายุรศาสตร คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร. ชัยชาญ ดีโรจนวงศ และ กอบชัย พัววิไล. (2546) การวินิจฉัยและจําแนกโรคเบาหวาน. ตําราโรคเบาหวาน สมาคมตอมไรทอแหงประเทศไทย กรุงเทพมหานคร. มหาวิทยาลัยมหิดล : เรือนแกวการพิมพ. เชิดศักดิ ์ แวดประเสริฐ และ สาธิต นฤภัย. (2550) เคร่ืองวัดความดันโลหิต. [ออนไลน] แหลงท่ีมา : http//www.medi.moph.go.th/education/Tpum.pdf (11 กรกฎาคม 2553) ดรุณี ชุณหะวัต.ิ (2551) การดูแลผูปวยเร้ือรังแบบมีสวนรวม : มิตรภาพบําบัด. กรุงเทพมหานคร : ภาควิชาพยาบาลศาสตร คณะแพทยศาสตร โรงพยาบาลรามาธิบด.ี ทิพวรรณ วัฒนเวช. (2548) อิทธิพลของปจจัยคัดสรรและพฤติกรรมการดูแลตนเองตออาการ ทองอืดของผูปวย หลังผาตัดชองทอง. [ออนไลน] แหลงท่ีมา : http://www.sirirajmedj.com/ content.php?content_id=86 (10 เมษายน 2553) เทพ หิมะทองคํา และคณะ. (2548) ความรูเร่ืองเบาหวานฉบับสมบูรณ. กรงุเทพมหานคร : วิทยพัฒน. ธงชัย ประฏิภาณวัตร. (2550) “หลักการดูแลรักษาผูปวยเบาหวาน” อายุรศาสตรอีสาน. 6 (3) หนา 78-93. ธนวรรณ เมาฬีทอง. (2551) การพัฒนาแนวทางการปฏิบัติเพ่ือสรางความตระหนักรูในการ ปองกันภาวะน้ําตาลในเลือดต่ําของผูปวยเบาหวานชนิดที่ 2 ในศูนยสุขภาพชุมชน.

วิทยานิพนธ พย.ม. (สาขาวิชาการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน) สมุทรปราการ : มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรต.ิ

นิตยา แยมมี. (2550) แนวปฏิบัติการพยาบาลผูปวยโรคไตเร้ือรังระยะที่ 2 จากเบาหวาน เพ่ือชะลอการเส่ือมของไต. วิทยานิพนธ พย.ม. (สาขาวิชาการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน) สมุทรปราการ : มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรต.ิ เนติ สุขสมบูรณ และคณะ. (2548) ระบบการใชยาในโรงพยาบาลเพ่ือความปลอดภัยของผูปวย.

: กรุงเทพมหานคร หนวยงานเภสัชกรรม.

101

Page 99: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)
Page 100: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

ภาคผนวกที่ 2 ตัวอยางการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต)

Page 101: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

ปจจัยที่มีอิทธิพลตอผูบริจาคโลหิตประจําในการเปนผูบริจาคเซลลตนกําเนิด

FACTORS INFLUENCING REPEATED BLOOD DONORS FOR BECOMING BONE MARROW DONORS

โดย นางสาวศิริเพ็ญ จันทจร

การศึกษาอิสระนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต

สาขาวิชาการจัดการระบบสุขภาพ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรต ิ

พ.ศ. 2550

Page 102: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

การศึกษาอิสระ ปจจัยท่ีมีอิทธิพลตอผูบริจาคโลหิตประจําในการเปนผูบริจาค เซลลตนกําเนิด Factors Influencing Repeated Blood Donors for Becoming Bone Marrow Donors

ชื่อนักศึกษา นางสาวศิริเพ็ญ จันทจร รหัสประจําตัว 464061 สาขาวิชา การจัดการระบบสุขภาพ ปการศึกษา 2549 ______________________________________________________________________________ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ไดตรวจสอบและอนุมัติใหการศึกษาอิสระฉบับนี้ เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต เม่ือวันท่ี 29 ธันวาคม พ.ศ.2549 _________________________________________คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย (ผูชวยศาสตราจารยพรรณราย แสงวิเชียร) คณะกรรมการสอบการศึกษาอิสระ _________________________________________อาจารยท่ีปรึกษา (อาจารย ดร.วิรัตน ทองรอด) _________________________________________กรรมการ (รองศาสตราจารย ดร.ปราโมทย ทองกระจาย) _________________________________________กรรมการ (ผูชวยศาสตราจารยเสาวลักษณ ลักษมีจรัลกุล)

Page 103: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

การศึกษาอิสระ ปจจัยท่ีมีอิทธิพลตอผูบริจาคโลหิตประจําในการเปนผูบริจาค เซลลตนกําเนิด Factors Influencing Repeated Blood Donors for Becoming Bone Marrow Donors

ชื่อนักศึกษา นางสาวศิริเพ็ญ จันทจร รหัสประจําตัว 464061 สาขาวิชา การจัดการระบบสุขภาพ ปการศึกษา 2549

บทคัดยอ

การศึกษาอิสระนี้เปนการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพท่ีมีวัตถุประสงค เพ่ือศึกษาเหตุผล ทัศนคติและแรงจูงใจในการบริจาคเซลลตนกําเนิดของผูบริจาคโลหิตประจําและปญหา อุปสรรค พรอมท้ังเสนอแนวทางในการเพ่ิมจํานวนผูบริจาคเซลลตนกําเนิด จากกลุมผูบริจาคโลหิตประจํา ซ่ึงเปนผูบริจาคโลหิต 2 ครั้งขึน้ไป เปนผูใหขอมูลหลัก 3 กลุมไดแก กลุมท่ี 1 กลุมผูบริจาคโลหิตประจํา ท่ียังไมไดลงทะเบียนเปนผูบริจาคเซลลตนกําเนิด จํานวน 16 ราย กลุมท่ี 2 กลุมผูบริจาคโลหิตประจําท่ีลงทะเบียนเปนผูบริจาคเซลลตนกําเนิดแลวจํานวน 6 ราย และกลุมท่ี 3 กลุมผูบริจาคโลหิตประจําท่ีลงทะเบียนเปนผูบริจาคเซลลตนกําเนิดและไดบริจาคเซลลตนกําเนิดแลว จํานวน 2 ราย ทําการรวบรวมขอมูลโดยใชวิธีสัมภาษณเชิงลึก และการสังเกต หลังจากไดขอมูลครบตามประเด็นท่ีตองการจึงทําการวิเคราะหเนื้อหาดวยการถอดขอความจากเครื่องบันทึกเสียงแบบคําตอคําและทําการวิเคราะหขอมูล

ผลการศึกษาพบวาผูใหขอมูลหลักเปนเพศหญิง รอยละ 58.33 เพศชาย รอยละ 41.67 มีอายุเฉล่ีย 28.92±5.52ป การศึกษาระดับปริญญาตรีรอยละ 66.67 และสถานภาพทางครอบครัวรอยละ 70.83 เปนโสด ผูใหขอมูลหลักรอยละ 33.33 มาบริจาคโลหิต 1 ครั้งตอป และรอยละ 29.17 มาบริจาคโลหิต 2 ครั้งตอป เหตุผลท่ีมาบริจาคโลหิตประจํา รอยละ 41.67 มีความเช่ือดานจิตใจท่ีอยากชวยเหลือผูอ่ืน รอยละ 33.33 มีความเช่ือดานสุขภาพรางกายท่ีดีขึ้น ผูใหขอมูลหลักกลุมท่ี 1 นั้นรอยละ 31.25 ไมเคยรูเรื่องเกีย่วกับเซลลตนกําเนิดเลย แตกลุมท่ี 2 และกลุมท่ี 3 นั้นรูเรื่องเกี่ยวกับเซลลตนกําเนิดแลว โดยท่ีผูใหขอมูลท่ีรับรูแลวนั้น รอยละ 31.58 รูจากแผนพับประชาสัมพันธ, รอยละ 26.31 รูจากอินเตอรเนต, รอยละ 26.31 รูจากโทรทัศนและรอยละ 10.53 รูจากเจาหนาท่ีประชาสัมพันธ ผูใหขอมูลหลักในกลุมท่ี 1 ยังมีความรูและความเขาใจในเรื่องเซลลตนกําเนิดไม

(1)

Page 104: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

เพียงพอ แตกลุมท่ี 2 และกลุมท่ี 3 ทราบและเขาใจขอมูลเกี่ยวกับเซลลตนกําเนิดและการบริจาคเซลลตนกําเนิดมากกวาท้ังในเรื่องของประโยชน คุณสมบัติรวมถึงวิธีการบริจาคเซลลตนกําเนิด สวนเหตุผลท่ีสนใจทําใหลงทะเบียนเพ่ือบริจาคเซลลตนกําเนิด พบวาผูใหขอมูลหลักกลุมท่ี 1 รอยละ 50.00 สนใจเพราะอยากชวยเหลือผูอ่ืน และรอยละ 37.50 เขาใจถึงความตองการใชเซลลตนกําเนิดในการรักษาผูปวย กลุมท่ี 2 รอยละ 50.00 ลงทะเบียนเพราะมีความรูเดิมจากอาชีพการงานทําใหมีความเขาใจ และเห็นถึงประโยชนของเซลลตนกําเนิด จึงบริจาคเซลลตนกําเนิด รอยละ 33.33 อยากชวยเหลือผูอ่ืน กลุมท่ี 3 ยินยอมบริจาคเซลลตนกําเนิด เนื่องจากอยากชวยเหลือผูอ่ืนและมีความรูในเรื่องเซลลตนกําเนิดเปนอยางดี และเหตุผลท่ีจะทําใหผูบริจาคโลหิตไมสนใจลงทะเบียนเปนผูบริจาคเซลลตนกําเนิดนั้น มีเหตุผลมาจากการขาดความรู และความเขาใจ ซ่ึงหากผูบริจาคโลหิตมีความรูและความเขาใจเรื่องเกี่ยวกับเซลลตนกําเนิดตนแลว สวนใหญจะตัดสินใจลงทะเบียนเปนผูบริจาคเซลลตนกําเนิด ปจจัยดานครอบครัว สังคม และเศรษฐกิจนั้นมีสวนรวมในการตัดสินใจ

สาเหตุของปญหาการเพ่ิมจํานวนผูบริจาคเซลลตนกําเนิด พบวาผูใหขอมูลหลัก มีความคิดเห็นวารอยละ 37.50 เกิดจากความไมรู รอยละ 25.00 เกิดจากความไมเขาใจ และ รอยละ 33.33 เกิดจากความรูสึกกลัว โดยรวมแลวเกิดจากความไมรู ไมเขาใจเรื่องของการบริจาคเซลลตนกําเนิดอยางเพียงพอ การแกไขปญหาและรณรงค เ พ่ือการเพ่ิมจํานวนผูบริจาค เซลลตนกําเนิด ผูใหขอมูลหลักท้ัง 3 กลุม ใหความเห็นไปในทางเดียวกันวาแนวทางท่ี 1 ตอง จัด กา รด า นก าร ปร ะชา สัม พัน ธ ก าร เ พ่ิ มช องท าง กา ร ส่ือ ปร ะช าสัมพัน ธ รว มถึ ง การประชาสัมพันธ ไปยังสวนภูมิภาคใหมากขึ้น แนวทางท่ี 2 การขอความรวมมือกับบุคลากรภายในสนับสนุน ในการประชาสัมพันธ เชิญชวนผูบริจาคโลหิตมาบริจาคเซลลตนกําเนิด และ ขอความรวมมือจากหนวยงานในภาครัฐและภาคเอกชน เพ่ือตั้งเปนโครงการหรือชมรมผูบริจาคเซลลตนกําเนิด เพ่ือชวยสงเสริมการประชาสัมพันธ และแนวทางสุดทายการชวยเหลือ ดานงบประมาณและกําลังคน ซ่ึงตองขอการสนับสนุนจากหนวยงานตาง ๆ ท้ังภาครัฐและเอกชนใหเขามาชวยเหลือ

(2)

Page 105: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

Title Factors Influencing Repeated Blood Donors for Becoming Bone Marrow Donors

By Miss. Siripen Chanthachorn Identification No. 464061 Degree Master of Sciences (M.S.) Major Health System Management Academic Year 2006

ABSTRACT

This independent study was a qualitative research in order to study the reasons, attitudes, motivations, problems / obstacles, and ways to increase the quantity of bone marrow donors deriving from repeated blood donors who had donated their blood more than 2 times. 24 repeated blood donors were selected as key informants for this study by chance. They were divided into 3 groups:- Group I, 16 repeated blood donors who had not registered to be bone marrow donors yet ; group II, 6 repeated blood donors who had already registered to be bone marrow donors ; and group III, 2 repeated blood donors who had already registered to be bone marrow donors, and donated their bone marrow already. The data were collected by using in-depth interviews and observations. After receiving the complete data according to the raised issues, the data were analyzed by the content analysis methodology. The findings of this study were as followed : 58.33% of key informants were female, their average age was 28.92+5.52 years old, 66.67% graduated at undergraduate level, and 70.83% were single. 33.33% had donated their blood 1 time per year and 29.17% had done 2 times per year. For the reasons of repeated blood donation, 41.67% of them believed that it was good to help other people, 33.33% believed that it was good for their health. 31.25% of group I had not heard about the bone marrow donation before, but group II and III had already known. 31.58% of the ones who had already known about the bone marrow got the knowledge from the brochures, 26.31% from the internet, 26.31% from the television, and 10.53% from public relation (PR) personnel, the knowledge and understanding of key informants in group I were poor while the other groups were good including the benefit, the characteristic of donors and the

(3)

Page 106: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

method of bone marrow donation. And the reasons, why they were interested in registering, were found that 50.00% in group I wanted to help other people, and 37.50% had realized the lack of the bone marrow to cure the patients. 50.00% of group II registered because they were health professionals and known bone marrow, and, thus, they were willing to donate their bone marrow. And 33.33% of them wanted to help other people. Group III, they donated bone marrow because they wanted to help other people and they had known well about the bone marrow. On the contrary, the reasons why the blood donors were not interested in registering to be the bone marrow donors were the lack of knowledge and understanding. If the blood donors had had sufficient knowledge and understanding about the bone marrow, most of them would have registered to be the bone marrow donors. The other factors to make decision in donating their bone marrow were their family, society, and economic situation. The problems/obstacles on the increasing of the quantity of the bone marrow donors were found that 37.50% of the blood donors had insufficient knowledge about the bone marrow, 25.00% had no understanding and 33.33% were discouraging to donate it. The problems were, in general, caused by the insufficient knowledge about the bone marrow. The solution and the campaigns for increasing the quantity of the bone marrow donors were stated from the opinions of all 3 groups in the same way as followed:

1) Increasing the PR achieves, more media and channels of advertising especially to the up country region.

2) Cooperating with the donation officers to persuade the blood donors to register as bone marrow donors.

3) The budget and manpower supports of both government and private sectors.

(4)

Page 107: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

กิตติกรรมประกาศ

การศึกษาอิสระฉบับนี้สําเร็จไดดวยความกรุณาของอาจารย ดร.วิรัตน ทองรอด อาจารยท่ีปรึกษาการศึกษาอิสระท่ีไดเสียสละเวลาใหคําปรึกษาแนะนํา ตรวจแกไขขอบกพรองตาง ๆ และใหขอคิดเห็นท่ีเปนประโยชนอยางมากในการทําการวิจัย ตลอดท้ัง รศ.ดร.ปราโมทย ทองกระจาย และ ผศ.เสาวลักษณ ลักษมีจรัลกุล ท่ีไดกรุณาใหขอเสนอแนะท่ีเปนประโยชนตอผูวิจัย ทําใหการศึกษาอิสระเลมนี้สําเร็จลุลวงดวยด ี กราบขอบพระคุณผูใหขอมูลหลักทุกทานท่ีกรุณาใหความรวมมือและใหขอมูลท่ีเปนประโยชนในการวิจัยครั้งนี้ ทายสุดนี้ผูเขียนกราบขอบพระคุณบิดา มารดา และสมาชิกทุกคนในครอบครัว รวมท้ังเพ่ือนรวมงานท่ีซ่ึงไดสนับสนุนใหกําลังใจและชวยเหลือในการวิจัยครั้งนี้ตลอดมา

ศิริเพ็ญ จันทจร

(5)

Page 108: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

สารบัญ

หนา บทคัดยอภาษาไทย…………………………………………………………………… (1) Abstract…………………………………………………………………………….... (3) กิตติกรรมประกาศ……………………………………………………………………. (5) สารบัญ………….......………………………………………………………………... (6) สารบัญตาราง……...……………………………………………………………........ (8) สารบัญแผนภูมิ………....……………………………………………………………. (10) สารบัญภาพ....................................................................................................... (11) บทที ่

1. บทนํา 1.1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา………………………………… 1 1.2 คําถามในการวิจัย………………………………...................………….. 3 1.3 วัตถุประสงคของการวิจัย…………………………… ...………………… 3 1.4 สมมติฐานการวิจัย............................................................................. 3 1.5 ขอบเขตการวิจัย……………………………………...…....……………. 4 1.6 ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ.................................................................. 4 1.7 นิยามเฉพาะของคําศัพทในการวิจัย……………………………………... 4 1.8 กรอบแนวคิดของการวิจัย................................................................... 5

2. เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ 2.1 ทฤษฎีและแนวคิดเกี่ยวกับเซลลตนกําเนิด..………………………………. 6 2.2 ทฤษฎีและแนวคิดเกี่ยวกับการบริจาคโลหิต/เซลลตนกําเนิด..…………… 16 2.3 ทฤษฎีและแนวคิดเกี่ยวกับทัศนคติและแรงจูงใจเกี่ยวกับ

การบริจาคเซลลตนกําเนิด.....................................................………… 23 2.4 งานวิจัยท่ีเกี่ยวของกับแรงจูงใจ.......……………………………………… 34

(6)

Page 109: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

สารบัญ (ตอ)

บทที ่ หนา 3. วิธีดําเนินการวิจัย

3.1 ประชากรและกลุมตัวอยางท่ีศึกษา..……………………………………... 35 3.2 เครื่องมือท่ีใชในการวิจัย…………………………......…………………… 35 3.3 การเก็บรวบรวมขอมูล……………………..…………………………….. 37 3.4 จริยธรรมในการวิจัยและการพิทักษสิทธ์ิกลุมตัวอยาง............................ 39 3.5 การวิเคราะหขอมูล………………..……………………………………… 39 3.6 ความเช่ือถือไดของขอมูล……………..….………………………………. 40

4. ผลการวิจัย 4.1 ขอมูลสวนบุคคลท่ัวไป..…………………………………………………. 43 4.2 ความรู ความเขาใจเกี่ยวกับเซลลตนกําเนิดและการบริจาคเซลลตนกําเนิด 56 4.3 ทัศนคติและแรงจูงใจตอการบริจาคเซลลตนกําเนิด............................... 62 4.4 ปญหาและอุปสรรคในการเพ่ิมจํานวนผูบริจาคเซลลตนกําเนิด............... 70 4.5 แนวทางการแกไขปญหาการเพ่ิมจํานวนผูบริจาคเซลลตนกําเนิด........... 74

5. สรุปอภิปรายผลและขอเสนอแนะ 5.1 สรุป................................................................................................ 82 5.2 อภิปรายผล.................………………………………………………… 85 5.3 ขอเสนอแนะ...............………………………………………………… 93 5.4 ประสบการณท่ีไดรับ……………………………………………………. 94 5.5 ขอจํากัดการวิจัย..........................…………………………………….. 95 5.6 ขอเสนอแนะในการวิจัยครั้งตอไป....................................................... 95

บรรณานุกรม………………………………………………………………………… 96 ภาคผนวก ผนวก ก. แนวทางการสัมภาษณ………………………………...........……….. 103 ผนวก ข. หนังสือยินยอมเขารวมการวิจัย ………………………………........... 105 ประวัติผูเขียน.……………………………………………………………………….. 108

(7)

Page 110: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

สารบัญตาราง

ตารางที ่ หนา 2.1 ประเภทของทฤษฎีแรงจูงใจ................................………………………… 27

2.2 ทฤษฎีลําดับขั้นความตองการของมาสโลว……...………………………… 28 4.1 ลักษณะท่ัวไปของผูใหขอมูลหลักท้ัง 3 กลุม............................................ 44 4.2 ลักษณะท่ัวไปของผูใหขอมูลหลัก เปรียบเทียบท้ัง 3 กลุม โดยแบงตาม

เพศของผูใหขอมูลหลัก.......................................................................... 45 4.3 ลักษณะท่ัวไปของผูใหขอมูลหลัก เปรียบเทียบท้ัง 3 กลุม โดยแบงตาม

ชวงอายุของผูใหขอมูลหลัก.................................................................. 46 4.4 ลักษณะท่ัวไปของผูใหขอมูลหลัก เปรียบเทียบท้ัง 3 กลุม โดยแบงตาม ระดับการศึกษาของผูใหขอมูลหลัก....................................................... 46 4.5 ลักษณะท่ัวไปของผูใหขอมูลหลัก เปรียบเทียบท้ัง 3 กลุม โดยแบงตาม สถานภาพทางครอบครัวของผูใหขอมูลหลัก........................................... 47 4.6 ลักษณะท่ัวไปของผูใหขอมูลหลัก เปรียบเทียบท้ัง 3 กลุม โดยแบงตาม

ลักษณะอาชีของผูใหขอมูลหลัก............................................................ 48 4.7 ลักษณะท่ัวไปของผูใหขอมูลหลัก เปรียบเทียบท้ัง 3 กลุม โดยแบงตาม รายไดตอเดือนของผูใหขอมูลหลัก....................................................... 48 4.8 จํานวนและความถ่ีของการบริจาคโลหิตและเหตุผลของการบริจาคโลหิต ประจําของผูใหขอมูลหลักท้ัง 3 กลุม..................................................... 50 4.9 จํานวนและความถ่ีของการบริจาคโลหิตของผูใหขอมูลหลัก เปรียบเทียบท้ัง 3 กลุม......................................................................... 51 4.10 รอยละของเหตุผลของการบริจาคโลหิตของผูใหขอมูลหลัก เปรียบเทียบท้ัง 3 กลุม........................................................................ 53 4.11 แหลงขอมูลท่ีรับรูเกี่ยวกับการบริจาคเซลลตนกําเนิดของผูใหขอมูลหลัก ท้ัง 3 กลุม.......................................................................................... 58 4.12 จํานวนผูใหขอมูลท่ีรับรูเกี่ยวกับการบริจาคเซลลตนกําเนิดของผูใหขอมูลหลัก

เปรียบเทียบท้ัง 3 กลุม....................................................................... 59 4.13 รอยละของแหลงขอมูลท่ีผูใหขอมูลหลักรับรูเกี่ยวกับเซลลตนกําเนิดของ ผูใหขอมูลหลักเปรียบเทียบท้ัง 3 กลุม.................................................. 60

(8)

Page 111: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

สารบัญตาราง (ตอ)

ตารางที ่ หนา 4.14 เหตุผลท่ีสนใจ/ไมสนใจลงทะเบียนเปนผูบริจาคเซลลตนกําเนิดของ ผูใหขอมูลหลักท้ัง 3 กลุม...................................................................... 63 4.15 จํานวนของเหตุผลท่ีสนใจ/ไมสนใจลงทะเบียนเปนผูบริจาคเซลลตนกําเนิด

ของผูใหขอมูลหลักเปรียบเทียบท้ัง 3 กลุม.............................................. 64 4.16 ปจจัยภายนอกท่ีสงผลตอการตัดสินใจบริจาคเซลลตนกําเนิดของผูใหขอมูลหลัก ท้ัง 3 กลุม............................................................................................ 68 4.17 สาเหตุของปญหาการเพ่ิมจํานวนผูบริจาคเซลลตนกําเนิดของผูใหขอมูลหลัก ท้ัง 3 กลุม.................................................................. ......................... 71 4.18 สาเหตุของปญหาการเพ่ิมจํานวนผูบริจาคเซลลตนกําเนิดของผูใหขอมูลหลัก เปรียบเทียบท้ัง 3 กลุม........................................................................... 72 4.19 แนวทางการแกไขปญหาการเพ่ิมจํานวนผูบริจาคเซลลตนกําเนิดของ ผูใหขอมูลหลักท้ัง 3 กลุม....................................................................... 75 4.20 แนวทางการมีสวนรวมในการสงเสริมการบริจาคเซลลตนกําเนิด ของผูใหขอมูลหลักท้ัง 3 กลุม................................................................. 80

(9)

Page 112: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

สารบัญแผนภูมิ

แผนภูมิที ่ หนา 1.1 กรอบแนวคิดของการศึกษาวิจัย........................................................... 5

2.1 ความสัมพันธระหวางทฤษฎีเนื้อหาของแรงจูงใจ…………………......... 30

(10)

Page 113: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

สารบัญภาพ

ภาพที่ หนา 2.1 ลักษณะการเก็บเซลลตนกําเนิดดวยเครื่อง Automated Blood Cell Separator 20 2.2 ลักษณะการคืนเซลลตนกําเนิดใหผูปวยทางหลอดเลือดดํา………………… 21 2.3 ลักษณะการเจาะเก็บเซลลตนกําเนิดบริเวณไขกระดูกชวงสะโพก................ 22

(11)

Page 114: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

ประวัติผูเขียน

ชื่อ-สกุล นางสาวศิริเพ็ญ จันทจร วัน เดือน ปเกิด 27 กรกฎาคม 2523 ที่อยู 66/1 หมู 7 ซอยกันเอง ถนนปูเจาสมิงพราย ตําบลสําโรงใต

อําเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ ประวัติการศึกษา พ.ศ. 2544 วิทยาศาตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรต ิ

รุนท่ี 7 พ.ศ. 2546 เขาศึกษาตอระดับมหาบัณฑิตสาขาการจัดการระบบสุขภาพ

มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรต ิ ประวัติการทํางาน พ.ศ.2545 นักเทคนิคการแพทยประจําหองปฎิบัติการดานเนื้อเยื่อ ศูนยบริการโลหิตแหงชาติ สภากาชาดไทย ตําแหนงและสถานที่ทํางานในปจจุบัน พ.ศ. 2548 - ปจจุบัน นักเทคนิคการแพทยประจําหองปฎิบัติการ บริษัทไทย สเตมไลฟ จํากัด กรุงเทพมหานคร

108

Page 115: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)
Page 116: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

ภาคผนวกที่ 3 ตัวอยางการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต)

Page 117: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

การพัฒนากิจกรรมทางการตลาดสําหรับสถาบันอุดมศึกษาเอกชนของไทย MARKETING ACTIVITY DEVELOPMENT FOR PRIVATE HIGHER

EDUCATION INSTITUTIONS OF THAILAND

โดย นางสาวกันตฤทัย เมฆสุทร

การศึกษาอิสระนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรต ิ

พ.ศ. 2553

Page 118: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

การศึกษาอิสระ การพัฒนากิจกรรมทางการตลาดสําหรับสถาบันอุดมศึกษาเอกชนของไทย

Marketing Activity Development for Private Higher Education Institutions of Thailand

ชื่อนักศึกษา นางสาวกันตฤทัย เมฆสุทร รหัสประจําตัว 516027 หลักสูตร บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต ปการศึกษา 2553 ______________________________________________________________________________ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ไดตรวจสอบและอนุมัติใหการศึกษาอิสระฉบับนี้ เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต เม่ือวันท่ี 3 พฤศจิกายน พ.ศ.2553 _________________________________________คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย (ผูชวยศาสตราจารยพรรณราย แสงวิเชียร) คณะกรรมการสอบการศึกษาอิสระ _________________________________________อาจารยท่ีปรึกษา (อาจารย ดร. พวงชมพู โจนส) _________________________________________กรรมการ (ผูชวยศาสตราจารย สถาพร ปนเจริญ) _________________________________________กรรมการ (อาจารยรุงฤดี รัตนวิไล)

Page 119: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

การศึกษาอิสระ การพัฒนากิจกรรมทางการตลาดสําหรับสถาบันอุดมศึกษาเอกชนของไทย Marketing Activity Development for Private Higher Education Institutions

of Thailand ชื่อนักศึกษา นางสาวกันตฤทัย เมฆสุทร รหัสประจําตัว 516027 หลักสูตร บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต ปการศึกษา 2553

บทคัดยอ

การศึกษางานวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพ่ือศึกษาปจจัยท่ีมีอิทธิพลตอการเลือกเขาศึกษา กิจกรรมทางการตลาดท่ีนักเรียนและอาจารยแนะแนวใหความสําคัญ และทัศนคติของอาจารย แนะแนวตอสถาบันอุดมศึกษาเอกชน เครื่องมือท่ีใชในการเก็บรวบรวมขอมูลสําหรับการวิจัย เชิงปริมาณ ไดแก แบบสอบถาม โดยสอบถามจากนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จํานวน 413 ชุด การวิเคราะหขอมูลใชสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) และใชสถิติเชิงอนุมาน (Inferential Statistics) การวิจัยครั้งนี้กําหนดความมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05 สวนการวิจัย เชิงคุณภาพดําเนินการสัมภาษณอาจารยแนะแนว จํานวน 6 ราย

ผลการศึกษา พบวาผูตอบแบบสอบถามสวนใหญเปนผูหญิง อาย ุ17 ป มีระดับผลการเรียน 3.00 – 3.50 ศึกษาอยูระดับช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 6 สังกัดโรงเรียนประเภทรัฐบาล มีภูมิลําเนาอาศัยอยูภาคใต มีรายไดรวมตอเดือนของครอบครัวเฉล่ีย 10,001–15,000 บาท กรณีท่ีสอบเขามหาวิทยาลัยของรัฐบาลไมได จะเลือกมหาวิทยาลัยเอกชนรองลงมา โดยเลือกมหาวิทยาลัยหัวเฉียว เฉลิมพระเกียรติเปนอันดับหนึ่ง รองลงมาคือ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย สวนใหญใหความวนใจเขารวมกิจกรรมทางการตลาด คือ การเขาเยี่ยมชมมหาวิทยาลัย (Open House) และบุคคลท่ีมีอิทธิพลตอการตัดสินใจ คือ ตัวของนักเรียนเอง ในการประเมินความสามารถของนักเรียนพบวานักเรียนประเมินตนเองวามีความสามารถปานกลาง และปจจัยท่ีมีอิทธิพลท่ีสงผลตอการเลือกสถาบันอุดมศึกษาเอกชนในทุกปจจัย ผลการเปรียบเทียบปจจัยท่ีมีอิทธิพลท่ีสงผลตอการเลือกสถาบันอุดมศึกษาเอกชน จําแนกตามขอมูลสวนบุคคล พบวา กลุมตัวอยางท่ีมีเพศ ภูมิภาคท่ีอาศัย แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05 และเกรดเฉล่ียสะสม รายไดรวมตอเดือนของครอบครัวไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05 และขอมูลสวนบุคลจําแนกตามเพศ เกรดเฉล่ียสะสมสงผลตอการเลือกประเภทสถาบันอุดมศึกษา

(1)

Page 120: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05 จําแนกตามภูมิภาคท่ีอาศัย และรายไดรวมตอเดือนของครอบครัวสงผลตอการเลือกประเภทสถาบันอุดมศึกษาไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05 และการประเมินความสามารถตนเองตอการเขารวมกิจกรรมทางการตลาดท่ีสถาบันอุดมศึกษาเอกชนจัดขึ้น มีความสัมพันธแบบแปรผกผันตามกัน สวนการสัมภาษณอาจารยแนะแนวเกี่ยวกับทัศนคติของอาจารยแนะแนวตอสถาบันอุดมศึกษาเอกชน พบวา อาจารยแนะแนวมีทัศนคติในดานบวกตอสถาบันอุดมศึกษาเอกชนในดานความไววางใจและเช่ือม่ันความมีช่ือเสียง และการไดรับการยอมรับมาตรฐานความทันสมัย หลักสูตรสาขาวิชาท่ีหลากหลาย มีส่ืออุปกรณ การเรียนการสอนท่ีทันสมัย และอาจารยใหการดูแลนักศึกษาเปนอยางดี รวมถึงการจัดกิจกรรมทางการตลาดท่ีสถาบันอุดมศึกษาเอกชนควรจัดกิจกรรมมากท่ีสุดใหกับนักเรียน ซ่ึงจะสงผลตอ การตัดสินใจเลือกสถาบันอุดมศึกษาเอกชน คือ กิจกรรมเยี่ยมชมมหาวิทยาลัย (Open House) และควรมีการเสริมทักษะความรูท่ีเปนประโยชนตอการสอนของอาจารยแนะแนวดวย

(2)

Page 121: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

กิตติกรรมประกาศ

การศึกษาอิสระฉบับนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต ไดสําเร็จลุลวงดวยดี ดวยความกรุณาเปนอยางยิ่งของอาจารยท่ีปรึกษา อาจารย ดร. พวงชมพู โจนส และคุณนิชาภา จุลประยูร ซ่ึงไดเสียสละเวลาอันมีคาในการใหคําปรึกษาและคําแนะนําแกไขขอบกพรองรวมท้ัง ขอคิดเห็นตาง ๆ อันเปนประโยชน จนทําใหการศึกษาอิสระฉบับนี้สําเร็จลงไดดวยดี ผูวิจัยขอกราบขอบพระคุณอยางสูงไว ณ ท่ีนี ้

ขอขอบพระคุณมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติเปนอยางสูงท่ีใหโอกาสและให การสนับสนุน ทําใหผูวิจัยไดรับการสนับสนุนทุนการศึกษาในครั้งนี้ และจะขอระลึกถึงดวย ความซาบซ้ึงตลอดไป ขอกราบขอบพระคุณคณาจารยคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยหัวเฉียว เฉลิมพระเกียรติและคณาจารยจากมหาวิทยาลัยตาง ๆ ท่ีใหคําแนะนําส่ังสอน ตลอดระยะเวลาท่ี ผูทําการศึกษา

ผูวิจัยไดรับความชวยเหลืออยางดียิ่งจากผูบังคับบัญชา และเพ่ือนรวมงานจากมหาวิทยาลัย หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ และมหาวิทยาลัยกรุงเทพ คุณชัยรถ หมอเมือง และคุณบุบผา กล่ินพุฒ ท่ีชวยสนับสนุนในการทําวิจัยการศึกษาอิสระนี้ และขอขอบคุณเจาหนาท่ีจากบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติท่ีชวยอํานวยความสะดวกในการติดตอประสานงาน และขอบคุณเพ่ือน ๆ นักศึกษา M.B.A.12 ท่ีคอยชวยเหลือคอยใหกําลังใจและเปนท่ีปรึกษาใหแกผูวิจัยตลอดมา

ทายสุดนี้ ขอกราบขอบพระคุณ คุณพอ คุณแม รวมท้ังทุกคนในครอบครัวท่ีไดใหท้ังความรัก ความหวงใย อันเปนส่ิงสําคัญท่ีทําใหผูวิจัยมีกําลังใจในการศึกษามาโดยตลอด ผูวิจัยหวังเปนอยางยิ่งวาการศึกษาอิสระฉบับนี้จะเปนประโยชนแกผูสนใจศึกษาคนควาหาความรูเพ่ิมเติมในโอกาสตอไป

กันตฤทัย เมฆสุทร

(3)

Page 122: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

สารบัญ

หนา บทคัดยอ…………………………………………………………………………………….. (1) กิตติกรรมประกาศ………………….………………………………………….…………….. (3) สารบัญ..................................................................................................................................... (4) สารบัญตาราง........................................................................................................................... (6) สารบัญแผนภูมิ........................................................................................................................ (8) บทที ่

1. บทนํา 1.1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา.............................................................. 1 1.2 วัตถุประสงคในการศึกษา.................................................................................... 5 1.3 ขอบเขตในการศึกษา........................................................................................... 6 1.4 นิยามศัพทท่ีใชในการศึกษาวิจัย.......................................................................... 6 1.5 ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับจากการศึกษา............................................................ 7

2. แนวคิด ทฤษฎี และงานการวิจัยที่เกี่ยวของ 2.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับแรงจูงใจ........................................................................... 9 2.2 แนวคิดเรื่องปจจัยท่ีเปนแรงจูงใจในการศึกษาตอ................................................ 14 2.3 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการตัดสินใจ..................................................................... 15 2.4 แนวคิดทฤษฎีระบบ............................................................................................. 18 2.5 แนวคิดเรื่องทัศนคต.ิ........................................................................................... 20 2.6 ปจจัยเกี่ยวกับการตัดสินใจศึกษาตอ.................................................................... 21 2.7 งานวิจัยท่ีเกี่ยวของ............................................................................................... 24 2.8 กรอบแนวคิดในการศึกษา................................................................................... 26 2.9 สมมติฐานในการศึกษา........................................................................................ 27

(4)

Page 123: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

สารบัญ (ตอ)

บทที ่ หนา 3. วิธีการดําเนินการวิจัย

3.1 ขอมูลและแหลงขอมูล......................................................................................... 28 3.2 ประชากรและกลุมตัวอยาง.................................................................................. 29 3.3 เครื่องมือท่ีใชในการรวบรวมขอมูล..................................................................... 31 3.4 การสรางและพัฒนาเครื่องมือ.............................................................................. 34 3.5 การเก็บรวบรวมขอมูล......................................................................................... 35 3.6 การวิเคราะหขอมูล.............................................................................................. 35 3.7 ระยะเวลาท่ีใชในการศึกษาวิจัย........................................................................... 36

4. ผลการศึกษา 4.1 การวิเคราะหขอมูลโดยใชสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistic).................... 39 4.2 ผลการทดสอบสมมติฐานโดยใชสถิติเชิงอนุมาน (Inferential Statistic)……….. 50 4.3 ขอมูลเบ้ืองตนของผูถูกสัมภาษณ........................................................................ 62 4.4 ผลการสัมภาษณของอาจารยแนะแนวการศึกษา.................................................. 62

5. สรุปผลการศึกษา อภิปรายผล และขอเสนอแนะ 5.1 สรุปผลการศึกษา................................................................................................. 71 5.2 อภิปรายผล.......................................................................................................... 75 5.3 ขอจํากัดของการวิจัย............................................................................................ 78 5.4 ขอเสนอแนะ........................................................................................................ 78 บรรณานุกรม............................................................................................................................ 81 ภาคผนวก ผนวก ก. ภาพตัวอยางกิจกรรมทางการตลาด.............................................................. 84 ผนวก ข. แบบสอบถามการวิจัยเชิงปริมาณ................................................................ 87 ผนวก ค. แบบสอบถามการวิจัยเชิงคุณภาพ................................................................ 92 ประวัติผูเขียน........................................................................................................................... 95

(5)

Page 124: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

สารบัญตาราง

ตารางที ่ หนา 1.1 ขอมูลจํานวนสถาบันอุดมศึกษาท่ีสังกัดสํานักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา............ 2 1.2 ขอมูลจํานวนสถาบันอุดมศึกษาเอกชนจําแนกภูมิภาคตามท่ีตั้งของสถาบัน

(รวมวิทยาเขต)…………………………………………………………………….

3 2.1 จํานวนกลุมตัวอยางจําแนกตามภูมิภาค.................................................................... 31 3.1 ระยะเวลาดําเนินการ................................................................................................. 37 4.1 จํานวนและรอยละจําแนกตามเพศของกลุมตัวอยาง………………………………. 39 4.2 จํานวนและรอยละจําแนกตามอายุของกลุมตัวอยาง................................................. 39 4.3 จํานวนและรอยละจําแนกตามระดับผลการเรียนของกลุมตัวอยาง........................... 40 4.4 จํานวนและรอยละจําแนกตามระดับช้ันการศึกษาของกลุมตัวอยาง......................... 40 4.5 จํานวนและรอยละจําแนกตามโปรแกรมท่ีศึกษาของกลุมตัวอยาง........................... 41 4.6 จํานวนและรอยละจําแนกตามประเภทของโรงเรียนกลุมตัวอยาง............................ 41 4.7 จํานวนและรอยละจําแนกตามภูมิภาคท่ีอาศัยของกลุมตัวอยาง................................ 42 4.8 จํานวนและรอยละจําแนกตามรายไดรวมตอเดือนของครอบครัวกลุมตัวอยาง…… 42 4.9 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางท่ีเลือกประเภทของสถาบันอุดมศึกษา.............. 43

4.10 จํานวนและรอยละของการเลือกสถาบันอุดมศึกษาเอกชนของกลุมตัวอยาง............ 44 4.11 จํานวนและรอยละจําแนกตามกิจกรรมทางการตลาดท่ีกลุมตัวอยางใหความสนใจ 45 4.12 จํานวนและรอยละจําแนกตามบุคคลท่ีมีอิทธิพลตอการตัดสินใจเลือก

สถาบันอุดมศึกษาของกลุมตวัอยาง..........................................................................

45 4.13 คาเฉล่ียของกลุมตัวอยางแสดงถึงการประเมินตนเองกอนการตัดสินใจเลือก

สถาบันอุดมศึกษาเอกชน........................................................................................................................

46 4.14 ระดับความสําคัญท่ีมีอิทธิพลตอการตัดสินใจเลือกสถาบันอุดมศึกษาเอกชน.......... 48 4.15 ความสัมพันธระหวางเพศกับปจจัยท่ีมีอิทธิพลตอการเลือก

สถาบันอุดมศึกษาเอกชน..........................................................................................

51 4.16 ความสัมพันธระหวางเกรดเฉล่ียสะสมกับปจจัยท่ีมีอิทธิพลตอการเลือก

สถาบันอุดมศึกษาเอกชน..........................................................................................

52 4.17 ความสัมพันธระหวางภูมิภาคท่ีอาศัยกับปจจัยท่ีมีอิทธิพลตอการเลือก

สถาบันอุดมศึกษาเอกชน………………………………..…………………………

53

(6)

Page 125: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

สารบัญตาราง (ตอ)

ตารางที ่ หนา 4.18 การทดสอบรายคูของภูมิภาคท่ีอาศัยกับปจจัยท่ีมีอิทธิพลตอการเลือก

สถาบันอุดมศึกษาเอกชนดานคาใชจายและทุนการศึกษา.........................................

54 4.19 การทดสอบรายคูของภูมิภาคท่ีอาศัยกับปจจัยท่ีมีอิทธิพลตอการเลือก

สถาบันอุดมศึกษาเอกชนดานอิทธิพลท่ีเกี่ยวของกับการตัดสินใจ...........................

55 4.20 ความสัมพันธระหวางรายไดรวมตอเดือนของครอบครัวกับปจจัยท่ีมีอิทธิพลตอ

การเลือกสถาบันอุดมศึกษาเอกชน...........................................................................

56 4.21 การทดสอบรายคูของรายไดรวมตอเดือนของครอบครัวกับปจจัยท่ีมีอิทธิพลตอ

การเลือกสถาบันอุดมศึกษาเอกชน ดานคาใชจายและทุนการศึกษา.........................

57 4.22 ความสัมพันธระหวางขอมูลสวนบุคคลท่ีแตกตางกันสงผลตอการเลือกประเภท

ของสถาบันการศึกษา...............................................................................................

59 4.23 ความสัมพันธระหวางความสามารถของนักเรียนกับการเขารวมกิจกรรม

ทางการตลาดท่ีสถาบันอุดมศึกษาเอกชนจัดขึ้น........................................................

60 4.24 รายละเอียดของผูตอบแบบสัมภาษณ....................................................................... 62 5.1 สรุปผลการวิเคราะหและทดสอบสมมติฐานขอมูลสวนบุคคลท่ีแตกตางกันสงผล

ตอการใหความสําคัญกับปจจัยท่ีมีอิทธิพลตอการเลือกสถาบันอุดมศึกษาเอกชน....

73 5.2 ขอมูลสวนบุคคล ไดแก เพศ เกรดเฉล่ียสะสม ภูมิภาคท่ีอาศัย และรายไดรวมตอ

เดือนของครอบครัวท่ีแตกตางกันสงผลตอการเลือกประเภทสถาบันอุดมศึกษา......

73

(7)

Page 126: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

สารบัญแผนภูมิ

แผนภูมิที ่ หนา 1.1 ขอมูลจํานวนนักศึกษาใหมของสถาบันอุดมศึกษาเอกชนบางแหง

ตั้งแตปการศึกษา 2549 – 2553...............................................................................

4 2.1 ทฤษฎีลําดับขั้นความตองการของมาสโลว............................................................ 11 2.2 องคประกอบของระบบ......................................................................................... 19 2.3 กรอบแนวคิด......................................................................................................... 26

(8)

Page 127: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

ประวัติผูเขียน ชื่อ - สกุล นางสาวกันตฤทัย เมฆสุทร วัน เดือน ปเกิด 22 ตุลาคม 2522 ที่อยูปจจุบัน 399/38 หมูท่ี 8 ถนนปูเจาสมิงพราย ตําบลสําโรงกลาง

อําเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ 10130 ประวัติการศึกษา พ.ศ. 2540 คณะบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการเงิน มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรต ิ พ.ศ. 2551 เขาศึกษาตอปริญญาโทหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต

มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรต ิประวัติการทํางาน พ.ศ. 2544 – 2552 นักวิชาการการศึกษาแผนกรับนักศึกษา สํานักทะเบียนและประมวลผล มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรต ิ ตําแหนงและสถานที่ทํางานในปจจุบัน พ.ศ. 2553 – ปจจุบัน หัวหนาแผนกรับนักศึกษา สํานักทะเบียนและประมวลผล มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรต ิ

95

Page 128: คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)