กล าวนํา · มีอยู สองช วง คือ...

10
ขอมูลพื้นฐานในการปฏิบัติงานและ ยุทธศาสตรการปฏิบัติงานใน จชต. กลาวนํา นับตั้งแตเกิดความไมสงบขึ้นในประเทศเมื่อในอดีต จาก การกระทําของพรรคคอมมิวนิสตแหงประเทศไทยแลว ไมเคยมี เหตุการณรุนแรงใด ๆ ที่เกิดขึ้นกับประเทศไทยที่ทําใหเกิด ความสูญเสียแกชีวิตและทรัพยสินและของชาติอยางมากมาย มหาศาล เชนที่เกิดขึ้นในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใตในขณะนีทําใหรัฐบาลทุกสมัยตองทุมเทงบประมาณและกําลังเจาหนาที่ตํารวจ ทหาร รวมถึงขาราชการฝายตาง ๆ ลงไปในพื้นที่เพื่อแกปญหาความไมสงบที่เกิดขึ้น ผูกอความไมสงบใชยุทธวิธีการลอบสังหารเจาหนาที่และ ประชาชนดวยวิธีการโหดเหี้ยม เพื่อแสดงศักยภาพและสรางความหวาดกลัว ทําใหมีผลกระทบ ตอการปฏิบัติงานของเจาหนาที่รัฐ อีกทั้งประชากรสวนใหญในจังหวัดดังกลาว นับถือศาสนาอิสลาม ใชภาษาทองถิ่นยาวีเปนภาษาหลัก ความแตกตาง ดานวัฒนธรรม ภาษา และปจจัยทางภูมิศาสตร จึงทําใหเกิดความยากลําบาก ในการปฏิบัติของเจาหนาที่อีกดวย กองพัฒนายุทธศาสตร ศูนยพัฒนาหลักนิยมและยุทธศาสตร กรมยุทธศึกษาทหารบก จึงไดรวบรวมขอมูลจากแหลงตาง ๆ เกี่ยวกับ การปฏิบัติงานในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต เพื่อเอื้อใหกําลังพลที่จะไป ปฏิบัติงานในพื้นที่ดังกลาวไดมีความรูและความเขาใจในเรื่องตาง ๆ 42 กองพัฒนายุทธศาสตร ศูนยพัฒนาหลักนิยม และยุทธศาสตร กรมยุทธศึกษาทหารบก

Upload: others

Post on 28-Oct-2019

7 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: กล าวนํา · มีอยู สองช วง คือ ยุคของการผนวกและปฏิรูป การปกครองราวทศวรรษ

ขอมูลพื้นฐานในการปฏิบัติงานและ

ยุทธศาสตรการปฏิบัติงานใน จชต.

กลาวนํา นับตั้งแตเกิดความไมสงบขึ้นในประเทศเมื่อในอดีต จาก

การกระทําของพรรคคอมมิวนิสตแหงประเทศไทยแลว ไมเคยมี

เหตุการณรุนแรงใด ๆ ที่เกิดขึ้นกับประเทศไทยที่ทําใหเกิด

ความสูญเสียแกชีวิตและทรัพยสินและของชาติอยางมากมาย

มหาศาล เชนที่เกิดขึ้นในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใตในขณะนี้

ทําใหรัฐบาลทุกสมัยตองทุมเทงบประมาณและกําลังเจาหนาที่ตํารวจ ทหาร รวมถึงขาราชการฝายตาง ๆ

ลงไปในพื้นที่เพื่อแกปญหาความไมสงบที่เกิดขึ้น ผูกอความไมสงบใชยุทธวิธีการลอบสังหารเจาหนาที่และ

ประชาชนดวยวิธีการโหดเหี้ยม เพื่อแสดงศักยภาพและสรางความหวาดกลัว ทําใหมีผลกระทบ

ตอการปฏิบัติงานของเจาหนาที่รัฐ อีกทั้งประชากรสวนใหญในจังหวัดดังกลาว

นับถือศาสนาอิสลาม ใชภาษาทองถิ่นยาวีเป นภาษาหลัก ความแตกตาง

ดานวัฒนธรรม ภาษา และปจจัยทางภูมิศาสตร จึงทําใหเกิดความยากลําบาก

ในการปฏิบัติของเจาหนาที่อีกดวย

กองพัฒนายุทธศาสตร ศูนย พัฒนาหลักนิยมและยุทธศาสตร

กรมยุทธศึกษาทหารบก จึงไดรวบรวมขอมูลจากแหลงตาง ๆ เกี่ยวกับ

การปฏิบัติงานในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต เพื่อเอื้อใหกําลังพลที่จะไป

ปฏิบัติงานในพื้นที่ดังกลาวไดมีความรูและความเขาใจในเรื่องตาง ๆ

42

กองพัฒนายุทธศาสตร ศูนยพัฒนาหลักนิยมและยุทธศาสตร กรมยุทธศึกษาทหารบก

Page 2: กล าวนํา · มีอยู สองช วง คือ ยุคของการผนวกและปฏิรูป การปกครองราวทศวรรษ

องคความรู ดานประวัติศาสตรชาติพันธุ ในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต นัยของการบันทึกประวัติศาสตรป ตตานี

มองวาปตตานีไมไดรับความยุติธรรมอยางเดนชัด

มีอยู สองชวง คือ ยุคของการผนวกและปฏิรูป

การปกครองราวทศวรรษ ๒๔๓๐ - ๒๔๕๐ เนื่องจาก

มีการใชนโยบายจากสวนกลาง การควบคุมดานการ

ปกครองจากสวนกลาง ซึ่งทําใหชนชั้นผู ปกครอง

เดิมสูญเสียอํานาจทางการเมืองและเศรษฐกิจ ทั้งนี้

ความขัดแยงในปตตานียังอยูในขอบเขตของกลุม

ชนชัน้ผูปกครองเปนหลกั ยงัไมขยายไปยงักลุมตาง ๆ

อาจวิเคราะหไดวาการเปลี่ยนระบบการปกครองจาก

เจาเมืองมีอํานาจสิทธิขาดมาเปนการปกครองภายใต

ศูนยกลางการปกครองที่สวนกลางกระทบโดยตรง

ตอชนชัน้ผูปกครองเดมิทีม่อีาํนาจมากอน ผลกระทบนี้

ไดเริ่มกอเปนความไมพอใจมากยิ่งขึ้น เมื่อมีการ

เปลี่ยนแปลงดานเศรษฐกิจและดานสังคมวัฒนธรรม

ในสมัยชาตินิยม ซึ่งอยู ในยุคของ จอมพล ป.

พิบูลสงคราม ในเวลาตอมา

ยคุชาตนิยิม ในสมยั จอมพล ป. พบิลูสงคราม

พบวา ในชวงกอนและหลังสงครามโลกครั้งที่สอง

ไดมีความเปลี่ยนแปลงในทองถิ่น โดยเฉพาะในพื้นที่

ภาคใตบริเวณจังหวัดปตตานี ยะลา และนราธิวาส

ไดมีการใชนโยบายรัฐนิยมที่กระทบตอการดําเนิน

วิถีชีวิต ดังนั้น รัฐนิยมจึงเปนนโยบายที่กระทบ

โดยตรงตอวัฒนธรรมและกฎหมายอิสลามที่เคยมี

ในพื้นที่ป ตตานี สวนนโยบายชาตินิยมเปนการ

ผสมผสานวัฒนธรรมเชิงบังคับผ านอํานาจรัฐ

จึงทําใหมีการตอตานรวมทั้งมีกระบวนการอพยพ

คนในปตตานีที่ต อตานนโยบายนี้ไปยังประเทศ

มาเลเซีย โดยกลุ มที่ต องการตอตานนโยบายนี้

ไดกระตุ นความรู สึกชาตินิยมมลายู จนเกิดเปน

กระบวนการของผู นําพลัดถิ่นรวมตัวในสมาคม

ชาวมลายแูหงเมอืงปตตาน ีเพือ่เรยีกรองการปกครอง

ตนเองในทีส่ดุ ปจจบุนักลุมกอเหตรุนุแรงมกัใชขอมลู

ทางประวัติศาสตรมาใชในการปลุกระดม บิดเบือน

เพื่อทําใหประชาชนในพื้นที่เกลียดชัง และไมยอมรับ

อํานาจรัฐ โดยมักอางถึงความเปนรัฐอิสลามของ

ปตตานีในอดีต และการเขามายึดครองปตตานี

โดยชาวสยามซึ่งเปนรัฐตางศาสนาตลอดจนความ

ไมเปนธรรมที่ชาวปตตานีไดรับจากการถูกปกครอง

โดยชาวสยาม ซึ่งเรื่องที่ถูกกลาวอางเหลานี้ ลวนแลว

แตปลุกกระแสดานชาติพันธุ ศาสนา และมาตุภูมิ

โดยใชประวัติศาสตรที่บิดเบือนเปนเครื่องมือทั้งสิ้น

สังคมวิทยามลายู มลายู เปนชื่อกลุมชาติพันธุหนึ่ง อาศัยอยู

บางสวนของเอเชียตะวันออกเฉียงใต มลายูเปนเรื่อง

ของวัฒนธรรมไมใชเผาพันธุ ผู คนที่สัมพันธกับ

คนมลายูอยางใกลชิด คือ ชาวชวา ชาวมินังกะเบา

ชาวบาตัค ชาวอัดแจ และชาวฟลิปปนส ชาวมลายู

ปตตาน ีเรยีกตนเองวา ออแฆฮนาย ูซึง่มคีวามหมายวา

คนมลาย ูและบางทกีเ็ตมิคาํขางหนาเปน กตีอออแฆฮ

นายู ซึ่งแปลวา พวกเราคือมลายู ชาวมลายูเรียก

คนไทยวา ออแฆฮมซิแย สวนชาวมลายูปตตานี

ทีถ่กูกวาดตอนไปอาศยัอยูในกรงุเทพฯ จะถกูเรยีกวา

ออแฆฮนายูบาเกาะ ถือวาเปนชาวมลายู แตถูก

กวาดตอนไปกรุงเทพฯ

องคประกอบสาํคญัของชาวมลาย ูไดแก ภาษา

มลายู ศาสนาอิสลาม และวัฒนธรรม ฉะนั้น ผูใด

ก็ตามที่พูดภาษามลายูได เลือกวิถีวัฒนธรรมมลายู

นับถือศาสนาอิสลาม ถือวาเปนชาวมลายู ผูใดที่พูด

43

นิตยสาร ยุทธโกษป ที่ ๑๒๐ ฉบับ ที่ ๑ ประจําเดือน ตุลาคม - ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๔

Page 3: กล าวนํา · มีอยู สองช วง คือ ยุคของการผนวกและปฏิรูป การปกครองราวทศวรรษ

ภาษามลายู มีชีวิตในวิถีวัฒนธรรมมลายู แตไมได

นับถือศาสนาอิสลาม ก็ไมถือวาเปนมลายู ผูที่เขารับ

ศาสนาอสิลาม เรยีกวา (มาโซะ มลาย ูหรอืมะโซะยาว)ี

หรือเปนมลายูเปลี่ยนไปรับศาสนาพุทธ เรียกวา

(มาโซะ ซีแย)

ในวิถีชีวิตของคนมลายูนั้น การตั้งชื่อทารก

จะตั้งชื่อที่เปนมงคลตามชื่อศาสดา เชน คอดียะห,

ฟาตมิะห, มมัหมดั, อบัดลุเลาะห, คอเลาะห, ยซูปุ ฯลฯ

เมื่ออายุ ๗ วัน ถึง ๒ ขวบ จัดงานแงเกาะห และ

บือเลาะมูโละ (เปดปาก) ซึ่งแงเกาะห (ภาษามลายู)

หรืออากีเกาะห (ภาษาอาหรับ) นั้น เปนประเพณี

ตามหลักศาสนาอิสลาม เมื่อลูกอายุได ๗ วัน พอแม

จะตองทําการเชือดสัตวพลี ซึ่งอาจจะเปนแพะ

แกะ หรือวัว ก็ได หากเปนลูกชายเชือดสัตว ๒ ตัว

ลกูหญงิ ๑ ตวั สวนบอืเลาะมโูละ (ภาษามลาย)ู แปลวา

การเปดปากและการโกนผม เปนประเพณีดั้งเดิม

ของท องถิ่นในอดีต เส นผมจะถูกนําไปใส ไว

ในผลมะพราวออนกอนนําไปฝงในบริเวณบาน

บางครอบครัวอาจปลูกตนไมเปนหลักหมายวาตรงนี้

เปนที่ฝงเสนผมของเด็ก ปจจุบันอาจเพียงนําเสนผม

ไปฝงไวในบริเวณบาน สิ่งของที่ใชในพิธีโกนผม

และเปดปาก มีนํ้าผึ้ง หรืออินทผาลัม กรรไกร มะนาว

แหวนทอง และสําลี

สมาแย (การละหมาด) คอื การทาํความเคารพ

พระเจาของชาวมุสลิม โดยเด็กเริ่มสมาแย ตั้งแต

อายุ ๗ ขวบ ทําทาเลียนแบบตามผูใหญ พอแม

ปูยาตายาย ที่มัสยิด บางคนเริ่มจากโรงเรียนตาดีกา

หัดอาบนํ้าละหมาด ทําความสะอาดมือ บวนปาก

ลางหนา หู แขน และเทา กลางคืนมะจะสอน

ใหทองจําอายะห (อายาต) และดอออ (ดุอาร)

การสมาแย หรือสมายัง (ภาษามลายู) หรือ นมาซ

(ภาษาอาหรับ) เปนหนึ่งในหลักปฏิบัติทางศาสนา

เปนการแสดงความเคารพตออลัลอฮ ฺระลกึถงึคณุงาม

ความดีและความยิ่งใหญของพระเจาเสมอ ทําให

ตัง้มัน่ในการทาํความด ีความขอบคณุ ความนอบนอม

การยับยั้งไมใหกระทําความชั่วผิดบาป และตั้งมั่น

อยูในวิถีความดี ฝกรักษาความสะอาด รับผิดชอบ

ตอหนาที่ ตรงตอเวลา อดทน สามัคคี และเสมอภาค

การละหมาดจะกระทาํ ๕ เวลา ไดแก กอนพระอาทติย

ขึ้น เวลา ๐๕.๐๐ น. (ซูโบะ) กอนละหมาดอาซา เวลา

๑๒.๓๐ น. (โซโอ) กอนละหมาดงอเระ เวลา ๑๕.๓๐ น.

(อาซา) กอนละหมาดอีซอ เวลา ๑๘.๓๐ น. (งอเระ)

และกอนละหมาดซูโบะ เวลา ๑๙.๔๕ น. (อีซอ)

การศึกษาของเด็กมลายูนั้น อายุ ๗ ป

จะเขาเรียนชั้นประถมภาคบังคับของรัฐบาล วันเสาร

และวันอาทิตย เรียน “งายีกรอแอ” คือ เรียนอาน

อัลกุรอาน บางคนไปเรียนที่โรงเรียนตาดีกา ในวัน

เสารและวันอาทิตย ตั้งแตเวลา ๐๘.๐๐ - ๑๕.๓๐ น.

(บางโรงเรียนหลังเลิกเรียนทุกวัน) เรียนจนกระทั่ง

อายุ ๑๒ ป ซึ่งโรงเรียนตาดีกาจะสอนใหเด็กเรียน

ภาษาอาหรับ และมลายู (ฟง อาน เขียน พูด) สอนให

รู จักพระเจ า สอนหลักความเชื่อ หลักศรัทธา

การตอบแทนอัลลอฮฺ คุณธรรม จริยธรรม ในการ

ดาํรงตน และการอยูรวมกบัคนอืน่ โดยครทูีส่อนศาสนา

44

นิตยสาร ยุทธโกษป ที่ ๑๒๐ ฉบับ ที่ ๑ ประจําเดือน ตุลาคม - ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๔

Page 4: กล าวนํา · มีอยู สองช วง คือ ยุคของการผนวกและปฏิรูป การปกครองราวทศวรรษ

ในโรงเรียนตาดีกา เรียกวา เจะมู หลังจากเรียนจบ

ชั้นประถมปที่ ๖ มีทางเลือกเรียน ๓ ทาง คือ เขาเรียน

ในโรงเรียนมัธยมของรัฐบาล โรงเรียนมัธยมของ

เอกชน หรือโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม

(ปอเนาะ) ซึ่ งโรงเรียนปอเนาะหรือซือกอเลาะ

เปนคําทับศัพทมาจากภาษาอังกฤษวา school

มกีารสอนวชิาศาสนาอสิลาม, วชิาสามญั บางโรงเรยีน

เพิม่วชิาอาชพี การเรยีนอยูประจาํ หรอืไปเชา เยน็กลบั

ที่พักนักเรียนเปนกระทอมเล็ก ๆ อยูได ๓ ถึง ๔ คน

หอพักนักเรียนชายกับนักเรียนหญิงจะแยกกันเปน

สัดสวน โรงเรียนจะกําหนดกฎระเบียบการปฏิบัติ

อยางเครงครัด เพื่อฝกฝน ขัดเกลาตัวเด็กใหเปน

ผูใหญที่ดีตอสังคม รักษาความเปนศาสนา จริยธรรม

ศีลธรรม และสอนใหมีแบบการดําเนินชีวิตที่ถูกตอง

การทําผิดกฎ คือการทําสิ่งที่อาจนําไปสูการทําบาป

ในภาษามลายู อักษรที่ใช คือ อักษรยาวี

ใชบันทึกความรูและเรื่องราวของศาสนา เด็กจะเรียน

รูอักษรยาวีจากโรงเรียนตาดีกา และกีตะยาวี หรือ

กีตาบยาวี (ตําราศาสนาที่อธิบายความหมายของ

อลักรุอาน ซึง่เปนคูมอืและแนวทางปฏบิตัใินพธิกีรรม

โดยเฉพาะการปฏิบัติศาสนกิจภาคบังคับตาง ๆ)

มัสยิดและสุเหรา คือ สถานที่สําหรับปฏิบัติ

ศาสนกิจ หรือสถานที่สําหรับทําอิบาตะหฺ (บูชา

สกัการะ) พระผูเปนเจา มสัยดิ เปนภาษาอาหรบั แปลวา

สถานที่กราบ สุเหรา เปนภาษามลายู หมายถึง

มัสยิดเล็ก ๆ ไมนิยมใชละหมาดในวันศุกร มัสยิด

และสุเหรา เปนสถานที่ทําพิธีกรรมทางศาสนา เชน

พิธีเกาะห (การแตงงาน) การละหมาดศพ เปน

ศูนยกลางในการอบรมสั่งสอนศาสนา เปนที่ประชุม

ในเรื่องที่เกี่ยวกับศาสนา การจัดกิจกรรมตาง ๆ

ของชุมชน รวมทั้งการประชุมเพื่อรับทราบนโยบาย

ของทางราชการ

การไปบูวะฮฮายี (ทําฮัจญ) เปนบทพิสูจน

อยางหนึ่งของการดํารงตนตามหลักการแหงศาสนา

อิสลามของชาวมุสลิม ทุก ๆ ปมุสลิมนับลานคน

จากทั่วโลกจะเดินทางไปที่นครมักกะฮฺ เพื่อประกอบ

ศาสนกิจ การบําเพ็ญฮัจญเริ่มในเดือนซุลฮิจญ หรือ

เดือน ๑๒ ตามปฏิทินจันทรคติของอิสลาม ใชเวลา

ประมาณ ๔๕ วัน การทําฮัจญนับเปนหนึ่งในเครื่อง

ทดสอบความศรัทธา ความอดทน และเสียสละ

ไมใชการไถบาป หรือศาสนกิจเพื่ออวดความมั่งมี

บทบัญญัติการแตงกายของผู หญิงมุสลิม

ตองปกปดรางกายตั้งแตศีรษะ เวนใบหนาและฝามือ

ตองคลุมฮิญาบทุกครั้งเมื่อออกจากบาน หรือเมื่อมี

ผูที่ไมใชญาติใกลชิดเขามาในบาน การคลุมฮิญาบ

เพื่อปกปดรางกาย ยับยั้งความชั่วรายไมใหเกิดขึ้น

ซึ่งนําไปสู การขมขืนหรืออาชญากรรม นอกจาก

คลุมฮิญาบ ยังหามใสเสื้อผาเนื้อบาง โปรง หาม

แตงกายรัดรูป เสื้อ กระโปรง และกางเกงตองไม

แสดงสัดสวนของรางกาย นํ้าหอมเปนสิ่งตองหาม

ของสตรี แต อนุญาตให ใช เพื่อระงับกลิ่นกาย

โดยไมสรางความเยายวนหรือดึงดูดความสนใจ

สวนการแตงกายของผูชาย บทบัญญัติของศาสนา

อิสลาม กําหนดใหผูชายตองปกปดรางกายตั้งแต

45

นิตยสาร ยุทธโกษป ที่ ๑๒๐ ฉบับ ที่ ๑ ประจําเดือน ตุลาคม - ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๔

Page 5: กล าวนํา · มีอยู สองช วง คือ ยุคของการผนวกและปฏิรูป การปกครองราวทศวรรษ

สะดือถึงหัวเขา หามผูชายใสผาไหม เวนเพื่อการ

รักษาโรค และหามใสเครื่องประดับที่ทําดวยทอง

การแตงงานของมุสลิม ขอสําคัญที่แตกตาง

จากชาวพุทธ ก็คือ ชายมุสลิมสามารถมีภรรยา

๔ คนได ถาเขาอยูในฐานะที่จะใหความสุข ยุติธรรม

แกภรรยาทุกคนไดเทาเทียมกัน โดยใหคาเลี้ยงดู

อาหาร เครื่องแตงกาย ที่อยูอาศัย ไมสรางความ

สะเทือนใจใหแกภรรยาคนใดคนหนึ่ง ไมแสดงความ

รักตอคนใดคนหนึ่งมากกวาอีกคน ยกยองภรรยา

ทกุคนอยางเสมอภาค ไมเรยีกภรรยาคนหนึง่คนใดวา

เมียนอยเมียหลวง รวมทั้งแบงเวลาใหกับภรรยา

ทุกคนเทา ๆ กัน นอกจากนี้ยังมีบทบัญญัติในเรื่อง

อื่น ๆ อาทิ อาหาร และการถือศีลอดอีกดวย

ยุทธศาสตรการแกไขปญหาในพื้นที่จงัหวดัชายแดนภาคใต ป ๒๕๕๔ (๑ ต.ค. ๕๓ - ๓๐ เม.ย. ๕๔) ยุทธศาสตรดังกลาว มียุทธศาสตรหลัก คือ

ยุทธศาสตรพระราชทาน “เขาใจ เขาถงึ พฒันา” และ

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และมียุทธศาสตรรอง

๖ ประการ คือ (๑) การเสริมสรางความเขาใจ

(๒) การพัฒนาศักยภาพทรัพยากรมนุษย (๓) การ

ปองกนัและแกไขปญหาภยัแทรกซอน (๔) การดาํเนนิ

การดานสิทธิมนุษยชน (๕) การรักษาความปลอดภัย

ในชีวิตและทรัพยสิน และ (๖) การมีสวนรวมของ

ทุกภาคสวน

ยุทธศาสตรรองประการที่ ๑ คือ การเสริม

สรางความเขาใจนั้น ใชมาตรการ ไดแก แนวทาง

การเสริมสรางความเขาใจ ๕ ขั้นตอน คือ การปฏิบัติ

ตามหลักธรรมาภิบาล (Good Governance)

การแสวงความรวมมือกับกลุมผูนําศาสนาและกลุม

ประเทศมุสลิม การปฏิบัติการขาวสาร การฝกอบรม

การใหความรูเรื่องประวัติศาสตรที่ถูกตอง โดยจัดทํา

โครงการประชาสัมพันธกองอํานวยการรักษาความ

มั่นคงภายในภาค ๔ สวนหนา (กอ.รมน.ภาค ๔ สน.)

โครงการพัฒนาเพื่อความมั่นคง โครงการปฏิบัติ

การขาวสารเพื่อสนับสนุนแผนงานการแกไขปญหา

ในพื้นที่ จชต. โครงการหมูบานพัฒนาสันติ โครงการ

กีฬาสัมพันธสรางสันติสุข โครงการศึกษาสรางความ

สมานฉันท โดยมิติดานศาสนาและกีฬา

ยุทธศาสตรรองประการที่ ๒ คือ การพัฒนา

ศักยภาพทรัพยากรมนุษย มีมาตรการคือ การพัฒนา

ทักษะอาชีพตามความถนัด การจัดการการศึกษา

ใหสอดคลองกบัวถิชีวีติ การสรางโอกาสทางการศกึษา

และทางเลือกที่หลากหลายใหกับเยาวชนกลุมเสี่ยง

การสร างโอกาสให ชุมชนเข ามาบริหารจัดการ

ทรัพยากรในทองถิ่นได การลดชองวางทางสังคม

รวมทั้งการอนุรักษ/ฟ นฟูศิลปวัฒนธรรมทองถิ่น

โดยจัดทําโครงการสรางงานและจางงานเรงดวน

แผนการยกระดับคุณภาพชีวิต โครงการเพิ่ม

ขีดความสามารถในดานการขยายชองทางตลาด

โครงการเพิ่มขีดความสามารถในการแข งขัน

อุตสาหกรรมฮาลาลชุมชน โครงการพัฒนาคุณภาพ

ชีวิตระดับหมูบาน (พนม.) และโครงการพัฒนาชุมชน

สันติสุขตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (พนพ.)

ยุทธศาสตรรองประการที่ ๓ คือ การปองกัน

และแกไขปญหาภัยแทรกซอนนั้น มีมาตรการคือ

การสกัดกั้นตามแนวชายแดน การปองกันและแกไข

ปญหายาเสพตดิ การกดดนั/ตดิตามความเคลือ่นไหว

ของกลุ มผู มีอิทธิพลในพื้นที่ การดําเนินการตอ

กลุ มธุรกิจนอกกฎหมาย และการติดตามเงินทุน

สนับสนุนการกอเหตุ โดยมีกิจกรรม ไดแก โครงการ

46

นิตยสาร ยุทธโกษป ที่ ๑๒๐ ฉบับ ที่ ๑ ประจําเดือน ตุลาคม - ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๔

Page 6: กล าวนํา · มีอยู สองช วง คือ ยุคของการผนวกและปฏิรูป การปกครองราวทศวรรษ

ญาลันนันบารู โครงการปฏิบัติการข าวสารเพื่อ

สนับสนุนแผนงานการแกไขปญหาในพื้นที่ จชต.

และพระราชกาํหนดการบรหิารราชการในสถานการณ

ฉุกเฉินฯ

ยทุธศาสตรรองประการที ่๔ คอื การดาํเนนิการ

ดานสิทธิมนุษยชน มีมาตรการไดแก การปฏิบัติ

ตามกรอบของกฎหมาย การเยียวยาผู ที่ไดรับผล

กระทบจากการใชกฎหมาย การพัฒนาสัมพันธ

กับองคกรสิทธิและกลุ ม NGOs การลดบทบาท

ของบุคคล/กลุมและองคกรที่พยายามสรางเงื่อนไข

การจัดตั้งตัวแทน (Third Party) รวมทั้งการปฏิบัติ

การขาวสารและการประชาสัมพันธ การขจัดเงื่อนไข

ที่องคกรระหวางประเทศ และกลุม NGOs เพงเล็ง

ซึ่งยุทธศาสตรรองดังกลาว มีกิจกรรมคือ โครงการ

ขจัดเงื่อนไขความไมเป นธรรมและการอํานวย

ความยุติธรรม โครงการปฏิบัติการจิตวิทยาและ

ประชาสัมพันธสนับสนุนการปฏิบัติการขาวสารใน

การแกไขปญหา จชต. ใหความเคารพสิทธิมนุษยชน

การเรงรัดดําเนินคดีความมั่นคง ใชกระบวนการ

ยุติธรรมบนหลักกฎหมาย NGO เยือนพื้นที่จัดตั้ง

ศูนยรับเรื่องราวรองทุกข เชิญทูตประเทศมุสลิมมา

เยี่ยมชมพื้นที่ รวมทั้งเชิญสื่อมวลชนตรวจสอบ

ความจริงในพื้นที่

ยุทธศาสตรรองประการที่ ๕ คือ การรักษา

ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน มีมาตรการคือ

การควบคุมพื้นที่ การปฏิบัติทางทหาร การบังคับใช

กฎหมาย การสรางเครือขายมวลชน การคนหา

และทําลายโครงสรางฯ การควบคุมวัตถุระเบิด

การโดดเดี่ยวผู ก อความรุนแรง การหยุดยั้งการ

ขยายตัวของผูกอความรุนแรง การปฏิบัติการขาวสาร

และการสรางความเชือ่มัน่ในอาํนาจรฐั โดยมกีจิกรรม

ที่ทําไดแก โครงการเสริมสรางความเชื่อมั่นเพื่อแกไข

ปญหา จชต. โครงการเสริมสรางการมีสวนรวมของ

ประชาชน โครงการเพิม่ประสทิธภิาพงานดานขาวกรอง

โครงการตอตานขาวกรอง โครงการเสริมสราง

ขายงานขาวกรอง โครงการสงเสริมการมีสวนรวม

การอํ านวยการทํ างานของภาคประชาชนและ

ทุกเครือขาย โครงการประชาสัมพันธเชิงรุกในภาวะ

วิกฤติ จชต. โครงการปฏิบัติการจิตวิทยาและ

ประชาสัมพันธสนับสนุนการปฏิบัติการขาวสาร

ในการแกไขปญหา จชต. พระราชกําหนดการ

บริหารราชการในสถานการณฉุกเฉินฯ การเฝาตรวจ

ทั้งกลางวัน/กลางคืน รวมทั้งใหภาคประชาชนมี

สวนรวมในการดูแลชุมชน

ยุทธศาสตรรองประการสุดทาย คือ การมี

สวนรวมของทุกภาคสวนนั้นมีมาตรการ คือ การ

สนับสนุนสงเสริมความรวมมือระหวางหนวยงาน

การผนึกกําลังเพื่อสนับสนุนการแกไขปญหาจาก

ทุกภาคสวน การบูรณาการรวมกันระหวางหนวยและ

สวนราชการอยางเปนระบบ การกําหนดเจาภาพ

หลักในการดําเนินการ โดยการจัดทําโครงการ

สงเสริมการมีสวนรวมการอํานวยการทํางานของ

ภาคประชาชนและทุกเครือขาย โครงการบูรณาการ

แผนงานของ กอ.รมน.ภาค ๔ สน. การอํานวยการ

บริหารจัดการและการขับเคลื่อนยุทธศาสตรดาน

ความมั่นคงและการพัฒนาศูนยอํานวยการบริหาร

จังหวัดชายแดนภาคใต (ศอ.บต.)

หนวยทหารขนาดเล็กในการเขาถึงประชาชน การที่หนวยทหารขนาดเล็กซึ่งมีขีดความ

สามารถปฏบิตักิารไดในทกุภมูปิระเทศและภมูอิากาศ

มีความคลองแคลวในการเคลื่อนที่สูง สามารถ

47

นิตยสาร ยุทธโกษป ที่ ๑๒๐ ฉบับ ที่ ๑ ประจําเดือน ตุลาคม - ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๔

Page 7: กล าวนํา · มีอยู สองช วง คือ ยุคของการผนวกและปฏิรูป การปกครองราวทศวรรษ

ที่จะเจาะพื้นที่ เข าไปยังชุมชนไดในทุกระยะนั้น

จึงเปนหนวยที่เหมาะสมอยางยิ่งในการที่จะปฏิบัติ

การจิตวิทยาและชวยเหลือประชาชนในพื้นที่หางไกล

และอาจตกอยูภายใตอิทธิพลของผูกอความไมสงบ

ตามแนวคิดการเอาชนะจิตใจ การเอาชนะในระดับ

หมูบาน การเขาใจ การเขาถึง และพัฒนา (ในระดับ

ทองถิ่น) นั้น การที่จะใชหนวยทหารขนาดเล็กเขาไป

ปฏิบัติงานจิตวิทยาเพื่อแกป ญหาที่มีความสลับ

ซับซอนในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต จึงมิใช

เรื่องงายภายในเวลาอันจํากัด และมิอาจจะใชงาน

ปฏบิตักิารจติวทิยาอยางทีเ่คยปฏบิตัมิาในยคุสงคราม

เย็น เชน การตอสู ระหวางรัฐบาลไทยกับพรรค

คอมมิวนิสตแหงประเทศไทยได แตการปฏิบัติการ

จิตวิทยาในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใตจําเปน

จะตองใชวิธีการที่มีความหลากหลายมากขึ้น หนวย

ทหารขนาดเล็กจําเปนตองรูขาศึก ภูมิประเทศ และ

ลมฟาอากาศเปนอยางด ีโดยเฉพาะคาํวารูภมูปิระเทศ

ในการปองกันและปราบปรามการกอความไมสงบนั้น

กินความหมายกวางโดยรวมไปถึงการรู ประชาชน

ชุมชนและวิธีแหงชุมชนอยางถองแท เพื่อที่จะได

รูจักเลือกใชมาตรการตาง ๆ แบบบูรณาการในการ

เอาชนะจิตใจประชาชนไดอยางเหมาะสม

การฝกและการศกึษาของหนวยทหารขนาดเลก็

จะตองคํานึงถึงวิธีการในการเขาถึงประชาชนในพื้นที่

ไดอยางแนบเนียน ไมเนนผลระยะสั้นและตองไมใช

วิธีการปฏิบัติการจิตวิทยาแบบเดิม ๆ ที่ฝายตรงขาม

มีวิธีการควบคุมประชาชนอยางมีประสิทธิภาพ

สามารถจับทิศทางและหาวิธีแกไดหมดแลว อีกทั้งวิธี

การบางอยางในการปฏิบัติการจิตวิทยาแบบเดิม ๆ

ก็ขัดกับหลักความเชื่อทางศาสนาในแนวเครงแบบ

จารีตนิยม (Fundamentalism) ซึ่งกําลังเปนกระแส

หลกัทีส่รางความขดัแยงระหวางกลุมอสิลามสายเครง

กับชาติตะวันตกอยูในปจจุบัน เชน การเลนดนตรี

หรือการละเลนรื่นเริงตาง ๆ รวมทั้งขอหามที่สําคัญ

เกีย่วกบับทบาทของสตร ีดงันัน้การปฏบิตักิารจติวทิยา

ในแนวการใชการชวยเหลือพัฒนาคุณภาพชีวิต

และการสรางกิจกรรมโดยการมีสวนรวมจากฝายที่

เกี่ยวของตาง ๆ จึงจําเปนอยางยิ่ง ทหารตองใช

กิจกรรมเปนสื่อเพื่อดึงมวลชนและสามารถสื่อสาร

กับประชาชนไดโดยตรงในแบบตัวตอตัว มีความ

เขาใจในวิถีชุมชนและเคารพในวิถีชุมชนและศักดิ์ศรี

ของความเปนมนุษย ไมเร งรีบที่จะใหไดผลใน

ระยะสั้นซึ่งจะเปนการกดดันทั้งฝายทหารเองและ

ชาวบ านในพื้นที่และอาจจะเป นผลลบต อการ

ปฏิบัติการในภาพรวมได

สิ่งหนึ่งที่ทหารต องตระหนักก็คือการดึง

ผูเกี่ยวของทุกฝายเขามามีสวนรวม ซึ่งโดยอุดมคติ

แลวตองทํางานเคียงบาเคียงไหลกับองคกรอื่น ๆ

ที่เกี่ยวของอยางเปนทีม และมีเอกภาพในเปาหมาย

เดียวกัน ทหารตองไมแบกรับภาระทั้งหมดไวกับ

ตวัเองจนเกนิไป จนไมมเีวลาทาํกจิกรรมหรอืมาตรการ

ปองกนัและปราบปรามการกอความไมสงบอืน่ ๆ หรอื

เมื่อเหตุการณอยูในภาวะควบคุมไดแลวตองรีบสง

พื้นที่ใหหนวยงานฝายพลเรือนเขาไปชวยเหลือ และ

รูจักดึงศักยภาพและจุดแข็งของหนวยงานอื่นเขามา

เสริมการทํางานดวย การทํางานแตเพียงลําพังของ

ทหารอาจจะดูเหมือนวามีความตั้งใจดีแตก็อาจไม

ไดรับความรวมมือจากองคกรอื่นได เพราะเห็นวา

ทหารอยากทําแตเพียงหนวยเดียวจึงวางเฉยแมบาง

ครั้งพบวาทหารทําไมถูกตองก็ไมบอก และทหารที่

หมุนเวียนเขาไปปฏิบัติงานนั้นก็มาจากหลายพื้นที่

ทั่วประเทศไทย การรูจักสอบถามและแสวงหาความ

รวมมือกับเจาหนาที่ทองถิ่นจึงมีความจําเปนอยางยิ่ง 48

นิตยสาร ยุทธโกษป ที่ ๑๒๐ ฉบับ ที่ ๑ ประจําเดือน ตุลาคม - ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๔

Page 8: กล าวนํา · มีอยู สองช วง คือ ยุคของการผนวกและปฏิรูป การปกครองราวทศวรรษ

การสรางการมีสวนรวมจากชุมชนและผูนํา

ชุมชนมีความสําคัญยิ่ง เพราะในวิถีท องถิ่นนั้น

ประชาชนเชื่อฟงผูนํามาก และเมื่อชุมชนมีสวนรวม

แลวก็จะทําใหเกิดความรูสึกของความเปนเจาของใน

กิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิตตาง ๆ ที่ทหารไดทําการ

ริเริ่มไวให ความจริงใจและความมานะพยายามของ

ทหารที่ทิ้งผลงานเอาไวใหชุมชนจะเปนแกนสําคัญใน

การปทูางเพือ่ดงึมวลชนและการเขาใจความปรารถนา

ดขีองรฐับาลตอประชาชนในพืน้ที ่การกระทาํใหดเูปน

ตัวอยางจะดีกวาการพูดแตไมทําอะไรใหชาวบานเห็น

เปนรูปธรรมเลย โดยปกติระดับคุณภาพชีวิตและ

ความยากจนของประชาชนในพื้นที่ก็มีปญหามากกวา

ในพื้นที่อื่นอยูแลว เมื่อคุณภาพชีวิตชาวบานดีขึ้น

จากโครงการพัฒนาตาง ๆ ก็จะชวยเสริมใหประชาชน

เปลี่ยนทัศนคติที่มีตอรัฐบาลไปในทางที่ดีขึ้น จาก

ที่ฝายตรงขามเคยโจมตีวาฝายรัฐบาลไมเหลียวแล

ก็จะเปนทหารและหนวยงานภาครัฐเขาไปใหการ

ชวยเหลืออยางเปนรูปธรรมที่ฝ ายตรงขามและ

ชาวบานไมอาจปฏิเสธได

การปฏิบัติของหนวยทหารขนาดเล็กจึงตอง

มุ งเปาหมายการเขาถึงประชาชนอยางจริงใจและ

สร างความเชื่อมั่นและลดความหวาดระแวงใน

ระยะยาว สวนการปฏิบัติตัวของผูปฏิบัติงานและ

การพัฒนาของหนวยทหารขนาดเล็กก็สอดคลองกับ

ที่ผูกอความรุนแรงที่เขามอบตัวตองการใหขาราชการ

ทองถิ่นปรับปรุงตัวเองในลักษณะมีความจริงใจ

ในการปฏิบัติงาน การเขาถึงประชาชนโดยใกลชิด

ในลกัษณะเครอืญาต ิใหเกยีรตซิึง่กนัและกนั ชวยเหลอื

ประชาชนโดยไมหวงัผลตอบแทน ไมเลอืกทีร่กัมกัทีช่งั

สวนงานทีต่องการใหชวยเหลอืทองถิน่ คอื ชวยพฒันา

โครงสรางพืน้ฐานในหมูบาน ผูปฏบิตังิานควรเนนผูทีม่ี

บุคลิกที่นุมนวล เปนมิตร จริงใจและเห็นใจ อยาก

ชวยเหลอืผูอืน่ เขาใจในความหลากหลายทางภาษาและ

วัฒนธรรม และเขาใจในธรรมชาติของการกอความ

ไมสงบรูปแบบใหม

แนวทางการใชกําลังและอาวุธของเจาหนาที่ กับแนวทางปองกันปญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชน แมคําสั่งของกระทรวงกลาโหมในเรื่อง “กฎ

การใชกําลังของกองทัพไทย” จะบัญญัติใหผูบังคับ

หนวยทุกระดับและกําลังทหารทุกนายตองปฏิบัติการ

ทางทหารภายใตกรอบของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณา

จักรไทย และตองสอดคลองกับหลักการพื้นฐาน

ดานสิทธิมนุษยชน และหลักกฎหมายมนุษยธรรม

ตามกฎหมายระหวางประเทศก็ตาม กฎการใชกําลัง

ของกองทัพไทย ก็มิไดลิดรอนสิทธิ์ในการปองกัน

ตนเอง กาํลงัพลทกุนายจงึมสีทิธิท์ีจ่ะปองกนัตนเองได

แตตองอยูภายใตกรอบของกฎหมาย ดังนั้น จึงพึง

ระลกึไวเสมอวา การจะทาํใหบรรลภุารกจิทีไ่ดรบัมอบ

ไมวาจะเปนการใชสิทธิปองกันตนเอง การควบคุม

อํานวยการและการใชกําลังทหาร ผู บังคับหนวย

หรือทหารทุกนายจะตองพิจารณาใชกําลังตอบโต

ฝายตรงขามตามความจําเปนและตามสัดสวนของ

ความรุนแรงของแตละสถานการณที่เกิดขึ้น โดย

ตองเลือกวิธีการปฏิบัติจากที่ใชความรุนแรงนอยไปสู

การปฏิบตัทิีม่ีความรนุแรงมาก ดงันั้น ในกรณกีารกอ

เหตุรุนแรงในจังหวัดชายแดนภาคใตผูบังคับหนวย

และกําลังพลทุกนายที่มีหนาที่ปฏิบัติภารกิจในพื้นที่

จังหวัดชายแดนภาคใต จะตองมีความรูความเขาใจ

และจดจํากรอบแนวทางการปฏิบัติและการใชกําลัง

ในการเขาควบคุมสถานการณการกอเหตุรุนแรง

49

นิตยสาร ยุทธโกษป ที่ ๑๒๐ ฉบับ ที่ ๑ ประจําเดือน ตุลาคม - ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๔

Page 9: กล าวนํา · มีอยู สองช วง คือ ยุคของการผนวกและปฏิรูป การปกครองราวทศวรรษ

ในพืน้ทีจ่งัหวดัชายแดนภาคใตอยางลกึซึง้ โดยเฉพาะ

กฎการใชกําลังอยางเครงครัด เนื่องจากสถานการณ

การกอเหตุรุนแรงในจังหวัดชายแดนภาคใตมีความ

แตกตางไปจากการกอเหตุรุนแรงในภูมิภาคอื่น

ของไทย และเพื่อเปนการปองกันตนเอง พลเรือน

ทรัพยสินของทางราชการ และการรักษาความมั่นคง

และความสงบสุขของประเทศ

นอกจากนี้ ผูบังคับหนวยควรมีความรอบรู

เกี่ยวกับบทบาทขององคการ/องคกรระหวางประเทศ

และกลุม NGOs ทั้งไทยและตางประเทศที่มีความ

พยายามในการเฝาติดตามและสังเกตการณในการ

ปฏิบัติการแกไขปญหาการกอเหตุรุนแรงของไทย

เนื่องจากกลุ มตาง ๆ เหลานี้ อาจไดรับขอมูล

ที่ไมตรงกับความจริงจากกลุ มผู ที่กอเหตุรุนแรง/

ผูไมหวงัด ีและอาจถกูใชใหเปนกระบอกเสยีงเพือ่เรยีก

รองความสนใจจากองคการ/องคกรระหวางประเทศ

ทีม่ศีกัยภาพในการกดดนัไทยในทกุมติ ิอาท ิการเมอืง

เศรษฐกจิ สงัคม การฝก ศกึษา การทหาร และการทตู

รวมถึงการงดใหความชวยเหลือจากตางประเทศ

เพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคในการกอเหตุรุนแรง

ทั้งนี้ เมื่อสถานการณการกอเหตุรุนแรงไดยุติลง

หากมีผู เสียชีวิตและบาดเจ็บ ผู บังคับหนวยและ

กาํลงัพลทกุนายควรระลกึไวเสมอวา การเปนเจาหนาที่

ของรัฐนั้น ตนยังมีหนาที่ที่ตองใหความชวยเหลือ

ดานมนุษยธรรมแกบุคคลเหลานั้นโดยไมเลือกฝาย

เพื่อปองกันการเกิดปญหาดานสิทธิมนุษยชนที่อาจ

เกิดขึ้นในอนาคต รวมทั้งการใหความชวยเหลือ

ดานมนุษยชนหลังยุติความรุนแรง/สงคราม ซึ่งเปน

หลักสากลที่ทุกประเทศตองปฏิบัติตาม ดังนั้น

การใหความชวยเหลอืดานการแพทย การปฐมพยาบาล

และการใหความชวยเหลือดานตาง ๆ จึงจะขาด

เสียมิได

ผูบงัคบัหนวยทกุระดบัและกาํลงัทหารทกุนาย

พงึระลกึไวเสมอวาการฝาฝน หรอืการละเลยไมปฏบิตัิ

ตามกฎการใชกําลังของกองทัพไทย จะทําใหเกิด

ผลเสียหายตอประเทศ กองทัพ และอาจเปนการบอน

ทําลายความสําเร็จของภารกิจ รวมถึงอาจเปนการ

ฝาฝนกฎหมายภายในประเทศ และระหวางประเทศ

ซึ่งอาจทําใหผูที่ทําการฝาฝน/ละเลยเชนวานั้น ตอง

รับโทษตามวินัยและกฎหมาย อีกทั้งอาจทําให

ประเทศไทยถูกประณามจากองคกร/องคการระหวาง

ประเทศที่เกี่ยวของกับงานดานสิทธิมนุษยชน และ

NGOs และกอใหเกิดเปนประเด็นในเวทีระหวาง

ประเทศ นอกจากนี้ การดําเนินการดานความมั่นคง

ตองสอดคลองกับหลักสากลดานสิทธิมนุษยชน

และหลกันติธิรรมตามแนวนโยบายของนายกรฐัมนตรี

เพื่อปองกันไมใหกลุ มผู กอเหตุรุนแรงนําหลักการ

ดังกลาวมาแสวงหาประโยชนและทําลายภาพลักษณ

ที่ดีของเจาหนาที่รัฐ ขณะเดียวกันจะตองสงเสริม

การอํานวยความยุติธรรมใหกับประชาชนในพื้นที่

เนื่องจากเปนปจจัยสําคัญในการแกไขปญหาความ

ขดัแยง และควรใหความสาํคญัในการใหขอมลูขาวสาร

ทีเ่กีย่วของกบัปญหาการกอเหตรุนุแรงในพืน้ทีจ่งัหวดั

ชายแดนภาคใตตอบุคคลอื่น/บุคคลที่ ๓ เนื่องจาก

อาจถูกนําไปแสวงหาประโยชน โดยการบิดเบือน

ความจริง ซึ่งจะมีผลกระทบตอการดําเนินงานของ

ภาครฐัทัง้ในเวทรีะดบัประเทศและระหวางประเทศได

นอกจากนี้ ผู บังคับหนวยและกําลังพลทุก

นายควรสงเสรมิและใหความคุมครองดานสวสัดภิาพ

และความปลอดภัยแกเด็กและเยาวชนในดานตาง ๆ

อยางตอเนื่อง เพื่อเปนการปองกันไมใหเกิดอันตราย

ตอเดก็และเยาวชน แตการสงเสรมินัน้จะตองไมกระทาํ

การอันเปนการขัดกับความตองการขนบธรรมเนียม

50

นิตยสาร ยุทธโกษป ที่ ๑๒๐ ฉบับ ที่ ๑ ประจําเดือน ตุลาคม - ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๔

Page 10: กล าวนํา · มีอยู สองช วง คือ ยุคของการผนวกและปฏิรูป การปกครองราวทศวรรษ

เอกสารอางอิง๑. กกล.ทพ.จชต./กอ.รมน.ภาค ๔ สน. (๒๕๕๓). เอกสารความรูพื้นฐานในการปฏิบัติงานใน จชต.

๒. กรมขาวทหารบก. (๒๕๕๓). เอกสารพันธกรณีดานสิทธิมนุษยชนระหวางประเทศและแนวทางปองกันปญหา

การละเมิดสิทธิมนุษยชน

๓. พ.อ. ดร.พร ภิเศก, พ.อ. ดร.นเรศน วงศสุวรรณ, พ.อ. ดร.ดิเรก ดีประเสริฐ และ พ.อ.บรรพต สังขมาลา.

(๒๕๕๐). รายงานการวิจัยเรื่องการเพิ่มขีดความสามารถในการปฏิบัติการจิตวิทยาของหนวยทหาร

ขนาดเล็กเพื่อสงเสริมการเขาถึงประชาชนในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต

๔. ศนูยอนิโดจนีศกึษา วทิยาลยับรหิารรฐักจิ มหาวทิยาลยับรูพา. (๒๕๔๙). วารสารอนิโดจนีศกึษา ฉบบัวกิฤตการณ

ไฟใต ปที่ ๗ ฉบับที่ ๑ ม.ค. - ธ.ค. ๒๕๔๙

และวฒันธรรมของเดก็และเยาวชนอยางแทจรงิ อกีทัง้

จะตองสงเสรมิความรูในดานศลีธรรม จรยิธรรม และ

ความเชื่อตามหลักคําสอนของศาสนาที่ถูกตองควบคู

ไปกับการสงเสริมและการพัฒนาดานการศึกษาขั้น

พืน้ฐานแกเดก็และเยาวชนทัง้ทีเ่ปนชายไทยพทุธ และ

ชาวไทยมสุลมิ ในพืน้ทีจ่งัหวดัชายแดนภาคใต เพือ่เปน

เกราะปองกันไมใหเด็กและเยาวชนเหลานั้นถูกชักจูง

ใหหลงผิด รวมทั้งเปนการทําใหเด็กและเยาวชน

สมัครใจที่จะเขารวมเปนฝายเดียวกับภาครัฐ

สรุป ผูทีจ่ะไปปฏบิตังิานใน จชต. ทกุคนควรไดศกึษา

และทําความเขาใจในปญหาทั้งหลายทั้งปวงที่เกิด

และดํารงอยูในพื้นที่นี้อยางถองแทในทุกดานและ

ทุกมิติ ใหผู ปฏิบัติงานในพื้นที่ใชความพยายาม

อยางยิ่งยวดในการที่เขาไปใหถึงประชาชน หรือ

กลุมบุคคลเปาหมายตาง ๆ ซึ่งไดแกผูนําศาสนา

และครูสอนศาสนา กลุมผูนําชุมชน ฝายปกครอง

องคการบริหารสวนทองถิ่น องคกรทางการเมือง และ

องคกรจัดตั้งอื่น ๆ กลุมเยาวชน และกลุมบุคคล

ทีม่พีฤตกิรรมตองสงสยัตามบญัชเีปาหมาย เพือ่สราง

ความเขาใจในปญหาที่เกิดขึ้นใหเปนไปในแนวทาง

เดียวกัน แลวนําการพัฒนาเขาดําเนินการเต็มรูปแบบ

โดยขอความรวมมือจากสวนราชการตาง ๆ เขาไป

ดาํเนนิการเพือ่ใหเปนหมูบานตวัอยาง และเปนหมูบาน

สันติสุข

51

นิตยสาร ยุทธโกษป ที่ ๑๒๐ ฉบับ ที่ ๑ ประจําเดือน ตุลาคม - ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๔