คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... ·...

123
รายงานการศึกษาเพื่อการจัดทํา คูมือรายงานประเทศ ตามพันธกรณีระหวางประเทศที่ประเทศไทยเปนภาคี เสนอตอ กรมคุมครองสิทธิและเสรีภาพ กระทรวงยุติธรรม โดย นางสีนอย เกษมสันต อยุธยา

Upload: others

Post on 05-Mar-2020

0 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

รายงานการศึกษาเพื่อการจัดทํา

คูมือรายงานประเทศ ตามพันธกรณีระหวางประเทศทีป่ระเทศไทยเปนภาคี

เสนอตอ

กรมคุมครองสทิธิและเสรีภาพ กระทรวงยุติธรรม

โดย

นางสีนอย เกษมสันต ณ อยุธยา

Page 2: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

รายงานการศึกษาเพื่อการจัดทํา

คูมือรายงานประเทศ ตามพันธกรณีระหวางประเทศทีป่ระเทศไทยเปนภาคี

เสนอตอ

กรมคุมครองสทิธิและเสรีภาพ กระทรวงยุติธรรม

โดย

นางสีนอย เกษมสันต ณ อยุธยา

กันยายน 2548

Page 3: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

สารบัญ หนา คําขอบคุณ 4 บทสรุปสําหรับผูบริหาร 5 บทที่ 1 บทนํา 8 หลักการเหตุผล วัตถุประสงค 9 ขอบเขตของการศึกษา ขอจํากัดของการศึกษา 10 บทที่ 2 ประเทศไทยกบัพันธกรณีดานสิทธิมนุษยชน 11 ความสําคัญและความหมายของสิทธิมนุษยชน บทบาทขององคการสหประชาชาติ ในเรื่องสิทธิมนุษยชน 12 สนธิสัญญาหลักดานสิทธิมนุษยชน พิธีสาร และอนุสัญญาที่เกี่ยวของ 14 ประเทศไทยกบัการเขาเปนภาคีสนธิสัญญาดานสิทธิมนุษยชน 17 สาระสําคัญของสนธิสัญญาที่ประเทศไทยเปนภาค ี พันธกรณหีลักที่ตองปฏิบัติ 21 พันธกรณกีารจัดทํารายงานตามสนธิสัญญา 5 ฉบับ (ตาราง) 23 บทที่ 3 การจัดทํารายงานประเทศตามสนธิสัญญาดานสิทธิมนุษยชน 26 เหตุผลความจาํเปนและหลักการของการจดัทํารายงาน ขอมูลเกี่ยวกับคณะกรรมการผูรับผิดชอบศึกษาพิจารณารายงาน (ตาราง) 28 การจัดทํารายงานของประเทศไทย 29 รายงานของอนุสัญญาวาดวยการขจัดการเลือกปฏิบัติตอสตรี ในทุกรูปแบบ (CEDAW) รายงานของอนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็ก (CRC) 34 รายงานของกติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิพลเมือง 37 และสิทธิทางการเมือง (ICCPR) บทที่ 4 แนวทาง คูมือการจัดทํารายงานตามพันธกรณีระหวางประเทศ 39 ที่ประเทศไทยเขาเปนภาคี 1. กระบวนการจัดทํารายงานของประเทศไทย - ขั้นตอนการเตรียมการจดัทํารายงาน 40 - ขั้นตอนการจัดทํารายงาน เขียน/ราง 41 - การรับฟงความคิดเห็นและขอเสนอแนะจากสาธารณชน และเว็บไซตที่เกี่ยวของ 42 - ขั้นตอนพิเศษ เพื่อเตรียมการนําเสนอรายงานและตอบขอซักถาม 44 - คําถามเพิ่มเติมและสรุปขอสังเกต/ขอเสนอแนะของคณะกรรมการตามสนธิสัญญา 48

Page 4: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

2. แนวทางรวมเพื่อการจัดทาํรายงานของสนธิสัญญาระหวางประเทศดาน 49 สิทธิมนุษยชน และแนวทางการจัดทําเอกสารหลัก และ เอกสารโดยตรงของสนธิสัญญาเฉพาะเรื่อง แนวทางเสนอแนะ วาดวยกระบวนการจัดทํารายงานเพื่อเสนอตอ 50 องคกรกํากับติดตามสนธิสัญญาระหวางประเทศดานสิทธิมนุษยชน ขององคการสหประชาชาติ ความมุงหมายของแนวทาง 51 1. ขอแนะนําเพื่อการเตรียมการสําหรับกระบวนการจัดทํารายงาน 52 ความมุงหมายของการรายงาน การเก็บรวบรวมขอมูลและการรางรายงาน กําหนดเวลาในการเสนอรายงาน 52 2. ขอแนะนําเกี่ยวกับรูปแบบของรายงาน 53 3. ขอแนะนําเกี่ยวกับเนื้อหาของรายงาน 54 รายละเอียดคําอธิบายขอแนะนํา 55 สวนแรก เอกสารหลัก 3.1 ขอมูลทั่วไปและขอมูลสถิติของรัฐภาคีผูเสนอรายงาน ก. ประชากร เศรษฐกิจ สังคม และลักษณะทางวฒันธรรม ข. รัฐธรรมนูญ ระบบการเมือง และโครงสรางทางกฎหมาย 3.2 กรอบแนวทางพื้นฐานเพื่อการคุมครองและการสงเสริมสิทธิมนุษยชน 56 ค. การยอมรับแนวทางระหวางประเทศดานสิทธิมนุษยชน ง. กรอบกฎหมายพืน้ฐานภายในเพื่อการคุมครองสทิธิมนุษยชน ระดับชาต ิ จ. กรอบแนวทางภายในเพื่อสงเสริมสิทธิมนุษยชนในระดับชาต ิ 57 ฉ. บทบาทของกระบวนการจัดทํารายงานในการสงเสริมสิทธิมนุษยชน 58 ระดับชาต ิ ช. ขอมูลอ่ืน ๆ เกี่ยวกับเรื่องสิทธิมนุษยชน 3.3 การดําเนินการในทางปฏิบัติตามขอกําหนดดานสิทธิมนุษยชนพื้นฐาน 58 ตามหลักการรวมของสนธิสัญญาตาง ๆ ซ. หลักการไมเลือกปฏิบัติและความเสมอภาค 59 สวนที่สอง เอกสารโดยตรงของสนธิสัญญา 60 บทที่ 5 สรุปและเสนอแนะ 62 สรุป การเขาเปนภาคีสนธิสัญญาระหวางประเทศดานสิทธิมนษุยชนของประเทศไทย ปญหาความยุงยากในการจดัทํารายงานตามสนธิสัญญา

Page 5: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

การจัดทํารายงานของประเทศไทย 64 ความกาวหนาในการจดัทํา แนวทางการจดัทํารายงาน 65 แนวทางรวมเพื่อการจัดทํารายงาน ขอเสนอแนะ 66 - ตอการจัดทาํรายงาน - ตอองคกร/รัฐบาล/หนวยงานที่เกีย่วของ ภาคผนวก 75 ภาคผนวกหลกั 77 แนวทางรวมเพื่อการจัดทํารายงานของสนธิสัญญาระหวางประเทศ ดานสิทธิมนุษยชน และแนวทางการจดัทําเอกสารหลัก และ เอกสารโดยตรงของสนธิสัญญาเฉพาะเรื่อง ภาคผนวก 1 ภาระหนาที่ขององคกรตามสนธิสัญญาในการรองขอรายงานจากรัฐภาคี 103 ภาคผนวก 2 อนุสัญญาระหวางประเทศที่เกีย่วกับประเด็นสิทธิมนุษยชน 108 ก. อนุสัญญาระหวางประเทศดานสิทธิมนษุยชนฉบับหลักและพิธีสาร ข. อนุสัญญาดานสิทธิมนุษยชนและอนุสัญญาที่เกี่ยวของอื่น ๆ ของสหประชาชาต ิ 109 ค. อนุสัญญาขององคการแรงงานระหวางประเทศ ง. อนุสัญญาขององคการศึกษา วิทยาศาสตร และวัฒนธรรมแหงสหประชาชาต ิ 110 จ. อนุสัญญาของการประชมุเฮกวาดวยกฎหมายระหวางประเทศวาดวยคดีบุคคล ฉ. อนุสัญญาเจนีวาและสนธิสัญญาอื่น ๆ วาดวยกฎหมายมนุษยธรรม 111 ระหวางประเทศ ภาคผนวก 3 การประชุมสัมมนาระดับโลก 112 ภาคผนวก 4 ตัวช้ีวดัเกีย่วกบัสิทธิมนุษยชน 113 ภาคผนวก 5 เปาหมายการพัฒนาของสหสัวรรษ 116 ภาคผนวก 6 เว็บไซตเสนอแนะ 117 บรรณานุกรม 119

Page 6: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

คําขอบคุณ

ผูเขียนขอแสดงความชื่นชมตอกรมคุมครองสิทธิและเสรีภาพ ที่ไดมีดําริในการศึกษาและจัดทําเอกสารอันเปนประโยชนอยางยิ่ง ตอการดําเนินงานสิทธิมนุษยชนของชาติ และตอหนวยงานตาง ๆ ที่ตองรับผิดชอบการดําเนินงานเรื่องนี้ โดยเฉพาะอยางยิ่งการจัดทํารายงานตามสนธิสัญญาดานสิทธิมนุษยชน เอกสารคูมือการจัดทํารายงานประเทศตามพันธกรณีระหวางประเทศที่ประเทศไทยเปนภาคี ที่ถึงแมจะมีเวลาในการดําเนินการเพียง 2 เดือน (12 กรกฎาคม - 12 กันยายน 2548) ซ่ึงอาจจะเปนงานศึกษาที่ใชเวลากระชั้นชิดและเรงรัดมาก แตก็ไดรับความกรุณาชวยเหลืออยางดียิ่งจากผูเกี่ยวของทุกฝายของกรมคุมครองสิทธิและเสรีภาพ ตั้งแตทานอธิบดี ชาญเชาวน ไชยานุกิจ ทานรองอธิบดี ปรียาพร ศรีมงคล และผูอํานวยการกองสงเสริมสิทธิและเสรีภาพ ผูอํานวยการปติกาญจน สิทธิเดช ซ่ึงผูเขียนขอแสดงความขอบคุณอยางสูงไว ณ ที่นี้ ขอขอบคุณ คุณสาธนา ขณะรัตน ผูทาบทามที่พยายามใหกําลังใจดวยการแสดงความเชื่อมั่นวาผูเขียนสามารถทํางานนี้ไดสําเร็จภายในเวลาอันสั้นกระชั้นชิดที่สุด ขอขอบคุณคณะกรรมการเพื่อการจัดทําคูมือรายงานประเทศตามพันธกรณีระหวางประเทศที่ประเทศไทยเปนภาคีทุกทาน ที่ไดกรุณาใหขอคิดเห็นและคําแนะนําในการจัดวางโครงสรางเนื้อหาและแนวทางของเอกสาร ขอบคุณ คุณอัจฉรา ฉายากุล จากสํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ที่ไดจัดทําเอกสารเกี่ยวกับเรื่องราวของอนุสัญญาและกลไกตาง ๆ เกี่ยวกับเรื่องนี้ไว ซ่ึงเปนขอมูลที่ผูเขียนไดใชประโยชนมากที่สุด ขอบคุณ คุณพุทธนี กางกั้น จาก Asian Human Rights Commission (AHRC) ที่ไดใหขอแนะนําเกี่ยวกับเว็บไซต ดังปรากฏเพิ่มเติมเปนภาคผนวก 6 ที่สําคัญ ผูที่ เปนกําลังหลัก 2 คน ซ่ึงเปนทั้งผูชวยนักวิจัย เปนพลังและเปนกําลังชวยเหลือผูเขียนอยางดีที่สุดทุกประการ เปนผูดลบันดาลใหงานศึกษาเรื่องนี้สําเร็จเสร็จสิ้นลงไดโดยเรียบรอยคือ คุณบุญภาดา พึ่งบุญ ณ อยุธยา และ คุณชดาพร เลาหวัฒน ซ่ึงผูเขียนขอแสดงความซาบซึ้งใจและขอบคุณอยางยิ่งไว ณ โอกาสนี้ สีนอย เกษมสันต ณ อยุธยา กันยายน 2548

Page 7: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

บทสรุปสําหรับผูบรหิาร

ประเทศไทย เขาเปนภาคีของสนธิสัญญาดานสิทธิมนุษยชนรวม 5 ฉบับ จากสนธิสัญญาหลัก 7 ฉบับ ดวยวิธีการภาคยานุวัติ (คือการเขาผูกพันตามสนธิสัญญานั้น ๆ ในภายหลัง จากที่สนธิสัญญาไดผานการเจรจาและลงนามแลว โดยมิไดเขารวมในการเจรจาและลงนามตั้งแตตน) สนธิสัญญาทั้ง 5 ฉบับมีผลบังคับใชกับประเทศไทยตามลําดับ ดังนี้ 1. อนุสัญญาวาดวยการขจัดการเลือกปฏิบัติตอสตรีในทุกรูปแบบ (Convention on the Elimination of All Forms of Discrimination against Women - CEDAW) 8 กันยายน 2528 2. อนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็ก (Convention on the Rights of the Child - CRC) 26 เมษายน 2535 3. กติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิของพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (International Covenant on Civil and Political Rights - ICCPR) 30 มกราคม 2540 4. กติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม (International Covenant on Economic, Social and Cultural Rights - ICESCR) 5 ธันวาคม 2542 5. อนุสัญญาวาดวยการขจัดการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติในทุกรูปแบบ (International Convention on the Elimination of All Forms of Racial Discrimination - ICERD) 28 กุมภาพันธ 2546 การเขาเปนภาคีของสนธิสัญญาระหวางประเทศดานสิทธิมนุษยชน ทําใหประเทศไทยเกิดพันธะผูกพันที่จะตองดําเนินการตามพันธกิจหลักของสนธิสัญญา 4 ประการ คือ 1) การประกันใหเกิดสิทธิตาง ๆ ตามที่ระบุในสนธิสัญญา 2) การปฏิบัติใหเกิดสิทธิตามที่รับรองไวในสนธิสัญญาดวยความกาวหนา 3) การเผยแพรหลักการของสิทธิตามสนธิสัญญานั้นใหกวางขวาง และ 4) การเสนอรายงานผลของการปฏิบัติใหเกิดสิทธิและความกาวหนาตอองคกรตามสนธิสัญญา ซ่ึงสวนใหญปรากฏในรูปคณะกรรมการ โดยที่แนวคิดเรื่อง สิทธิมนุษยชน เปนกลไกหลัก 1 ใน 3-4 เร่ือง ที่ใชจัดระเบียบโลกท่ีไดรับความสนใจมากอยูในปจจุบัน เพราะเปนแนวคิดที่มีผลโดยตรงตอชาวโลกทุกคนที่จะไดรับการเคารพในศักดิ์ศรีคุณคาความเปนมนุษยโดยเสมอภาคเทาเทียมกันและไมเลือกปฏิบัติ การติดตามประเมินผลการปฏิบัติตามสนธิสัญญาดานสิทธิมนุษยชนจึงเปนภารกิจที่องคการสหประชาชาติ ผูเปนตนกําเนิดของสนธิสัญญาเหลานี้ใหความสนใจติดตามอยางจริงจังทั้งโดยรายงานเอกสารและรายงานดวยวาจาเพื่อตอบขอซักถามของคณะกรรมการ พันธกรณีการจัดทํารายงานจึงเปนการแสดงใหเห็นภาพรวมของการปฏิบัติตามพันธกิจทั้ง 4 ประการซึ่งคณะกรรมการตามสนธิสัญญาสามารถประเมินสถานการณดานสิทธิมนุษยชนของรัฐภาคีผูรายงานได พันธกิจนี้จึงมีการกําหนดเวลาชัดเจนแนนอนวาโดยทั่วไปจะตองสงรายงานฉบับแรกภายใน 1-2 ป เมื่อสนธิสัญญามีผลใชบังคับตอรัฐภาคี และยังตองมีรายงานตอเนื่องทุกระยะ 4-5 ป ตามขอกําหนดของแตละสนธิสัญญาซึ่งจัดเปนภารกิจหนักของรัฐภาคีทั้งหลาย รวมถึงประเทศไทยโดยเฉพาะ

Page 8: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

6

องคกรผูรับผิดชอบสนธิสัญญานั้น ๆ ภายในประเทศ ที่จะละเลยมิไดเพราะประเทศไดลงนามรับรองที่ จะปฏิบัติตามเงื่อนไขเหลานั้นแลว รายงานฉบับแรก ๆ ของสนธิสัญญา 3 ฉบับ ที่ประเทศไทยไดจัดทําเสนอไปแลวนั้นดําเนินการโดยสํานักนายกรัฐมนตรีและสํานักงานอัยการสูงสุด รวมกับกระทรวงยุติธรรม กลาวคือ รายงานของอนุสัญญา CEDAW และ CRC ดําเนินการโดยสํานักงานคณะกรรมการสงเสริมและประสานงานสตรีแหงชาติ (กสส.) และสํานักงานคณะกรรมการสงเสริมและประสานงานเยาวชนแหงชาติ (สยช.) ในสังกัดสํานักนายกรัฐมนตรี ซ่ึงปจจุบันโอนมาสังกัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย (พม.) เปนสํานักงานกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว (สค.) และสํานักงานสงเสริมสวัสดิภาพและพิทักษเด็ก เยาวชน ผูดอยโอกาส คนพิการ และผูสูงอายุ (สท.) ตามลําดับ สวนรายงานของ ICCPR ปจจุบันยังคงดําเนินการโดยสํานักงานอัยการสูงสุด (สอส.) รวมกับกระทรวงยุติธรรม โดยกรมคุมครองสิทธิและเสรีภาพ รายงานที่สงไปแลวรวม 6 ฉบับ ตามสนธิสัญญา 3 เร่ืองนั้น ไมมีฉบับใดสงไดทันเวลา และยังมีเนื้อหาสาระตลอดจนรูปแบบและกระบวนการจัดทําที่ไมตรงตามเจตนารมณของคณะกรรมการตามสนธิสัญญานั้น ๆ เนื่องจากขาดแนวทางและขอแนะนําจากองคกรผูพิจารณารายงาน การจัดทํารายงานจึงเปนไปตามกระบวนการของสภาพการดําเนินงานดานสิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ซ่ึงเปนการทํางานรวมกันระหวางภาครัฐและเอกชน และขอมูลจํานวนมากมาจากภาคเอกชน คณะกรรมการตามสนธิสัญญาและองคการสหประชาชาติ จากการที่ตองประสบกับปญหาการพิจารณารายงานของประเทศตาง ๆ ที่ไดรับลาชาและไมเปนไปตามเคาโครง/แนวทางและเจตนารมณตลอดมา จึงไดออกเอกสาร แนวทางรวมเพื่อการจัดทํารายงานของสนธิสัญญาระหวางประเทศดานสิทธิมนุษยชน และ แนวทางการจัดทําเอกสารหลัก และเอกสารโดยตรงของสนธิสัญญาเฉพาะเรื่องขึ้น (Harmonized guidelines on reporting under the international human rights treaties, including guidelines on a common core document and treaty-specific targeted documents) โดยมี แนวทางเสนอแนะวาดวยกระบวนการจัดทํารายงาน เพื่อเสนอตอองคกรกํากับติดตามสนธิสัญญาระหวางประเทศดานสิทธิมนุษยชน (Proposed common guidelines on reporting to the international human rights treaty monitoring bodies) ใหรัฐภาคีไดใชเปนแนวทางในการจัดทํารายงานตามสนธิสัญญาหลัก 7 ฉบับ ดวยเนื้อหาที่มีขอแนะนําเปน 3 สวน คือ 1) การเตรียมการสําหรับกระบวนการจัดทํารายงาน 2) รูปแบบของรายงาน 3) เนื้อหาของรายงานซึ่งประกอบดวยเอกสาร 2 สวน คือ เอกสารหลัก (common core document) และเอกสารโดยตรงของสนธิสัญญา (treaty-specific document) ซ่ึงตองมีรายละเอียดขอมูลของรัฐภาคี ผูเสนอรายงานทั้งในดานขอเท็จจริง ขอมูลสถิติ กรอบแนวทางภายในเพื่อการคุมครองสิทธิมนุษยชน ทัง้ในดานการยอมรับสนธิสัญญา กฎหมาย กระบวนการจัดทํารายงาน ซ่ึงตองโปรงใสและมีสวนรวมจาก

Page 9: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

7

ทุกภาคสวน ตลอดจนผลการดําเนินงานในทางปฏิบัติ เอกสารนี้จะเปนเครื่องมืออํานวยความสะดวก แกการทํารายงานของรัฐภาคีไดอยางดียิ่ง การศึกษานี้ไดเปรียบเทียบประสบการณจากกระบวนการจัดทํารายงานขอประเทศไทยกับสรุปสาระสําคัญของเอกสารแนวทางฯ ขององคการสหประชาชาติ ซ่ึงแมจะพบวามีปญหาดานการสงรายงานลาชา และโครงสรางของรายงานไมตรงตามแนวทางของคณะกรรมการ แตก็มีกระบวนการเตรียมการจัดทํารายงานของสนธิสัญญาบางฉบับที่สอดคลองกับแนวทางขององคการสหประชาชาติคือ มีองคกรการจัดทํารายงานในรูป “คณะกรรมการ” ที่ประกอบดวยหนวยงานที่เกี่ยวของทั้งภาครัฐและเอกชน รวมถึงมีกลุมพิเศษที่ตองการการคุมครองสิทธิบางกลุมดวย มีการจัดทํารายงานที่ประสานกับองคกรทางวิชาการของสหประชาชาติ ไดทบทวนมาตรการตาง ๆ รวมทั้งวางแผนและนโยบายเพื่อปฏิบัติใหสอดคลองกับสนธิสัญญาดานสิทธิมนุษยชนที่เปนภาคี และมีกระบวนการจัดทํารายงานที่สนับสนุนการมีสวนรวมของประชาชนทั้งในระหวางการจัดทําและการประชุมสัมมนาวิพากษรายงาน อันเปนสวนของการเผยแพรรายงานและหลักการสิทธิมนุษยชนในชั้นตน โดยมีการดําเนินการประกอบดวย 3 ขั้นตอน ทั้งขั้นตอนการเตรียมการ ขั้นตอนการเขียน/ รางรายงาน และขั้นตอนการเสนอรายงานตอสาธารณชนเพื่อรับฟงความคิดเห็น จากนี้กระบวนการของไทยยังมีขั้นตอนการเตรียมการชี้แจงดวยวาจาตอคณะกรรมการ ซ่ึงเปนประสบการณเพิ่มเติมที่นาสนใจดวย เนื้อหาของรายงานสวนใหญฉบับแรก (initial report) จะจัดเปน 2 สวน คือสวนแรกวาดวยขอมูลพื้นฐานทั่วไปของประเทศไทย โดยพูดถึงหลักสิทธิมนุษยชนพื้นฐานอยูบาง และสวนที่ 2 เปนคําตอบตามแนวทางคําถามของคณะกรรมการตามสนธิสัญญาและความกาวหนา แตอยางไรก็ตาม รายงานมีรูปแบบคอนขางเสรี มิไดเปนไปตามแบบฟอรมขององคการสหประชาชาติ จากผลการศึกษาจึงมีขอเสนอแนะเปน 2 สวน คือ 1. ขอเสนอแนะตอการจัดทํารายงานของประเทศไทย ซ่ึงหากใชกระบวนการจัดทํา 3 ขั้นตอน ผนวกขั้นตอนพิเศษ ใชรูปแบบและเนื้อหาตามแนวทางขององคการสหประชาชาติอยางครบถวนโดยมีทั้งเอกสารหลัก (common core document) และเอกสารโดยตรงของสนธิสัญญา (specific-targeted document) พรอมการตอบคําถามเพิ่มเติมขององคกรตามสนธิสัญญากอนการชี้แจง และชี้แจง/รายงานความกาวหนาของการปฏิบัติตามสรุปขอคิดเห็น/ขอเสนอแนะของคณะกรรมการ สําหรับรายงานฉบับตอ ๆ ไปนาจะไดรายงานประเทศที่สมบูรณแบบยิ่งขึ้น 2. ขอเสนอแนะตอหนวยงาน/องคกรที่เกี่ยวของไดแก องคการสหประชาชาติ รัฐบาลไทย หนวยงานหลักผูรับผิดชอบงานสงเสริมและคุมครองสิทธิมนุษยชน ทั้งหนวยนโยบายและหนวยปฏิบัติคือ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ และกรมคุมครองสิทธิและเสรีภาพ ตลอดจนหนวยงานผูรับผิดชอบจัดทํารายงานโดยตรงของสนธิสัญญาแตละฉบับ หนวยงานที่เกี่ยวของและองคกรเอกชน ดังปรากฏรายละเอียดในบทสรุปและขอเสนอแนะ ทั้งนี้โดยเสนอใหกรมคุมครองสิทธิและเสรีภาพ เปนองคกรกลางหลักในการจัดทํารายงานประเทศ

Page 10: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

บทที่ 1 บทนํา

1. หลักการและเหตุผล องคการสหประชาชาติ ออกกฎบัตรสหประชาชาติป 1945 ที่ครอบคลุมเรื่องสิทธิมนุษยชนและประกาศปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชนป 1948 ขึ้นโดยไดกําหนดกลไกระหวางประเทศเพื่อใหเกิดสิทธิมนุษยชนดานตาง ๆ ในรูปตราสารทางกฎหมาย ที่สรางพันธกรณีสําหรับรัฐภาคีที่จะดําเนินการเพื่อ คุมครองสิทธิมนุษยชน ไดแก ปฏิญญาและสนธิสัญญาตาง ๆ เชน กติการะหวางประเทศ (international covenant) อนุสัญญา (convention) พิธีสาร (protocol) และอื่น ๆ ซ่ึงเมื่อประเทศเขาเปนภาคีก็จะเกิดพันธกิจหลักที่ติดตามมา 3-4 เร่ือง ไดแก การประกันสิทธิ การดําเนินการใหเกิดสิทธิและคุมครองสิทธิ การเผยแพรเร่ืองสิทธินั้น ๆ และการรายงานผลการดําเนินงานที่จัดใหมีขึ้นเพื่อบังคับใชกลไกนั้น ๆ ประเทศไทยเขาเปนภาคีสนธิสัญญาหรือพันธกรณีระหวางประเทศดานสิทธิมนุษยชนแลว รวม 5 ฉบับ เปนกติการะหวางประเทศ 2 ฉบับ และอนุสัญญา 3 ฉบับ เปนเรื่องที่เกี่ยวกับสิทธิของพลเมืองและสิทธิทางการเมือง สิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม การขจัดการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติ การขจัดการเลือกปฏิบัติตอสตรีและเรื่องสิทธิของเด็ก ซ่ึงเปนผลใหตองปฏิบัติตามพันธกรณีที่ผูกพันตามเนื้อหาของกติกา/อนุสัญญานั้น ๆ ที่สําคัญตองจัดทํารายงานผลการดําเนินงานของประเทศในดานนั้น ๆ ตามกลไกการตรวจสอบและติดตามผลการดําเนินงานซึ่งเปนภารกิจสําคัญของกติกา/อนุสัญญาดานสิทธิมนุษยชนทุกฉบับ การตรวจสอบและติดตามผลการดําเนินงานมีการกําหนดระยะเวลาที่ตองเสนอรายงานที่แนนอน ชัดเจน ซ่ึงหากละเลยไมปฏิบัติตามก็จะสงผลใหเสื่อมเสียถึงเกียรติยศและศักดิ์ศรีของประเทศในเวทีโลก และประเทศไทยก็ไดจัดทํารายงานของประเทศตามพันธกรณีตามกําหนดเวลาไปแลวคือ รายงานตามอนุสัญญาวาดวยการเลือกปฏิบัติตอสตรีในทุกรูปแบบ (Convention on the Elimination of all Forms of Discrimination Against Women - CEDAW) อนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็ก (convention on the Rights of the Child - CRC) และกติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิของพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (International Covenant on Civil and Political Rights - ICCPR) โดยที่การจัดทํารายงานดังกลาว เปนภารกิจที่คอนขางยุงยากและใหมสําหรับหลายหนวยงานที่ตองรับผิดชอบตอกติกา/อนุสัญญา เหลานี้ เนื่องจากในระยะแรกยังไมมีการกําหนดแนวทางขั้นตอนและวิธีการไวอยางเปนระบบ การดําเนินการจึงเปนไปตามกําลังความสามารถของแตละหนวยงานที่จะตองศึกษาเรียนรูเองจากประสบการณโดยตรง ทําใหการจัดทํารายงานที่ผานมาตองใชเวลานานและอาจไมตองตรงกับวัตถุประสงคหรือแนวทางของพันธกรณีระหวางประเทศนั้นๆ นอกจากนี้องคการสหประชาชาติก็ยังมิไดใหแนวทางในเรื่องนี้มากอน การศึกษาเพื่อรวบรวมความรู ประสบการณ และประมวลขึ้นเพื่อกําหนดแนวทาง ขั้นตอน รูปแบบและวิธีการจัดทํารายงานของประเทศเพื่อจัดทําเปนคูมือขึ้นไวจึงจะเปนประโยชนตอการดําเนินการของหนวยงานและองคกรตาง ๆ ตอไป

Page 11: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

9

2. วัตถุประสงค 2.1 เพื่อศึกษาหาแนวทางการจัดทํารายงานของประเทศใหไดตองตรงตามวัตถุประสงคหลักการ กระบวนการ รูปแบบ และเนื้อหาของรายงานที่ครบถวนตามสนธิสัญญาระหวางประเทศที่ไทยเขาเปนภาคีนั้น ๆ อันจะชวยใหดําเนินการอยางมีประสิทธิภาพและรวดเร็วทันกําหนดเวลา 2.2 เพื่อจัดสรางคูมือการจัดทํารายงานประเทศตามสนธิสัญญาระหวางประเทศที่ไทยเขาเปนภาคี ขึ้นใชเปนแนวทางในการจัดทํารายงานตามสนธิสัญญาดานสิทธิมนุษยชนของหนวยงาน/องคกรที่รับผิดชอบในประเทศตอไป 3. ขอบเขตของการศึกษา 3.1 ศึกษาและประมวลขอมูลจากขอมูลทุติยภูมิ คือ เอกสารแนวทางการจัดทํารายงานของอนุสัญญาวาดวยเรื่องเด็ก เร่ืองสตรี และกติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิของพลเมืองและการเมือง รายงานของประเทศไทยใน 3 เร่ืองดังกลาว ประสบการณการจัดทํารายงานของหนวยงานที่เคยดําเนินการเรื่องนี้ และ ศึกษาแนวทางขององคการสหประชาชาติ 3.2 จัดทําคูมือการจัดทํารายงานฯ ซ่ึงจะประกอบดวยเนื้อหาสําคัญ 3 สวน และขั้นตอนพิเศษ ไดแก ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนการเตรียมการจัดทํารายงาน การกําหนดองคการรับผิดชอบและคูงานในองคการสหประชาชาติ การศึกษาหลักการ เปาหมายของกตกิา/อนุสัญญาและแนวทาง รูปแบบของการจัดทํารายงาน การวางกระบวนการจัดทํารายงานโดยคํานงึถึงความสอดคลองตามหลักการ และแนวทางการจัดทํารายงานของสนธิสัญญานั้น และ การเตรียมขอมูลเบื้องตน ขั้นตอนที่ 2 ขั้นตอนการจัดทํารายงาน การราง/เขียนรายงาน การกําหนดเคาโครงเรื่อง : เนื้อหาทั่วไป เนื้อหาเฉพาะ การจัดแบงภารกิจรับผิดชอบภายในคณะผูจัดทําเพื่อ การจัดหาขอมูล การจัดทํา/เขียนรายงาน การติดตามรวบรวมขอมูล/ขอเขียน การประมวลจัดทําเปนรางรายงาน การบรรณาธิกร และการผลิตรางรายงานเบื้องตน ขั้นตอนที่ 3 ขั้นตอนการนําเสนอรายงาน ตอ - สาธารณชนเพื่อรับฟงขอคิดเห็นและขอเสนอแนะจากหนวยงาน/องคการที่เกี่ยวของ และภาคสวนตาง ๆ ในสังคมและจากประชาชนทั่วไปเพื่อปรับปรุงรายงาน - ตนสังกัดและคณะรัฐมนตรี เพื่อขอความเห็นชอบและดําเนินการตามกระบวนการ ของกระทรวงการตางประเทศเพื่อนําสงรายงานตอคณะกรรมการ/คณะผูพิจารณา รายงานขององคการสหประชาชาติที่รับผิดชอบตอกติกา/อนุสัญญานั้น ๆ

Page 12: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

10

- การนําเสนอรายงานตอคณะกรรมการผูรับผิดชอบสนธิสัญญานั้นๆ ขององคการสหประชาชาต ิ ขั้นตอนพิเศษ - การเตรียมการนําเสนอรายงานและตอบขอซักถามดวยวาจาตอคณะกรรมการ ผูรับผิดชอบสนธิสัญญา 4. ขอจํากัดของการศึกษา 4.1 ขอจํากัดดานระยะเวลา ระยะเวลาดําเนินการกระชั้นชิดและมีระยะเวลาสั้น (3 เดือน ระหวางกรกฎาคม - กันยายน 2548) ทําใหขอมูลในเชิงลึกและการวิเคราะห ทําไดอยางจํากัด ผลการศึกษาจึงทําไดเพียงระดับหนึ่ง 4.2 ขอจาํกัดดานขอมูล เนื่องจากเปนชวงเวลาเปลี่ยนถายภารกิจของการปฏิรูประบบราชการ มีการเปลี่ยนแปลงผูรับผิดชอบงานหลายรอบ ในหนวยงานที่เกี่ยวของโดยตรงหลายหนวย จึงประสบปญหาขอมูลกระจัดกระจาย สูญหาย และโดยเฉพาะหนวยที่มีการ ดําเนินงาน ผานมาเปนระยะเวลานานทําใหยากตอการสืบคน

Page 13: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

บทที่ 2 ประเทศไทยกับพันธกรณีดานสิทธิมนุษยชน

ความสําคัญและความหมายของสิทธิมนุษยชน สิทธิมนุษยชน เปนประเด็นหลักเรื่องหนึ่งในกลไกพื้นฐาน 3-4 เร่ือง เพื่อการจัดระเบียบโลกปจจุบันในยุคโลกาภิวัตน ซ่ึงมี เ ร่ืองสิ่งแวดลอมและการพัฒนาที่ยั่งยืน ระบบเศรษฐกิจเสรี ประชาธิปไตย และสิทธิมนุษยชน ซ่ึงเปนเรื่องที่มุงสรางความเทาเทียมกันในเรื่องคุณคาและศักดิ์ศรีของความเปนมนุษยโดยไมเลือกปฏิบัติ และโดยหลักการนี้ทําใหมนุษยตระหนักในศักดิ์ศรีของตนเทา ๆ กับ ที่ยอมรับศักดิ์ศรีของผูอ่ืนและมีการยอมรับซึ่งกันและกันดวยความเคารพในศักดิ์ศรีความเปนมนุษยของกันและกัน สถานภาพความเปนมนุษยที่เทาเทียมกันนี้เปนหลักประกันนําไปสูความเสมอภาคในสิทธิและบริการพื้นฐานของชีวิตที่ติดตามมา อันจะนําไปสูความมั่นคงของชีวิต และความมั่นคงรวมกันของมวลหมูมนุษยชาติซ่ึงเปนสมาชิกของประชาคมโลกซึ่งเปนองคประกอบสําคัญของความมั่นคงและสันติภาพของโลก เพื่อใหเขาใจเรื่องสิทธิมนุษยชนเปนพื้นฐานกอนการเขาสูรายละเอียดที่จะศึกษาติดตามมา จึงควรทําความเขาใจกับคํา สิทธิมนุษยชน ในเบื้องตน คือ “สิทธิมนุษยชน” ไดมีผูใหความหมายไวในหลายแหลงดวยกัน เชน พจนานุกรม Webster ใหความหมายวา คือ อํานาจ สิทธิพิเศษ และอื่น ๆ ซ่ึงเปนของบุคคลโดยกฎหมาย โดยธรรมชาติหรือโดยขนบธรรมเนียมประเพณี (power, privilege etc. that belongs to a person by law, nature or tradition.) Encyclopaedia Britainica (A 200) ใหความหมายไววา คือสิทธิที่คิดวาเปนของปจเจกบุคคลภายใตกฎหมายธรรมชาติอันเนื่องจากการเปนมนุษย (rights thought to belong to the individual under natural law as a consequence of his being human) พระราชบัญญัติคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ พ.ศ. 2542 ใหความหมายวาสิทธิมนุษยชนคือ ศักดิ์ศรีความเปนมนุษย สิทธิเสรีภาพและความเสมอภาคของบุคคล ที่ไดรับการรับรอง หรือคุมครองตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย หรือตามกฎหมายไทย หรือตามสนธิสัญญาที่ประเทศไทยมีพันธะกรณี ที่จะตองปฏิบัติตาม องคการสหประชาชาติใหความหมายไววา หมายถึง สิทธิมนุษยทุกคนมีติดตัวอยูโดยธรรมชาติ ซ่ึงถาปราศจากสิทธินี้ ก็จะไมสามารถมีชีวิตอยูในฐานะมนุษยได (those rights which are inherent in our nature and without which we cannot live as human beings)1 และดวยสิทธินี้ทําใหเราสามารถพัฒนาและใชคุณสมบัติของความเปนมนุษยของเราไดเต็มที่ ทั้งในเรื่องความเฉลียวฉลาด ความสามารถพิเศษ และจิตสํานึก เพื่อสนองความตองการทางใจและอื่น ๆ โดยอยูบนพื้นฐานของความ 1 United Nations, Centre for Human Rights Teaching Humans Rights. Practical activities for primary and secondary schools, (New York United Nations Geneva 1989) p.5

Page 14: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

12

ตองการของชีวิตมนุษยทุกคน ที่จะตองไดรับการเคารพและปกปองในศักดิ์ศรีและคุณคาของความเปนคน ดังที่กลาวไวในประโยคแรกของปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน (Universal Declaration of Human rights) วาการเคารพสิทธิมนุษยชนและศักดิ์ศรีของมนุษยนั้นคือรากฐานของเสรีภาพ ความยุติธรรม และสันติภาพของโลก งานศึกษาเรื่องนี้ เห็นวาความหมายสิทธิมนุษยชน ขององคการสหประชาชาติเปนความหมายที่ชัดเจน ชวยใหสามารถเขาใจแนวคิดเรื่องนี้ไดงาย เปนความหมายที่สามารถนําไปวางกรอบหรือแนวทางปฏิบัติที่เปนรูปธรรมไดจริง โดยเฉพาะกรอบแนวทางปฏิบัติขององคการสหประชาชาติ ซ่ึงจะเปนผูดําเนินการสงเสริมเรื่องนี้สําหรับรัฐภาคี จึงเห็นสมควรใชความหมายนี้ในการศึกษา จากความหมาย สิทธิมนุษยชน ขององคการสหประชาชาติ แนวคิดนี้ถูกจึงถูกแปรสูการปฏิบัติดวยประเด็นชี้วัดสิทธิ 8-10 ประการ ไดแก สิทธิของพลเมืองและสิทธิทางการเมือง สิทธิทางสังคม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรม สิทธิที่จะไมถูกเลือกปฏิบัติดวยสีผิว เชื้อชาติหรือสถานภาพอื่น ๆ สิทธิที่จะไดรับการปกปองคุมครองจากสงครามและการฆาลางเผาพันธุ จากการกระทําทารุณโหดรายและไรมนุษยธรรม จากการคามนุษยโสเภณีและการเปนทาส สิทธิเด็ก สิทธิสตรี และสิทธิของผูอพยพล้ีภัย ซ่ึงหากบุคคลไดรับสิทธิในเรื่องตาง ๆ เหลานี้อยางเสมอภาคและเทาเทียมกัน ก็ยอมจะถือไดวา มีสิทธิของความเปนมนุษยอยางครบถวนสมบูรณ บทบาทขององคการสหประชาชาติในเรื่องสิทธิมนุษยชน องคการสหประชาชาติ (United Nations Organizations) เปนองคกรที่มนุษยชาติรวมกันกอตั้งขึ้นในป 2488 ดวยความพยายามที่จะแสวงหากลไกปองกันสงครามโลก พรอมกับการประกาศ กฎบัตรสหประชาชาติ ในปเดียวกัน โดยระบุถึงสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพพื้นฐาน ตอจากนั้นไดมีการตั้งกรรมาธิการสิทธิมนุษยชนขึ้นในป 2489 และประกาศปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชนขึ้นในป 2491 (Universal Declaration of Human Rights 1948) ซ่ึงยังคงใชอยูตลอดมาจวบจนปจจุบัน

เมื่อประกาศปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชนขึ้นแลว องคการสหประชาชาติไดจัดกลไกรองรับเพื่อใหการดําเนินงานสิทธิมนุษยชนสามารถเกิดผลเปนรูปธรรม ไดแก 2 ตราสารทางกฎหมายหรือสนธิสัญญาตาง ๆ เพื่อสรางพันธกรณีใหรัฐภาคีคุมครองสิทธิมนุษยชนของบุคคลในเขตอํานาจรัฐโดยไมเลือกปฏิบัติ องคกรรองรับ 5 องคกรหลัก ไดแก 1) สมัชชาใหญสหประชาชาติ (The General Assembly) ทําหนาที่ริเร่ิมศึกษาและเสนอแนะไปยังประเทศสมาชิกหรือคณะมนตรีความมั่นคง เพื่อใหเกิดการเคารพสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นพื้นฐาน โดยไมเลือกปฏิบัติในทางปฏิบัติ

2 คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ พันธกรณีระหวางประเทศดานสิทธิมนุษยชนของไทย แนวทางปฏิบัติและมาตรฐานสิทธิมนุษยชนระหวางประเทศ เอกสารลําดับที่ 3 อัจฉรา ฉายากุล และคณะ 2546

Page 15: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

13

2) คณะมนตรีความมั่นคงแหงสหประชาชาติ (The Security Council) ทําหนาที่รักษาสันติภาพและความมั่นคงระหวางประเทศ รวมทั้งสอบสวนขอพิพาท ซ่ึงอาจมีผลกระทบตอสันติภาพและความมั่นคงในสวนที่เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน 3) คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคมแหงสหประชาชาติ (The Economic and Social Council) มีหนาที่ใหขอเสนอแนะเพื่อใหเกิดการเคารพสิทธิมนุษยชน เสนอรางอนุสัญญาดานสิทธิมนุษยชนเพื่อใหสมัชชาพิจารณาและเปนกลไกรับผิดชอบการรับทราบรายงานและประสานกิจกรรมของสหประชาชาติที่เกี่ยวของกับสิทธิมนุษยชน 4) คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงสหประชาชาติ (The Commission on Human Rights) มีหนาที่ใหขอเสนอแนะและรายงานตอคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคมในเรื่องสิทธิมนุษยชน ในเรื่องมาตรฐานสิทธิมนุษยชนระหวางประเทศ การคุมครองสิทธิมนุษยชนแกชนกลุมนอยและจัดตั้งกลไก/กระบวนการเพื่อปฏิบัติตามมาตรฐานสิทธิมนุษยชนและใหความชวยเหลือทางวิชาการแกประเทศตาง ๆ 5) คณะอนุกรรมาธิการสงเสริมและคุมครองสิทธิมนุษยชน (Sub Commission on the Promotion and Protection of Human Rights) มีหนาที่ศึกษาและใหขอเสนอแนะในเรื่องตาง ๆ ที่ไดรับมอบหมายใน 4 ดาน ไดแก พิจารณาขอรองเรียน รูปแบบการคาทาสในปจจุบัน (contemporary for on of slavery) ชนพื้นเมืองดั้งเดิม (indigenous populations) และชนกลุมนอย (minorities) องคการสหประชาชาติเติบโตขึ้นอยางรวดเร็วในชวงศตวรรษที่ 20 พรอมกับความพยายามที่จะขยายแนวคิดเรื่องสิทธิมนุษยชนใหเกิดผลเปนรูปธรรมอยางจริงจัง โดยไมเพียงแตการกําหนดหลักการและมาตรฐานความเขาใจเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนขึ้นเปนประกาศปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน เทานั้น (ดวยหลักการมูลฐานของความเทาเทียมกันในหมูมวลมนุษยโดยไมเลือกเชื้อชาติ ประเทศ เผาพันธุ ภาษา ศาสนา ความคิดทางการเมือง ทรัพยสิน ชาติกําเนิด ชาติพรรณวรรณาหรือสถานะใด ๆ รวมถึงสิทธิในมาตรฐานการดํารงชีวิต การแสวงหาที่พักพิงเพื่อหนีภัยความตาย สิทธิเสรีภาพดานตาง ๆ รวมถึงสิทธิที่จะไมถูกทรมานและการกระทําย่ํายีศักดิ์ศรี) แตยังไดรับรองกติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (International Covenant on Civil and Political Rights) และกติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม (International Covenant on Economic, Social and Cultural Rights) ในป 2509 (1966) ซ่ึงมีผลใชบังคับในอีก 10 ปตอมาคือป 2519 (1976) นอกจากนั้น ยังมีสนธิสัญญาหลักดานสิทธิมนุษยชนที่ไดรับรองอีก 4 ฉบับ คือ - อนุสัญญาวาดวยการจัดการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติในทุกรูปแบบ (International Convention on the Elimination of All Forms of Racial Discrimination) รับรองเมื่อป 2508 (1965) และมีผลบังคับใชในป 2512 (1969) - อนุสัญญาวาดวยการขจัดการเลือกปฏิบัติตอสตรีในทุกรูปแบบ (Convention on the Elimination of All Forms of Discrimination against Women) รับรองป 2522 (1979) และมีผลใชบังคับป 2524 (1981) - อนุสัญญาวาดวยการตอตานการทารุณกรรมและการปฏิบัติอ่ืนหรือการลงโทษที่โหดราย ไรมนุษยธรรมหรือย่ํายีศักดิ์ศรี (Convention against Torture and Other Cruel, Inhuman or Degrading Treatment or Punishment)รับรองเมื่อ 2527 (1984) และมีผลใชบังคับเมื่อ 2530 (1987)

Page 16: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

14 - อนุสัญญาวาดวยสิทธิเดก็ (Convention on the Rights of the Child) รับรองเมื่อ 2532 (1989) และมีผลใชบังคับในป 2533 (1990) และโดยการรับรองสนธิสัญญาหลักดานสิทธิมนุษยชนทั้ง 6 ฉบับ ของรัฐภาคีกวา 100 ประเทศ ทําใหหลักการสิทธิมนุษยชนไดมีบทบาทอยางสําคัญในกฎหมายระหวางประเทศและเกิดการเปลี่ยนแปลงกฎหมายภายในประเทศที่เปนอุปสรรคตอหลักการสิทธิมนุษยชน และเปลี่ยนแปลงแนวคิดจากเดิมที่ รัฐเปนผูทรงสิทธิที่จะจํากัดอธิปไตยเหนือเขตอํานาจรัฐและคนในรัฐ เปน รัฐตองคุมครองสิทธิมนุษยชนของคนในชาติและบุคคลที่อยูในเขตอํานาจรัฐ ตามกฎบัตรสหประชาชาติและสนธิสัญญาหลักดานสิทธิมนุษยชน

นอกจากนี้ยังไดมีความพยายามที่จะเผยแพรแนวคิดเรื่องสิทธิมนุษยชนในรูปแบบตาง ๆ เชน การประชุมสัมมนาระดับโลก การใหการศึกษาเรื่องสิทธิมนุษยชน การปลูกฝงสรางสํานึกใหกับเยาวชน การเขาแทรกแซงเพื่อระงับเหตุการณรุนแรงและขอพิพาทที่ใชกําลังอาวุธหลายกรณี เพื่อคุมครองสิทธิมนุษยชน รวมถึงการเกิดสนธิสัญญาดานสิทธิมนุษยชนอื่น ๆ ติดตามมาอีกหลายฉบับดวย

สนธิสัญญาหลักดานสิทธิมนุษยชน พิธีสาร และอนุสัญญาที่เก่ียวของ ในป 2538 (1995) มีสนธิสัญญาดานสิทธิมนุษยชนในรูปกติการะหวางประเทศ (international covenant ) อนุสัญญา (convention) พิธีสาร (protocol) และอื่น ๆ ที่องคการสหประชาชาติเคยจัดเปนกลไกหลักขึ้นแผนภูมิที่จะตองติดตามความกาวหนาในการเขาเปนภาคีของประเทศตาง ๆ รวมถึง 25 ฉบับ ไดแก 3 สิทธิของพลเมือง 1. International Covenant on Economic, Social and Cultural Rights 1966 2. International Covenant on Civil and Political Rights 1966 3. Optional Protocol to the International Covenant on Civil and Political Rights 1966 4. Second Optional Protocol to the International Covenant on Civil and Political Rights Aiming at the Abolition of the Death Penalty การเลือกปฏิบัติ 5. International Convention on the Elimination of all Forms of Racial Discrimination 1965 ทางเชื้อชาติและ การแบงแยกผวิ 6. International Convention on the Suppression and Punishment of the Crime of Apartheid 1973 7. International Convention Against Apartheid in Sports 1985 สงครามและการ 8. Convention on the Prevention and Punishment of the Crime of Genocide 1948 ฆาลางเผาพันธุ 9. Convention on the Non-Applicability of Statutory Limitations to War Crimes and Crimes against Humanity 1968 3 United Nations Publication Human Rights International Instruments, Chart of Ratifications 1995

Page 17: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

15

สิทธิเด็ก 10. Convention on the Rights of the Child 1989 สิทธิสตรี 11. Convention on the Elimination of All Forms of Discrimination against Women 1979 12. Convention on the Political Rights of Women 1952 13. Convention on the Nationality of Married Women 1957 14. Convention on Consent to Marriage, Minimum Age for Marriage and Registration of Marriages 1962 การทารุณโหดราย 15. Convention against Torture and other Cruel, Inhuman of Degrading และไรมนษุยธรรม Treatment or Punishment 1984 ทาส 16. Slavery Convention of 1926 17. 1953 Protocol amending the 1926 Convention 18. Slavery Convention of 1926 as amended 1953

19. Supplementary Convention on the Abolition of Slavery, the Slave Trade, and Institutions and Practices Similar to Slavery 1956

การคามนุษยและ 20. Convention for the Suppression of the Traffic in Persons and of the โสเภณ ี Exploitation of the Prostitution of others 1949 ผูล้ีภัยและผูอพยพ 21. Convention on the Reduction of Statelessness 1961 22. Convention relating to the Status of Stateless Persons 1954 23. Convention relating to the Status of Refugees 1951 24. Protocol relating to the Status of Refugees 1967 25. Convention on the rights of migrant workers and the members of their families ในปจจุบันป 2548 (2005) มีการกําหนดสนธิสัญญาหลักไวรวม 7 ฉบับ พรอมพิธีสารเลือกรับ (optional protocol) 6 ฉบับ และอนุสัญญาที่เกี่ยวของอีก 8 ฉบับ พรอมพิธีสาร ไดแก 4

ก. อนุสัญญาระหวางประเทศดานสิทธิมนุษยชนฉบับหลัก และพิธีสาร 1. กติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม (International Covenant on Economic, Social and Cultural Rights - ICESCR) 2. กติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (International Covenant on Civil and Political Rights - ICCPR) 3. อนุสัญญาวาดวยการขจัดการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติในทุกรูปแบบ (International Convention on the Elimination of All Forms of Racial Discrimination - ICERD) 4. อนุสัญญาวาดวยการขจัดการเลือกปฏิบัติตอสตรีในทุกรูปแบบ (Convention on the Elimination of All Forms of Discrimination against Women - CEDAW) 4 United Nations International Human Rights Instruments HRI/MC/2005/3, 1 June 2005

Page 18: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

16

5. อนุสัญญาวาดวยการตอตานการทารุณกรรม และการปฏิบัติอ่ืนหรือการลงโทษที่โหดราย ไรมนุษยธรรมหรือย่ํายีศักดิ์ศรี (Convention against Torture and Other Cruel, Inhuman or Degrading Treatment or Punishment - CAT) 6. อนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็ก (Convention on the Rights of the Child - CRC) 7. อนุสัญญาวาดวยการคุมครองสิทธิของคนงานอพยพและสมาชิกครอบครัว (International Convention on the Protection of the Rights of All Migrant Workers and Members of Their Families - CMW) พิธีสาร (คําแปลชื่ออยางไมเปนทางการ) 1. พิธีสารเลือกรับของ CRC เร่ืองความเกี่ยวพันของเด็กในความขัดแยงกันดวยกําลังอาวุธ (Optional Protocol to the CRC on the involvement of children in armed conflict) 2. พิธีสารเลือกรับของ CRC เร่ืองการคาเด็ก การคาประเวณีเด็กและสื่อลามกที่เกี่ยวกับเด็ก (Optional Protocol to the CRC on the sale of children, child prostitution, and child pornography) 3. พิธีสารเลือกรับของ CCPR เร่ืองการยื่นคํารองตอศาลของบุคคล (Optional Protocol to CCPR, concerning individual petition) 4. พิธีสารเลือกรับของ CCPR เร่ืองการลบลางโทษประหารชีวิต (Second Optional Protocol to CCPR, concerning abolition of the death penalty) 5. พิธีสารเลือกรับของ CEDAW เร่ืองการรองเรียนของบุคคลและกระบวนการไตสวน (Optional Protocol to CEDAW, concerning individual complaints and inquiry procedures) 6. พิธีสารเลือกรับของ CAT เร่ืองการตรวจเยี่ยมที่คุมขังอยางสม่ําเสมอของสถาบันแหงชาติ และสถาบันระหวางประเทศ (Optional Protocol to Committee against Torture, concerning regular visits by national and international institutions to places of detention) อนุสัญญาที่เก่ียวของ (คําแปลชื่ออยางไมเปนทางการ) 1. อนุสัญญาวาดวยการปองกันและการลงโทษอาชญากรรมเกี่ยวกับการฆาลางเผาพันธุ (Convention on the Prevention and Punishment of the Crime of Genocide 1948) 2. อนุสัญญาวาดวยเรื่องทาส 1926 ที่แกไขเพิ่มเติม 1955 (Slavery Convention 1926 as amended 1955) 3. อนุสัญญาวาดวยการปราบปรามการคามนุษยและการแสวงประโยชนจากการเปนโสเภณีของผูอ่ืน (Convention for the Suppression of the Traffic in Persons and of the Exploitation of the Prostitution of Others 1949) 4. อนุสัญญาเกี่ยวกับสถานะของผูล้ีภัย 1951 และพิธีสาร 1967 (Convention relating to the Status of Refugees 1951 and its 1967 Protocol)

Page 19: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

17

5. อนุสัญญาเกี่ยวกับสถานะของบุคคลไรสัญชาติ (Convention relating to the Status of Stateless Persons 1954) 6. อนุสัญญาวาดวยการลดสภาวะการไรสัญชาติ (Convention on the Reduction of Statelessness 1961) 7. กฎกรุงโรม เร่ืองศาลอาญาระหวางประเทศ (Rome Statute of the International Criminal Court 1998) 8. อนุสัญญาวาดวยการตอตานองคกรอาชญากรรมขามชาติ 2543 และพิธีสารตอตานการลักลอบขนผูยายถ่ิน (United Nations Convention against Transnational Organized Crime 2000 and its Protocols against the smuggling of migrants by land, sea and air, and to prevent, Suppress and punish trafficking in persons, especially women and children) นอกจากนี้ยังมีตราสารระหวางประเทศดานแรงงาน 23 ฉบับ ดานการศึกษา วิทยาศาสตรและวัฒนธรรม 1 ฉบับ อนุสัญญากรุงเฮกดานกฎหมายระหวางประเทศ 15 ฉบับ และอนุสัญญากรุงเจนีวาดานมนุษยธรรมอีก 7 ฉบับ ฯลฯ ซ่ึงประเทศไทยโดยกระทรวงแรงงาน ไดเขาเปนภาคีของอนุสัญญาดานแรงงาน ฉบับที่ 138 และกําลังดําเนินการเขาเปนภาคี ฉบับที่ 182 และโดยสํานักงานคณะกรรมการสงเสริมและประสานงานเยาวชนแหงชาติ (สยช.) ไดเขาเปนภาคีอนุสัญญากรุงเฮกวาดวยลักษณะทางแพงในการลักพาเด็กขามชาติ เมื่อ 1 พฤศจิกายน 2545 และอนุสัญญาวาดวยการคุมครองเด็กและความรวมมือในการรับรองบุตรบุญธรรมระหวางประเทศ เมื่อ 1 สิงหาคม 2548 2547 ประเทศไทยกับการเขาเปนภาคีสนธิสัญญาดานสิทธิมนุษยชนและพันธกรณีหลักท่ีตองปฏิบัติ ประเทศไทยเขาเปนภาคีของสนธิสัญญาดานสิทธิมนุษยชนแลวรวม 5 ฉบับ เปนอนุสัญญาและกติการะหวางประเทศ ซ่ึงมีผลบังคับใชกับประเทศไทยตามลําดับการเขาเปนภาคี ดังนี้ 1. อนุสัญญาวาดวยการขจัดการเลือกปฏิบัติตอสตรีในทุกรูปแบบ (CEDAW) 8 กันยายน 2528 2. อนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็ก (CRC) 26 เมษายน 2535 3. กติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (ICCPR) 30 มกราคม 2540 4. กติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม (ICESCR) 5 ธันวาคม 2542 5. อนุสัญญาวาดวยการขจัดการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติในทุกรูปแบบ (ICERD) 28 กุมภาพันธ 2546 สาระสําคัญของสนธิสัญญาที่ประเทศไทยเปนภาคี สรุปสาระสําคัญของกติกา/อนุสัญญาทั้ง 5 ฉบับ ที่ประเทศไทยเขาเปนภาคีจัดลําดับตามอายุการมีผลบังคับตอประชาคมโลก ไดดังนี้ กติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิทางเศรษฐกิจสังคมและวัฒนธรรม (International Covenant on Economic, Social and Cultural Rights - ICESCR) มีผลบังคับใชเมื่อ 3 มกราคม 2519 และประเทศไทยเขาเปนภาคีโดยการภาคยานุวัติ และมีผลบังคับใชเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม 2542 โดยทําถอยแถลงตีความขอ 1 เกี่ยวกับสิทธิในการกําหนดเจตจํานงของตนเอง โดยมิใหตีความรวมถึงการแบงแยกดินแดนหรือเอกภาพทางการเมือง

Page 20: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

18

เนื้อหาของกติกาฉบับนี้มี 5 สวน 31 ขอ 3 สวนแรก (ขอ 1-15) เปนสาระบัญญัติวาดวยสิทธิตาง ๆ สวนที่ 4 (ขอ 16-25) วาดวยการเสนอรายงานทั้งของรัฐภาคีและในระหวางองคกรของสหประชาชาติของการใหความชวยเหลือ และการประชุมทางวิชาการและการตีความ และสวนที่ 5 (ขอ 26-31) วาดวยการลงนามเขาเปนรัฐภาคี การมีผลบังคับใช ความครอบคลุมของกติกา การแกไขและการเก็บรักษาตนฉบับทั้ง 5 ภาษา (จีน อังกฤษ ฝร่ังเศส รัสเซีย และสเปน) สวนที่เปนสาระบัญญัติ 15 ขอ กําหนดสิทธิตาง ๆ ของประชาชน ไดแก การกําหนดเจตจํานงของตน การจัดการทรัพยากรและการประกันสิทธิของรัฐภาค ีที่จะตองใหสิทธิแกทั้งประชาชนและผูที่ไมใชคนชาติของตน การประกันสิทธิความเทาเทียมกันในเรื่องเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมระหวางชายหญิงและเพื่อความเทาเทียมกันในสังคมประชาธิปไตย การหามลิดรอนสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐานการรับรองสิทธิในการทํางานหาเลี้ยงชีพดวยสภาพการทํางานที่ยุติธรรม คาจางที่เปนตามความเปนอยูและสภาพการทํางานที่ปลอดภัย ถูกสุขลักษณะ การกอตั้งสหภาพแรงงาน สิทธิของคนงาน สิทธิในสวัสดิการสังคม การประกันสังคม สิทธิของครอบครัวในฐานะจําเปน สังคมพื้นฐานทางธรรมชาติ สิทธิของมารดา เด็ก ผูเยาว และความคุมครองสิทธิในมาตรฐานการครองชีพที่เพียงพอในปจจัย 4 โดยเฉพาะเรื่องอาหาร โดยปลอดจากความหิวโหยและการแบงสรรอาหาร สิทธิดานสุขภาพ สุขลักษณะ บริการทางการแพทย การควบคุมโรคระบาด โดยเฉพาะอนามัยทารก สิทธิทางการศึกษา ซ่ึงประถมศึกษาจะเปนการศึกษาภาคบังคับที่ใหเปลาแกทุกคน และการศึกษาในระดับมัธยมและอุดม ที่เหมาะสมเทาเทียมกัน รวมถึงการศึกษาขั้นพื้นฐานที่จะตองสงเสริมใหมากที่สุด สิทธิที่จะมีสวนรวมของประชาชนในดานวัฒนธรรม วิทยาศาสตร และการดูแลจากภาครัฐที่จะคุมครอง อนุรักษ และการเผยแพรความรูในเรื่องดังกลาว กติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (International Covenant on Cavil and Political Rights ICCPR) มีผลบังคับใชเมื่อ 23 มีนาคม 2519 และประเทศไทยเขาเปนภาคี โดยการภาคยานุวัติและมีผลบังคับใชเมื่อ 30 มกราคม 2540 โดยมีถอยแถลงตีความ 4 ประเด็น ไดแก เร่ืองการกําหนดเจตจํานงของตนเอง โดยมิไดหมายรวมถึงการแบงแยกดินแดนหรือเอกภาพทางการเมือง (ขอ 1) โทษประหารสําหรับผูที่มีอายุต่ํากวา 18 ป (6) การนําตัวผูตองหาเขาสูการพิจารณาคดีโดยพลัน (9) และการโฆษณาชวนเชื่อเพื่อทําสงคราม (20) เนื้อหาของกติกาฉบับนี้มี 6 สวน 53 ขอ 3 สวนแรก (ขอ 1-27) เปนสาระบัญญัติวาดวยสิทธิตาง ๆ สวนที่ 4 (ขอ 28-45) วาดวยคณะกรรมการ การเสนอรายงาน (ขอ 40) การไกลเกลี่ยขอรองเรียนระหวางประเทศเกี่ยวกับการไมปฏิบัติตามบทบัญญัติของกติกาสวนที่ 5 (ขอ 46-47) วาดวยการตีความ และสวนที่ 6 (ขอ 48-53) วาดวยการลงนามเขาเปนภาคี การมีผลใชบังคับ การแกไข การเก็บรักษาตนฉบับทั้ง 5 ภาษา สวนที่เปนสาระบัญญัติ 27 ขอ กําหนดสิทธิตาง ๆ ทั้งในสวนที่เปนสิทธิของประชาชน ซ่ึงวาดวยการกําหนดสิทธิของตนเองของประชาชนในเรื่องการเมือง และสามารถดําเนินการอยางเสรีในการจัดการทรัพยากรและพัฒนาเศรษฐกิจสังคมและวัฒนธรรมของตน และการประกันสิทธิของรัฐภาคี ที่จะตองสงเสริมใหบังเกิดผลตามสิทธิดังกลาว โดยปราศจากการเลือกปฏิบัติ สิทธิเหลานี้รวมถึงสิทธิที่จะมีชีวิตและการยกเลิกโทษประหารชีวิต การหามการทรมาน/ลงโทษทารุณโหดราย การมีทาส เสรีภาพ

Page 21: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

19

ในความปลอดภัยของรางกาย หามการจับกุมโดยมิไดทําผิดกฎหมาย การปฏิบัติตอผูถูกจับกุมดวยมนุษยธรรม เสรีภาพในการเลือกถ่ินที่อยูอาศัย ความเสมอภาคในดานกฎหมาย และกระบวนการยุติธรรมทางศาล สิทธิในสถานะบุคคล สิทธิในความเปนสวนตัว สิทธิเสรีภาพทางความคิดและศาสนา การหามการโฆษณาชวนเชื่อเพื่อการสงครามและการเกลียดชังเผาพันธุ สิทธิในการชุมนุมอยางสงบ การรวมตัวเปนสมาคม การคุมครองครอบครัวและการสมรส สิทธิของเด็กในดานการคุมครอง การมีทะเบียนเกิดและสัญชาติ การมีสิทธิมีสวนในการบริหารบานเมืองและสิทธิของชนกลุมนอย อนุสัญญาวาดวยการขจัดการเลือกปฏิบัติตอสตรีในทุกรูปแบบ (Convention on The Elimination of All Forms of Discrimination against Women - CEDAW) มีผลบังคับใชเมื่อ 3 กันยายน 2524 และประเทศไทยเขาเปนภาคีโดยการภาคยานุวัติ และมีผลบังคับใชเมื่อ 8 กันยายน 2528 โดยตั้งขอสงวนไว 7 ขอ คือ ขอ 7 ความเสมอภาคทางการเมืองและการรับตําแหนงทางราชการ ขอ 9 การถือสัญชาติของบุตร ขอ 10 ความเสมอภาคทางการศึกษา ขอ 11 สิทธิและโอกาสที่จะไดรับการจางงานชนิดเดียวกัน ขอ 15 การทํานิติกรรม ขอ 16 ความเสมอภาคในครอบครัวและขอ 29 การตีความและการระงับขอพิพาท ซ่ึงตอมาไดถอนขอสงวนออกรวม 5 ขอ คือ ขอ 11 และ 15 ในป 2533 ขอ 9 ป 2535 ขอ 7 และ 10 ป 2538 คงยังเหลือขอสงวนไว 2 ขอ คือ ขอ 16 และ 29 เกี่ยวกับการสมรสและความสัมพันธในครอบครัวและการระงับขอพิพาท เนื้อหาของอนุสัญญานี้มี 6 สวน 30 ขอ 4 สวนแรก (ขอ 1-16) เปนสาระบัญญัติวาดวยสิทธิตาง ๆ ของสตรี สวนที่ 5 (ขอ 17-22) วาดวยการจัดตั้งคณะกรรมการและการเสนอรายงาน สวนที่ 6 (ขอ 23-30) วาดวยผลกระทบของอนุสัญญาและการกําหนดมาตรการที่จําเปน การลงนามเขาเปนภาคี การมีผลบังคับใช การแกไข การตั้งขอสงวน การระงับขอพิพาท และการเก็บรักษาตนฉบับทั้ง 5 ภาษา อนุสัญญาฉบับนี้ มีขอที่นาสนใจ คือ มีอารัมภบทที่ยาวเปนพิเศษ เปนการแสดงความหวงใยตอสตรีที่ยังถูกเลือกปฏิบัติอยางกวางขวาง เห็นควรใหไดรับความเสมอภาค การมีสวนรวมและการรับผิดชอบรวมกันของทั้งบุรุษและสตรีในการพัฒนาประเทศและการดูแลครอบครัว ดังนั้นในสวนที่เปนสาระบัญญัติ 16 ขอ จึงกําหนดความหมายของ “การเลือกปฏิบัติตอสตรี” ซ่ึงจะตองถูกประณามและขจัดทุกประการโดยไมชักชาและบรรจุหลักการความเสมอภาคของ 2 เพศ ไวเปนหลักประกันในรัฐธรรมนูญ ตลอดจนกฎหมายและมาตรการอื่น ๆ ที่จะจัดการใหเกิดความกาวหนาอยางเต็มที่ของสตรีทั้งโดยการออกมาตรการพิเศษ เรงรัด ปรับแบบแผนทางสังคม วัฒนธรรม และระบบครอบครัวเพื่อความเสมอภาค การปราบปรามการคาสตรีในทุกรูปแบบ ขจัดการเลือกปฏิบัติในดานการเมือง การเปนผูแทนรัฐบาล การรวมงานในองคการระหวางประเทศ การไดมาและคงไวซ่ึงสัญชาติของสตรีและบุตร ความเสมอภาคทางการศึกษา การจางงาน คาตอบแทน ความคุมครองสุขภาพ การตั้งครรภ และการคลอดบุตร สิทธิประโยชนดานครอบครัว สินเชื่อ กีฬา นันทนาการ วัฒนธรรม ขจัดการเลือกปฏิบัติตอสตรีในชนบท ทั้งดานเศรษฐกิจ การพฒันา สุขภาพ ประกันสังคม การศึกษา ฝกอบรม การรวมกลุม พึ่งตนเอง ความเสมอภาคทางกฎหมาย ตลอดจนสิทธิในการสมรสและความสัมพันธทางครอบครัว

Page 22: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

20

อนุสัญญาวาดวยการขจัดการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติในทุกรูปแบบ (International, Convention on the Elimination of All Forms of Racial Discrimination - ICERD) มีผลใชบังคับเมื่อ 4 มกราคม 2532 และประเทศไทยเขาเปนภาคีโดยภาคยานุวัติ และมีผลบังคับใชกับประเทศไทยเมื่อ 28 กุมภาพันธ 2546 โดยทําถอยแถลงตีความไววาจะไมรับพันธกรณีเกินกวาที่รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยและกฎหมายไทยบัญญัติไว รวมทั้งมีขอสงวน 2 ขอ คือ ขอ 4 ในเรื่องการดําเนินมาตรการขจัดการเลือกปฏิบัติเทาที่จําเปน และ ขอ 22 ในเรื่องการเจรจาตกลงในเรื่องขอพิพาทที่ไมสามารถตกลงกันไดและเสนอใหศาลยุติธรรมระหวางประเทศพิจารณา เนื้อหาของอนุสัญญามี 3 สวน 25 ขอ สวนแรก (ขอ 1-7) เปนสาระบัญญัติวาดวยสิทธิตาง ๆ สวนที่ 2 (ขอ 8-16) วาดวยคณะกรรมการการเสนอรายงาน การรับขอรองเรียนระหวางรัฐ การดําเนินการ การไกลเกลี่ยและการยุติขอพิพาทของคณะกรรมการ และสวนที่ 3 (ขอ 17-25)วาดวยการลงนามเขาเปนภาคี การมีผลบังคับใช เงื่อนไขในการตั้งขอสงวนและการถอนขอสงวน การเพิกถอนอนุสัญญา การเสนอขอพิพาทสูศาลยุติธรรมระหวางประเทศ การแกไขและการเก็บรักษาตนฉบับทั้ง 5 ภาษา สาระบัญญัติ 7 ขอ ของอนุสัญญาฉบับนี้กําหนดความหมายของ “การเลือกปฏิบัติทาง เชื้อชาติ” การตีความและมาตรการพิเศษที่จัดขึ้นตามความจําเปนดวยเจตนาเพื่อประกันความกาวหนาของหมูชนบางกลุมที่ตองการความคุมครองและสิทธิเสรีภาพขั้นพื้นฐาน การประณามการเลือกปฏิบัติทาง เชื้อชาติและการประกันการไมเลือกปฏิบัติตอบุคคลกลุมหรือสถาบัน หรือสนับสนุนการเลือกปฏิบัติเหลานี้ การดําเนินมาตรการที่จะแกไขกฎระเบียบที่กอใหเกิดการเลือกปฏิบัติดวยวิธีการที่เหมาะสมและสนับสนุนการประสานเชื้อชาติเขาดวยกัน การจัดใหมีมาตรการพิเศษชั่วคราวเพื่อสนับสนุนการคุมครองกลุมบุคคลบางกลุมเพื่อใหไดรับสิทธิเสรีภาพอยางเสมอภาค การประณามการแบงแยกทางเชื้อชาติ ผิว การโฆษณาชวนเชื่อในเรื่องความเหนือกวาของบางชนกลุม การเกลียดชังระหวางเชื้อชาติ การลงโทษตามกฎหมายแกการกระทําที่ประณามเหลานี้ และหามการดําเนินการสงเสริมกระตุนการเลือกปฏิบัติของเจาหนาที่ของรัฐ การประกันสิทธิของทุกคนใหเสมอภาคกันตามกฎหมายภายใตศาลและกระบวนการยุติธรรม การคุมครองของรัฐ การใชสิทธิอยางทั่วถึงและเสมอภาคในทางการเมือง กิจกรรมสาธารณะและบริการสาธารณะ สิทธิของพลเมืองในเรื่องตาง ๆ ทุกเรื่อง เชน การมีถ่ินพํานัก การครองสัญชาติ การสมรสและเลือกคูสมรส การรับมรดก สิทธิเสรีภาพทางความคิดเห็น การนับถือศาสนา การชุมนุม สิทธิทางเศรษฐกิจ สังคมวัฒนธรรมตาง ๆ ทั้งในดานการทํางาน ที่อยูอาศัย การสาธารณสุข การศึกษา กิจกรรมทางวัฒนธรรมและบริการตาง ๆ และการประกันสิทธิของรัฐที่จะใหความคุมครองแกทุกคนในอาณาเขตจากการเลือกปฏิบัติเหลานี้ รวมถึงสิทธิที่จะรองขอคาทดแทนจากศาลเพื่อชดใชความเสียหายอันเปนผลจากการเลือกปฏิบัติเหลานี้ อนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็ก (Convention on the Rights of the Child - CRC) มีผลบังคับใชเมื่อ 2 กันยายน 2533 และประเทศไทยเขาเปนภาคีโดยการภาคยานุวัติ โดยมีผลบังคับใชเมื่อ 26 เมษายน 2535 โดยมีขอสงวน 3 ขอ ไดแก ขอ 7 วาดวยการจดทะเบียนเกิดและการไดสัญชาติของเด็ก ขอ 22 วาดวยการรองขอสถานะผูล้ีภัยของเด็ก และขอ 29 วาดวยการจัดการศึกษาของเด็ก ซ่ึงตอมาไดถอนขอสงวน

Page 23: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

21

ขอที่ 29 ซ่ึงมีผลเมื่อวันที่ 11 เมษายน 2540 จากการแจงของสํานักเลขาธิการสหประชาชาติ ในปจจุบันจึงยังคงเหลือขอสงวน 2 ขอ คือ ขอ 7 และ 22 เนื้อหาของอนุสัญญาฉบับนี้มี 3 สวน 54 ขอ สวนแรก (ขอ 1-41) เปนสาระบัญญัติวาดวยสิทธิตาง ๆ ของเด็ก สวนที่ 2 (ขอ 42-45) วาดวยการเผยแพรอนุสัญญา คณะกรรมการวาดวยสิทธิเด็ก การเสนอรายงาน การสงเสริมการปฏิบัติตามอนุสัญญาอยางมีประสิทธิภาพดวยความรวมมือระหวางประเทศ สวนที่ 3 (ขอ 46-54) วาดวย การลงนามเขาเปนภาคี การมีผลบังคับใช การแกไข การตั้งและการถอนขอสงวน การบอกเลิก และการเก็บรักษาตนฉบับทั้ง 5 ภาษา สวนที่เปนสาระบัญญัติ 40 ขอ ประกอบดวยความหมายของ “เด็ก” การประกันสิทธิพื้นฐานของรัฐภาคีตอเด็กในเขตอํานาจของตนบนสิทธิพื้นฐาน 4 ประการ คือ สิทธิที่จะมีชีวิต สิทธิที่จะไดรับการปกปอง สิทธิที่จะไดรับการพัฒนา และสิทธิที่จะมีสวนรวม การไมเลือกปฏิบัติ การคํานึงถึงประโยชนสูงสุดของเด็ก การเคารพตอความรับผิดชอบและสิทธิหนาที่ของบิดามารดา ครอบครัว และสภาพสังคมของเด็ก การประกันสิทธิที่จะมีชีวิต การมีช่ือ มีสัญชาติ เอกลักษณ การอยูรวมกันระหวางเด็กกับบิดามารดาและครอบครัวและการรักษาความสัมพันธระหวางกัน สิทธิเสรีภาพของเด็กในการแสดงความคิดเห็น การแสดงออก การแสวงหา/ไดรับขอมูลขาวสาร ความคิด มโนธรรม ศาสนา การสมาคม ความเปนสวนตัว การเขาถึงขอมูลขาวสารจากสื่อ และการคุมครองจากขอมูลขาวสารที่เปนอันตราย การชวยเหลือบิดามารดาผูปกครองใหสามารถเลี้ยงดูเด็กได การคุมครองจากความรุนแรงทั้งปวง การดูแลทางเลือกสําหรับเด็ก การรับเด็กเปนบุตรบุญธรรม การรองขอสถานะผูล้ีภัย การดูแลเด็กพิการ การดูแลสุขภาพและการสาธารณสุขสําหรับเด็กและมารดา การประกันสังคม การไดรับมาตรฐานการดํารงชีวิตที่เพียงพอ การศึกษา การพัฒนาบุคลิกภาพ การยอมรับความหลากหลายทางวัฒนธรรม นันทนาการ การคุมครองจากการถูกแสวงประโยชนทางเศรษฐกิจ ยาเสพติด ทางเพศ การลักพา ขาย คาเด็ก การคุมครองจากการแสวงประโยชนทุกรูปแบบ การถูกทรมานหรือลงโทษที่โหดรายไรมนุษยธรรม การพิพาทดวยอาวุธ การฟนฟูจิตใจและการกลับคืนสูสังคม การคุมครองเด็กที่ตองประสบปญหาดานกฎหมายและตองเขาสูกระบวนการยุติธรรม และผลกระทบของอนุสัญญานี้ตอกฎหมายเดิมที่มีอยู ซ่ึงจะเห็นวาสนธิสัญญา 2 ฉบับแรกที่ออกบังคับใชปเดียวกัน (2519) ในระยะเวลาใกลเคียงกันมากและมีอายุถึง 30 ปแลวนั้น เปนสนธิสัญญาที่กําหนดสิทธิมนุษยชนพื้นฐานโดยตรงคือ สิทธิของมนุษยทุกคนในฐานะเปนพลเมืองโลกที่จะตองมีสวนมีเสียงในการบริหารบานเมืองและดําเนินชีวิตในสังคมอยางไดรับการเคารพในศักดิ์ศรี มีความเสมอภาคในสภาพแวดลอมของวิถีชีวิตคือ เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม ซ่ึงเมื่อมีสิทธิพื้นฐานเหลานี้แลว จึงไดมุงเจาะเขาสูเร่ือง/กลุมพิเศษตาง ๆ เชน เชื้อชาติ เพศ (สตรี) วัย (เด็ก) ฯลฯ

Page 24: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

22

พันธกรณีหลักท่ีตองปฏิบัติเม่ือเขาเปนภาคีของสนธิสัญญาดานสิทธิมนุษยชน โดยขอกําหนดของอนุสัญญาตาง ๆ ดังกลาวขางตนทําใหเกิดพันธกรณีที่ประเทศไทยในฐานะรัฐภาคีของอนุสัญญาเหลานั้น ตองปฏิบัติติดตามมา 4 เร่ืองหลัก คือ - การประกันใหเกิดสิทธิตามสนธิสัญญานั้น - การดําเนินการใหเกิดสิทธิและคุมครองสิทธิ - การเผยแพรเร่ืองของสิทธินั้น ๆ และ - การจัดทํารายงานผลการดําเนินงานที่จัดใหมีขึ้นเพื่อใชสิทธิตามสนธิสัญญานั้น ๆ โดยตองเปนไปตามเนื้อหาและรายละเอียดที่แตกตางกันไปตามวัตถุประสงคของสนธิสัญญานั้นโดยเฉพาะภารกิจสําคัญคือการจัดทํารายงานผลการดําเนินงานของประเทศเกี่ยวกับการทําใหเกิดสิทธิและความคืบหนาในการใชสิทธิเหลานั้น ซ่ึงมีเงื่อนไขระยะเวลาที่กําหนดไวแนนอนชัดเจนในกติกาหรืออนุสัญญาแตละฉบับเพราะเปนกลไกสําคัญในการตรวจสอบและติดตามผลขององคการสหประชาชาติพรอมกับที่เปนกลไกตรวจสอบติดตามและประเมินตนเองของประเทศนั้น ๆ ดวย และโดยสนธิสัญญา 5 ฉบับ ที่ประเทศไทยเขาเปนภาคี มีพันธกรณีเร่ืองการจัดทํารายงานที่มีผลตอประเทศไทยโดยตรง สรุปไดตามตารางตอไปนี้ ซ่ึงจัดลําดับตามสถานะการมีผลบังคับใชกับประเทศไทย โดยมีกําหนดระยะเวลาการเสนอรายงานเรียงลําดับตามระยะเวลากอนหลังดังนี้

Page 25: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

23

ตารางที่ 1 แสดงพันธกรณ ี การจัดทํารายงานของประเทศไทย ตามสนธิสัญญาดานสิทธิมนุษยชน 5 ฉบับ ที่เปนภาคี จดัตามลําดับการเขาเปนภาคี 5

กติกา/อนุสัญญา พันธกรณี

CEDAW CRC ICCPR ICESCR ICERD

1. วันที่สนธิสัญญามีผล บังคับใช

3 ก.ย. 2524 2 ก.ย. 2533 23 มี.ค. 2519 3 ม.ค. 2519 4 ม.ค. 2532

2. วัตถุประสงค

คุมครองสิทธ ิสตรี

คุมครองสิทธิเด็ก

คุมครองสิทธิของประชาชนและ

สิทธิทางการเมือง

คุมครองสิทธิทางสังคมเศรษฐกิจ และวัฒนธรรม

คุมครอง การเลือกปฏิบัติดานเชื้อชาติ เผาพันธุ

3. จํานวนขอบัญญัติ 30 ขอ 54 ขอ 53 ขอ 31 ขอ 25 ขอ 4. ขอท่ีระบุเรื่องสงรายงาน 18 44 40 16 9 5. ประเทศไทยเขาเปนภาคี โดยวิธี

ภาคยานุวัติ ภาคยานุวัติ ภาคยานุวัติ ภาคยานุวัติ ภาคยานุวัติ

6. วันที่มีผลบังคับใช กับประเทศไทย

8 ก.ย. 2528 26 เม.ย. 2535 30 ม.ค. 2540 5 ธ.ค. 2542 28 ก.พ. 2546

7. มีขอสงวน/ถอยแถลง ขอท่ีสงวน

7-5 = 5 ขอ 16, 29

3-1 = 2 ขอ 7, 22

4 ประเด็น 1 ประเด็น 2 ขอ/1 ประเด็น 4, 22

8. หนวยงานรับผิดชอบ ของไทย

กสส.สร.

สค.พม.

สยช.สร.

สท.พม.

กรมคุมครอง สิทธิและเสรีภาพ

(ส.อส.)

สํานักงานอัยการสูงสุด

(ส.อส.)

กรมคุมครองสิทธิและเสรีภาพ

9. กําหนดสงรายงานฉบับแรก ฉบับตอๆ ไป

1 ป ทุก 4 ป

ตามที่คณะ กรรมการรองขอ

2 ป ทุก 5 ป

1 ป ทุก 5 ป

ตามที่คณะ กรรมการรองขอ

1 ป ทุก 5 ป

ตามที่คณะ กรรมการรองขอ

1 ป ทุก 2 ป

ตามที่คณะกรรมการรองขอ

10. กําหนดสงรายงานฉบับแรก ฉบับตอ ๆ ไปของไทย 2

8 ก.ย. 2529 8 ก.ย. 2533

25 เม.ย. 2537 25 เม.ย. 2542

28 ม.ค. 2541 28 ม.ค. 2546

5 ธ.ค. 2543 5 ธ.ค. 2548

27 ก.พ. 2547 - ก.พ. 2551

3 4

8 ก.ย. 2537 8 ก.ย. 2541

5 6

8 ก.ย. 2545 8 ก.ย. 2549

11. การสงรายงานฉบับแรก ฉบับตอ ๆ ไป (2+3) (4+5)

1 มิ.ย. 2530 3 มี.ค. 2540 7 ต.ค. 2546

23 ส.ค. 2539 21 พ.ค. 2547

22 มิ.ย. 2547 - มิ.ย. 2548

- มิ.ย. 2548 -

- มิ.ย. 2548 -

5 สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ สรุปพันธกรณีระหวางประเทศดานสิทธิมนุษยชนที่ประเทศไทย เปนภาคี พ.ศ. 2546 รวม 5 ฉบับ และขอมูลพื้นฐานกลไกสิทธิมนุษยชนในระบบสหประชาชาติ

Page 26: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

24

จากขอมูลในตารางพบวา การเขาเปนภาคีกติกา/อนุสัญญาดานสิทธิมนุษยชนของประเทศไทยรวม 5 ฉบับ เร่ิมดวยฉบับแรกคืออนุสัญญาดานสตรี (CEDAW) ในป 2548 ทิ้งชวงจากอีก 4 ฉบับหลัง ซ่ึงมีระยะเวลาใกลเคียงกันมากขึ้น คืออนุสัญญาดานเด็ก ดานสิทธิพลเมือง ดานเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และดานเชื้อชาติในป 2535, 2540, 2542 และ 2546 ตามลําดับทั้ง ๆ ที่สนธิสัญญาดานสิทธิพลเมืองและสนธิสัญญาดานเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมนั้นมีผลบังคับใชตั้งแตป 2519 แตใชเวลากวา 20 ปที่ประเทศไทยจะเขาเปนภาคี ทั้งนี้อาจเปนเพราะสนธิสัญญามีขอบเขตกวางขวางและยังไมมีกระแสเรงรัดจากองคการสหประชาชาติและประชาคมโลก กติกา/อนุสัญญาวาดวยสิทธิของคนกลุมพิเศษคือ สตรีและเด็กเปนอนุสัญญาที่ประเทศไทยเขาเปนภาคีกอนเรื่องอื่นๆ อาจเปนเพราะมีปจจัยผลักดันจากประชากรกลุมพิเศษนั้นๆ หรือบุคลากรผูทํางานกับคนกลุมนั้น ๆ รวมทั้งมีหนวยงานเจาของเรื่องรับผิดชอบโดยตรง ในขณะที่อนุสัญญาวาดวยสิทธิพื้นฐาน 2 ฉบับแรกที่มีผลบังคับใชในระดับโลกเปนเรื่องพื้นฐานทั่วไปที่กวางขวางจนแทบจะหาผูรับผิดชอบโดยตรงครบถวนไมได กติกา/อนุสัญญาที่มีขอบังคับจํานวนมากกวาอนุสัญญาอื่น ๆ ไดแก อนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็กและอนุสัญญาวาดวยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง ซ่ึงทั้ง 2 ฉบับ มีขอกําหนดเกิน 50 ขอขึ้นไป(อีก 3 ฉบับ มีประมาณ 30 ขอ) โดยอนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็กมีสารัตถะวาดวยสิทธิมากที่สุดถึง 40 ขอ แตมีการดําเนินการทั้งดานการทําใหเกิดสิทธิ และการสรางความรูความเขาใจเกี่ยวกับอนุสัญญาคอนขางกวางขวาง เนื่องจากมีขอกําหนดใหทําการเผยแพรไวโดยตรง (ขอ 42) ในขณะที่ไมพบขอกําหนดชัดเจนในลักษณะนี้ในสนธิสัญญาอีก 4 ฉบับ มีการตั้งขอสงวน/ถอยแถลงตีความของประเทศไทยในกติกา/อนุสัญญาทั้ง 5 ฉบับ ในประเด็นตาง ๆ กันไปตามแตละเนื้อหาของสนธิสัญญา ซ่ึงการตั้งขอสงวนหรือถอยแถลงตีความนี้จะเปนประเด็นที่ถูกสอบถามและเรงรัดใหถอนหรือยกเลิกจากคณะกรรมการผูรับผิดชอบสนธิสัญญานั้น ๆ ระยะเวลาเขาเปนภาคีมีผลตอความชาเร็วของการเสนอรายงานคือสวนใหญตองสงรายงานฉบับแรกภายใน 1 ป (ยกเวนอนุสัญญาสิทธิเด็ก 2 ป) ซ่ึงตองสงตามลําดับ 5 ฉบับ คือ ฉบับแรกป พ.ศ. 2529, 2537, 2541, 2543, และ 2547 ฉบับตอมารอบที่ 2 คือ พ.ศ. 2533, 2542, 2546, 2548, และ 2551 ซ่ึงมีสนธิสัญญา 4 ฉบับ ตองสงรายงานฉบับที่ 2 แลว คงเหลือ 1 ฉบับที่จะตองสงในอีก 3 ปขางหนา อนุสัญญาที่มีการจัดทํารายงานมากที่สุดคือ CEDAW ซ่ึงการกําหนดสงรายงานที่มีความถี่เกินไปก็อาจเปนภาระหนัก ทําใหคณะกรรมการผูรับผิดชอบสนธิสัญญานั้นอานรายงานไมทันไดเชน เดียวกัน

Page 27: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

25

ขอคนพบอีกประการหนึ่งคือ ไมมีรายงานฉบับใดเลยที่สามารถสงไดตรงตามกําหนดเวลา ซ่ึงสาเหตุอาจจะเปนเพราะ - ขาดความชัดเจนในการกําหนดองคกรรับผิดชอบภายในประเทศ เพราะเนื้อหาของกติกา/อนุสัญญาบางฉบับกินความกวางหลายสาขา เชน กติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม ซ่ึงยากที่จะมอบองคกรหนึ่งองคกรใดโดยตรง - ขาดความรูความเขาใจในแนวทาง วิธีการและรูปแบบ รวมทั้งประเด็นเนื้อหาที่ตองนําเสนอโดยเฉพาะการจัดทํารายงานรุนแรก ๆ แทบไมมีคําแนะนําใด ๆ - อุปสรรคดานภาษา เนื่องจากประเทศไทยมิไดใชภาษา 1 ใน 6 ภาษาขององคการสหประชาชาติ (อังกฤษ ฝร่ังเศส สเปน รัสเซีย จีน อาหรับ) โดยเฉพาะภาษาในสนธิสัญญาตาง ๆ ตองใชศัพทเทคนิคทางกฎหมาย เปนหลัก จึงเปนความยากกวาการใชภาษาทั่วไป - วิธีการเขียนรายงานในยุคแรก ๆ เนื่องจากตองเสนอรายงานเปนภาษาตางประเทศ จึงใชวิธีการมอบหมายนักวิชาการผูเชี่ยวชาญภาษาตางประเทศเปนผูเขียน ทําใหขาดการมีสวนรวมจากหนวยงาน/องคกรที่เกี่ยวของและไมมีโอกาสไดรับฟงความคิดเห็นจากภาคเอกชนและประชาสังคม เพราะระยะเวลาที่ตองสงรายงานกระชั้นชิดมาก - การปฏิรูประบบราชการ สงผลตอการจัดทํารายงาน เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงหนวยงาน ภารกิจรับผิดชอบและบุคลากร รายงานที่ไดจัดทําไวแลวเปนผลงานของหนวยงานที่รับผิดชอบอยูแตเดิมคือสํานักนายกรัฐมนตรี(สร.)จัดทํารายงานของอนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็กโดยสํานักงานคณะกรรมการสงเสริมและประสานงานเยาวชนแหงชาติ (สยช.) และรายงานของอนุสัญญาวาดวยการขจัดการเลือกปฏิบัติตอสตรีในทุกรูปแบบ โดยสํานักงานคณะกรรมการสงเสริมและประสานงานสตรีแหงชาติ (กสส.) สํานักงานอัยการสูงสุดจัดทํารายงานของกติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง เมื่อเกิดการเปลี่ยนถายภารกิจสูหนวยงานใหม และบุคลากรกลุมใหม จากสํานักนายกรัฐมนตรีสูกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย (พม.) คือสํานักงานสงเสริมสวัสดิภาพและพิทักษเด็ก เยาวชน ผูดอยโอกาส คนพิการ และผูสูงอายุ (สท.) และสํานักงานกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว (สค.) และจากสํานักงานอัยการสูงสุด (อสส.) สูกระทรวงยุติธรรม กรมคุมครองสิทธิและเสรีภาพยอมจะสงผลใหการดําเนินงาน เพราะตองใชเวลาในการจัดระบบงานและการศึกษาเรียนรูงานสําหรับบุคลากรกลุมใหม การจัดทํารายงานจึงตองชะงักไปชั่วระยะเวลาหนึ่งทําใหรายงานตองเล่ือนกําหนดออกไปดวย ดวยปญหาอุปสรรคตาง ๆ ดังกลาวทําใหการจัดทํารายงานเปนไปอยางลาชา เกินกําหนดเวลาไมนอยกวา 1-2 ป และบางฉบับกินเวลามากกวานั้น

Page 28: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

บทที่ 3 การจัดทํารายงานประเทศตามสนธิสัญญาดานสิทธิมนุษยชน

ในบทที่ 2 ไดเสนอขอมูลพื้นฐานเพื่อทําความเขาใจกับเรื่องสิทธิมนุษยชนในดานความหมาย ความสําคัญ และพันธกรณีของประเทศไทยที่มีตอสนธิสัญญาดานสิทธิมนุษยชน โดยเฉพาะการจัดทํารายงานประเทศตามขอกําหนดของสนธิสัญญาเหลานั้น ที่ประเทศไทยเขาเปนภาคี ในบทนี้ จึงเปนการนําเสนอการดําเนินงานตามพันธกรณีสําคัญของงานศึกษาเรื่องนี้ คือการจัดทํารายงานประเทศตามสนธิสัญญาดานสิทธิมนุษยชน ซ่ึงควรจะทําความเขาใจตั้งแตเหตุผลความจําเปนและประโยชนที่จะไดรับจากภารกิจนี้ จนถึงกระบวนการ ขั้นตอน รูปแบบ และที่สําคัญคือเนื้อหา/สาระสําคัญของรายงาน ซ่ึงจะชวยใหไดทราบสถานการณดานสิทธิมนุษยชนของประเทศผูจัดทํารายงานอยางแทจริง เหตุผลความจําเปนและหลักการของการจัดทํารายงาน การจัดทํารายงานประเทศ เปนภารกิจรวมที่กําหนดไวในสนธิสัญญาดานสิทธิมนุษยชน ที่ประเทศไทยเขาเปนภาคีทั้ง 5 ฉบับ คือ CEDAW ขอ 18 CRD ขอ 44 ICCPR ขอ 40 ICESCR ขอ16-17 และ ICERD ขอ 9 (ดังปรากฏในตารางที่ 1 บทที่ 2) โดยมีกําหนดระยะเวลาและเงื่อนไขเกี่ยวของที่คอนขางเปนไปในแนวทางเดียวกัน แมจะมีรายละเอียดที่แตกตางกันไปบางตามความเหมาะสม โดยหลักการสําคัญ กติกา/อนุสัญญาเหลานี้ กําหนดหลักการและเหตุผลความจําเปนของการจัดทํารายงานไว ประมวลสรุปวัตถุประสงคไดวา เพื่อรับทราบ ตรวจสอบ และพิจารณาการดําเนินการและความกาวหนาเกี่ยวกับมาตรการตาง ๆ ซ่ึงรัฐภาคีไดรับไวในอันที่จะทําใหสิทธิหรือพันธกรณี ซ่ึงจะตองดําเนินการตามสนธิสัญญานั้น ๆ บังเกิดผลจริงและมีความคืบหนาในการใชสิทธิเหลานั้นของประชาชนหรือมนุษยชน โดยกติกา/อนุสัญญามีขอกําหนดใหแตงตั้ง คณะกรรมการ ขึ้นรับผิดชอบ ศึกษา/พิจารณา รายงาน โดยคณะกรรมการบางคณะอาจมีอํานาจหนาที่ในเรื่องอื่นเพิ่มเติมนอกจากนี้ดวย เนื้อหา/สาระสําคัญของรายงานจะระบุถึง - ขอมูลขาวสารที่เพียงพอสําหรับใหคณะกรรมการมีความเขาใจถองแทถึงการดําเนินการตาม กติกา/อนุสัญญาในประเทศนั้น ๆ - ปจจัย อุปสรรค ปญหา ความยากลําบาก (ถามี) ที่สงผลกระทบตอการปฏิบัติหรือทําใหไม สามารถปฏิบัติตามขอผูกพันตาง ๆ ตามพันธกรณีของกติกา/อนุสัญญาฉบับนั้น ๆ ในปจจุบัน - เมื่อรัฐภาคีไดเสนอรายงานฉบับเริ่มแรกที่สมบูรณใหแกคณะกรรมการแลว ไมจําเปนตอง ใหขอมูลขาวสารพื้นฐานที่ไดใหไวแลวแตตนในรายงานฉบับตอ ๆ ไป

Page 29: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

27

- ขณะเดียวกัน คณะกรรมการอาจขอขอมูลขาวสารที่เกี่ยวกับการดําเนินการตามอนุสัญญา นั้น ๆ เพิ่มเติมจากรัฐภาคีได - อนุสัญญาบางฉบับ ระบุใหอํานาจคณะกรรมการสามารถเชิญองคกรของสหประชาชาติอ่ืน ใหเสนอรายงานเรื่องการปฏิบัติตามอนุสัญญา ในเรื่องที่อยูในขอบขายกิจกรรมขององคกร นั้น ๆ ได ( เชน CRC ขอ 45, CEDAW ขอ 22) เสนทางเดินของรายงาน อาจไปสูคณะกรรมการผูรับผิดชอบกติกา/อนุสัญญานั้น ๆ โดยตรง หรือโดยผานเลขาธิการสหประชาชาติมายังคณะกรรมการ และในทายที่สุดรายงานจะถูกสงไปยังสมัชชาใหญแหงสหประชาชาติโดยผานคณะกรรมการผูรับผิดชอบหรือคณะกรรมการอื่นตามความจําเปน ประโยชนของการจัดทํารายงานประเทศ นอกจากจะชวยใหคณะกรรมการไดรับทราบ ตรวจสอบ และพิจารณาการดําเนินงานและความกาวหนาตามขอผูกพันของกติกา/อนุสัญญาฉบับนั้น ๆ ของรัฐภาคีตาง ๆ อันจะเปนประโยชนตอมนุษยชาติในประชาคมโลกแลว การจัดทํารายงานที่เขาใจถองแทถึงเหตุผลของการจัดทํารายงานจะชวยใหรัฐผูจัดทํารายงานมีการจัดทํารายงานที่มีเปาหมายชัดเจน สงผลใหกระบวนการในการจัดทําดําเนินไปอยางมีทิศทางเปนระบบ ราบรื่นรวดเร็ว มีเนื้อหาสาระที่ครอบคลุมเร่ืองสําคัญตาง ๆ ดานสิทธิมนุษยชนของประเทศ ดวยขอมูลที่ทันสมัย ชัดเจน เที่ยงธรรม โปรงใส อันเปนประโยชนอยางยิ่งในการสะทอนภาพสถานการณดานสิทธิมนุษยชนของประเทศตามความเปนจริง ชวยตรวจสอบตนเองและประเมินสถานการณเพื่อพิจารณาแนวทางการปรับสภาวะการณดานนี้เพื่อคุณภาพชีวิต ความเสมอภาค และศักดิ์ศรีของคนในประเทศตอไป เพื่อประโยชนในการจัดทําและเสนอรายงาน ควรไดรูจักคณะกรรมการผูรับผิดชอบกติกา/อนุสัญญานั้น ๆ และอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการ ซ่ึงมีผลผูกพันตอประเทศและคณะผูจัดทํารายงาน และทราบถึงกระบวนการ ขั้นตอน วิธีการ และแนวทางในการจัดทํารายงานตามสนธิสัญญาตาง ๆ ที่ประเทศไทย โดยหนวยงานผูรับผิดชอบสนธิสัญญานั้น ๆ ไดจัดทําไปแลวทั้ง 3 ฉบับ จึงใครเสนอตารางแสดงขอมูลเกี่ยวกับคณะกรรมการผูรับผิดชอบ ศึกษาพิจารณารายงานของสนธิสัญญาดานสิทธิมนุษยชนตาง ๆ ในเรื่องชื่อองคกร คุณสมบัติของคณะกรรมการ และภารกิจหนาที่ที่มี ซ่ึงพบวามีความใกลเคียงกันมากในทั้ง 5 คณะกรรมการ และการจัดทํารายงานตามสนธิสัญญา 3 ฉบับ ก็พบวามีประสบการณที่จะเปนประโยชนตอหนวยงานที่จะดําเนินการเรื่องนี้ตอไปในอนาคต

Page 30: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

ตารางที่ 2 แสดงขอมูลเกี่ยวกับคณะกรรมการผูรับผิดชอบพิจารณารายงาน 6 28

ลํา ดับ

กติกา/อนุสัญญา ขอมูล

อนุสัญญาวาดวยการขจัดการเลือกปฏิบัติตอสตรีในทุก รูปแบบ (CEDAW)

อนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็ก

(CRC)

กติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง

(ICCPR)

กติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม

(ICESCR)

อนุสัญญาวาดวยการขจัดการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติในทุกรูปแบบ

(ICERD) 1 ชื่อคณะกรรมการ

ผูรับผิดชอบ คณะกรรมการวาดวยการขจัดการเลือกปฏิบัติตอสตรี (Committee on the Elimination of Discrimination against Women)

คณะกรรมการวาดวยสิทธิเด็ก (Committee on the Rights of the Child)

คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน (Human Rights Committee)

* ชื่อคลาย Commission on Human Rights กลไกใหญของสหประชาชาติ

คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม แตงตั้ง คณะกรรมการสิทธิทางเศรษฐกิจสังคมและวัฒนธรรม (Committee on Economic Social and Cultural Rights)

คณะกรรมการวาดวยการขจัดการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติ (Committee on the Elimination of Racial Discrimination)

2 ขอบทที่แตงตั้ง/กําหนด 17 43 28, 31 16+มติคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม 2518

8

3 จํานวนคณะกรรมการ 23 คน 10 คน * 18 คน 18 คน 18 คน 4 คุณสมบัติ ผูเชี่ยวชาญมีคุณธรรมและความ

สามารถสูง ไดรับการเลือกตั้งจากคนชาติตน ปฏิบัติงานตามความสามารถของบุคคล กระจายตามสภาพภูมิศาสตร และอารยธรรมที่แตกตาง

ผูเชี่ยวชาญมีสถานะทางศีลธรรมสูงเปนที่ยอมรับในความสามารถ รัฐภาคีเลือกตั้งจากคนในชาติตน ปฏิบัติหนาที่ในฐานะสวนตัว กระจายทางภูมิศาสตรและคํานึงถึงระบบกฎหมายหลัก * ปจจุบันไดเพิ่มเติมจํานวนเปน 18 คน เทากรรมการชุดอื่น ๆ และแบงพิจารณารายงานเปน 2 คณะ

คนชาติของรัฐภาคี มีศีลธรรมสูง มีความสามารถดานสิทธิมนุษยชน มีประสบการณทางกฎหมาย ปฏิบัติหนาที่ในฐานะเฉพาะตัว กระจายทางภูมิศาสตร อารยธรรมและกฎหมาย

เลือกตั้งโดยสมัชชาใหญ ดําเนินการและตัดสินใจในรูปของขอมติ โดยการรับรองของเสียงสวนใหญ

ผูทรงคุณวุฒิ มีสถานะทางศีลธรรมสูง เปนที่ยอมรับในความเปนกลาง ไดรับการเลือกตั้งจากคนชาติตน ปฏิบัติหนาที่ในฐานะสวนตัว กระจายอํานาจตามสภาพภูมิศาสตรและอารยธรรมที่แตกตาง

5 วาระ 4 ป 4 ป 4 ป 3 ป 2-4 ป โดยจับฉลากออก 6 ขอบทที่กําหนดหนาที่ 20-21-22 43-44-45 40 * กฎบัตรสหประชาชาติ ขอ 62 9 7 ภารกิจ/หนาที่

ที่เกี่ยวของกับรายงาน • พิจารณารายงาน • พิจารณาความกาวหนาของ การปฏิบัติตามอนุสัญญา • ใหขอเสนอแนะ/ขอแนะนํา • อาจเชิญใหทบวงชํานัญพิเศษ เสนอรายงานการปฏิบัติตาม อนุสัญญาภายในขอบขาย กิจกรรมของตน

• พิจารณารายงาน ตรวจสอบความ กาวหนา • กําหนดใหรัฐภาคีตองเผยแพรรายงาน • เชิญ Unicef และทบวงชํานัญพิเศษรวม - พิจารณารายงาน/ใหคําปรึกษา - เสนอรายงานการปฏิบัติตามอนุสัญญา ภายในขอบขายกิจกรรมของตน - สงคําขอ/ความตองการของรัฐภาคี ใหสมัชชาใหญและรัฐภาคีที่เกี่ยวของ พิจารณาแนะนํา/เสนอแนะ

• พิจารณารายงาน • ใหขอคิดเห็น ขอเสนอแนะ • รับขอรองเรียนจากรัฐภาคี หรือ บุคคลที่ถูกละเมิดสิทธิตามกติกา • หาขอยุติใหกับขอรองเรียน

• พิจารณารายงานและการปฏิบัติตาม พันธกรณี • ใหขอวินิจฉัยเปนแนวปฏิบัติ • ประสานงานแลกเปลี่ยนขอมูล ระหวางรัฐภาคี • ใหขอเสนอแนะตอการละเมิดสิทธิ • อาจเชิญทบวงชํานัญพิเศษทํารายงาน ตามขอบเขตกิจกรรมของตน

• พิจารณารายงานและขอขอมูล เพิ่มเติม • ใหขอคิดเห็น ขอเสนอแนะใน การตีความพันธกรณีแกรัฐภาคี •ใหขอวินิจฉัยและขอแนะนําแก รัฐภาคีในการปฏิบัติตามพันธกรณี • รับขอรองเรียนจากรัฐภาคีที่อาง วาถูกละเมิดจากรัฐภาคีอื่น • ไกลเกลี่ย/แกไขขอพิพาทโดย สันติ

6 สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ พันธกรณีระหวางประเทศดานสิทธิมนุษยชนที่ประเทศไทยเปนภาคี พ.ศ. 2546 และอางแลวตาม 5

Page 31: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

29

การจัดทํารายงานของประเทศไทย จากการเขาเปนภาคีสนธิสัญญาดานสิทธิมนุษยชนฉบับแรกในป 2528 และตดิตามดวยสนธิสัญญาตาง ๆ รวม 5 ฉบับ ประเทศไทยถึงกําหนดสงรายงานของสนธิสัญญาครบทั้ง 5 ฉบับ ในป 2547 โดยมีรายงานของสนธิสัญญา 3 ฉบับ ไดดําเนินการแลวคือ รายงานของ CEDAW, CRC และ ICCPR ซ่ึงจะไดนําเสนอประสบการณการจัดทํารายงานทั้ง 3 ฉบับ พรอมเนื้อหาสรุปดังนี ้ การจัดทํารายงานของอนุสญัญาวาดวยการขจดัการเลือกปฏิบัตติอสตรีในทุกรูปแบบ (CEDAW) ประเทศไทยเขาเปนภาคีของอนุสัญญาฉบับนี้ ตามผลบังคับใชตอประเทศเมื่อ 8 กันยายน2528 ดวยขอผูกพันตองสงรายงานตามขอ 18 ดังนี้

- ฉบับแรก (ภายใน 1 ป) ตองเสนอ 8 กันยายน 2529 เสนอจริงเมื่อป 2530 และมีการพิจารณาเมื่อเดือนมกราคม 2533

- ฉบับที่ 2 (และตอ ๆ มาทุก 4 ป) ตองเสนอป 2533 เสนอจริงเมื่อป 2540 และมีการพิจารณาในสมัยประชุมเมื่อ 19 มกราคม - 5 กุมภาพันธ 2542 โดยเปนรายงานฉบับรวมของฉบับที่ 2+3 ดวยสาเหตุการพิจารณารายงานฉบับแรกกระชั้นชิด กับการสงรายงานฉบับที่ 2 เพียง 8 เดือน

- ฉบับที่ 4 เปนรายงานฉบับรวมของฉบับที่ 4+5 ตองเสนอรวมในป 2545 เสนอจริง ในป 2547 และคาดวาจะไดรับการพิจารณาประมาณตนป 2549

- ฉบับที่ 6 กําลังดําเนินการ โดยจะตองเสนอในเดือนกันยายน 2549 1) การจัดทํารายงานฉบับแรก ดําเนินการโดยสํานักงานคณะกรรมการสงเสริมและประสานงานสตรีแหงชาติ (กสส.) สํานักนายกรัฐมนตรี แตไมสามารถสืบคนถึงกระบวนการจัดทํารายงาน และการจัดหาเอกสารรายงาน จึงไมสามารถนําเสนอขอมูลไดเพราะขอจํากัดดานระยะเวลาที่ผานมาแลวเนิ่นนาน และขอจํากัดดานเอกสารที่อาจสูญหายหรือหมดจํานวนไปดวยการโยกยายสถานที่ทําการและการเปลี่ยนแปลงบุคลากรผูรับผิดชอบ 2) การจัดทํารายงานฉบับที่ 2+3 มีกระบวนการดําเนินการที่เอกสารรายงานใหขอมูลวาดําเนินการโดย การศึกษาจากแนวทางของ

- รายงานฉบับที่ผานมา (คือฉบับแรก) และรายงานเพิ่มเติม - กระบวนวิธีการของการพิจารณารายงานของคณะกรรมการ - ขอแนะนํา/แนวทางการเตรียมจัดทํารายงานฉบับที่ 2 และเอกสารเพิ่มเติม - ขอแนะนําทั่วไปของคณะกรรมการ

การปรึกษาหารือกับองคการภาคเอกชน และหนวยราชการที่เกี่ยวของทุกระยะ เก็บรวบรวมขอมูลในรายงานเพิ่มเติมเปนสถิติขอมูลใหมที่มิไดเคยนําเสนอในรายงานฉบับแรก และปรับใหเปนขอมูล

Page 32: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

30

ปจจุบันหลังเดือนมิถุนายน 2530 และขอมูลระหวางมกราคม 2533 – เมษายน 2539 ที่เก็บรวบรวมโดยความรวมมือกับภาคเอกชน และใชขอมูลรวมกับการจัดทําแผนพัฒนาสตรีระยะยาว 20 ป (2545-2554) และรายงานของประเทศไทยตอการประชุมสตรีระดับโลกครั้งที่ 4 (กันยายน 2538) การพิจารณารางสุดทายของรายงานโดยการประชุมเมื่อเดือนพฤษภาคม 2539 ผูแทนจากองคกรทั้งภาครัฐและเอกชนรวมกันทําการแกไขปรับปรุงขอมูลและสถานการณตาง ๆ ใหเปนปจจุบันและสอดคลองกับขอแนะนํา/แนวทางการเตรียมจัดทํารายงานและขอแนะนําของคณะกรรมการ การจัดทํารายงานฉบับนี้ ดําเนินการในชวงเวลาเดียวกับการนําเสนอปฏิญญาและแนวปฏิบัติพื้นฐานของการประชุมระดับโลกวาดวยสตรีคร้ังที่ 4 ในประเทศไทย จึงมีการใชขอมูลและหลักการรวมกัน เนื้อหาสําคัญของรายงาน ประกอบดวยขอมูลหลัก 2 สวนคือ สวนที่ 1 ขอมูลพื้นฐานทั่วไปทั้งดานเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง การปฏิบัติตามอนุสัญญาในเรื่องการ ถอนขอสงวน ขอ 11, 15, 9, 7, 10 ตามลําดับจนคงเหลืออีกเพียง 2 ขอคือ ขอ 16 และ 22 การปรับ ปรุงกฎหมายเกี่ยวกับครอบครัวและผลกระทบตอการขับเคลื่อนบริบทในสังคมตอการขจัดการ เลือกปฏิบัติตอสตร ี ความกาวหนาของผูหญิงและสถิติเกี่ยวกับเพศ สวนที่ 2 เปนการนําเสนอความกาวหนาของการปฏิบัติตามขอกําหนดของอนุสัญญาขอ 1-16 ทั้งในเรื่อง หลักการไมเลือกปฏิบัติ มาตรการเพื่อตอบสนองตอเร่ืองนี้ทั้งในรัฐธรรมนูญ กฎหมาย และระบบ ตุลาการ ระบบบริหารและระบบการลงโทษ มาตรการพิเศษตอสตรีกลุมพิเศษ เชน สตรีพิการ สตรีที่มิไดรับสัญชาติไทย มาตรการชั่วคราวตอการกําหนดบทบาททางเพศของหญิงชาย ครอบครัวศึกษา การแสวงประโยชนจากการคาประเวณีของสตรี วิถีชีวิตทางการเมืองและชีวิต เพื่อสาธารณะ สัญชาติ การศึกษา การทํางาน สุขภาพ วิถีชีวิตดานเศรษฐกิจสังคม สตรีในชนบท ความเสมอภาคทางกฎหมาย การสมรสและกฎหมายครอบครัว 3) การจัดทํารายงานฉบับที่ 4+5 มีกระบวนการจัดทํารายงานที่สามารถดําเนินการ ไดสะดวกขึ้นเพราะมีแนวทางจากขอเสนอแนะขององคการสหประชาชาติคือ

- การประเมินสถานภาพสตรี 2543 (Accessing The Status of Women, UN. 2000) - รายงานฉบับที่ 1, 2, 3 และฉบับเพิ่มเติม และ - ขอสังเกตของคณะกรรมการวาดวยการขจัดการเลือกปฏิบัติตอสตรี ที่มีตอรายงาน

ฉบับที่ 2+3 และรายงานเพิ่มเติม เอกสารประเมินสถานภาพสตรี 2543 จัดทําโดยหนวยงานความกาวหนาของสตรี ฝายกิจการเศรษฐกิจและสังคมขององคการสหประชาชาติ (Division of the Advancement of Women, Department of Economic and Social Affairs) มีสาระสําคัญประกอบดวย

Page 33: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

31

- บทนําวาดวยความมุงหมายของเอกสารที่มุงใหใชเปนคูมือในการจัดทํารายงาน ความเปนมาและสาระสําคัญของอนุสัญญา ขอสงวน พันธกิจการจัดทํารายงาน คณะกรรมการและวัตถุประสงคของการจัดทํารายงาน - การเตรียมการจัดทํารายงาน มีการจัดทําแนวทางของคณะกรรมการ CEDAW ออกใชตั้งแตป 2526 ปรับแกไขเพิ่มเติมในป 2539 และ 2539 โดยปรับใหรายงานประกอบดวย 2 สวน สวนแรกเปนขอมูลพื้นฐานและภาพรวมของประเทศ ในลักษณะเปนเอกสารหลัก (core document) ที่เคยออกใชมาตั้งแตป 2534 สวนที่ 2 เปนขอมูลโดยตรงตามอนุสัญญา CEDAW ซ่ึงตองใหขอมูลของประเทศเกี่ยวกับลักษณะการเมืองการปกครอง การพัฒนากลไกรับผิดชอบการปฏิบัติตามสนธิสัญญาและความกาวหนา ในการใชสิทธิตามขอกําหนดตาง ๆ ของอนุสัญญา ขอสงเสริมและขอจํากัด/อุปสรรคปญหา ขอเสนอแนะทั่วไป ประเด็นหลักเกี่ยวกับความรุนแรงตอสตรี การนําเสนอรายงานดวยวาจาตอคณะกรรมการและการพิจารณารายงานของคณะกรรมการ - เนื้อหาของรายงานเปนการตอบคําถามโดยตรงตามขอกําหนดของอนุสัญญาในสวนที่เปนสาระบัญญัติ 16 ขอ โดยรายงานสถานการณในประเทศตามสิทธิทั้ง 16 เร่ือง ดังไดเสนอสรุปไวใน บทที่ 2 ตัวอยางคําถาม เชน การประกันสิทธิของสตรีในรัฐธรรมนูญ กฎหมาย นโยบายที่ไมเลือกปฏิบัติตอสตรี การประกันการพัฒนาความกาวหนาของสตรีและมาตรการเสริม วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี ศาสนา ที่ขัดขวางความกาวหนา/เทาเทียมของสตรี และมาตรการเพื่อแกไข การศึกษา การกระทํารุนแรงทางเพศและการแสวงประโยชนจากสตรีและเด็กหญิง ชีวิตทางการเมืองและสาธารณะ การมีสวนรวม สิทธิในการไดสัญชาติ การศึกษา การมีงานทํา สุขภาพ เศรษฐกิจ สตรีชนบท ความเสมอภาคในกฎหมาย และความเสมอภาคในการสมรสและกฎหมายครอบครัว - ภาคผนวกที่ใหรายละเอียดเกี่ยวกับตัวอนุสัญญา คณะกรรมการ และการวิเคราะหรายละเอียดของสาระบัญญัติทั้ง 16 ขอ ของอนุสัญญาตลอดจนประเด็นอภิปราย/ความเห็นที่สําคัญของคณะกรรมการ CEDAW การเก็บรวบรวมขอมูล สํานักงานคณะกรรมการสงเสริมและประสานงานสตรีแหงชาติ สํานักนายกรัฐมนตรี (ปจจุบันคือสํานักงานกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย) รวบรวมขอมูลจากขอมูลของหนวยงานตาง ๆ ที่เกี่ยวของ รายงานการวิจัยตาง ๆ และการประชุมสัมมนาเพื่อหารือกับหนวยงานตางๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนรวม 3 คร้ัง ซ่ึงไดรับความรวมมืออยางดี เนื้อหาของรายงานมี 2 สวนคือ สวนที่ 1 ขอมูลพื้นฐานทั่วไปเกี่ยวกับสภาพสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองของประเทศ ลักษณะประชากร ภาพรวมของสตรีไทย และกลไกมาตรการรับผิดชอบตอการสงเสริมความเสมอภาคระหวาง หญิงชาย และการปรับเปลี่ยนโครงสรางกระทรวง ทบวง กรม ที่มีผลตอการปรับหนวยงาน ที่ดูแลกิจการสตรี

Page 34: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

32

สวนที่ 2 เปนการนําเสนอความกาวหนาของการปฏิบัติตามอนุสัญญาขอ 1-16 - ความหมายของการเลือกปฏิบัติและความเกี่ยวโยงกับรัฐธรรมนูญและกฎหมายไทย มาตรการ

นโยบายเพื่อขจัดการเลือกปฏิบัติ - มาตรการที่เหมาะสม มาตรการพิเศษชั่วคราว - บทบาทของเพศและเจตคติดั้งเดิมตอสตรีที่รวมถึงความรุนแรงตอสตรี - การคาหญิงและการแสวงประโยชนจากผูหญิงในเรื่องสถานการณการแกไข มาตรการดาน

กฎหมาย ความรวมมือ โครงการบําบัด ฟนฟู ชวยเหลือ สงกลับ และปญหาหญิงไทยเดินทาง ไปขายบรกิารในตางประเทศ

- การเมืองและระบบราชการ การมีสวนของสตรีในบทบาทและอุปสรรคตอการเมือง ระบบราชการและองคกร เอกชน การเปนผูแทนและมีสวนรวมในระดับนานาชาติ - สัญชาติและสิทธิในการสมรส การถือครองที่ดิน การเดินทาง - การศึกษาที่รวมถึงการศึกษาของเด็กหญิงและสตรีดอยโอกาส - การจางงาน สิทธิ โอกาส ทางเลือกความปลอดภัย การคุกคามทางเพศ ผลตอบแทน การประกันสังคม และสตรีมีครรภกับการงานทํางาน - สุขภาพที่รวมประเด็น เอชไอวี/เอดส การทําแทง สุขภาพในการทํางาน และสุขภาพจิต - เศรษฐกิจและสังคม - สตรีในชนบทกับบริการสุขภาพ การศึกษา ฝกอบรม การชวยเหลือตนเองและสหกรณ - ความเสมอภาคทางกฎหมาย - กฎหมายเกี่ยวกับการสมรสและครอบครัว การหมั้น การสมรส การประกอบอาชีพ และการทํางาน คํานําหนาชื่อ การใชนามสกุล อํานาจปกครองบุตร การรับมรดก ภาษีเงินได

4) การจัดทํารายงาน CEDAW ฉบับที่ 6 มีเอกสารของกลไกระหวางประเทศดานสิทธิมนุษยชน (HRI) องคการสหประชาชาติ ออกเมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม 2546 ที่ใชเปนแนวทางคือ ประมวลแนวทางเกี่ยวกับรูปแบบและเนื้อหาของรายงานของรัฐภาคีที่เสนอตอสนธิสัญญาระหวางประเทศดานสิทธิมนุษยชน ป 2546 (Compilation of guidelines on the form and content of report to be submitted by states parties to the international human rights treaties 2003) ซ่ึงเปนเอกสารที่ออกโดยคณะกรรมการขจัดการเลือกปฏิบัติตอสตรี (Committee on the Elimination of Discrimination against Women) เพื่อใชสําหรับรายงานนี้ออกหลัง 31 ธันวาคม 2545 แทนแนวทางฉบับเกา ซ่ึงจัดไดวาเปนเอกสารแนวทางสําหรับการทํารายงานโดยตรงของอนุสัญญา CEDAW ซ่ึงกําหนดกรอบแนวทางของการจัดทํารายงานเกี่ยวกับมาตรการ ที่รับปฏิบัติเพื่อใหขอบัญญัติของอนุสัญญาเกิดผลกาวหนาโดยมี - ขอแนะนําทั่วไปเกี่ยวกับเนื้อหาที่จะตองพิจารณาประเด็นตาง ๆ ตามขอบัญญัติของอนุสัญญาขอสงวนหรือถอยแถลง อุปสรรคปญหา ขอมูลสถิติ และเอกสารหลัก

Page 35: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

33

- รายงานสวนแรกที่ใหขอมูลพื้นฐานของรัฐธรรมนูญ ระบบกฎหมาย ระบบบริหาร เนื้อหาตามขอตาง ๆ ของสวนที่ 1-4 ของอนุสัญญา โดยรายงานจะตองอธิบายใหเห็นวามีการปฏิบัติตามอนุสัญญาตามกฎหมายภายในอยางไรมีการประกันสิทธิไวในรัฐธรรมนูญหรือไม โดยเฉพาะขอ 2 ที่เกี่ยวของประเด็นที่ประณามการเลือกปฏิบัติตอสตรีทุกรูปแบบในเรื่องตาง ๆ องคกรภายในที่รับผิดชอบตออนุสัญญา ขอจํากัดของอนุสัญญา สถานะขององคกรเอกชนดานสตรี รวมถึงภาคผนวกที่ใหขอมูลเพิ่มเติมที่จําเปนและเพียงพอ - รายงานเพิ่มเติมเปนระยะที่เสนอความกาวหนาของชวงระยะเวลาหนึ่ง ดวยเนื้อหาตามขอตาง ๆ หากขอใดไมมีความกาวหนาก็ใหแจงไวดวย และระบุความเปลี่ยนแปลงสําคัญที่เปนผลจากอนุสัญญานี้ ทั้งดานการเมือง กฎหมาย และมาตรการทางการบริหาร โดยมีรายละเอียดเปนภาคผนวกไวดวย - พิธีสารเลือกรับ ซ่ึงหากลงนามเปนรัฐภาคี ก็ใหรายงานขั้นตอนการปฏิบัติและรายละเอียดมาตรการตาง ๆ - มาตรการเพื่อปฏิบัติตามผลการประชุมสัมมนาขององคการสหประชาชาติ การประชุมระดับโลกและการประชุมทบทวนตาง ๆ ตองมีการรายงานดวย เชน รายงานตามปฏิญญากรุงปกกิ่ง การประชุมสตรีป 2000ฯ ตลอดจนการประชุมอื่น ๆ ที่สงผลกระทบตอเร่ืองของสตรีดวย - การพิจารณารายงานของคณะกรรมการ จะดําเนินการในทางสรางสรรคดวยคําถามตางๆ และคาดหวังคณะผูแทนตองมีความรูความสามารถที่จะอธิบายสถานการณดานสิทธิมนุษยชนได เมื่อเสร็จส้ินการพิจารณารายงานของรัฐภาคี คณะกรรมการจะมีรายงานและสรุปขอสังเกตและขอเสนอแนะตอรัฐผูรายงานออกเผยแพรซ่ึงตองการใหรัฐภาคีนําไปเผยแพรและดําเนินการดวย - รูปแบบของรายงาน กําหนดใหใชภาษาราชการ 1 ใน 6 ของภาษาที่ใชในสหประชาชาติ เสนอเปนเอกสารอิเล็กทรอนิกส รายงานสวนแรกมีความยาวไมเกิน 100 หนา รายงานเพิ่มเติมไมเกิน 70 หนา มีหมายเลขลําดับยอหนา กระดาษ A 4 ความหางระหวางบรรทัด 1 ชวง พิมพหนาเดียว เอกสารแนวทางนี้ ไดทราบวา ตอมามีการแจงระงับใชเพื่อรอเอกสารแนวทางชุดใหม ที่จะออกขึ้นใชแทนในเร็ววัน

Page 36: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

34

การจัดทํารายงานของอนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็ก (CRC) ประเทศไทยเขาเปนภาคีอนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็กโดยการภาคยานุวัติ เมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ 2535 โดยไดตั้งขอสงวนในขอ 7 ขอ 22 และขอ 29 (ซ่ึงขอนี้ถูกถอนในป 2540) และอนุสัญญามีผลบังคับใชเมื่อวันที่ 26 เมษายน 2535 ทั้งนี้ตามมาตรา 44 แหงอนุสัญญา รัฐบาลไทยมีพันธะผูกพันที่จะตองเสนอรายงานความกาวหนาการสนองตอบตออนุสัญญาและการใชสิทธิตามอนุสัญญาตอคณะกรรมการสิทธิเด็กแหงสหประชาชาติภายในกําหนด 2 ปแรกที่อนุสัญญามีผลบังคับใช และหลังจากนั้นจะตองทํารายงานเสนอทุก ๆ 5 ป รายงานฉบับแรก มีกําหนดสง 25 เมษายน 2537 สงรายงานจริง 23 สิงหาคม 2539 รายงานฉบับที่ 2 มีกําหนดสง 25 เมษายน 2542 สงรายงานจริง 21 พฤษภาคม 2547 รายงานฉบับที่ 3 มีกําหนดสง 25 เมษายน 2547 ขณะนี้ยังมิไดจัดทําและคาดวารายงานฉบับนี้นาจะเปนฉบับรวม 2+3 หรือ 3+4 1) การจัดทํารายงานฉบับแรก ดําเนินการในชวงป 2536-2539 องคกรรับผิดชอบคือคณะอนุกรรมการเรื่อง “สิทธิเด็ก” ของคณะกรรมการสงเสริมและประสานงาน เยาวชนแหงชาติ โดยมีสํานักงานคณะกรรมการสงเสริมและประสานงานเยาวชนแหงชาติ สํานักนายกรัฐมนตรี เปนหนวยงานรับผิดชอบในฐานะฝายเลขานุการในการจัดทํารายงานของประเทศไทย คณะอนุกรรมการเรื่อง สิทธิเด็กไดรับการแตงตั้งขึ้นเมื่อเดือนสิงหาคม 2532 โดยมีหนาที่ในการเผยแพรความรูความเขาใจเรื่องสิทธิเด็กแกเด็กและประชาชนทั่วไป ตลอดจนเสนอแนะใหมีการแกไขกฎหมายและระเบียบขอบังคับที่เกี่ยวของ คณะอนุกรรมการชุดนี้ประกอบดวยผูแทนจากภาครัฐและเอกชนรวมทั้งสิ้น 24 คน โดย 10 คนแรก เปนผูทรงคุณวุฒิจากฝายนิติบัญญัติ สมาชิกรัฐสภา สมาชิกฝายตุลาการพิพากษาและนักวิชาการทางดานกฎหมายทั้งจากฝายตุลาการและจากมหาวิทยาลัย ขาราชการประจําที่ทํางานเกี่ยวกับเด็กในระดับบริหารและระดับปฏิบัติ ตลอดจนผูแทนจากองคกรภาคเอกชนและองคกรระหวางประเทศที่ทํางานเกี่ยวกับเด็ก สวนคณะอนุกรรมการอีก 14 คน ประกอบดวย ผูแทนจากสาขาวิชาชีพตาง ๆ อาทิ นักกฎหมาย แพทย นักการเมือง ผูแทนฝายศาสนา นักธุรกิจ นักอุตสาหกรรม นักสังคมสงเคราะห ผูใชแรงงาน และนักการเมือง โดยคณะอนุกรรมการมีสถานะเปนสถาบันระดับชาติ มีหนาที่สงเสริมและติดตามการดําเนินงานเรื่องสิทธิเด็กโดยตรง และเนื่องจากเปนสถาบันที่มีผูแทนจากหลากหลายสาขาคณะอนุกรรมการ จึงสามารถสะทองภาพทุกสวนของสังคม โดยเฉพาะอยางยิ่งการมีความสัมพันธโดยตรงกับองคกรเอกชนเปนการเปดโอกาสใหทั้งภาครัฐและภาคเอกชนไดมีบทบาทเทาเทียมกันในการปฏิบัติภารกิจที่ไดรับมอบหมาย แนวทางและกระบวนการในการจัดทํารายงานฉบับแรก เนื่องจากยังไมมีแนวทาง/ขอแนะนําเพื่อการจัดทํารายงานในชวงเวลานั้น คณะอนุกรรมการโดยความรวมมือจากองคการกองทุนเพื่อเด็กแหงสหประชาชาติ จึงไดเร่ิมดําเนินการทํารายงานในป 2536 โดยไดมีการประชุมคณะอนุกรรมการ จํานวน 3 คร้ัง เพื่อกําหนดขั้นตอนและ เคาโครงของการจัดทํารายงาน โดยไดมีการกําหนดเคาโครงรายงานจํานวน

Page 37: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

35

33 ฉบับ ซ่ึงมีเนื้อหาครอบคลุม 19 หัวขอ โดยเนื้อหาของหลายหัวขอมีปรากฏในรายงานมากกวา 1 ฉบับ ทั้งนี้เนื่องจากเปนรายงานที่จัดทําโดยทั้งภาครัฐและภาคเอกชน ตอมาคณะอนุกรรมการไดจัดประชุมผูที่รับผิดชอบในการเขียนรายงานทั้ง 33 ฉบับ เพื่อสรางความรวมมือและซักซอมความเขาใจในภารกิจที่ไดรับมอบหมายในการจัดทํารายงาน ซ่ึงปรากฏวาไดรับความรวมมือจากทุกฝายเปนอยางดี ทั้งนี้ไดมีการนําเสนอรางรายงานเบื้องตนจากหนวยงานภาครัฐและภาคเอกชนทั้งที่เปนเอกสารและเปนการนําเสนอดวยวาจารวม 30 ฉบับ โดยจํานวนสองในหาของรายงานทั้งหมดเปนรายงานจากองคกรเอกชน ซ่ึงปรากฏการณดังกลาวนี้สอดคลองกับองคประกอบของคณะอนุกรรมการ ขั้นตอนในการจัดทํารายงานและเนื้อหาของรายงานอันแสดงใหเห็นไดวา ภาคเอกชนไดเขามามีสวนรวมอยางจริงจังในทุกขั้นตอนของการจัดทํารายงาน - การเสนอรายงานตอสาธารณชน ในเดือนธันวาคม 2536 คณะอนุกรรมการโดยการสนับสนุนขององคการกองทุนเพื่อเด็กแหงสหประชาชาติไดจัดสัมมนาเพื่อรับฟงความคิดเห็นจากสาธารณชนเปนเวลา 2 วัน โดยเชิญผูเกี่ยวของทุกฝายและสื่อมวลชนเขารวมประชุมเพื่อรับฟงรายงานเบื้องตน ตลอดจนใหขอวิจารณและขอเสนอแนะในการปรับปรุงแกไข โดยในการประชุมครั้งนั้นไดมีบุคคลจากทุกวงการ รวมทั้งสื่อมวลชนและเด็กเขารวมประชุมประมาณ 200 คน และยังไดมีการเดินทางไปจัดประชุมในภูมิภาคทั้งภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคใต ซ่ึงที่ประชุมไดใหขอเสนอแนะและขอสังเกตสําหรับ นําไปปรับปรุงรายงานหลายประการ โดยมีขอคิดเห็นที่สําคัญคือขอมูลในสวนที่เกี่ยวกับเด็กของประเทศไทยยังขาดขอมูลที่ทันสมัยและเปนประโยชน และจัดระบบการจัดเก็บขอมูลที่มีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ ที่ประชุมมีความเห็นพองตองกันวาถึงเวลาแลวที่ประเทศไทยจะตองเรงดําเนินการยกเลิกขอสงวนตามอนุสัญญา ทั้ง 3 ขอโดยเร็ว มาตรการตอมา ไดแก การเผยแพรสาระสําคัญและวัตถุประสงคของรายงาน เพื่อสรางความตระหนักของสาธารณชนดวยการจัดสัมมนาใหแกองคกร และผูทํางานเกี่ยวกับเด็กทั้งภาครัฐและภาคเอกชน ตลอดจนสื่อมวลชนทุกสาขาทั้งในสวนกลางและสวนภูมิภาค เพื่อใหชวยเผยแพรประชาสัมพันธรายงาน ตอไป รายงานฉบับแรกของอนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็ก เสนอตอคณะกรรมการสิทธิเด็ก เมื่อเดือนสิงหาคม 2539 ระหวางรอการถูกเรียกไปชี้แจงดวยวาจาประกอบการรายงาน ไดมีคําถามเพิ่มเติมมาอีก 37 คําถาม โดยสวนใหญเปนคําถามเกี่ยวกับผลกระทบของสภาวะวิกฤตทางเศรษฐกิจในป 2540 ที่มีตอชีวิตความเปนอยูและคุณภาพชีวิตของเด็ก รายงานฉบับแรกไดรับแจงเชิญใหไปชี้แจงรายงานดวยวาจาตอคณะกรรมการ ในเดือนตุลาคม 2541 ซ่ึงจากการชี้แจงคณะกรรมการไดแสดงความผิดหวังตอโครงสรางของรายงานไทยที่มิไดเปนไปตามแนวทางของคณะกรรมการ (ออกใช 20 พฤศจิกายน 2539 รายงานสง 23 สิงหาคม 2539) และยังสงลาชา และในดานเนื้อหาคณะกรรมการยังมีปญหา 26 ประเด็นที่ตองใหช้ีแจงเพิ่มเติมเปนเอกสารสรุปขอสังเกต (concluding observations) ที่ประเทศไทยตองทําคําชี้แจงและดําเนินการตอบสนอง

Page 38: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

36

2) การจัดทํารายงานฉบับที่ 2 ดําเนินการในชวงป 2542-2543 องคกรรับผิดชอบคณะอนุกรรมการเรื่องสิทธิเด็ก ชุดเดิมที่มีการปรับปรุงเพิ่มเติม กระบวนการจัดทํา ใชหลักการมีสวนรวมของทุกฝายที่เกี่ยวของ โดยมีทั้งเด็ก เยาวชน ผูทํางานดานเด็ก เยาวชน และผูทรงคุณวุฒิสาขาตาง ๆ จากทั้งภาครัฐและเอกชน จัดเปนคณะทํางานยอย 8 กลุม ดําเนินการหาขอมูลและรางรายงานที่ตอบประเด็นตาม 8 หัวขอ โดยแตละกลุมมีเด็กและเยาวชนอยูในคณะทํางาน 2-3 คน แนวทางที่ใชในการจัดทํารายงาน ประกอบดวย - แนวทางในการจัดทําเนื้อหาและรูปแบบของรายงาน (periodic report) ตามขอกําหนดของอนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็ก ของคณะกรรมการสิทธิเด็กแหงสหประชาชาติ (General guidelines regarding the form and contents of periodic reports to be submitted by states parties under article 44, paragraph 1 (b) of the Convention) ซ่ึงออกเผยแพรเมื่อ 20 พฤศจิกายน 2539 ประกอบดวย 8 หัวขอ 166 คําถาม เนื้อหาที่ตองเสนอเกี่ยวกับ - 1 มาตรการทั่วไป - 2 ความหมายของ “เด็ก” - 3 หลักการทั่วไปวาดวย : การไมเลือกปฏิบัติ ประโยชนสูงสุดของเด็ก สิทธิการมีชีวิต อยูรอด การพัฒนา และการเคารพความคิดเห็นของเด็ก - 4 สิทธิพลเมืองและเสรีภาพในเรื่อง : ช่ือ สัญชาติ เอกลักษณ เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น ความคิด มโนธรรม ศาสนา การสมาคม/ชุมนุมอยางสงบ ความเปนสวนตัว การเขาถึงขอมูลขาวสาร การไมถูกทรมาน กระทํา ลงโทษโหดรายไรมนุษยธรรมต่ําชา - 5 สภาพแวดลอมทางครอบครัวและการเลี้ยงดูในรูปแบบอื่น : การแนะนํา ผูปกครองและความรับผิดชอบ การแยกเด็กจากพอแม การคืนกลับสูครอบครัว การโยกยายและไมสงกลับโดยมิชอบ การชดเชยคาเลี้ยงดู เด็กที่ถูกพรากจากสภาพครอบครัว การรับเด็กเปนบุตรบุญธรรม การทบทวนหาสถานที่ดูแลเด็ก การกระทํามิชอบตอเด็ก ทอดทิ้งเด็ก การฟนฟูและสงกลับสูสังคม - 6 สุขภาพและสวัสดิการพื้นฐาน เด็กพิการ สุขภาพและการบริการ การประกันสังคม บริการดูแลเด็กและสิ่งอํานวยความสะดวก มาตรฐานในการดํารงชีวิต - 7 การศึกษา เวลาวางและกิจกรรมทางวัฒนธรรม การศึกษา การฝกอาชีพ การแนะแนว จุดมุงหมายของการศึกษา นันทนาการ และวัฒนธรรม - 8 มาตรการปกปองพิเศษ เด็กในสภาวะฉุกเฉิน เด็กที่เขาสูกระบวนการยุติธรรม เด็กที่ถูกแสวงประโยชนกับการฟนฟูและคืนกลับสูสังคม เด็กชนกลุมนอย/ชนพื้นเมือง - สรุปขอสังเกตและขอเสนอแนะ (concluding observations) ของคณะกรรมการสิทธิเด็กฯ จํานวน 26 ขอ จากการเสนอรายงานฉบับที่ 1 ซ่ึงมีประเด็นคําถามเกี่ยวกับการตั้งขอสงวน กฎหมาย และการบังคับใช การมีสวนรวมของทองถ่ิน กลไกการเก็บขอมูล กลไกการรองเรียนจากเด็ก การจัดสรรงบประมาณ

Page 39: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

37

การตระหนักรูเกี่ยวกับอนุสัญญา อายุขั้นต่ําของการรับผิดชอบทางอาญาของเด็ก มาตรการเกี่ยวกับการขจัดการเลือกปฏิบัติ ประโยชนสูงสุด สิทธิในการมีชีวิตอยูรอดและพัฒนา การเคารพความเห็นของเด็ก ทัศนคติในวัฒนธรรมไทยที่เปนอุปสรรคตอการแสดงความคิดเห็นของเด็ก การใหการศึกษาและการปกปองเด็กในภาวะยากลําบาก/ดอยโอกาส การจดทะเบียนเกิดของเด็ก การลงโทษทางกาย ภายในโรงเรียนและครอบครัว การทอดทิ้งเด็ก ความรุนแรงตอเด็ก โภชนาการและการเลี้ยงลูกดวยนมมารดา สุขภาพเด็กวัยรุน การฟนฟูคนพิการ กฎหมายคุมครองเด็กอพยพ การเขาสูแรงงานของเด็ก เด็กที่เปนเหยื่อการละเมิดทางเพศ ความสอดคลองของกระบวนการยุติธรรมกับอนุสัญญา และการจัดพิมพและเผยแพรอนุสัญญา เมื่อทํารายงานเสร็จ ไดมีการจัดสัมมนาเพื่อรับฟงความคิดเห็นจากสาธารณชนเปนเวลา 2 วัน โดยเชิญผูทํางานดานเด็ก และเด็ก/เยาวชนจากทุกจังหวัดทั่วประเทศ และสื่อมวลชนมารวมประชุมประมาณ 200 คน เปนการจัดทํารายงานที่พยายามดําเนินการอยางกวางขวางดวยการมีสวนรวมของทุกภาคสวนทั่วประเทศ รายงานของอนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็กฉบับที่ 2 นี้คาดวาจะตองเดินทางไปชี้แจงในชวงตนป 2549 รายงานของอนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็กฉบับที่ 2 ของประเทศไทยมีความพิเศษคือ มีรายงานอนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็กฉบับเด็กที่ดําเนินการโดยคณะเด็กเอง ดวยการออกแบบสอบถามและการวาดภาพจากเด็ก ๆ ทั่วประเทศเสนอควบคูกับรายงานของประเทศ โดยรายงานฉบับเด็ก ประกอบดวยเนื้อหา 17 หัวขอ พรอมภาพประกอบสีสวยงามที่วาดโดยเด็กเองประมาณ 20 ภาพ ซ่ึงคัดเลือกมาจาก 400 ภาพ ทั่วประเทศ เนื้อหาทั้ง 17 ขอ เปนเรื่องสั้น ๆ เกี่ยวกับความเปนมาของการจัดทํารายงานฉบับนี้ ไดแกเร่ือง ในหลวงกับสิทธิเด็ก สรุปขอมูลจากแบบสอบถามดานการศึกษา โรงเรียนในฝน โรงเรียนของหนู ครูของหนู ยาเสพติด สิ่งไมดีที่หนูเห็น เด็กพิการ ส่ิงดี ๆ ที่ตองชวยกันทํา ขอความเทาเทียมใหหนูบาง เด็กชาวเขา : เสียงกองจากหุบเขา โสเภณีเด็ก : ทําไมหนูตองเปนเหยื่อ เด็กเรรอน : หนูอยากมีบาน ความรูเร่ืองสิทธิเด็ก บทความเรื่อง หนูไมรู การจัดทํารายงานของกติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิของพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (ICCPR) ประเทศไทยเขาเปนภาคีกติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิของพลเมืองและสิทธิทางการเมืองโดยการภาคยานุวัติ เมื่อ 29 ตุลาคม 2539 และมีผลใชบังคับ เมื่อ 30 มกราคม 2540 โดยมีถอยแถลงตีความ (interpretative declaration) 4 ขอ การจัดทํารายงานเปนการดําเนินการตามพันธะผูกพันของขอ 40 ที่จะตองเสนอรายงานวาดวยมาตรการตาง ๆ ซ่ึงรัฐนั้น ๆ ไดรับไวในอันที่จะทําใหสิทธิที่ไดรับรองไวในกติกานี้เปนผลจริงและมีความกาวหนา รายงานฉบับแรกของกติการะหวางประเทศฯ นี้มีกําหนดสง 28 มกราคม 2541 (ภายใน 1 ป นับจากกติกามีผลใชบังคับ) และสงรายงานไป เมื่อ 27 มิถุนายน 2547

Page 40: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

38

การจัดทํารายงานของกติกาฉบับนี้ ดําเนินการโดยสํานักงานอัยการสูงสุด แตไมปรากฏ ขอมูลเกี่ยวกับรูปแบบขององคกรผูจัดทํารายงาน กระบวนการ วิธีการ แนวทางที่ใชดําเนินการ มีแตรายงานที่ตอบประเด็นเนื้อหาของกติกาฉบับนี้ 27 ขอ ตามขอบทที่ 1 - 27 ในลักษณะเปนการชี้แจงการปฏิบัติใหเกิดสิทธิตามกติกาฉบับนี้ของประเทศไทย ตั้งแต เหตุผลในการจัดทําถอยแถลงตีความ การดําเนินการใหเกิดสิทธิทั้ง 27 ขอ ของกติกา ในเรื่อง การกําหนดเจตจํานงของตนเอง การประกันสิทธิภายในเขตอํานาจโดยปราศจากการแบงแยกความเทาเทียมของชาย/หญิง การประกาศใชภาวะฉุกเฉินภายในประเทศ การตีความของกติกา สิทธิที่จะมีชีวิตและการยกเลิกโทษประหาร การถูกทรมานลงโทษที่โหดราย การเปนทาส สิทธิเสรีภาพความปลอดภัยในรางกาย การปฏิบัติดวยมนุษยธรรม การไมสามารถจําคุกลูกหนี้ที่ไม ชําระหนี้ สิทธิเสรีภาพในการการเลือกถ่ินที่อยู การไลคนตางดาวออกจากรัฐ ความเสมอภาคทางกฎหมาย การรับผิดทางอาญา การมีสถานะบุคคลตามกฎหมาย สิทธิความเปนสวนตัว สิทธิเสรีภาพทางความคิด มโนธรรมและศาสนา ความคิดเห็นที่ปราศจากการแทรกแซง การหามการโฆษณาชวนเชื่อทางการ ทําสงคราม การชุมนุมโดยสงบ การรวมตัวเปนสมาคมหรือสหภาพแรงงาน สิทธิของครอบครัวที่จะไดรับความคุมครองจากสังคมและรัฐ การสมรส การคุมครองเด็กและการจดทะเบียน และการไดสัญชาติของเด็ก (ขอ 24) ความเสมอภาคในสิทธิและโอกาส การคุมครองที่เทาเทียมกันทางกฎหมาย สิทธิของชนกลุมนอย รายงานของกติกาฉบับนี้ ไดมีการชี้แจงดวยวาจาไปแลว เมื่อเดือนกรกฎาคม 2548 จากการศึกษาการจัดทํารายงานของสนธิสัญญาดานสิทธิมนุษยชนทั้ง 3 ฉบับขางตน ไดพบประสบการณที่แตกตางหลากหลาย ทั้งในเรื่องกระบวนการ วิธีการจัดทํารายงาน แนวทางที่ใชชวยในการจัดทํารายงาน ตลอดจนรูปแบบและเนื้อหาที่นําเสนอในรายงาน ซ่ึงจะไดประมวลสรุปบทเรียนนําเสนอในบทตอไป

Page 41: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

บทที่ 4 แนวทาง คูมอืการจัดทํารายงานตามพันธกรณีระหวางประเทศ

ท่ีประเทศไทยเขาเปนภาคี การศึกษาในบทที่ 3 เกี่ยวกับการจัดทํารายงานประเทศของไทย ตามสนธิสัญญาดานสิทธิมนุษยชน พบวา ในการจัดทํารายงานในระยะตน รายงานฉบับแรกของสนธิสัญญา 3 ฉบับ ที่ไดเสนอไปแลวคือ รายงานของ อนุสัญญาวาดวยการขจัดการเลือกปฏิบัติตอสตรีในทุกรูปแบบ (CEDAW) อนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็ก (CRC) และ กติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (ICCPR) ยังไมปรากฏวามีคูมือหรือแนวทางขอแนะนําเกี่ยวกับ วิธีการ รูปแบบ หรือประเด็นขอคําถามที่ชัดเจนจากองคการสหประชาชาติ หรือคณะกรรมการผูรับผิดชอบของกติกา/อนุสัญญาฉบับนั้น ๆ การจัดทํารายงานจึงเปนไปอยางหลากหลายตามแนวทางและวิธีการที่หนวยงานผูจัดทําจะเห็นสมควรเทาที่จะสามารถดําเนินการได ซ่ึงเปนขอจํากัดที่สงผลตอกําหนดเวลาและคุณภาพของรายงาน ซ่ึงนอกจากจะไมสามารถจัดทํารายงานไดทันตามกําหนดเวลาอันเปนเงื่อนไขของพันธกรณีนั้นๆ แลว รายงานยังไมเปนไปตามแนวทางที่คณะกรรมการตองการทําใหเนื้อหาของรายงานยังไมสามารถครอบคลุมประเด็นปญหา และสถานการณตาง ๆ ที่คณะกรรมการตองการทราบดวย ดังปรากฏในบันทึกสรุปผลการประชุมของคณะกรรมการดานสิทธิเด็กของสหประชาชาติ สมัยที่ 19 (CRC/C/SR 491) 5 ตุลาคม 1998 ดังนั้น ในบทนี้จึงมีขอมูลที่จะนําเสนอเปน 2 หัวขอหลักที่สําคัญคือ 1. กระบวนการจัดทํารายงานของประเทศไทย ซ่ึงประมวลจากประสบการณและแนวทางที่ปฏิบัตจิริง 2. แนวทางรวมเพื่อการจัดทํารายงานของสนธิสัญญาระหวางประเทศดานสิทธิมนุษยชน และแนวทาง การจัดทําเอกสารหลัก และเอกสารโดยตรงของสนธิสัญญาเฉพาะเรื่องขององคการสหประชาชาติ 1. กระบวนการจัดทํารายงานของประเทศไทย กระบวนการจัดทํารายงานประเทศของไทยประมวลจากประสบการณ และแนวทางที่ปฏิบัติจริงอาจจัดไดเปน 3 ขั้นตอนหลัก และมีขั้นตอนพิเศษเพิ่มเติมที่นาจะไดทราบเพื่อประโยชนของคณะผูจัดทํารายงานสําหรับสนธิสัญญาฉบับอื่น ๆ ตอไปซึ่งไดแก 1) การเตรียมการจัดทํารายงาน 2) การจัดทํารายงาน 3) การรับฟงความคิดเห็นและขอเสนอแนะจากสาธารณชนเพื่อปรับปรุงรายงาน และการ นําเสนอขออนุมัติจากคณะรัฐมนตรี เพื่อนําเสนอองคการสหประชาชาติ และ ขั้นตอนพิเศษ 4) การเตรียมการนําเสนอรายงานและตอบขอซักถามดวยวาจาตอคณะกรรมการ ผูรับผิดชอบสนธิสัญญา ซ่ึงในแตละขั้นตอนมีขอมูลสําคัญที่ไดเรียนรูจากประสบการณที่ประมวลได ดังนี้

Page 42: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

40

1) ขั้นตอนการเตรียมการจัดทํารายงาน ขั้นตอนนี้เปนการดําเนินการกอนการจัดทํารางรายงาน ซ่ึงตองมีการเตรียมการในการจัดองคกรรับผิดชอบ การจัดหาผูราง/เขียนรายงาน การศึกษาแนวทางการจัดทํารายงาน การจัดหาคูงานจากองคกรสหประชาชาติเพื่อชวยใหคําแนะนําที่ถูกตอง องคกรรับผิดชอบดําเนินงานตามสนธิสัญญา โดยทั่วไปกอนลงนามเขาเปนภาคีสนธิสัญญาเรื่องหนึ่งเรื่องใด รัฐบาลไดมอบหมายหนวยงาน/องคกรภาครัฐเปนผูรับผิดชอบในลักษณะเจาของเรื่อง ศึกษาขอมูลและกระบวนการที่เกี่ยวของจนสามารถลงนามเขาเปนภาคีโดยลุลวง ซ่ึงหนวยงานนี้จะเปนผูรับผิดชอบ กระตุนติดตามการดําเนินงานใหพันธกรณีและขอตกลงตามสนธิสัญญานั้น ๆ ไดบังเกิดผลในทางปฏิบัติ การจัดทํารายงานตามเงื่อนไขของสนธิสัญญาจึงเปนภารกิจของหนวยงาน/องคกรนั้นคือตองเปนองคกรผูรับผิดชอบการจัดทํารายงานโดยตรง ซ่ึงการดําเนินการลักษณะนี้เปนแนวปฏิบัติที่ใชกันสืบเนื่องมา องคกรรับผิดชอบจัดทํารายงาน อยางไรก็ตาม กระบวนการจัดทํารายงานเปนกระบวนการที่ตองการความรวมมือและการประสานงานจากผูเกี่ยวของหลายฝายทั้งภาครัฐและเอกชน เนื่องจากผลการดําเนินการตามสนธิสัญญานั้นๆ โดยเฉพาะในเรื่องสิทธิมนุษยชน เปนการปฏิบัติงานของทุกภาคสวนในสังคม ขอมูลการปฏิบัติและผลงานดานสิทธิมนุษยชนมีอยูทั่วไปทั้งในภาครัฐและเอกชนโดยเฉพาะองคกรเอกชน (ngo) ตาง ๆ หนวยงานเจาของเรื่องไมสามารถจะประมวลไดโดยลําพังหนวยเดียว การจัดทํารายงานจึงควรดําเนินการในลักษณะเปนความรวมมือของทุกฝายโดยรวมทุกภาคสวนที่เกี่ยวของเขารวมมือกันจัดทํารายงานของประเทศ องคกรรับผิดชอบจัดทํารายงานจึงควรจะเปนองคกรในรูป คณะกรรมการหรือคณะทํางาน ซ่ึงตอไปจะเรียกวา คณะกรรมการจัดทํารายงาน ที่มีสมาชิกจากภาคสวนองคกรและกระทรวง ทบวง กรม ที่เกี่ยวของ ที่มีขอมูลความรูประสบการณมาเปนผูเขียนรายงาน และองคกรนี้ควรแตงตั้งโดยผูบริหารระดับสูงขององคกรหรือระดับชาติ แนวทางการทํางานของคณะกรรมการจัดทํารายงาน คณะกรรมการจัดทํารายงาน ตองไดการสรางความรูความเขาใจอยางชัดเจนจากหนวยงานเจาของเรื่องในทั้งในดานเนื้อหาสาระของสนธิสัญญา เงื่อนไขในการจัดทํารายงาน วัตถุประสงค เปาหมาย และคูมือ/แนวทางการจัดทํารายงานขององคการสหประชาชาติและแนวทางของคณะกรรมการสนธิสัญญานั้น ๆ (ถามี) โดยเฉพาะเอกสารแนวทางรวมฯ ซ่ึงถือเปนคูมืออยางเปนทางการขององคการสหประชาชาติที่ตองใชเปนแนวปฏิบัติเพื่อการจัดทํารายงานใหดําเนินไปตามขั้นตอนดวยความสะดวกรวดเร็ว ไดเนื้อหากระชับครบถวนโดยบรรลุเปาหมายและเสร็จสิ้นทันตามเวลาที่กําหนดไวในเงื่อนไขของสนธิสัญญา

Page 43: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

41

การจัดหาคูงาน สนธิสัญญาในรูปกติกา/อนุสัญญาบางฉบับมีการระบุถึง ทบวงการชํานัญพิเศษ และองคกรอ่ืนๆ ของสหประชาชาติที่ตองเขามีสวนรวมในดานการชวยเหลือทางเทคนิคใหกับรัฐภาคีของกติกา/อนุสัญญานั้น ๆ ซ่ึงรัฐภาคีสามารถขอคําแนะนําปรึกษาในการจัดทํารายงานได จึงควรมีการขอความรวมมือขององคกรนั้น ๆ ในลักษณะเปนคูงานในการจัดทํารายงาน ซ่ึงจะชวยใหการจัดทํารายงานเปนไปไดสะดวก รวดเร็ว และราบรื่นยิ่งขึ้น ดังตัวอยางการจัดทํารายงานของอนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็ก ซ่ึงมีองคการกองทุนเพื่อเด็กแหงสหประชาชาติ (unicef) เปนคูงานใหคําแนะนํา ชวยเหลือ ทั้งดานวิชาการและงบประมาณบางสวน อนุสัญญาวาดวยการขจัดการเลือกปฏิบัติตอสตรีฯ มีองคการกองทุนการพัฒนาเพื่อสตรีแหงสหประชาชาติ (unifem) เปนคูงาน เปนตน สําหรับองคกรของสหประชาชาติที่จะชวยเหลือทางวิชาการดานสิทธิมนุษยชนคือ คณะกรรมาธิการสิทธิมนุษยชนแหงสหประชาชาติ (OHCHR) ซ่ึงนาจะไดมอบหมายองคการระดับรองที่มีสาขาในภูมิภาคหรือระดับประเทศ ที่เกี่ยวของใกลชิดกับประเด็นของสนธิสัญญานั้น ๆ เปนผูชวยเหลือแนะนําแกรัฐภาคีอีกชั้นหนึ่ง 2) ขั้นตอนการจัดทํารายงาน เขียน/ราง ขั้นตอนนี้เปนการ ปฏิบัติการเขียนรายงาน ซ่ึงตองมีการบริหารจัดการในการจัดแบงงาน การวางเคาโครงเรื่อง การจัดหาขอมูลสถิติ ขอสารสนเทศ และขอมูลวิชาการ การกําหนดตัวผูเขียน ระยะเวลาราง/เขียน การติดตามรวมรวมผลงานเพื่อประมวลผลงานจัดทําเปนรางรายงาน โดยขั้นตอนนี้ควรตองใชวิธีการประชุมในระหวางคณะกรรมการจัดทํารายงานเปนระยะอยางสม่ําเสมอเพื่อชวยเหลือผูเขียน และติดตามความกาวหนาของงาน จนรวบรวมผลงานประมวลเปนรางรายงาน และผานการบรรณาธิกรณผลิตเปนตนฉบับแรก การบริหารการจัดทํารายงาน ในการลงมือจัดทํารางรายงาน ควรมีการวางแผนที่กําหนดภารกิจและการแบงงานภายในองคกร/คณะกรรมการจัดทํารายงาน ระหวางฝายบริหารจัดการหรือฝายเลขานุการกับฝายวิชาการ ซ่ึงโดยทั่วไป ฝายแรกจะเปนฝายอํานวยความสะดวกแกฝายหลัง ซ่ึงจะเปนผูเขียนรายงานดวยขอมูลและเนื้อหาสาระ ตามความรูความเชี่ยวชาญและประสบการณในแตละดาน ตามประเด็นของสนธิสัญญาและความสนใจของคณะกรรมการตามสนธิสัญญานั้น การกําหนดเคาโครงเรื่อง คณะจัดทํารายงาน ควรกําหนดเคาโครงเรื่องและเนื้อหาหลักของรายงานตามแนวทางที่องคการสหประชาชาติและคณะกรรมการตามสนธิสัญญาไดกําหนดขึ้นไวใหแลว (เอกสารแนวทางรวม 1 มิถุนายน 2548) โดยมีเนื้อหาของเอกสารหลักและเอกสารโดยตรงของสนธิสัญญาเฉพาะเรื่องที่เปนขอมูลของรัฐภาคีนั้น ๆ โดยตรง และระบุปญหาขอจํากัดตาง ๆ ที่เปนอุปสรรคขัดขวางการปฏิบัติตามพันธกรณีของกติกา/อนุสัญญาอยางชัดเจนตรงไปตรงมา หากมีแนวทางแกไขที่ไดดําเนินการไปแลวก็ควรนําเสนอใหทราบดวย ซ่ึงจะชวยใหไดรับคําแนะนําเพิ่มเติมที่เปนประโยชนจากคณะกรรมการตามสนธิสัญญา

Page 44: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

42

การจัดหาขอมูล สถิติ และขอสารสนเทศ การจัดหาขอมูล สถิติ และขอมูลวิชาการตาง ๆ นอกเหนือจากความรู ความเชี่ยวชาญและประสบการณของฝายวิชาการผูเขียนรายงานโดยตรง ควรดําเนินการโดยฝายเลขานุการ โดยใชระบบสารสนเทศจากเทคโนโลยีสมัยใหม ที่ควรมีการจัดเตรียมใหใชอยางครบถวนสมบูรณเพื่อการอํานวยความสะดวก และประสานรวบรวมจากหนวยงาน/องคการที่เกี่ยวของ รวมถึงงานศึกษาวิจัยตาง ๆ การกําหนดระยะเวลาทํางานและการติดตามงาน การกําหนดระยะเวลาที่ชัดเจนใหกับผูเขียนรายงานทุกคน/กลุมเปนปจจัยสําคัญที่จะชวยใหการจัดทํารายงานดําเนินไปไดตรงตามขั้นตอนและกําหนดเวลาตามเงื่อนไขของสนธิสัญญา โดยฝายเลขานุการตองติดตาม ชวยเหลือ อํานวยความสะดวกตาง ๆ อยางตอเนื่องสม่ําเสมอและติดตามงานตามระยะเวลาที่กําหนด เพื่อรวบรวมราง/ขอเขียนตาง ๆ ประมวลเปนรางรายงาน ในบางกรณี การติดตามงานอาจดําเนินการโดยการจัดประชุมคณะกรรมการจัดทํารายงานเปนระยะหรือเปนครั้งคราวเพื่อรับทราบขอมูลและความกาวหนาระหวางกัน ตลอดจนแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและขอเสนอแนะระหวางกันเพื่อชวยใหรายงานเปนไปตามแนวทาง เปาหมาย และมีคุณภาพที่ดียิ่งขึ้น การบรรณาธิกรณ การบรรณาธิกรณ ควรเปนขอตกลงรวมกันของคณะจัดทํารายงานวาจะมอบหมายบุคคลภายนอก หรือบุคคลในคณะ จะเปนบุคคลเดียวหรือเปนคณะบรรณาธิการก็ไดตามความเหมาะสมหรือขอตกลงของคณะ การผลิตตนฉบับ การผลิตตนฉบับหรือรางรายงานที่เสร็จสิ้นแลว เปนหนาที่ของฝายเลขานุการที่จะผลิตขึ้นใหตรงตามความตองการและแนวทางขององคการสหประชาชาติ ขณะเดียวกันควรผลิตรางเอกสารจํานวนหนึ่งสําหรับใชในการจัดประชุมเพื่อรับฟงความคิดเห็นจากสาธารณชนดวย 3) ขั้นตอนการรับฟงความคิดเห็นและขอเสนอแนะจากสาธารณชนและเว็บไซตท่ีเก่ียวของ ขั้นตอนนี้เปนการสรางความสมบูรณของรายงานดวยกระบวนการมีสวนรวมของทุกฝายพรอมกับการแสดงความโปรงใสของกระบวนการจัดทําและเนื้อหาของรายงาน ซ่ึงสามารถดําเนินการไดอยางหลากหลายรูปแบบ แตตองคํานึงถึงการมีสวนรวมอยางกวางขวางและครบถวนจากทุกภาคสวนและทุกกลุมในสังคม และความคิดเห็นตาง ๆ ตองไดรับการรับฟง ประมวลรวบรวมนําไปใชปรับปรุงเพิ่มเติมในรายงาน วัตถุประสงค/ความมุงหมาย การรับฟงความคิดเห็นและขอเสนอแนะจากสาธารณชนเปนขั้นตอนตามกระบวนการมีสวนรวมของทุกฝายที่จะไดรับทราบและแสดงความคิดเห็นตอรายงาน พรอมกับเปนการแสดงความโปรงใสของรายงานซึ่งตองเขียนขึ้นตามขอมูลความจริง ดวยความตรงไปตรงมาที่สามารถเปดใหวิพากษไดอยางเสรีจากสาธารณชน

Page 45: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

43

รูปแบบการรับฟงความคิดเห็น รูปแบบการรับฟงความคิดเห็นสามารถจัดไดหลากหลาย เชน การสงรายงานใหอานและขอรับขอวิพากษและเสนอแนะจากผูอาน การจัดประชุม สัมมนา การแถลงขาว รวมทั้งการเสนอรายงานผานสื่อทุกรูปแบบไปยังสาธารณชนเพื่อรวบรวมขอคิดเห็น การดําเนินการสามารถทําไดทั้งในลักษณะการตั้งรับและการรุก โดยจัดประชุมใหญ ณ สถานที่แหงใดแหงหนึ่ง หรือการเดินทางลงสูพื้นที่และกลุมผูเกี่ยวของทุกฝายในลักษณะเปนกลุมยอย ๆ ในแตละพื้นที่ตามสภาพภูมิศาสตร เว็บไซตตาง ๆ (website) นอกจากนี้มีขอมูลซ่ึงคณะกรรมการตามสนธิสัญญาใชมากในการสดับตรับฟงสถานการณของแตละประเทศ และหยิบยกมาเปนคําถามตอคณะผูแทนที่เดินทางไปชี้แจงดวยวาจาคือ เว็บไซตตาง ๆ ซ่ึงมีขอมูลทั้งที่ เปนขอเท็จจริง ความคิดเห็นทั้งสอดคลองและเปนปฏิปกษ ซ่ึงคณะผูจัดทํารายงานตองตรวจสอบศึกษาและหาขอมูลเพิ่มเติม เพื่อจัดทําคําชี้แจงเตรียมไวตอบตอคณะกรรมการเมื่อถูกสอบถาม เสมือนเปนการซักซอมการชี้แจงดวยวาจาตอคณะกรรมการ รายชื่อเว็บไซตที่เกี่ยวของไดรวบรวมไวเปนภาคผนวกที่ 6 กลุมเปาหมาย การรับฟงความคิดเห็นทุกรูปแบบ ตองเปดโอกาสสําหรับการมีสวนรวมของทุกฝายทุกภาคสวนในสังคม ทั้งภาครัฐและเอกชนและประชาชน ทุกระดับ ทั้งสวนกลาง สวนภูมิภาค และสวนทองถ่ิน ทุกกลุมทั้งประชาชนทั่วไปและประชากรกลุมพิเศษที่เกี่ยวของ หรือเปนกลุมเปาหมายโดยตรงของสนธิสัญญานั้น ๆ เชน อนุสัญญาเกี่ยวกับสิทธิเด็ก หรือ สิทธิสตรี ควรไดรับฟงความคิดเห็นจากเด็ก หรือ กลุมสตรีโดยตรง ทั้งนี้ควรครอบคลุมทั้งกลุมบุคคลและกลุมองคกร ตลอดจนเครือขายและประชาคมตาง ๆ อยางครบถวน การประมวลขอคิดเห็นเพื่อปรับปรุงรายงาน การประมวลขอวิพากษ ขอคิดเห็น และขอเสนอแนะจากสาธารณชน จําเปนตองรวบรวมใหครบถวนทุกประเด็นทั้งดานวิชาการและดานการบริหารจัดการ ทั้งจากกลุมและจากปจเจกบุคคล จากทุกพื้นที่ ทุกสาขาอาชีพ และทุกเครือขาย ตลอดจนจากสื่อทุกสาขา ฯลฯ ขอคิดเห็น ขอสังเกต และขอเสนอแนะจากสาธารณชนทุกประเด็นมีคุณคาเพราะจะเปนชองทางใหไดรับแนวคิด เจตคติ และมุมมองที่รอบดาน ชวยใหสามารถปรับปรุงรายงานไดสมบูรณยิ่งขึ้น ขอคิดเห็นและขอเสนอแนะจะเปนประโยชนอยางยิ่งตอการตอบขอซักถามของคณะกรรมการผูรับผิดชอบสนธิสัญญา เสมือนเปนการซักซอมการตอบขอช้ีแจงดวยวาจาไวลวงหนา การปรับปรุงรายงานเปนขั้นตอนสุดทายของการจัดทํารายงาน ที่จะทําใหรายงานสําเร็จอยางครบถวนสมบูรณ ทั้งดานกระบวนการและดานเนื้อหาของรายงาน ขอคิดเห็นและขอเสนอแนะจากการรับฟงความคิดเห็นและขอเสนอแนะจากสาธารณชนที่ประมวลอยางครบถวน ที่ใชแกไขหรือเพิ่มเติมเขาในรายงานอยางเหมาะสม ตรงตามหัวขอและเนื้อหาจะชวยทําใหรายงานมีคุณคาอยางสูง

Page 46: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

44

การรับรองรายงานในระดับชาติเพื่อนําเสนอตอองคการสหประชาชาติ รายงานที่ผานกระบวนการจัดทําทั้ง 3 ขั้นตอนครบถวนแลวจะตองนําเสนอตนสังกัดของหนวยงานเจาของเรื่อง เพื่อใหความเห็นชอบและนําเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อทราบ รับรองและอนุมัติใหเปนรายงานประเทศตามสนธิสัญญาดานสิทธิมนุษยชนนั้น ๆ ที่ประเทศไทยเปนภาคี ซ่ึงตอจากนั้นจะเปนการนําสงผานกระทรวงการตางประเทศ ดําเนินการตามกระบวนการเสนอรายงานตอสหประชาชาติตามขอกําหนดของสนธิสัญญาแตละฉบับตอไป 4) ขั้นตอนพิเศษ การเตรียมการนําเสนอรายงานและตอบขอซักถามดวยวาจาตอคณะกรรมการผูรับผิดชอบ สนธิสัญญา ขั้นตอนนี้เปนขั้นตอนพิเศษที่นําเสนอเพิ่มเติม เพื่อประโยชนของประเทศไทยและคณะ ผูช้ีแจง ในการชี้แจงดวยวาจาประกอบรายงานเอกสารที่ไดเสนอตอคณะกรรมการผูรับผิดชอบสนธิสัญญานั้นไปแลว เพราะหากมีการเตรียมการที่ดี การชี้แจงจะสามารถกระทําไดอยางมั่นคง ผูช้ีแจงแตละคนสามารถตอบคําถามของคณะกรรมการไดอยางชัดเจน ไดใจความ มีเนื้อหาสาระทั้งทางวิชาการและขอมูลความจริง มีคําตอบที่ตรงประเด็นและตรงไปตรงมาเพื่อแสดงความโปรงใสของการจัดทํารายงาน และการปฏิบัติตามหลักการสิทธิมนุษยชนของประเทศ อันเปนการแสดงศักดิ์ศรีและเกียรติภูมิของชาติตอประชาคมโลก เพราะการซักถามและคําตอบชี้แจงตาง ๆ จะออกเผยแพรในเว็บไซตขององคการสหประชาชาติทางอินเตอรเน็ตไปทั่วโลก โดยระบุทั้งชื่อกรรมการผูซักถามและชื่อผูแทนประเทศผูตอบคําถามนั้น ๆ ดวย วัตถุประสงค/ความมุงหมาย เพื่อเตรียมความพรอมของคณะผ ู ช้ีแจงใหสามารถทําหนาที่ไดอยางมั่นใจ พรอมดวยเนื้อหาขอมูลและขอเท็จจริงที่จะใชตอบคําถามไดอยางถูกตองชัดเจน เชื่อถือได และมีศักดิ์ศรี องคคณะผูช้ีแจง องคประกอบ - องคคณะผูช้ีแจงหรือคณะผูแทนไทยในการชี้แจงตอบขอซักถามดวยวาจาตอคณะกรรมการผูรับผิดชอบสนธิสัญญาดานสิทธิมนุษยชน ควรมีองคประกอบที่มาจากผูแทนของหนวยงานภาครัฐที่เกี่ยวของกับการปฏิบัติงานดานสิทธิมนุษยชนทั้งภารกิจตามหลักการพื้นฐานของหลักสิทธิมนุษยชนและหนวยงานที่เกี่ยวของกับภารกิจโดยตรงในเรื่องสิทธิมนุษยชนตามประเด็น/หัวขอของสนธิสัญญาฉบับนั้นๆ ในองคประกอบของคณะผูช้ีแจงบางคณะอาจมี กลุมเปาหมายหรือกลุมผูไดรับผลกระทบโดยตรงตามสนธิสัญญานั้น ๆ รวมอยูดวยได เชน ในคณะผูแทนไทยที่ไปตอบขอซักถามของคณะกรรมการสิทธิเด็กแหงสหประชาชาติ (CRC) มีผูแทนเด็กทั้งหญิงชายรวมอยูดวย คณะผูแทนไทยทีไ่ปช้ีแจงตออนุสัญญาวาดวยการขจัดการเลือกปฏิบัติตอสตรี (CEDAW) อาจมีผูแทนกลุมสตรีที่มาจากพื้นฐานชุมชนเมืองหรือชนบท หรือคณะผูช้ีแจงตออนุสัญญาวาดวยการขจัดการเลือกปฏิบัติดานเชื้อชาติ (ICERD) อาจมีผูแทนจากชนเผา หรือกลุมชาติพันธุรวมอยูในองคประกอบคณะผูแทนไทยดวย เปนตน

Page 47: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

45

จํานวนผูแทน ไมมีการกําหนดตายตัว แตควรมีจํานวนผูแทนที่ครอบคลุมทุกสาขางานที่ตองชี้แจง มีจํานวนเทาที่จําเปน และมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ยังมีคณะทูตถาวรของประเทศไทยประจําสหประชาชาติ ซ่ึงมีสํานักงานประจําอยู ณ สถานที่ช้ีแจง โดยมีเอกอัครราชทูตถาวรประจําสหประชาชาติ ซ่ึงจะเขารวมในคณะผูแทนไทย/ผูช้ีแจงดวย คณะทูตถาวรจะใหความชวยเหลือดานความสะดวกตาง ๆ เชน ยานพาหนะ เครื่องมือส่ือสาร ส่ิงอํานวยความสะดวกอื่น ๆ ตลอดจนมีบุคลากรที่มีศักยภาพในการชวยช้ีแจง ทําหนาที่ลาม ชวยดูแลกลุมพิเศษที่อยูในคณะผูแทน ตลอดจนเขารวมรับฟงและจัดทําสรุปผลการประชุมขั้นตนในมุมมองของประเทศไทย แจงกลับมาใหรัฐบาล และหนวยงานเจาของเรื่องไดทราบดวย ภารกิจ - องคประกอบภายในของคณะผูแทนไทยควรประกอบดวยผูรับผิดชอบ ดังนี้ - หัวหนาคณะ ทําหนาที่รับผิดชอบ กํากับ ดูแลการปฏิบัติหนาที่ของคณะผูแทนใหเปนไปดวยความเรียบรอย จัดแบงหนาที่ในการตอบคําถามของคณะผูแทนแตละคน เปนผูกลาวคํากลาวนําของคําชี้แจงที่ใหขอมูลพื้นฐานทั่วไป แนะนําผูรวมคณะกอนการเขาสูการถาม-ตอบในการชี้แจง โดยทั่วไปถามีหัวหนาคณะที่เปนขาราชการหรือผูทรงคุณวุฒิระดับสูง ในระดับรัฐมนตรีหรือเทียบเทา จะสรางความรูสึกที่ดีใหกับคณะกรรมการผูซักถามมาก เพราะเปนการใหเกียรติตอคณะกรรมการและจะสรางความนาเชื่อถือใหกับคณะผูแทน อันจะสงผลใหเกิดบรรยากาศในการซักถามและชี้แจงที่เปนมิตร ใหเกียรติซ่ึงกันและกัน อันจะชวยใหการชี้แจงเปนไปดวยความราบรื่นเรียบรอย - คณะผูแทน ทําหนาที่ชวยหัวหนาคณะในการตอบคําถามของคณะกรรมการในประเด็นที่เปนภารกิจโดยตรงในการปฏิบัติงานหรือประเด็นที่เปนความรู ความชํานาญ/ประสบการณ คณะผูแทนควรเปนผูแทนจากหนวยงานตาง ๆ ที่เกี่ยวของซึ่งครอบคลุมผูบริหาร ผูเชี่ยวชาญ ผูทํางาน/ผูมีประสบการณ ในหัวขอ/ประเด็นของสนธิสัญญาฉบับนั้น ในปจจุบันมีองคกรอิสระตามรัฐธรรมนูญที่รับผิดชอบงานสิทธิมนุษยชนโดยตรงคือคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ซ่ึงนาสนใจวาจะมีบทบาทในเรื่องนี้อยางไรดวย - ผูแทนจากกลุมผูไดรับผลกระทบโดยตรงจากสนธิสัญญา จะทําหนาที่ตอบคําถามในรายละเอียดเฉพาะเรื่องที่ไดรับผลกระทบนั้นๆ โดยตรง ซ่ึงหากมีควรเปนผูแทนที่มีความรูและประสบการณตรงที่เกี่ยวของกับประเด็นของสนธิสัญญาและตองสามารถตอบคําถามไดโดยเสรีและเปนตัวของตัวเอง - เลขานุการคณะ ควรมาจากหนวยงานเจาของเรื่องหรือตนสังกัด มีหนาที่นัดหมาย จัดประชุมคณะผูแทนเพื่อช้ีแจงภารกิจรับผิดชอบ ดูแลเตรียมการทุกเรื่อง ไดแก จัดเตรียมขอมูลและเอกสาร ติดตอประสานงานและอํานวยความสะดวกทั่วไป รวมถึงการเดินทางของคณะผูแทนทุกคน จํานวนเลขานุการอาจมีมากกวา 1 คน เพื่อแบงหนาที่ดูแลดานวิชาการและดานบริหารจัดการ คุณสมบัติ - คณะผูช้ีแจงทุกคนควรมีความรูความชํานาญและมีประสบการณอยางลึกซึ้ง กวางขวางในเรื่องที่ตองรับผิดชอบตอบคําถาม สวนใหญจึงเปนผูบริหารระดับผูอํานวยการสํานัก/กองหรือรองอธิบดีขึ้นไป นอกจากนี้คณะผูแทนทุกคนรวมถึงฝายเลขานุการ ยกเวนผูแทนจากกลุมพิเศษผูไดรับผลกระทบโดยตรงของสนธิสัญญา จําเปนตองมีความสามารถดานภาษา (อังกฤษหรือภาษาอื่นที่ใชในองคการ

Page 48: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

46

สหประชาชาติ คือ อราบิค จีน ฝร่ังเศส รัสเซีย สเปน) เพื่อสามารถสื่อสารกับคณะกรรมการและตอบคําถามโดยเฉพาะสวนใหญเปนภาษาอังกฤษไดอยางคลองแคลว สามารถอธิบายขอมูลตาง ๆ ไดอยางชัดเจนดวยความมั่นใจในการเจรจาโตตอบ การมอบหมายภารกิจ - คณะผูช้ีแจงในฐานะผูแทนไทยซึ่งไดรับการทาบทามจากหนวยงานเจาของเร่ืองและตอบรับแลว ตองไดรับการแตงตั้งโดยรัฐบาลไทยโดยการอนุมัติของคณะรัฐมนตรีหรือแตงตั้งโดยนายกรัฐมนตรี เพราะเปนการปฏิบัติงานในฐานะผูแทนประเทศ การซักซอมความเขาใจและเตรียมประเด็นคําถาม/คําตอบ การซักซอมความเขาใจ - ตองกระทําโดยรวดเร็วและอาจจําเปนตองกระทําอยางไมเปนทางการไปกอนในระหวางรอคําสั่งแตงตั้ง หัวหนาคณะผูแทนหรือผูบริหารสูงสุดของหนวยงานเจาของเร่ืองจําเปนตองนัดประชุมคณะผูแทนทั้งคณะเพื่อทําความเขาใจเบื้องตนเกี่ยวกับความเปนมาของเรื่อง เหตุผลความจําเปนของภารกิจ สาระสําคัญของสนธิสัญญาที่ตองเสนอรายงาน เนื้อหาของรายงาน บทบาทหนาที่ของผูแทนหนวยงานผูรวมคณะผูช้ีแจงแตละคนที่จะตองปฏิบัติในภารกิจครั้งนี้ การประชุมอาจจําเปนตองมีมากกวา 1 คร้ัง เพื่อตระเตรียมขอมูลและซักซอมความเขาใจในบทบาทหนาที่และการนัดหมายเตรียมตัวตาง ๆ ใหพรอม ประเด็นคําถาม - สนธิสัญญาที่มีแนวทางกําหนดเนื้อหารูปแบบไวแลว จะชวยใหคณะผูช้ีแจงเตรียมตัวไดงายขึ้นโดยการศึกษาประเด็นคําถามของคณะกรรมการตามแนวทางและจัดหาขอมูลรายละเอียดเพิ่มเติมในทางลึก อยางไรก็ตาม คณะกรรมการจะใหความสนใจตอสถานการณปจจุบันของประเทศผูช้ีแจง ซ่ึงอาจเปนเหตุการณจากภัยธรรมชาติ ระบบเศรษฐกิจหรือสถานการณความไมสงบในประเทศนั้น ๆ ซ่ึงจะมีผลกระทบตอการละเมิดสิทธิ การคุมครองสิทธิ หรือสวัสดิภาพความเปนอยูและคุณภาพชีวิตขั้นพื้นฐาน ตลอดจน ขวัญกําลังใจของประชาชนและเจาหนาที่ คณะผูช้ีแจงควรเตรียมขอมูลรายละเอียดในเรื่องสถานการณปจจุบันไวเพื่อการตอบคําถามดวยขอมูลที่เพียงพอ ชัดเจน เปนความจริง ซ่ึงหากมีความผิดพลาดที่เกิดจากการบริหารจัดการกับสถานการณนั้น ๆ ก็ควรชี้แจงอยางตรงไปตรงมาพรอมแสดงแนวทางแกไขที่ฝายรัฐไดดําเนินการเพื่อใหสถานการณดีขึ้น คําถามหลักโดยทั่วไปของคณะกรรมการ ไดแก ประเด็นเกี่ยวกับเรื่องตางๆ ดังตอไปนี้ เชน - กระบวนการจัดทํารายงาน ซ่ึงคณะกรรมการใหความสําคัญเทาเทียมกับตัวรายงาน - สาเหตุของความลาชา (ในกรณีสงรายงานลาชา) - ขอสงวนที่มีตอรายงานและแผนงานในการถอนขอสงวนเหลานั้น - ปญหาที่เปนผลกระทบจากขอสงวน เชน ปญหาการสมรส และความสัมพันธในครอบครัว ปญหาสถานะของบุคคล ปญหาผูล้ีภัย ปญหาสถานการณชายแดน ผูอพยพ แรงงานอพยพ ฯลฯ - การใหความสนใจตอการคุมครองสิทธิดวยโครงการกิจกรรมที่ไดรับการจัดสรรงบประมาณที่ ชัดเจนตอเร่ืองนี้

Page 49: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

47

สวนคําถามอื่น ๆ อาจเปนคําถามเกี่ยวกับขอมูลในรายงาน ในประเด็นที่เปนความรับผิดชอบหรือความสนใจของกรรมการแตละคน เชน - การกระจายอํานาจและบทบาทขององคกรสวนทองถ่ินตอเร่ืองสิทธิมนุษยชน - ระบบขอมูลและตัวช้ีวัด - การประเมินสถานการณดานสิทธิมนุษยชนในประเทศ - ความรวมมือระหวางภาครัฐและภาคเอกชนโดยเฉพาะ ngo ในการทํางานเรื่องสิทธิมนุษยชน - สถานการณการคุมครองกลุมพิเศษตาง ๆ - ปญหายาเสพติด - ปญหาการคามนุษย การจัดเตรียมขอมูลและเอกสาร - เปนภารกิจของฝายเลขานุการที่จะตองจัดเตรียมขอมูลและเอกสารอยางครบถวน ขอมูลที่ควรจัดเตรียม ไดแก ขอมูลเกี่ยวกับการดําเนินงานคุมครองและสงเสริมสิทธิมนุษยชนที่สําหรับใชโดยคณะผูช้ีแจงเอง เชน ขอมูลเกี่ยวกับ - งบประมาณที่จัดสรรใหแกการดําเนินงานที่ในอัตราสวนเทียบกับงบประมาณของประเทศ - ระบบการเมืองการปกครอง รัฐธรรมนูญกฎหมาย นโยบายเดน ๆ ของชาติ - การกระจายอํานาจและบทบาทขององคการปกครองสวนทองถ่ิน - แผนงานดานสิทธิมนุษยชน - แผนงานดานการปรับกฎหมายและสวัสดิการตาง ๆ เพื่อรองรับสิทธิมนุษยชน - องคกรรับผิดชอบโดยตรงในเรื่องสิทธิมนุษยชน - กลุมเปาหมายเพื่อการคุมครองตามสนธิสัญญาตาง ๆ - บริการและสวัสดิการของรัฐที่มีตอสิทธิพื้นฐานและคุณภาพชวีิตของประชาชน เชน ขอมูลดาน สาธารณสุข การศึกษา กระบวนการยุติธรรม แรงงาน สวัสดิภาพ/สวัสดิการ นันทนาการ - บทบาท/ผลกระทบของสื่อตอประชาชนและตอสิทธิตาง ๆ - สถานการณวิกฤตหรือสถานการณฉุกเฉิน และการแกปญหา - แผน แนวทางแกปญหาของกลุมผูถูกละเมิดสิทธิหรือดวยโอกาสตาง ๆ - การเตรียมการและแนวทาง ขั้นตอนในการถอนขอสงวน - แนวทางการสงเสริมการมีสวนรวมของประชาสังคมตอกิจกรรมตาง ๆ ในชุมชน/สังคม เอกสารที่ควรจัดเตรียม ควรประกอบดวยเอกสารเพื่อ 3 วัตถุประสงคคือ เอกสารเพื่อการชี้แจง เอกสารเพื่อการเผยแพรและเอกสารเพื่อการสาธิต - เอกสารเพื่อการชี้แจง เปนเอกสารที่จัดเตรียมเพื่อการใชงานและอางอิงของคณะผูช้ีแจง เชน รัฐธรรมนูญ กฎหมายหลกัทั้งกฎหมายอาญาและกฎหมายแพง กฎหมายที่เกี่ยวของกับ สนธิสัญญานั้น ๆ กฎหมายใหมที่ออกบังคับใชเพื่อสนองตอบตอการคุมครองสิทธิดานนั้น (ถามี) แผนงาน โครงการ/กิจกรรม เพื่อตอบสนองตอสถานการณ ปญหา หรือวิกฤตการณของ

Page 50: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

48

ประเทศในชวงเวลานัน้ ๆ ฯลฯ

- เอกสารเพื่อการเผยแพร ที่สามารถจัดนําไปแจกประกอบในที่ประชุมได ซ่ึงตองเปนเอกสาร ภาษาอังกฤษ เชน โครงการพัฒนาตาง ๆ ที่นาสนใจ ตลอดจนแผนงาน โครงการที่เกี่ยวของ เชน แผนพัฒนาสตรี ครอบครัว เด็กและเยาวชน แผนยุทธศาสตรการแกปญหาสถานะบุคคล ฯลฯ และ เอกสารเกี่ยวกับการแนะนําประเทศ วัฒนธรรม การทองเที่ยว - เอกสารเพื่อการสาธิต ซ่ึงอาจมีจํานวนไมมากแตใชนาํเสนอใหคณะกรรมการไดเขาใจและเห็น ภาพการสงเสริมและเผยแพรงานดานสิทธิมนุษยชนของประเทศ เชน เอกสารสนธิสัญญา ที่จัดทําในรูปแบบตาง ๆ ทั้งหนังสือการตูนหรือเอกสารเปนภาษาถิ่นหรืออักษรเบรลล สําหรับ คนตาบอด รวมทั้งแถบเสียง ซีดีรอม ฯลฯ การเตรียมการสื่อสาร/ประสานงานระหวางคณะผูช้ีแจง ณ ที่ทําการสหประชาชาติกับคณะเจาหนาที่ของหนวยงาน ณ ประเทศไทย เปนความจําเปนอีกประการหนึ่งที่ตองเตรียมระบบการสื่อสารที่รวดเร็วฉับไวในการสงขอมูลจําเปนเรงดวนที่คณะผูช้ีแจงตองใชตอบคําถามในทันที ชองทางสื่อสารสามารถใชเทคโนโลยีที่กาวหนาตาง ๆ ได เชน โทรศัพท โทรสาร จดหมายอิเล็คทรอนิคส โดยทั้งนี้ตองมีการมอบหมายคณะผูรับผิดชอบที่พรอมรับการสื่อสารและจัดหาขอมูลอยู ณ สํานักงานที่ตั้งในประเทศไทยดวย การเตรียมการที่ดีเพื่อการตอบขอซักถาม จะชวยลดปญหาความขัดของตางๆ ของคณะ ผูช้ีแจงและเปนปจจัยสงเสริมสมาธิและความมั่นใจในการชี้แจงไดอยางดียิ่ง คําถามเพิ่มเติมตอรายงาน และสรุปขอสังเกต/ขอเสนอแนะของคณะกรรมการตามสนธิสัญญา มีภารกิจสําคัญในการจัดทํารายงานที่รัฐภาคีจะละเลยมิไดอีก 2 ประการ คือ คําถามเพิ่มเติมตอรายงานจากคณะกรรมการ ซ่ึงจะสงมายังรัฐผูรายงาน หลังจากคณะกรรมการตามสนธิสัญญาไดอานเอกสารรายงานแลว คําถามเหลานี้หากสงรายงานลาชาและมีเหตุการณ/สถานการณสําคัญเกิดขึ้นในประเทศในระหวางนั้น เชน ภาวะวิกฤต วิกฤตเศรษฐกิจ คล่ืนยักษ สึนามิ ฯลฯ อาจมีจํานวนคาํถามมากและมีความสําคัญมากที่ตองตอบอยางละเอียดชัดเจน เปนรายงานฉบับยอยเพิ่มเติมดังตัวอยาง คําถามตออนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็ก ซ่ึงมีคําถามกอนการชี้แจง 37 ขอ ซ่ึงตองจัดทําคําตอบไปใหในการชี้แจงดวยวาจา นอกจากนี้มีคําถามในระหวางการชี้แจง 29 ขอ ซ่ึงตองกลับมาจัดทําคําตอบสงไปใหอยางเรงดวน สรุปขอสังเกต/ขอเสนอแนะ/ขอกังวล ของคณะกรรมการซึ่งไดเสนอใหรัฐผูรายงานนํากลับมาปรับปรุงแกไขหรือพัฒนาใหเกิดมาตรการกลไกเพื่อปรับปรุงสถานการณเร่ืองนั้น ๆ เชน อนุสัญญาสิทธิเด็ก มีสรุป 26 ขอ ซ่ึงประเทศไทยตองนํามาผลักดันใหเกิดความกาวหนาในเรื่อง การถอนขอสงวน จัดกลไกรับ การรองเรียนจากเด็ก การแกไขการลงโทษทางกาย (การเฆี่ยนตี) เปนตน สรุปขอสังเกตทั้งหมดนี้ จะตอง

Page 51: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

49

เสนอความกาวหนาไวในรายงานฉบับตอไปในสวนแรกเพื่อใหคณะกรรมการไดรับทราบกอนเสนอรายงานในเรื่องความกาวหนาเรื่องอื่น ๆ ขอควรปฏิบัติที่สําคัญอีกประการหนึ่งคือ ขอมูลที่ไดเสนอไวในรายงานฉบับแรกหรือฉบับตอมาแลว ไมตองนํามาเสนอซ้ําอีกในรายงานฉบับตอ ๆ ไป ยกเวนมีความเปลี่ยนแปลงหรือความกาวหนาอยางสําคัญยิ่งในเรื่องนั้น ๆ

2. แนวทางรวมเพื่อการจัดทํารายงานของสนธิสัญญาระหวางประเทศ ดานสิทธิมนุษยชน และแนวทางการจัดทําเอกสารหลักและเอกสารโดยตรงของสนธิสัญญาเฉพาะเรื่อง

ปญหาที่ประเทศไทยตองประสบในระยะตนของการจัดทํารายงานประเทศ เปนปญหาที่รัฐภาคีแทบทุกประเทศตองประสบเหมือน ๆ กัน รายงานของแตละประเทศตางก็มีรูปแบบ เนื้อหา และวิธีการจัดทําที่ผิดแปลกแตกตางกันอยางหลากหลาย สรางความยุงยากใหกับคณะกรรมการแตละคณะ ในการทําความเขาใจ และการติดตามผลการดําเนินงานของแตละประเทศตามพันธกรณีนั้น ๆ คณะกรรมการของแตละสนธิสัญญาตางก็ตระหนักในปญหานี้ จึงไดเรงรีบหาทางแกไขในเบื้องตน โดยไดมีการประชุมรวมกันระหวางคณะกรรมการตาง ๆ ในรูปนานาคณะกรรมการ (inter committee meeting) และการประชุมประธานของคณะกรรมการชุดตาง ๆ ซ่ึงกลุมหลังนี้มีการประชุมกันบอยครั้งกวา ตอมาบางคณะกรรมการไดจัดทําแนวแนะหรือประเด็นขอคําถามขึ้นเปนแนวทางเพื่อชวยใหรายงานดําเนินเขาสูเปาหมาย ตอบปญหาที่คณะกรรมการตองการทราบไดชัดเจน เปนรูปธรรมขึ้น ดังตัวอยางคณะกรรมการสิทธิเด็กแหงสหประชาชาติไดจัดทําเอกสาร แนวทางในการจัดทําเนื้อหาและรูปแบบของรายงานตามขอกําหนดของอนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็ก (General Guidelines Regarding the Forms and Contents of Periodic Reports to be submitted by States Parties under article 44 Paragraph 1 (b) , of the Convention ) ขึ้นเปนกรอบแนวทางในการจัดทํารายงานของรัฐภาคี โดยเอกสารนี้คณะกรรมการไดเห็นชอบและรับรองในการประชุมครั้งที่ 343 เมื่อ 11 ตุลาคม 2539 และออกเผยแพรเมื่อ 20 พฤศจิกายน 2539 ซ่ึงเปนระยะเวลาภายหลังที่ประเทศไทยไดสงรายงานฉบับแรกไปแลวเมื่อเดือนสิงหาคมปเดียวกัน อนุสัญญา วาดวยการขจัดการเลือกปฏิบัติตอสตรีในทุกรูปแบบ ไดจัดทําเอกสาร การประเมินสถานภาพสตรี 2543 (Accessing the Status of Women 2000) ขึ้นเปนกรอบแนวทาง สําหรับกติกาฯ วาดวยสิทธิของพลเมืองและสิทธิทางการเมือง ไมปรากฏคูมือในลักษณะนี้สําหรับเปนแนวทางใหจัดทํารายงาน จากผลของการประชุมครั้งที่ 4 ของนานาคณะกรรมการ (inter committee meeting) และการประชุมครั้งที่ 17 ของประธานคณะกรรมการผูรับผิดชอบของสนธิสัญญาดานสิทธิมนุษยชนชุดตาง ๆ (20-22 และ 23-24 มิถุนายน 2548 ตามลําดับ) ไดมีการออกเอกสาร แนวทางรวมเพื่อการจัดทํารายงานของสนธิสัญญาระหวางประเทศดานสิทธิมนุษยชน และแนวทางการจัดทําเอกสารหลักและเอกสารโดยตรงของสนธิสัญญาเฉพาะเรื่อง (Harmonized guidelines on reporting under the international human rights treaties,

Page 52: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

50

including guidelines on a common core document and treaty specific Targeted documents) ขึ้นเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน 2548 เพื่อใชเปนคูมือกําหนดแนวทางการจัดทํารายงานของประเทศตาง ๆ ใหเปนไปอยางมีเปาหมาย มีทิศทาง และประมวลเนื้อหาสาระไดครบถวนสมบูรณขึ้นกวาเดิม สมตามความตองการของทั้งองคการสหประชาชาติและรัฐภาคีทั้งปวง เอกสารนี้ไดจัดทําขึ้นโดยฝายเลขานุการการประชุม เมื่อวันที่ 1 มิถุนายน 2548 ตามผลของการประชุมครั้งที่ 3 ของนานาคณะกรรมการ (inter committee meeting) และการประชุมครั้งที่ 16 ของประธานองคการตามสนธิสัญญา และไดมีการแกไขปรับปรุงตามขอแนะนําขององคกรตามสนธิสัญญา รัฐภาคีและองคกรตาง ๆ ของสหประชาชาติที่รวมถึงองคกรกองทุนและโครงการตาง ๆ ตลอดจนองคกรภาคเอกชน เพื่อนําเสนอตอการประชุมครั้งที่ 4 ของนานาคณะกรรมการและการประชุมครั้งที่ 17 ของประธานองคกรตามสนธิสัญญา เมื่อวันที่ 20-22 มิถุนายน และ 23-24 มิถุนายน 2548

แนวทางรวมเพื่อการจัดทํารายงานของสนธิสัญญาระหวางประเทศดานสิทธิมนุษยชน และแนวทางการจัดทําเอกสารหลักและเอกสารโดยตรงของสนธิสัญญาเฉพาะเรื่อง ในชั้นนี้ไดนําเสนอ แนวทางเสนอแนะวาดวยกระบวนการจัดทํารายงานเพื่อเสนอตอองคกรกํากับติดตามสนธิสัญญาระหวางประเทศดานสิทธิมนุษยชนขององคการสหประชาชาติ ซ่ึงมีสาระสําคัญสรุปไดดังนี้ แนวทางเสนอแนะฯ ประกอบดวยเนื้อหาหลัก 3 สวน คือ 1. ขอแนะนําเพื่อการเตรียมการสําหรับกระบวนการจัดทํารายงาน 2. ขอแนะนําเกี่ยวกับรูปแบบของรายงาน 3. ขอแนะนําเกี่ยวกับเนื้อหาของรายงาน ซ่ึงประกอบดวยเอกสารหลักและเอกสารโดยตรงของ สนธิสัญญา รวมทั้งมีภาคผนวกซึ่งชวยใหขอมูลรายละเอียดเพิ่มเติมสําหรับเนื้อหาบางสวน ซ่ึงจําเปนตองขยายความเขาใจ ไดแก ภาระหนาที่ในการจัดทํารายงาน อนุสัญญาระหวางประเทศที่เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนทั้ งฉบับหลักและฉบับที่มีสวนเกี่ยวของ ตัว ช้ีวัดดานสิทธิมนุษยชนรายงานการประชุมสัมมนาระดับโลกและเปาหมายการพัฒนาสําหรับสหัสวรรษซึ่งมเีนื้อหาเกี่ยวกับเรื่อง สิทธิมนุษยชน สาระสําคัญของเอกสารแนวทางเสนอแนะมีหัวขอหลักคือ

ความมุงหมายของแนวทาง 1. ขอแนะนําเพื่อการเตรียมการสําหรับกระบวนการจัดทํารายงาน ความมุงหมายของการรายงาน การเก็บรวบรวมขอมูลและการรางรายงาน ระยะเวลาในการเสนอรายงาน

Page 53: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

51

2. ขอแนะนําเกี่ยวกับรูปแบบของรายงาน 3. ขอแนะนําเกี่ยวกับเนื้อหาของรายงาน สวนแรกของรายงาน เอกสารหลัก (common core document) 3.1 ขอมูลทั่วไปและขอมูลสถิติของรัฐภาคีผูเสนอรายงาน

ก. ประชากร เศรษฐกิจ สังคมและลักษณะทางวัฒนธรรม ข. รัฐธรรมนูญ ระบบการเมืองและโครงสรางทางกฎหมาย

3.2 กรอบแนวทางพื้นฐานเพื่อการคุมครองและการสงเสริมสิทธิมนุษยชน ค. การยอมรับ แนวทางระหวางประเทศดานสิทธิมนุษยชน

ง. กรอบกฎหมายพื้นฐานภายในเพื่อการคุมครองสิทธิมนุษยชน ระดับชาติ จ. กรอบแนวทางภายในเพื่อสงเสริมสิทธิมนุษยชนในระดับชาติ ฉ. บทบาทของกระบวนการจัดทํารายงานในการสงเสริมสิทธิมนุษยชน ระดับชาติ ช. ขอมูลอ่ืน ๆ เกี่ยวกับเรื่องสิทธิมนุษยชน 3.3 การปฏิบัติตามขอบัญญัติของหลักสิทธิมนุษยชนพื้นฐานตามหลักการรวมของ สนธิสัญญาตาง ๆ ซ. หลักการไมเลือกปฏิบัติและความเสมอภาค สวนที่สองของรายงาน เอกสารโดยตรงของสนธิสัญญา (treaty-specific documents) ความมุงหมายของแนวทาง คือเพื่อ แนะนําแนวทางแกรัฐภาคีในการจัดทํารายงานใหครบถวนสมบูรณ ตามขอกําหนดของสนธิสัญญาหลักดานสิทธิมนุษยชน 7 ฉบับ ตามรายชื่อที่ไดเสนอในบทที่ 2 โดย รัฐภาคีรับจะเสนอรายงานเกี่ยวกับการปฏบิัติตามสนธิสัญญาเหลานี้ดวยมาตรการกฏหมาย กระบวนการยตุิธรรม การบริหารและมาตรการอื่น ๆ ที่ใชอยูเพื่อใหเกดิความสําเร็จและความกาวหนาในภาพรวม พรอมทั้งอุปสรรคปญหาตาง ๆ ที่ตองประสบ รายงานที่จัดทําตามแนวทางนี้ จะชวยใหองคกรตามสนธิสัญญาและรัฐภาคีไดเขาใจสภาพความกาวหนาในการปฏิบัติตามสนธิสัญญาเหลานั้นในภาพรวมตามแนวทางของแตละสนธิสัญญา แนวทางนี้จะชวยใหรายงานหลีกเลี่ยงความซ้ําซอนของขอมูลโดยไมจําเปน ไดรายละเอียด ขอมูลอยางครอบคลุมเพียงพอที่จะชวยใหไมตองมีการขอขอมูลเพิ่มเติม คณะกรรมการสามารถพิจารณารายงานไดอยางสะดวกราบรื่น บนพื้นฐานที่เทาที่จะมีกันระหวางรัฐ อยางไรก็ตามคณะกรรมการอาจขอขอมูลเพิ่มเติมจากรัฐภาคี หากเห็นวาเหมาะสมถึงแมรัฐภาคีจะทําตามแนวทางนี้แลวก็ตาม แนวทางไดใหขอแนะนําที่จะชวยใหรัฐภาคีไดมีรูปแบบและเนื้อหาของรายงานที่ครบถวนสมบูรณดวนแนวทาง 3 สวนคือ สวนที่ 1 และ 2 เปนขอแนะนําทั่วไปเกี่ยวกับกระบวนการและรูปแบบของการจัดทํารายงาน ซ่ึงสามารถใชเปนหลักในการจัดทํารายงานไดโดยทั่วไป

Page 54: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

52

สวนที่ 3 เปนขอแนะนําสําหรับการจัดทําเอกสารหลักและเอกสารโดยตรงของแตละสนธิสัญญา 1. ขอแนะนําเพื่อการเตรียมการสําหรับกระบวนการจัดทํารายงาน ความมุงหมายของรายงาน คือ มุงวางกรอบแนวทางที่ชัดเจนใหรัฐภาคีสามารถบรรลุขอผูกพันในการจัดทํารายงานไดครบถวนสมบูรณ และแสดงถึงการปฏิบัติที่กอใหเกิดการคุมครองดานสิทธิมนุษยชนตามขอผูกพันของหลักสิทธิมนุษยชน โดยปฏิบัติตามพันธกิจของสนธิสัญญาดวยเจตนารมณที่จะสืบสานพันธกิจนั้นดวยมาตรการตางๆ ทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติ เปนโอกาสใหรัฐภาคีไดประเมินการปฏิบัติดานสิทธิมนุษยชนในระดับชาติภายในเขตอํานาจไปพรอมกบัการทําหนาที่ตามขอผูกพันระหวางประเทศ อันจะเปนโอกาสใหไดดําเนินการตอรัฐของตนในเรื่องสิทธิมนุษยชนโดยการทบทวนมาตรการ กฎหมาย และนโยบาย กระตุนการปฏิบัติและติดตามความกาวหนา คนหาปญหาขอขัดแยง ประเมินความตองการและ เปาหมายในอนาคต วางแผน พัฒนานโยบายเพื่อใหบรรลุเปาหมาย และสงเสริมการมีสวนรวมของ ประชาชน การตรวจสอบสาธารณะและการดําเนินการตอขอผูกพันตอประชาคม เพื่อความกาวหนาของการใชสิทธิตามสนธิสัญญาดานสิทธิมนุษยชนอยางกวางขวาง และในระดับนานาชาติยังมีผลใหเกิดโอกาสการเจรจาเชิงสรางสรรคระหวางรัฐภาคีกับคณะกรรมการดวยขอผูกพันตามพันธกรณีที่มุงชวยเหลือสนับสนุนการคุมครองสิทธิมนุษยชนโดยทั่วไป

การเก็บรวบรวมขอมูลและการรางรายงาน แนวทางนี้จะเปนประโยชนตอการเตรียมการจัดทํารายงานของรัฐตาง ๆ เกือบทั้งหมดโดยเฉพาะกวารอยระ 75 เปนภาคีสนธิสัญญาตาง ๆ 4 ฉบับเปนอยางนอย โดยองคกรตามสนธิสัญญาเปนผูเสนอแนะใหรัฐภาคีจัดทํารายงานของประเทศโดยองคกรหรือสถาบันที่จัดตั้งขึ้นดวยคณะทํางานรวมจาก กระทรวงทบวง กรม ตาง ๆ โดยตั้งขึ้นอยางถาวรเปนทางการ และเสริมดวยเทคโนโลยีสมัยใหมที่จะสรางระบบที่มีประสิทธิภาพในการเก็บรวบรวมขอมูลอยางจริงจังตอเนื่อง โดยสามารถขอความชวยเหลือไดจากคณะกรรมาธิการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ (OHCHR) และหนวยความกาวหนาของสตรี (DAW) องคกรจัดทํารายงานที่แตงตั้งขึ้นเปนทางการถาวรจะชวยทํารายงานสําหรับพันธกรณีอ่ืน ๆ ไดดวย กําหนดเวลาในการเสนอรายงาน การเสนอรายงานมีการกําหนดระยะเวลาที่แนนอนทั้งฉบับแรกและฉบับตอ ๆ ไป ซ่ึงจะแตกตางกันไปตามแตละสนธิสัญญาการจัดทําเอกสารหลัก (common core document) ซ่ึงจะใชเปนสวนแรกของสนธิสัญญาทุกฉบับจึงควรมีการประสานงานที่ดีหากรัฐภาคีไดเสนอรายงานตามสนธิสัญญาฉบับตาง ๆ อยางสอดคลองกัน เอกสารหลักจะใชไดดีกับรายงานตามสนธิสัญญาตาง ๆ ไดหลายฉบับ แตถาหากเสนอรายงานโดยตรงของสนธิสัญญาตางๆ ในระยะเวลาที่หางกันมากก็จําเปนตองปรับเอกสารหลักใหสอดคลองกับสถานการณปจจุบันของชวงเวลาที่เสนอรายงานนั้น ๆ ดวย

Page 55: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

53

2. ขอแนะนาํเกี่ยวกับรูปแบบของรายงาน ความยาว เอกสารหลัก (common core document) ไมเกิน 60 หนา เอกสารโดยตรงของสนธิสัญญา (Treaty-specific document) 60-80 หนา เอกสารโดยตรงเพิ่มเติม (subsequent treaty-specific document) 40 หนา ขนาดกระดาษ A4 ระยะหางระหวางบรรทัด 1.5 ตัวอักษรขนาด 12 ตัวพิมพ Times New Roman เอกสารผนวก ควรแยกเปนชุดตางหาก (อาจมีเกี่ยวกับระบบการปกครองดานนิติบัญญัติตุลาการ การบริหาร) และอื่น ๆ คําอธิบายของอักษรยอ/คํายอตาง ๆ ที่ใชในรายงาน ตองมีโดยละเอียดครบถวน ภาษาที่ใชจัดทํารายงานตองเสนอดวยเอกสารภาษาใดภาษาหนึ่ง ของภาษาราชการที่ใชในองคการสหประชาชาติ (อราบิค จีน อังกฤษ ฝร่ังเศส รัสเซีย สเปน) ดวยภาษาที่ถูกตองผานการตรวจแกไขแลวอยางดี และ เอกสารเสนอตอองคการสหประชาชาติ ใหจัดทําเปนเอกสารอิเลคทรอนิกส เปนแผนดิสเก็ต ซีดีรอม หรือจดหมายอิเลคทรอนิกส พรอมกับเอกสารพิมพ 1 ชุด และตองทําใหถูกตองสมบูรณ มิฉะนั้นอาจถูกสงกลับมาใหแกไขปรับปรุงใหม

Page 56: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

54

3. ขอแนะนาํเกี่ยวกับเนื้อหาของรายงาน

รายงานประกอบดวยเอกสาร 2 สวน คือ 1) เอกสารหลกั (common core document) 2) เอกสารโดยตรงของสนธิสัญญาเฉพาะเรื่อง (treaty-specific targeted document) สวนแรก เอกสารหลัก มีเคาโครงหัวขอตามแนวทางเสนอแนะฯ ดงันี้

1) ขอมูลทั่วไปและขอมูลสถิติของรัฐภาคีผูเสนอรายงาน

ก. ประชากร เศรษฐกิจ สังคมและลักษณะทางวัฒนธรรม ข. รัฐธรรมนูญ ระบบการเมืองและโครงสรางทางกฎหมาย 2) กรอบแนวทางพื้นฐานเพื่อการคุมครองและการสงเสริมสิทธิมนุษยชน ค. การยอมรับ แนวทางระหวางประเทศดานสิทธิมนุษยชน

ง. กรอบกฎหมายพื้นฐานภายในเพื่อการคุมครองสิทธิมนุษยชน ระดับชาติ จ. กรอบแนวทางภายในเพื่อสงเสริมสิทธิมนุษยชนในระดับชาติ ฉ. บทบาทของกระบวนการจัดทํารายงานในการสงเสริมสิทธิมนุษยชน ระดับชาติ ช. ขอมูลอ่ืน ๆ เกี่ยวกับเรื่องสิทธิมนุษยชน 3) การปฏิบัติตามขอบัญญัติของหลักสิทธิมนุษยชนพื้นฐานตามหลักการรวมของ สนธิสัญญาตาง ๆ ซ. หลักการไมเลือกปฏิบัติและความเสมอภาค สวนที่สองของรายงาน เอกสารโดยตรงของสนธิสัญญา (treaty-specific documents) สวนท่ี 2 เอกสารโดยตรงของสนธิสัญญาเฉพาะเรื่อง จะมีคําถามตามแนวทางของคณะกรรมการตามสนธิสัญญาโดยตรง ที่ใหตอบเกี่ยวกบัผลการปฏิบัติ/ความกาวหนาตามขอบัญญัติเปนรายขอบทตามสวนที่เปนสาระบัญญัติของสนธิสัญญานั้น ๆ

Page 57: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

55

โดยมีรายละเอียดคําอธิบายขอแนะนาํ ดังนี ้บทท่ัวไป อธิบายถึง สวนประกอบของเอกสารรายงานประเทศคือมี 2 สวน บูรณาการเขาดวยกัน ไดแก เอกสารหลักและเอกสารโดยตรงของสนธิสัญญา เอกสารหลัก จะเปนขอมูลเกี่ยวกับการปฏิบัติตามสนธิสัญญาตาง ๆ ที่รัฐผูรายงานเปนภาคี ในขณะที่ เอกสารโดยตรงของสนธิสัญญา จะมีขอมูลละเอียดเกี่ยวกับการปฏิบัติตามสนธิสัญญานั้น ๆ หรือขอมูลที่ตองการหยิบยกเขาสูความสนใจของคณะกรรมการกํากับติดตามการปฏิบัติตามสนธิสัญญา รวมทั้งประเด็นนาสนใจที่คณะกรรมการหยิบยกให การเสนอเอกสารอาจเสนอแยกกันระหวางเอกสารหลกักับเอกสารโดยตรง แตทั้งนี้ไมควรทิ้งชวงหางกันมากจนขอมูลในเอกสารหลักลาสมัย กระบวนการเสนอรายงานคือ รัฐภาคี เสนอเอกสารหลักและเอกสารโดยตรงตอเลขาธิการสหประชาชาติ ซ่ึงจะสงตอไปยังคณะกรรมการตามสนธิสัญญาและองคการตามสนธิสัญญาพิจารณาตามขั้นตอนและกระบวนการของแตละคณะ รายงานจะเสนอถึงขอบขายความกวางขวางของความสอดคลองของกฎหมายและการปฏิบัติที่สอดคลองกับสนธิสัญญาดวยขอมูลที่ชวยใหเขาใจการปฏิบัติตามสนธิสัญญาของรัฐภาคีนั้นโดยมีรายละเอียดทั้งทางพฤตินัยและนิตินัยของการปฏิบัตินั้น ทั้งนี้ไมควรยึดติดอยูกับรายชื่อกฎหมายหรือคําอธิบายดายกฎหมายโดยเฉพาะ แตควรจะแสดงใหเห็นถึงผลปฏิบัติตามกฎหมายนั้นตามความเปนจริงที่สงผลตอสภาพทั้งดานเศรษฐกิจ การเมือง สังคม และวัฒนธรรมของประเทศ เอกสารหลักที่จัดทําเปนครั้งแรกสามารถอางอิงขอมูลจากรายงานอื่นที่เคยเสนอไปแลวหากขอมูลยังทันสมัย

สวนแรก เอกสารหลัก เอกสารหลัก ควรจัดหัวขอเรียงลําดับ ก ข ค ง…ใหสอดคลองกับแนวทางฯ ขอมูลควร ไดแก 3.1 ขอมูลท่ัวไปและขอมูลสถิติของรัฐภาคีผูเสนอรายงาน ซ่ึงจะชวยสรางความเขาใจบริบทพื้นฐานดานการเมือง กฎหมาย สังคม และเศรษฐกิจของรัฐนั้น โดยประเมินภาพทั่วไปของขอมูล ใหองคกรตามสนธิสัญญาเขาใจและประเมินไดดวย ขอมูลสถิติที่นําเสนอควรเปนขอมูลที่มีการจําแนกกลุม อายุ เพศ กลุมประชากร และนําเสนอในรูปตารางเปรียบเทียบประกอบในภาคผนวกพรอมระบุแหลงขอมูลและหากทําไดควรจําแนกใหละเอียดถึงความเกี่ยวโยงกับกลุมประชากรอื่น ๆ ขอมูลตัวช้ีวัดตามภาคผนวก 4 ของเอกสารแนวทางนี้อาจละเอียดและมีจํานวนมากเกินไปจนบางรัฐไมอาจจัดหาไดครบทุกตัว ก็ขอใหช้ีแจงปญหาไวดวย ก. โครงสรางประชากร เศรษฐกิจ สังคม และลักษณะทางวัฒนธรรม ควรมีประวัติศาสตรโดยยอของประเทศนําเสนอใหองคกรตามสนธิสัญญาไดเขาใจภูมิหลังและพื้นฐานของรัฐที่มีผลตอการปฏิบัติตามสนธิสัญญา และควรมีขอมูลเกี่ยวกับลักษณะประชากรตามชาติพันธุหลัก โครงสรางและจํานวนประชากร วิถีชีวิตของประชากรในภูมิภาคตาง ๆ และเศรษฐกิจพื้นฐาน ขอมูลดานอาชญากรรมและกระบวนการยุติธรรมและอาชญากรรมที่เกิดจากสาเหตุดานเชื้อชาติและความเกลียดชังตอคนตางเชื้อชาติ

Page 58: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

56

ข. รัฐธรรมนูญ ระบบการเมือง และโครงสรางทางกฎหมาย ควรมีคําอธิบายเกี่ยวกับโครงสรางของรัฐธรรมนูญ ระบบการเมือง กฎหมาย รัฐบาล ระบบเลือกตั้ง และการจัดองคกรทางการบริหารนิติบัญญัติและตุลาการ 3.2 กรอบแนวทางพื้นฐานเพื่อการคุมครองและสงเสริมสิทธิมนุษยชน

ค. การยอมรับแนวทางระหวางประเทศดานสิทธิมนุษยชน ควรจัดทําขอมูลเกี่ยวกับการยอมรับสนธิสัญญาหลัก รวมถึงพิธีสารเลือกรับดานสิทธิมนุษยชนของรัฐผูเสนอรายงานในรูปแผนภูมิหรือตารางเปรียบเทียบในเรื่อง - การใหสัตยาบัน หากยังไมรับสนธิสัญญาไดใหระบุความคาดหวังที่จะรับ - ขอสงวนและถอยแถลง โดยระบุขอบเขตของประเด็นที่สงวนไว เหตุผลที่ยังคงไวผลกระทบตอกฎหมายและนโยบายของชาติ ผลตอขอผูกพันตามสนธิสัญญาฉบับอื่น และกําหนดเวลาที่คาดหมายวาจะถอนขอสงวนเหลานั้น - ขอรอนสิทธิ์ ขอหวงหาม และขอจํากัดที่จะตองทําตามกฎหมายหรือประเพณีของรัฐ โดยอธิบายขอบเขตและสภาวะความจําเปนที่ตองมี รวมถึงกําหนดเวลาที่คาดวาจะถอน รวมทั้งขอคัดคานจากรัฐภาคีอ่ืนตอขอเหลานี้ของรัฐผูเสนอรายงาน นอกจากนี้ อาจเสนอขอมูลเกี่ยวกับการยอมรับหรือการเขาเปนภาคีของมาตรฐานดานสิทธิมนุษยชนระหวางประเทศอื่น ๆ ที่เกี่ยวของกับสนธิสัญญาหลัก ไดแก การใหสัตยาบันตอ - สนธิสัญญาของสหประชาชาติดานสิทธิมนุษยชนและที่เกี่ยวของกับเรื่องนี้ (ภาคผนวก 2 B) - อนุสัญญาดานแรงงาน (ภาคผนวก 2 C) - อนุสัญญากรุงเฮกวาดวยกฎหมายเอกชนระหวางประเทศ (ภาคผนวก 2 D) - อนุสัญญากรุงเจนีวาและสนธิสัญญาดานมนุษยธรรมอื่น ๆ (ภาคผนวก 2 E) - อนุสัญญาดานสิทธิมนุษยชนในระดับภมูิภาค

ง. กรอบกฎหมายพื้นฐานภายในเพื่อการคุมครองสิทธิมนุษยชนในระดับชาต ิ ควรระบุถึงบริบทดานกฎหมายภายในทีก่อใหเกิดความคุมครองสิทธิมนุษยชนภายในประเทศโดย - กระบวนการยุติธรรม การบริหาร องคการที่มีเขตอํานาจหนาที่มีผลตอเร่ืองสิทธิมนุษยชนและเขตอํานาจ - การเยยีวยาตอผูรองเรียนวาถูกละเมิดสิทธิ - สิทธิตามตราสารดานสิทธิมนุษยชนที่อางไวใน รัฐธรรมนูญ กฎหมายสิทธิ และกฎหมายพืน้ฐานอื่น ๆ และมีขอบญัญัติรอนสิทธินี้หรือไม - การบรรจุสนธิสัญญาดานสิทธิมนุษยชนในระบบกฎหมายแหงชาติทาํอยางไร

Page 59: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

57

- ขอบัญญัติของตราสารดานสิทธิมนุษยชน สามารถใชหรือเคยใชเปนแรงผลักดัน หรือใชบังคับในกระบวนการยตุิธรรม หรือกระบวนการบริหาร หรือบรรจุลงในกฎหมาย กฎระเบียบในประเทศเพือ่ใชบังคับหรือไม - สถาบันหรือกลไกแหงชาตทิี่มีอยูเพื่อรับผิดชอบดูแลการปฏิบัติตามหลักสิทธิมนุษยชน และกลไกที่ดูแล กลุมตาง ๆ ที่ตองการดูแลพิเศษ เชน สตรี เด็ก ผูสูงอายุ ผูพิการ ชนกลุมนอย คนพืน้เมอืง ผูอพยพ ผูพลัดถ่ินภายในประเทศ คนงานอพยพ คนตางดาว คนไรรัฐหรือกลุมอื่น ๆ รวมถึงภารกิจความรับผิดชอบ ทรัพยากรบุคคลและการเงินที่จัดสรรใหสถาบัน/กลไกนั้น - การยอมรับตออํานาจของศาลสิทธิมนุษยชนระดับภูมภิาคและผลของการพัฒนาคดีและคดีที่อยูระหวางรอการพิจารณา จ. กรอบแนวทางภายใน เพือ่สงเสริมสิทธิมนุษยชนในระดับชาต ิ ควรใหขอมูลเกี่ยวกบัการสงเสริมการเคารพสิทธิมนุษยชนภายในประเทศ และบทบาทของประชาสังคม ในเรื่อง - สภาและสมชัชาแหงชาตแิละภูมิภาค บทบาทและกจิกรรมในระดับชาติ ระดับภูมภิาค ทองถ่ิน จังหวดั เทศบาล ฯลฯ ในการสงเสริมสิทธิมนุษยชนทั่วไปและตามสนธิสัญญาเฉพาะ - สถาบันแหงชาติดานสิทธิมนุษยชนระดบัชาติที่มีหนาที่ความรับผิดชอบ ภารกิจ ทรัพยากรและกิจกรรม และความเปนอิสระตามหลักการกรุงปารสี - การพิมพเผยแพรตราสารดานสิทธมินุษยชน ความกวางขวางในการแปล การตีพิมพ และเผยแพร และความหลากหลายในภาษาทีใ่ชทั้งภาษาแหงชาติ ภาษาถิน่ ภาษาชนกลุมนอย ชนพืน้เมือง เอกสารฉบับงาย - การสงเสริมการตระหนกัรูเร่ืองสิทธิมนุษยชนในกลุมขาราชการของรัฐ มาตรการการจัดการศึกษา ฝกอบรมสําหรับขาราชการและเจาหนาทีข่องรัฐ ที่รวมถึง ครู เจาหนาที่ผูบังคับใชกฎหมาย ตํารวจ ศุลกากร ตรวจคนเขาเมอืง ผูพิพากษา อัยการ นักกฎหมาย ทหาร เจาหนาที่ชายแดน เจาหนาที่เรือนจํา แพทย เจาหนาที่สาธารณสุขและนกัสังคมสงเคราะห - การสงเสริมความตระหนกัรูผานรายการดานการศึกษาและขาวสารของทางราชการในระบบการศึกษาในโรงเรียน ระดบัชาติ หลักสูตร รายการการศึกษาผูใหญ และการรณรงคของรัฐดวยภาษาในประเทศทุกระดับ/กลุม - การสงเสริมความตระหนกัรูผานสื่อมวลชน บทบาทของสื่อมวลชน หนังสือพิมพ วิทยุ โทรทัศนในการเผยแพรหลักการสิทธิมนุษยชนในภาษาในประเทศตาง ๆ - บทบาทของประชาสังคมและองคกรเอกชน สถานะขององคกรเหลานี้และการสนับสนุนจากรัฐบาล - การจัดสรรงบประมาณและแนวโนม ถามีขอมูลควรเสนอใหทราบเปนอัตราสวนรายละเอียดของ งบประมาณแหงชาติที่จดัใหเร่ืองสิทธิมนุษยชนจําแนกเพศดวยถาทําได - ความรวมมอืและความชวยเหลือเพื่อการพัฒนาที่รัฐไดรับหรือที่จัดใหรัฐอื่น

Page 60: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

58

นอกจากนี้ ควรนําเสนอปญหาขอขัดของทั่วไปที่สงผลกระทบหรือกดีขวางการปฏบิัติตามมาตรฐานระหวางประเทศดานสิทธิมนุษยชนในระดับชาติดวย

ฉ. บทบาทของกระบวนการจัดทํารายงานในการสงเสริมสิทธิมนุษยชนระดับชาต ิ รัฐควรอธิบายกระบวนการในการจัดเตรียมรายงานโดยใหขอมูลในเรือ่ง - การมีสวนรวมของหนวยงานและภาคสวนตาง ๆ ไดแก • หนวยงานภาครัฐ

• สถาบันแหงชาติ ดานสิทธิมนุษยชนในการติดตามกระตุนการจัดทํารายงานและการดําเนิน การตามสรุปขอสังเกต/ขอคิดเห็นขององคกรตามสนธิสัญญา และองคกรเอกชนและลุม แกนหลักของประชาสังคมที่มีอยางอิสระตอรายงานในกระบวนการเสนอรายงานภายใน ระดบัชาติ ในการอภิปรายสาธารณะ ตลอดจนขอสังเกต/ขอเสนอแนะที่มีตอองคกรตาม สนธิสัญญา

• กลุมผูไดรับผลตามสนธิสัญญา เชน สตรี เด็ก และกลุมอื่น ๆ - ขั้นตอนที่ดําเนินการเพื่อทําการเผยแพรรายงานและการแปลที่สามารถสงผลอยางกวางขวางทั่วถึงตอกลุมเปาหมายตาง ๆ - เหตุการณ กิจกรรม เชน การประชุม สัมมนา อภิปราย การออกอากาศเผยแพรเกี่ยวกับรายงานในรูปแบบตาง ๆ การติดตามดําเนินการตามขอสังเกต/ความเห็นสรุปขององคกรกํากับติดตามผลสนธิสัญญาดานสิทธิมนุษยชน ควรระบุมาตรการและกระบวนการทั้งที่ดําเนินการอยู และจะดําเนินการเพื่อประกันการ เผยแพรการติดตามดําเนินการตามสรุปขอสังเกต/ขอคิดเห็นขององคกรตามสนธิสัญญาที่มีตอรายงาน ซ่ึงรวมถึงความเห็นจากรัฐสภาและที่ผานสื่อตาง ๆ โดยจัดขอมูลเร่ืองนี้ไวในเอกสารโดยตรงของสนธิสัญญา (สวนที่ 2 ของรายงาน)

ช. ขอมูลอ่ืนๆ เก่ียวกับเรื่องสิทธิมนุษยชน ควรพิจารณาขอมูลเกี่ยวของที่ควรนํามาใสไวในเอกสารหลัก ไดแก การติดตามผลการสัมมนาระหวางประเทศ เพื่อนําผลการดําเนินงานตามผลการประชุมสัมมนาเหลานี้ที่มีผลตอสถานการณสิทธิมนุษยชนของประเทศมาใสไวในรายงาน (ภาคผนวก 3) และหากมีการประชุมสัมมนาใดที่ตองมีการรายงาน อาจนํามาอางในรายงานนี้ไดโดยเฉพาะรายงานตามเปาหมายการพัฒนาของสหัสวรรษ ซ่ึงเปนที่สนใจของคณะกรรมการหลายชุด (ภาคผนวก 5)

3.3 การดําเนินการในทางปฏบิัติตามขอกําหนดดานสิทธิมนุษยชนพื้นฐานตามหลักการรวมของสนธิสัญญาตาง ๆ เนื้อหาตามประเด็นนี้ควรเนนที่มาตรการที่ดําเนินการโดยรัฐ เพื่อประกันการปฏิบัติตามสิทธิ ที่เปนสิทธิรวมสนธิสัญญาทุกฉบับหรือหลาย ๆ ฉบับ โดยจัดกลุมตามประเด็นหลักที่ตองการเนน เชน

Page 61: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

59

- การไมเลือกปฏิบัติและความเสมอภาค - การเยยีวยา - กระบวนวิธีการประกันสทิธิ - การมีสวนรวมในชวีิตสังคม - ชีวิต เสรีภาพ และความมัน่คงของบุคคล - การสมรส และครอบครัว - กิจการ เศรษฐกิจ และสังคม - การศึกษา โดยควรเลือกขอมูลที่จะใสลงในเอกสารหลักหรือเอกสารโดยตรงของสนธิสัญญา โดยมิใหซํ้าซอนกัน หากมาตรฐานของสนธิสัญญาบางฉบับแตกตางจากมาตรฐานหลัก ควรเนนที่ประเด็นความกาวหนาหรือความคุมครองที่มีผลมากที่สุดในเอกสารหลัก ขอมูลสถิติตัวช้ีวัดควรใสไวในภาคผนวก

ซ. หลักการไมเลือกปฏิบัตแิละความเสมอภาค ขอมูลกลุมนี้เปนหลักการตามขอ 1 และ 2 ของปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชนและเนนไวเปนขอบัญญัติรวมของ ICCPR (2 (1), 3) ICESCR (2 (2), 3) ICERD (2-7) CEDAW (2, 9-16) CRC (2) CMW (7, 18, 25, 27) และ CAT (อารัมภบท) ซ่ึงควรนําเสนอในประเด็นการตรวจสอบ ประเด็นการดําเนินการเพื่อขจัดการเลือกปฏิบัติในทุกรูปแบบทั้งดาน การเมือง วัฒนธรรม เศรษฐกิจ สังคมตอทุกกลุมชน พรอมไปกับการนําเสนอประเด็นการสงเสริมความเสมอภาค ที่รัฐภาคีไดดําเนินการดวยข้ันตอนตาง ๆ ทั้งโดยกฎระเบียบและโดยเนื้อหาการปฏิบัติตอกลุมเหลานั้น โดยช้ีใหเห็นสถานการณในประเทศที่เกิดกับกลุมบุคคลที่ตองประสบสถานการณถูกเลือกปฏิบัติ ซ่ึงเปนกลุมพิเศษตาง ๆ ที่กลาวไวแลวและรวมไปจนถึง กลุมที่แตกตางทางศาสนา ภาษา วัฒนธรรม ผูติดเชื้อ เอชไอวี/เอดส สมาชิกพรรคหรือองคกรทางการเมือง ผูอพยพ ผูล้ีภัย ผูแสวงหาที่พักพิง ฯลฯ นอกจากนี้ รายงานควรชี้ใหเห็นถึงหลักการนี้ที่ไดสอดใสไวในรัฐธรรมนูญหรือกฎหมายตาง ๆ ในประเทศ ยังมีประเด็นการเลือกปฏิบัติที่ตกคางในกฎหมายไดหรือไม และมีผลตอกลุมพิเศษกลุมใด การดําเนินการที่ประกันการปองกันและตอตานการเลือกปฏิบัติมีขั้นตอนอยางไร ทั้งโดยกฎหมายและการปฏิบัติ โดยหากตองจัดใหการเลือกปฏิบัตินั้นเปนการกระทําที่ขัดตอกฎหมาย ควรมีการแสดงขั้นตอนของการออกแบบจัดทํากฎหมายนั้นๆ หากไมมีกฎหมายเฉพาะก็ควรใหขอมูลตามกฎหมายอาญาที่มีใชอยูในการพิจารณาพิพากษาของศาล ควรระบุถึงอุปสรรคปญหาที่ขัดขวางการปฏิบัติในเรื่องการไมเลือกปฏิบัติอันอาจเกิดจากขนบธรรมเนียมประเพณีที่เปนอันตรายหรือมีผลภัยหากมีกลุมหนึ่งกลุมใดไมไดรับสิทธินี้ จะตองอธิบายเหตุผลและเกณฑการตัดสินที่ตองมีการเลือกปฏิบัตินั้น ๆ และเปนขั้นตอนที่ขจัดใหหมดไปในอนาคต โดยเฉพาะสถานการณการใชสิทธิในดานความเสมอภาคของกลุมพิเศษตาง ๆ รวมถึงอุปสรรคขัดขวางการใชสิทธิของกลุมคนเหลานี้ตองถูกเปดเผยอยางชัดเจน ทั้งในลักษณะของการกระทําและความถี่ของการเกิด

Page 62: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

60

กรณี และตองเสนอถึงมาตรการและการใหการศึกษา รณรงคตอตานเพื่อขจัดอคกติและเจตคติทางลบตอกลุมคนเหลานี้และผลของมาตรการเหลานี้ ความเสมอภาคในกฎหมายและการคุมครองที่เทาเทียมกันตามกฎหมาย ขอมูลกลุมนี้เปนหลักการตามขอ 7 ของปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน และเนนไวเปนขอบัญญัติรวมของ ICCPR (4 (1), 26) ICERD (5 (ก)) CEDAW (15) CMW (18 (1)) โดยมีประเด็นที่เกี่ยวของอยูใน CRC (9 (2)) และ CAT (12, 13) รายงานควรนําเสนอในประเด็นการตรวจสอบการปฏิบัติ และมาตรการโดยตรงที่ดําเนินการเมืองประกันสิทธิความเสมอภาคในเรื่องนี้สําหรับทุกคนภายในเขตอํานาจ และมาตรการประกันสิทธิความคุมครองที่เทาเทียมกันสําหรับกลุมพิเศษตาง ๆ ดังกลาว มาตรการพิเศษเพื่อเรงรัดความกาวหนาสูความเสมอภาค สนธิสัญญาบางฉบับอนุญาตใหมีมาตรการพิเศษช่ัวคราวท่ีใชเพื่อเรงรัดความกาวหนาสูความเสมอภาค โดยเฉพาะในสภาวการณที่จําเปน โดยมีกําหนดไวใน ICCPR (27) ICESCR (2 (3)) ICERD (1 (4), 2 (2)) CEDAW (4, 14) CRC (22, 23) ซ่ึงคณะกรรมการทุกชุดใหความสนใจรายงานจึงควรอธิบายดวยวา มาตรการพิเศษของสนธิสัญญาใดที่รัฐรับปฏิบัติและมีผลกระทบอยางไร หากเปนมาตรการชั่วคราว ควรระบุระยะเวลาที่กําหนดใชเพื่อใหบรรลุเปาหมาย และการยกเลิกใชมาตรการเหลานั้น สวนท่ี 2 เอกสารโดยตรงของสนธิสัญญา เอกสารโดยตรงนี้ ควรใสขอมูลทั้งหมดของการปฏิบัติตามสนธิสัญญานั้น ๆ ของรัฐภาคี ทั้งที่เกี่ยวของโดยเฉพาะหรือโดยหลักการตอคณะกรรมการผูรับผิดชอบกํากับติดตามการปฏิบัติตามสนธิสัญญานั้น สวนที่ 2 ของรายงานนี้ชวยใหคณะกรรมการมุงความสนใจไปที่ประเด็นเฉพาะที่เกี่ยวกับการปฏิบัติตามอนุสัญญาโดยเอกสารควรมีขอมูล ดังนี้ - ขอมูลที่องคกรตามสนธิสัญญารองขอตามแนวทางของเอกสารโดยตรงของสนธิสัญญา ซ่ึงตอบขอซักถามเฉพาะของสนธิสัญญา ซ่ึงไมรวมอยูในเอกสารหลัก - ขอมูลเพิ่มเติมที่องคกรตามสนธิสัญญารองขอเพื่อเพิ่มเติมขอมูลของเอกสารหลัก โดยเปนขอมูลเฉพาะเจาะจงมากขึ้น - ขอมูลของขั้นตอนการดําเนินการตามประเด็นสรุปขอสังเกต/ขอคิดเห็นขององคกรตามสนธิสัญญาที่มีตอรายงานฉบับกอน คณะกรรมการแตละคณะอาจกําหนดแนวทางโดยตรงของสนธิสัญญาขึ้นใชเพื่อการเตรียมการสําหรับรายงานสวนที่ 2 โดยสอดคลองกับแนวทางรวมนี้ (มีรายละเอียดในภาคผนวก) จากขอมูล 2 หัวขอหลักเกี่ยวกับกระบวนการจัดทํารายงานของประเทศไทย ซ่ึงสรุปประสบการณไดเปน 3 ขั้นตอนหลักพรอมขั้นตอนพิเศษและ แนวทางรวมเพื่อการจัดทํารายงานของ

Page 63: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

61

สนธิสัญญาระหวางประเทศดานสิทธิมนุษยชน และแนวทางการจัดทําเอกสารหลักและเอกสารโดยตรงของสนธิสัญญาเฉพาะ ซ่ึงมี แนวทางเสนอแนะวาดวยกระบวนการจัดทํารายงานเพื่อเสนอตอองคกรกํากับติดตามสนธิสัญญาระหวางประเทศดานสิทธิมนุษยชนขององคการสหประชาชาติ ที่นําเสนอในบทนี้ เมื่อนํามาผสานเขาดวยกัน ดวยกระบวนการ 4 ขั้นตอนของประเทศไทย และเนื้อหาตามแนวทางขององคการสหประชาชาติ จะชวยใหกระบวนการจัดทํารายงานตามพันธกรณีระหวางประเทศที่ประเทศไทยเขาเปนภาคี สามารถดําเนินการไดอยางมีแนวทางเปาหมายชัดเจน ดวยข้ันตอนที่ครบถวน ซ่ึงจะชวยใหกระบวนการจัดทํารายงาน สามารถดําเนินไปไดอยางสะดวกราบรื่น และสําเร็จลุลวงไดอยางรวดเร็ว ทันกําหนดเวลาตามเงื่อนไขของสนธิสัญญานั้น ๆ ดวยเนื้อหาที่ครบถวน และกระบวนการที่สมบูรณแบบตรงตามความตองการของคณะกรรมการผูพิจารณารายงานไดเปนอยางดี อยางไรก็ดี แนวทางการจัดทําเอกสารที่ไดนําเสนอนี้ เปนแนวทางที่จัดทําขึ้นเพื่อการจัดทํา รายงานเฉพาะของภาครัฐโดยตรงเทานั้น มิไดครอบคลุมถึงการจัดทํารายงานขององคกรเอกชน (ngo) ซ่ึงเปนรายงานคูขนานกับรายงานของภาครัฐ โดยเขาใจวา องคการสหประชาชาติหรือคณะกรรมาธิการสิทธิมนุษยชนแหงสหประชาชาติหรือองคการอื่นใดของสหประชาชาติ ไดติดตอรองขอรายงานจากองคกรภาคเอกชนโดยตรงไปยังองคกรหรือกลุมองคกรภาคเอกชน โดยอาจมีหรือไมมีแนวทางการจัดทํารายงานกําหนดให เพื่อใหการจัดทํารายงานขององคกรภาคเอกชนเปนไปอยางเสรี สามารถใหขอมูลรายละเอียดในทางลึกเกี่ยวกับเรื่องตาง ๆ ที่ภาครัฐไมอาจเสนอใหได เปนการตรวจสอบกับรายงานของภาครัฐอีกทางหนึ่ง ดังนั้น การจัดทํารายงานของภาครัฐจึงตองทราบและตระหนักในเรื่องนี้ เพื่อการจัดทํารายงานที่โปรงใสชัดเจน โดยไมปกปดปญหาอุปสรรคหรือขอออนดอยตาง ๆ ในรายงาน เพราะเปนความจริงที่ไมมีมนุษยชนกลุมใดหรือประเทศใดที่สามารถดําเนินการทุกเรื่องไดสมบูรณทุกประการ ขอบกพรองตาง ๆ มิใชเร่ืองเสียหายหากไดถูกเปดเผยและไดมีความพยายามแกไขอยางดีทีสุด ดังนั้นการจัดทํารายงานตามพันธกรณีดานสิทธิมนุษยชนของประเทศไทยจึงควรคํานึงถึงประเด็นนี้ใหมากดวย นอกจากนี้ยังจะมีการปฏิรูประบบงานขององคการสหประชาชาติในอนาคตอันใกล แนวทางเสนอแนะที่ออกประกาศใชตามนี้อาจมีการเปลี่ยนแปลงอีกได ฉะนั้น รูปแบบแนวทางที่ไดนําเสนอตาง ๆ ทั้งหมด อาจกลาวไดวา เปนแนวทางที่พึงใชในชวงเวลานี้และในชวงเวลาหนึ่งเทานั้น อาจมีการเปลี่ยนแปลงไดอีกในอนาคต ซ่ึงตองติดตามขอมูลกันอีกตอไปทุกระยะ

Page 64: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

บทที่ 5 สรุปและเสนอแนะ

สรุป การเขาเปนภาคีสนธิสัญญาระหวางประเทศดานสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ประเทศไทยเขา เปนภาคีของสนธิ สัญญาระหวางประเทศซึ่ง เปนพันธกรณีดาน สิทธิมนุษยชน รวม 5 ฉบับ โดยเริ่มตนเขาผูกพันกับพันธกรณีดานนี้อยางเปนทางการในป 2528 เมื่อลงนามในภาคยานุวัติสารของอนุสัญญาวาดวยการขจัดการเลือกปฏิบัติตอสตรีในทุกรูปแบบ (CEDAW) และติดตามดวยอนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็ก (CRC) ในป 2533 กติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (ICCPR) ในป 2540 กติการะหวางประเทศวาดวยเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม (ICESCR) ในป 2542 และลาสุดคืออนุสัญญาวาดวยการขจัดการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติในทุกรูปแบบ (ICERD) ในป 2546 แมระยะเวลาที่เขาเปนภาคีนับตั้งแตสนธิสัญญาฉบับแรกตราบจนปจจุบันผานมาแลวกวา 10 ป แตพันธกรณีของสนธิสัญญาที่ยังเปนภารกิจที่หนักและยากลําบาก ของหนวยงานราชการไทยผูรับผิดชอบตอสนธิสัญญาฉบับนั้น ๆ ทั้งโดยความยากของเนื้องานหรือพันธกรณีเองและโดยความกังวลของหนวยงานผูรับผิดชอบก็คือการจัดทํารายงานของสนธิสัญญานั้น ๆ เพื่อเสนอตอคณะกรรมการตามสนธิสัญญา ตามขอกําหนดที่ระบุไวในสนธิสัญญาทุกฉบับที่ประเทศไทยเขาเปนรัฐภาคี ปญหาความยุงยากในการจัดทํารายงานตามสนธิสัญญา สาเหตุของความรูสึกยุงยากและเปนกังวลตอการจัดทํารายงานของสนธิสัญญานั้นนาจะมาจากเหตุผลตาง ๆ เชน - เนื้อหาสาระของสนธิสัญญา บางฉบับมีขอบเขตกวางขวางมาก ครอบคลุมสภาพพื้นฐานของประเทศทุกดาน เชน กติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ซ่ึงหาหนวยงานหนึง่เดยีวที่จะดูแล ครอบคลุมทั้ง 3 ดานไมได แมสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ซ่ึงดูแลพื้นฐานของประเทศไดอยางกวางขวางก็ยังไมสามารถครอบคลุมดานวัฒนธรรมได ขณะเดียวกันเนื้อหาสาระของสนธิสัญญาบางฉบับก็คอนขางจะอยูในมิติที่จํากัด จน ทัศนคติ/เจตคติของสังคมไทยติดตามไดยาก เชน อนุสัญญาวาดวยการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติในทุกรูปแบบ ซ่ึงพื้นฐานของสังคมไทยคอนขางเปนสังคมที่กลมกลืนจนมิไดจําแนก กีดกัน จํากัดหรือเลือกดวยพื้นฐานของเชื้อชาติ สีผิว เชื้อสาย ชาติกําเนิด ฯลฯ ทั้ง 2 สนธิสัญญานี้ จึงคอนขางหาหนวยงานเจาของเรื่องโดยตรงไดลําบาก - ขาดแนวทาง กรอบการทํารายงาน หรือขอแนะนําเกี่ยวกับกระบวนการ วิธีการ รูปแบบ ตลอดจนประเด็น เนื้อหา สาระสําคัญหรือขอมูลที่ตองการทราบจากรายงานในชวงเวลาที่ผานมา ทําใหประเทศ

Page 65: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

63

และหนวยงานที่จัดทํารายงานตองดําเนินการโดยความเขาใจและคาดคะเนดวยตนเอง รายงานที่นําเสนอจึงมีทั้งตรงและไมตรงตามประเด็นและความคาดหวังของคณะกรรมการตามสนธิสัญญา - ภาษาที่ตองใชในรายงานคือ ภาษาราชการ 1 ใน 6 ขององคการสหประชาชาติ (อราบิค จีน อังกฤษ ฝร่ังเศส รัสเซีย และสเปน) มิใชภาษาที่ประเทศไทยและคนไทยมีความชํานาญ ยิ่งกวานั้นภาษาใน สนธิสัญญาตาง ๆ ยังตองใชศัพทเทคนิคทางกฎหมายเปนสวนใหญ จึงเปนการยากกวาการใชภาษาทั่วไป ทั้งในแงการทําความเขาใจกับสนธิสัญญาและการเขียนอธิบายขอมูลตอสนธิสัญญา - แนวคิด หลักการเรื่องสิทธิมนุษยชน ยังคอนขางเปนเรื่องใหมสําหรับสังคมเอเชียและสังคมไทย การรับรู รับทราบและเจตคติในเรื่องนี้ยังไมลงตัวดีนักในคานิยมและวัฒนธรรมของสังคมไทย จึงทําใหหลาย ๆ เร่ืองของหลักการดานสิทธิมนุษยชนยังไมเปนที่เขาใจหรืออยูในจิตสํานึกพื้นฐานที่จะสามารถชวยใหการทํารายงานเปนไปไดอยางสะดวกราบรื่น ดวยเหตุผลหลัก ๆ ดังกลาว จึงมีผลใหรายงานของประเทศไทยที่ตองจัดทําตามสนธิสัญญาทั้ง 5 ฉบับ ไมสามารถเสร็จทันเวลา เนื้อหาของรายงานไมครบถวนสมบูรณตามความตองการของคณะกรรมการฯ และกระบวนการจัดทํารายงานก็ไมเปนไปตามเจตนารมณของสนธิสัญญานั้น ๆ ซ่ึงตองการใหมีสวนรวมจากทุกภาคสวนในประเทศใหมากที่สุด เพื่อเจตคติที่ดีตอการจัดทํารายงาน ประเทศที่จัดทํารายงาน หนวยงานและคณะกรรมการจัดทํารายงานควรมีความเขาใจวาหลักการของเรื่องสิทธิมนุษยชน มิไดเปนเพียงกระแสโลกที่เรงรัดมาจากองคการสหประชาชาติใหประเทศตาง ๆ ที่เปนรัฐภาคีตองเขาเปนภาคีของสนธิสัญญาดานสิทธิมนุษยชนตาง ๆ เทานั้น แตเร่ืองสิทธิมนุษยชนเปนเรื่องของมนุษยทุกคนบนโลก เปนประโยชนของคนทุกหมูเหลา สงผลตอทุกคนโดยตรง เพราะเปนเรื่องสิทธิของความเปนมนุษย ที่มนุษยทุกคนมีติดตัวมาตามมนุษยภาพ สภาพความเปนมนุษยหรือคุณคาของความเปนคนนี้ไมมีส่ิงใดลบลางออกไปจากตัวมนุษยได และโดยสํานึกพื้นฐาน ทุกคนตองการคุณคา ศักดิ์ศรี และความเสมอภาค หลักการสิทธิมนุษยชนจึงเปนที่ยอมรับและเรียกรองตองการจากทุกคน การเขาเปนภาคีของสนธิสัญญาตาง ๆ เกี่ยวกับเรื่องนี้ก็เปนเรื่องที่ทุกคนเห็นชอบและพอใจ รัฐที่มีสังคมที่มีสวนรวมของประชาชนเขมแข็ง ยอมรับหลักการของสิทธิมนุษยชนมาปฏิบัติไดโดยไมยุงยาก โดยเฉพาะประเทศไทย จัดอยูในกลุมประเทศที่มีความกาวหนาในระบบการปกครองแบบประชาธิปไตยที่มีพระมหากษัตริยเปนประมุข ในระดับแนวหนาของเอเชีย มีรัฐธรรมนูญฉบับประชาชน ที่ประชาชนมีสิทธิเสรีภาพที่กวางขวางกาวหนา การเขาเปนภาคีสนธิสัญญาดานสิทธิมนุษยชนจึงไมเปนความยุงยากในการปฏิบัติเพื่อใหเกิดสิทธิตาง ๆ ตามที่รับไวตามขอกําหนดของสนธิสัญญา และโดยพื้นฐานเชนนี้ การจัดทํารายงานผลการปฏิบัติเพื่อใหเกิดสิทธิตามขอกําหนดของสนธิสัญญาเหลานั้นจึงสามารถดําเนินการในเนื้อหาไดดวยขอมูลความจริงที่ใชปฏิบัติ ที่สอดคลองกับหลักการของสนธิสัญญา ดวยมุมมองเชนนี้ นาจะชวยใหความกังวลตอการจัดทํารายงานในดานเนื้อหาลดความรุนแรงลงไดระดับหนึ่ง

Page 66: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

64

วัตถุประสงคของการจัดทํารายงานที่ประมวลไดจากสนธิสัญญาทุกฉบับคือ รับทราบ ตรวจสอบ และติดตามความกาวหนาของสถานการณสิทธิมนุษยชน หรือสิทธิที่มนุษยทุกคนตองไดรับความคุมครองจากรัฐในรัฐที่เขาเปนภาคีสนธิสัญญาโดยผานการประเมินการปฏิบัติของรัฐที่ทําใหเกิดความคุมครองแกประชาชนทุกคนในเขตอํานาจของรัฐนั้น ซ่ึงจากวัตถุประสงคดังกลาวยอมกอใหเกิดประโยชนแกประชาชนทุกคน ซ่ึงรัฐนั้นๆ จําเปนตองประเมินผลการปฏิบัติของประเทศเองอยูแลวโดยมิตองใหมีอํานาจอื่นมาบังคับ ดวยเจตคตินี้ก็นาจะชวยใหความรูสึกยุงยากตอการจัดทํารายงานลดลงไดอีกระดับหนึ่ง การจัดทํารายงานของประเทศไทย ในฐานะรัฐภาคีของสนธิสัญญาดานสิทธิมนุษยชน 5 ฉบับ ประเทศไทยไดจัดทํารายงานเสนอตอคณะกรรมการตามสนธิสัญญาแลว 3 ฉบับ คือ 1) รายงานตามอนุสัญญาวาดวยการขจัดการเลือกปฏิบัติตอสตรีในทุกรูปแบบ (CEDAW) 5 ฉบับ 2) รายงานตามอนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็ก (CRC) 2 ฉบับ และ 3) รายงานตามกติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิของพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (ICCPR) 1 ฉบับ โดยการทํารายงานฉบับแรกของแตละสนธิสัญญาเปนไปอยางยากลําบากเพราะไมสามารถหาแนวทางหรือขอแนะนําที่จะนํามาใชชวยใหกระบวนการจัดทํา ดําเนินการไปตามความมุงหมายขององคการสหประชาชาติหรือคณะกรรมการตามสนธิสัญญา อยางไรก็ตามแมจะไรเปาหมายและแนวทางจากองคกรผูกํากับติดตามการปฏิบัติงาน แตประเทศไทยก็ไดจัดทํารายงานสําเร็จลงดวยเปาหมาย ดวยแนวทางที่คาดหมายโดยจัดกระบวนการทํารายงานที่จัดได 3 ขั้นตอน คือ - ขั้นตอนการเตรียมการจัดทํารายงาน มีการจัดองคกรจัดทํารายงาน คูงาน และกําหนดภารกิจ - ขั้นตอนการจัดทํารายงาน มีการกําหนดเคาโครงเรื่อง การเขียน/รางรายงาน การจัดหาขอมูล และการบรรณาธิกรณ - ขั้นตอนการรับฟงความคิดเห็นและขอเสนอแนะจากสาธารณชน เพื่อปรับปรุงรายงาน มีการจัดทําในรูปแบบการประชุมสัมมนา สงเอกสารขอความคิดเห็น ฯลฯ และยังมีขั้นตอนพิเศษเพิ่มเติมในการเตรียมการนําเสนอรายงานและตอบขอซักถามดวยวาจาตอคณะกรรมการตามสนธิสัญญา อยางไรก็ตาม รายงานจากกระทรวงการตางประเทศไดแจงความเห็นของคณะกรรมการใหทราบวารายงานของประเทศไทยก็มิไดเปนไปตามโครงสรางแนวทางที่คณะกรรมการกําหนด (ขึ้นภายหลังจากประเทศไทยสงรายงานไปแลว) และลาชา ทั้งยังเห็นวาสถานการณดานสิทธิในประเทศยังคงมีปญหาหลายประการ รวมทั้งยังมีขอสงวนที่ยังคงไวเหลืออยูอีก ซ่ึงแสดงใหเห็นวา การจัดทํารายงานโดยไมมีแนวทางจากฝายที่ตองการรายงาน ยอมไมสามารถบรรลุเปาหมายที่นาพึงพอใจไดของทั้ง 2 ฝาย

Page 67: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

65

ความกาวหนาในการจัดทําแนวทางการจัดทํารายงาน จากการศึกษาเรื่องนี้พบความกาวหนาในเรื่องการจัดทําแนวทางขอแนะนําและการวางแนวทางการจัดทํารายงาน ที่ปรากฏเปนรูปธรรม เกิดขึ้นกับสนธิสัญญา 2 ใน 3 ฉบับ ที่ประเทศไทยไดจัดทํารายงานเสนอไปแลวคือ 1) อนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็ก (CRC) คณะกรรมการสิทธิเด็กไดจัดทําเอกสาร แนวทางในการจัดทําเนื้อหาและรูปแบบของรายงานตามขอกําหนดของอนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็ก ขึ้น (General Guidelines Regarding the Forms and Contents of Periodic Reports to be submitted by States Parties under Article 44, Paragraph 1 (b) of the Convention) ออกเผยแพรเมื่อ 20 พฤศจิกายน 2539 (หลังจากประเทศไทยสงรายงานฉบับแรกไปแลว) เพื่อใชเปนกรอบแนวทางในการจัดทํารายงานของรัฐภาคี ซ่ึงประเทศไทยไดใชประโยชนอยางดียิ่งในการจัดทํารายงานตามอนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็กฉบับที่ 2 2) อนุสัญญาวาดวยการขจัดการเลือกปฏิบัติตอสตรีในทุกรูปแบบ (CEDAW) มีการออกเอกสารแนวทางมาใชอยูเปนระยะคือ เอกสาร ประเมินสถานภาพของสตรี แนวทางเพื่อจัดทํารายงานตามอนุสัญญาวาดวยการขจัดการเลือกปฏิบัติตอสตรีในทุกรูปแบบ ป 2543 (Assessing The Status of Women A Guide to Reporting Under the Convention on The Elimination of All Forms of Discrimination Against Women) และประมวลแนวทางเกี่ยวกับรูปแบบและเนื้อหาของรายงานของรัฐภาคีที่เสนอตอสนธิสัญญาระหวางประเทศดานสิทธิมนุษยชน ป 2546 (Compilation of guidelines on the form and content of reports to be submitted by states parties to the international human rights treaties 2003) แตก็มีการปรับเปลี่ยนยกเลิกเอกสารอยูเปนระยะเชนกันเพื่อการใชเอกสารใหม 3) กติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง ไมพบวามีแนวทางเฉพาะของสนธิสัญญาออกใชเปนขอแนะนํา ความกาวหนาที่สําคัญคือ เมื่อวันที่ 1 มิถุนายน 2548 องคการสหประชาชาติโดยที่ประชุมนานาคณะกรรมการและประธานกรรมการตามสนธิสัญญาดานสิทธิมนุษยชนชุดตาง ๆ ไดออกเอกสาร แนวทางรวมเพื่อการจัดทํารายงานของสนธิสัญญาระหวางประเทศดานสิทธิมนุษยชน และแนวทางการจัดทําเอกสารหลักและเอกสารโดยตรงของสนธิสัญญาเฉพาะเรื่อง ขึ้น (Harmonized guidelines on reporting under the international human rights treaties, including guidelines on a common core document and Treaty-specific targeted document) กําหนด แนวทางเสนอแนะวาดวยกระบวนการจัดทํารายงานเพื่อเสนอตอองคกร กํากับ ติดตามสนธิสัญญาระหวางประเทศดานสิทธิมนุษยชน (Proposed common guidelines on reporting to the international human rights treaty monitoring bodies) เพื่อใชแนะนําแนวทางแกรัฐภาคี ในการจัดทํารายงานใหครบถวนสมบูรณตามขอกําหนดของสนธิสัญญาดานสิทธิมนุษยชน 7 ฉบับ ที่ถูกจัดเปนสนธิสัญญาหลัก เพื่อใหไดขอมูลเกี่ยวกับการปฏิบัติตามสนธิสัญญา ความกาวหนาของการปฏิบัติเหลานั้น และปญหาความยากลําบากในการปฏิบัติในภาพรวม โดยเอกสารนี้มุงลดความซ้ําซอนและชองวางของขอมูล มีการเสนอขอมูลที่ครอบคลุมและเพียงพอในมาตรฐานที่จะชวยใหเกิดแนวทางที่

Page 68: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

66

สอดคลองกันในระหวางคณะกรรมการชุดตางๆ ตามสนธิสัญญา ดวยพื้นฐานเดียวกันของขอมูลในรายงานของรัฐภาคีทั้งหลาย แนวทางที่คณะกรรมการกําหนดขึ้นใชนี้มีสาระสําคัญ 3 เร่ืองคือ 1) ขอแนะนําเพื่อการเตรียมการสําหรับกระบวนการจัดทํารายงาน 2) ขอแนะนําเกี่ยวกับรูปแบบของรายงาน 3) ขอแนะนําเกี่ยวกับเนื้อหาของรายงาน ซ่ึงประกอบดวย สวนแรก เกี่ยวกับเนื้อหาของเอกสารหลัก (common core document) และ สวนที่ 2 เกี่ยวกับเอกสารโดยตรงของสนธิสัญญา (treaty-specific documents) ซ่ึงรายละเอียดของเอกสารนี้มีขอมูลมากมายที่เปนประโยชนตอการจัดทํารายงานตามสนธิสัญญาระหวางประเทศที่ประเทศไทยเขาเปนภาคี ทั้งในเรื่องหลักการทั่วไปและแนวทางโดยตรงตามเอกสารจึงเปนที่คาดหวังไดวา การจัดทํารายงานตามสนธิสัญญาดานสิทธิมนุษยชนฉบับตาง ๆ ตอไปในอนาคตของประเทศตาง ๆ รวมทั้งประเทศไทย จะมกีระบวนการ รูปแบบ และแนวทางที่ชัดเจน ชวยใหการจัดทํารายงานสามารถดําเนินการไดอยางรวดเร็วและตรงตามเจตนารมณของคณะกรรมการตามสนธิสัญญาและองคการสหประชาชาติ ขอเสนอแนะ ขอเสนอแนะจากการศึกษานี้ เปนขอเสนอแนะตอการจัดทํารายงาน และขอเสนอแนะตอการดําเนินงานขององคกรรัฐบาลและหนวยงานที่เกี่ยวของตางๆ ตามขอคนพบ ซ่ึงจัดไดเปน 2 เร่ืองหลัก ดังนี้ 1. ขอเสนอตอการจัดทํารายงานสําหรับกระบวนการและรูปแบบเนื้อหาในการจัดทํารายงานของประเทศไทย กระบวนการ และรูปแบบเนื้อหาของรายงานของประเทศไทย ควรใชรูปแบบผสมผสานระหวางกระบวนการจัดทํารายงานของประเทศไทยใน 4 ขั้นตอน คือ 1) ขั้นตอนการเตรียมการ 2) ขั้นตอนการเขียน/รางรายงาน 3) ขั้นตอนการนําเสนอรายงานตอสาธารณชนเพื่อรับฟงความคิดเห็นและ 4) ขั้นตอนการเตรียมการเพื่อการชี้แจงรายงาน ผนวกกับรูปแบบและเนื้อหาของรายงานที่ครบถวน ตามแนวทางขององคการสหประชาชาติ จะชวยใหรายงานของประเทศไทยเปนรายงานที่สมบูรณได ดังไดนําเสนอเปนรายละเอียดไวในบทที่ 4 หัวขอ 4) ขั้นตอนพิเศษและขอแนะนําเกี่ยวกับรูปแบบและเนื้อหาของรายงาน 2. ขอเสนอตอองคกร/รัฐบาล/หนวยงานที่เกี่ยวของ องคการสหประชาชาติ เนื่องจากองคการสหประชาชาติเปนหนวยหลักที่รับผิดชอบการสงเสริมและกํากับติดตามผลของการปฏิบัติตาง ๆ ในดานสิทธิมนุษยชน และเปนแหลงกําเนิดของสนธิสัญญาและองคกร/คณะกรรมการตามสนธิสัญญาดานสิทธิมนุษยชนตาง ๆ จึงควรจะไดดูแลการจัดทํารายงานอยางจริงจังโดยไมปลอยใหรัฐภาคีตาง ๆ ตองทํางานอยางโดดเดี่ยว ทั้งในเรื่องการปฏิบัติตามสิทธิและการรายงานความกาวหนาของผลการปฏิบัติตามสิทธิ ขอคนพบและขอเสนอแนะจากการศึกษานี้คือ 1. แนวทางรวมเพื่อการจัดทํารายงานของสนธิสัญญาระหวางประเทศฯ ที่กําหนดขึ้นโดยเอกสาร 1 มิถุนายน 2548 นี้ เปนแนวทางที่ชัดเจนมากที่สุดที่เคยมีการออกแนวทางเกี่ยวกับเรื่องนี้ใหรัฐภาคี

Page 69: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

67

ไดปฏิบัติในการจัดทํารายงานตามสนธิสัญญาระหวางประเทศดานสิทธิมนุษยชน จึงจัดไดวาเปนเอกสารที่เปนประโยชนอยางยิ่งตอทั้งรัฐภาคีและหนวยงานภาครัฐที่ตองจัดทํารายงานเสนอ โดยเฉพาะประเด็นเกี่ยวกับการจัดทําเอกสารหลัก (common core document) และเอกสารโดยตรงของสนธิสัญญา (treaty-specific document) ซ่ึงจะชวยลดภาระของงาน จากการทํางานเรื่องเดียวกันหลาย ๆ คร้ัง ของหลายๆ หนวยงาน กอใหเกิดความรวมมือในการทํางานระหวางหนวยงานอยางมีประสิทธิภาพ และสอดคลองตองกัน อยางไรก็ดีเอกสารนี้ก็ยังมีขอยุงยากสําหรับความเขาใจของรัฐภาคีหลายประการ เชน - ขอความหลายตอนมีการใชภาษาที่ยากตอการเขาใจ เชน ในการอธิบายถึงการใชภาษาของรายงาน และการบรรณาธิกรณ - มีความซ้ําซอนของขอความอยูหลายตอนที่ในขอมูลของเอกสารหลัก เชน การระบุถึงกลุมตาง ๆ ที่ตองการความคุมครองพิเศษ และการอธิบายถึงการรายงานการปฏิบัติตามหลักการพื้นฐานของสิทธิมนุษยชน โดยเฉพาะในเรื่องการไมเลือกปฏิบัติและความเสมอภาค - ขอมูล ขอแนะนําเกี่ยวกับเอกสารโดยตรงของสนธิสัญญา (treaty-specific document) ยงัมีนอยมาก แมจะคาดวาแตละองคกรตามสนธิสัญญาจะจัดทําแนวทางของตนขึ้นใชเอง เอกสารนี้ก็ควรจะใหแนวทางพื้นฐานไดมากกวานี้ ดังนั้น หากเอกสารมีการปรับปรุงการใชภาษาที่งาย ตรงไปตรงมา มีเนื้อหาที่ชัดเจน กระชับและเพิ่มขอมูล/ขอแนะนําสําหรับเอกสารโดยตรงของสนธิสัญญาก็จะเปนประโยชนตอรัฐภาคีตาง ๆ ไดอยางเอนกอนันต และทั้งนี้หากองคการสหประชาชาติมีการปฏิรูปองคกร มีการปรับภารกิจและหนวยงานรับผิดชอบตาง ๆ ใหม แนวทางเสนอแนะนี้อาจมีการปรับเปลี่ยนไดอีก รัฐภาคีทั้งหลายจึงตองเตรียมตัวปรับแนวทางใหมอีกไดถาองคการใหมที่รับผิดชอบเปลี่ยนแปลงแนวทางเสนอแนะดังนี้ ปรากฏมีการเปลี่ยนแปลงแนวทางชี้แจงของสนธิสัญญาตาง ๆ มาเปนระยะ เชน CEDAW เปนตน 2. โดยที่เอกสารแนวทางฉบับนี้คาดหวัง การจัดทําแนวทาง ขอแนะนําสําหรับเอกสารโดยตรงของแตละสนธิสัญญา จากองคกรผูรับผิดชอบกํากับติดตามงานของสนธิสัญญานั้น ๆ จึงควรเรงรัดใหองคกรเหลานั้นไดจัดทําเอกสาร แนวทางของ เอกสารโดยตรงของสนธิสัญญาเฉพาะเรื่อง ออกใชโดยเร็ว เพื่อรัฐภาคีทั้งหลายจะสามารถจัดทํารายงานไดสนองเจตนารมณของสนธิสัญญาอยางครบถวน 3. ยังมีสนธิสัญญาดานสิทธิมนุษยชนอีกหลายฉบับที่ควรเรงผลักดันใหรัฐตาง ๆ เขาเปนภาคี โดยขอมูลในเอกสารแนวทางฯ ระบุวาประมาณรอยละ 75 ของรัฐภาคีของสหประชาชาติเขาเปนภาคีอนุสัญญาตาง ๆ อยางนอย 4 ฉบับ ดังนั้น ในเบื้องตนควรผลักดันใหมากกวารอยละ 75 ของรัฐภาคีสหประชาชาติเขาเปนภาคีของอนุสัญญาไมนอยกวา 4 ฉบับ และเพิ่มจํานวนรัฐภาคีของอนุสัญญาหลัก 7 ฉบับ ใหกวางขวางขึ้น ขณะเดียวกันก็ควรเรงรัดผลักดันรัฐที่ยังมิไดเขาเปนภาคีของอนุสัญญาหลักสําคัญบางฉบับที่รัฐทั้งหลายเขาเปนภาคีเกือบครบทุกประเทศแลว (เชน อนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็ก) ใหเขาเปนภาคีใหครบถวน เพื่อมาตรฐานเดียวกัน อันเปนการปฏิบัติตามหลักการพื้นฐาน ในเรื่องของการไมเลือกปฏิบัติและความเสมอภาค

Page 70: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

68

4. สนธิสัญญาที่มีผลตอการคุมครองประชากรจํานวนมากหรือเพื่อคุมครองกลุมพิเศษกลุมใหญ ๆ นอกเหนือจากสนธิสัญญาดานเด็กและสตรีควรไดรับการพิจารณาจัดลําดับเขาเปนสนธิสัญญาหลักและเรงรัดใหมีการลงนามเขาเปนรัฐภาคีดวย เชน อนุสัญญาวาดวยการปราบปรามการคามนุษยและการแสวงประโยชนจากการคาประเวณีของผูอ่ืน (Convention for the Suppression of the Traffic in Persons and of the Exploitation of the Prostitution of Others 1949) ซ่ึงออกประกาศใชตั้งแตป 2492 และอนุสัญญาตอตานองคกรอาชญากรรมขามชาติ (Convention against Transnational Organized Crime 2000) ซ่ึงออกในป 2543 5. การชักชวนใหรัฐภาคีจัดทํารายงานดวยความรับผิดชอบและเต็มใจนั้น องคการสหประชาชาติควรใชทาทีในทางสรางสรรค เนนการชี้ใหรัฐภาคีตระหนักถึงประโยชนที่รัฐและประชาชนจะไดรับเองโดยตรงจากการจัดทํารายงานในประเด็นของการประเมินสถานการณดานสิทธิมนุษยชนภายในประเทศที่ จะชวยใหไดพบจุดออนและขอบกพรองที่จะปรับปรุง เพื่อใหเกิดสิทธิและคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นของประชากร และเกิดศักดิ์ศรีเกียรติภูมิของประเทศในประชาคมโลก และนอกจากนี้บรรยากาศ ในการชี้แจงประกอบการเสนอรายงาน ซ่ึงตองทําโดยการเผชิญหนาและตอบคําถามดวยวาจา ควรเปนบรรยากาศที่เปนมิตร มีการรับฟงดวยความเขาใจและมีการสนทนาโตตอบในทางสรางสรรค รัฐบาลไทย การจัดทํารายงานตามสนธิสัญญาดานสิทธิมนุษยชน 5 ฉบับที่ประเทศไทยเขาเปนภาคี เปนภารกิจที่ตองกระทําตามขอผูกพันของสนธิสัญญาที่รัฐบาลไทยไดลงนามเขาเปนภาคีไว ซ่ึงมีขอกําหนดของสนธิสัญญาในทํานองเดียวกันวา รัฐภาคีรับที่จะเสนอรายงานวาดวยมาตรการตาง ๆ ซ่ึงรัฐนั้น ๆ ไดรับเอาไวในอันที่จะทําใหสิทธิที่ไดรับรองไวในกติกา/อนุสัญญาบังเกิดผลและความกาวหนาของการใชสิทธิเหลานั้น ทั้งนี้โดยมีระยะเวลาของการเสนอรายงานตามที่แตละสนธิสัญญากําหนด

ประเทศไทยมีโครงสรางการรับผิดชอบตองานดานสิทธิมนุษยชนเปน 2 ระดับ โดยมีองคกร 2 หนวยงานที่ทําหนาที่ดานสิทธิมนุษยชน องคกรหนึ่ง ทําหนาที่ระดับชาติในการกําหนดนโยบายประสานงานสงเสริมการปฏิบัติและตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนตลอดจนสรางความรูความเขาใจในเร่ืองนี้ ในขณะที่อีกองคกรหนึ่ง ทําหนาที่เปนหนวยงานปฏิบัติการในการคุมครองประชาชนผูเสียหายจากการถูกละเมิดสิทธิ พัฒนาระบบ มาตรการและกลไกชวยเหลือ คุมครองผูถูกละเมิดและระงับขอพิพาทในสังคม ไดแก 1) คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ เปนองคการตามรัฐธรรมนูญ (ม. 199-200) อยูในโครงสรางฝายนิติบัญญัติ มีอํานาจหนาที่ - สงเสริมการเคารพและการปฏิบัติตามหลักสิทธิมนุษยชนทั้งในประเทศและระหวาง ประเทศ

Page 71: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

69

- ตรวจสอบและรายงานการกระทําหรือละเลย การกระทําอันละเมิดสิทธิมนุษยชนตาม พันธกรณีระหวางประเทศและเสนอมาตรการแกไข - เสนอแนะนโยบายและขอเสนอในการปรับปรุงกฎหมายตอรัฐสภาและคณะรัฐมนตรี เพื่อสงเสริมคุมครองสิทธิมนุษยชนตลอดจนเสนอความเห็นในกรณีประเทศไทยจะเขาเปนภาคีสนธิสัญญาดานสิทธิมนุษยชน - สงเสริมการศึกษาวิจัย เผยแพรความรู - สงเสริมความรวมมือประสานงานดานสิทธิมนุษยชน

- จัดทํารายงานประจําปเพื่อประเมินสถานการณดานสิทธิมนุษยชนภายในประเทศ เสนอรัฐสภา คณะรัฐมนตรีและสาธารณชน - ประเมินผลและจัดทํารายงานผลการปฏิบัติงานประจําปเสนอตอรัฐสภา 2) กรมคุมครองสิทธิและเสรีภาพ กระทรวงยุติธรรม เปนองคการตามโครงสรางของฝายบริหาร มีภารกิจเกี่ยวกับ - การดูแลคุมครองสิทธิและเสรีภาพที่ประชาชนพึงไดรับตามกฎหมาย - การจัดวางระบบ พัฒนากลไก มาตรการเกี่ยวกับการระงับขอพิพาทและการคุมครองสิทธิเสรีภาพของประชาชน - สงเสริม ประสานงาน และสรางความรูเกี่ยวกับการคุมครองสิทธิและเสรีภาพใหกับประชาชน - ดําเนินการใหพยาน ผูเสียหาย และจําเลยในคดีอาญาไดรับความคุมครอง ชวยเหลือ เยียวยา รวมทั้งคาชดเชยในเบื้องตน เพื่อใหประชาชนไดรับการคุมครองและดูแลจากรัฐอยางทั่วถึงและเทาเทียมกัน ดังนั้นขอเสนอที่มีตอรัฐบาลจึงไดแก 7. รัฐบาลควรจัดระบบและวางรากฐานการดําเนินงานเรื่องการจัดทํารายงานตามสนธิสัญญาดานสิทธิมนุษยชน ซ่ึงเปนภารกิจที่ตองกระทําของรัฐ ใหชัดเจนและมั่นคงถาวรเสียตั้งแตในระยะตนเพื่อความราบรื่น คลองตัวในการดําเนินภารกิจนี้ตอไปในระยะยาวตามพันธกิจการจัดทํารายงานทุก 4-5 ปตามขอกําหนดของแตละสนธิสัญญา โดยกําหนดมอบหมายภารกิจตอองคกรรับผิดชอบตอการดําเนินการเรื่องสิทธิมนุษยชนใหชัดเจนวาภารกิจใดจะมอบหมายองคกรใด ซ่ึงพิจารณาจากภารกิจของทั้ง 2 หนวยงานแลว ภารกิจในระดับปฏิบัติการ เชน การจัดทํารายงานนี้นาจะมอบหมายใหเปนความรับผิดชอบของกรมคุมครองสิทธิและเสรีภาพ ในขณะที่ภารกิจการกระตุนกํากับติดตามและใหคําแนะนําตอการจัดทํารายงานใหครบถวนและทันตามกําหนดเวลา ควรจะเปนความรบั ผิดชอบของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ 8. ดวยขอเสนอแนะนี้ รัฐบาลควรตั้ง คณะกรรมการจัดทําเอกสารหลักตามสนธิสัญญาระหวางประเทศดานสิทธิมนุษยชนขึ้น เพื่อทําหนาที่จัดทําเอกสารหลักของประเทศ บรรจุไวเปนสวนแรก

Page 72: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

70

ของรายงานตามสนธิสัญญาดานสิทธิมนุษยชน โดยคณะกรรมการชุดนี้จะเปนคณะกรรมการถาวรระดับชาติที่มีการประชุมดําเนินงานอยางสม่ําเสมอ เพื่อชวยปรับเอกสารใหทันสมัยและเปนปจจุบันทุกป หรืออาจเร็วกวานั้นในกรณีที่มีเหตุการณหรือวิกฤตการสําคัญตาง ๆ เกิดขึ้น 9. รัฐบาลควรจะไดพิจารณาเตรียมการสําหรับการถูกเรงรัดใหเขาเปนภาคีของสนธิสัญญาเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนฉบับอื่น ๆ จากสหประชาชาติซ่ึงยังเหลือสนธิสัญญาหลักอีก 2 ฉบับ ซ่ึงนาจะถูก เรงรัดมาในเร็ววันคือ - อนุสัญญาวาดวยการตอตานการทารุณกรรมและการปฏิบัติอ่ืนหรือการลงโทษที่โหดรายไรมนุษยธรรม หรือย่ํายีศักดิ์ศรี (Convention against Torture and Other Cruel, Inhuman or Degrading Treatment or Punishment - CAT) และ - อนุสัญญาวาดวยการคุมครองสิทธิของคนงานอพยพและสมาชิกครอบครัว (International Convention on the Protection of the Rights of All Migrant Workers and Members of Thair Families - CMW) ซ่ึงอาจจะพิจารณามอบหมายกรมคุมครองสิทธิและเสรีภาพรับผิดชอบ CAT และกระทรวงแรงงาน รับผิดชอบ CMW เปนตน นอกจากนี้ยังมีสนธิสัญญาอื่นๆ ซ่ึงอาจติดตามมาอีกเชนเดียวกันจึงควรขอใหสํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติเปนผูเสนอความเห็นตามอํานาจหนาที่ 10. ควรเรงรัดการดําเนินขั้นตอนเพื่อการถอนและถอนขอสงวนและถอยแถลงตาง ๆ ที่ยังคงอยูในสนธิสัญญา 5 ฉบับ ซ่ึงไดแก - ขอสงวนตออนุสัญญาวาดวยการขจัดการเลือกปฏิบัติตอสตรีในทุกรูปแบบ (CEDAW) ขอ 16 และ 29 เกี่ยวกับการสมรสและความสัมพันธทางครอบครัว และ การตีความ และการระงับขอพิพาท - ขอสงวนตออนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็ก (CRC) ขอ 7 และ 22 เกี่ยวกับสิทธิในการ จดทะเบียนเกิดโดยมีช่ือและไดสัญชาติขอเด็ก และสถานการณของเด็กผูล้ีภัย - ถอยแถลงตีความตอกติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (ICCPR) 4 ประเด็นตามขอ 2, 6, 9 และ 20 เกี่ยวกับเรื่องสิทธิในการกําหนดเจตจํานงของตนเอง การหามประหารชีวิตผูที่มีอายุต่ํากวา 18 ป การนําตัวผูตองหาเขาสูการพิจารณาคดีโดยพลัน และการหามโฆษณาชวนเชื่อเพื่อทําสงคราม - ถอยแถลงตีความตอกติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม (ICESCR) 1 ประเด็นตามขอ 1 เกี่ยวกับสิทธิในการกําหนดเจตจํานงของตนเอง - ถอยแถลงตีความตออนุสัญญาวาดวยการขจัดการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติในทุกรูปแบบ (ICERD) ทั่วไป 1 ประเด็นกับ 2 ขอคือ ขอ 4 และ 22 เกี่ยวกับพันธกรณีที่เกินกวารัฐธรรมนูญแหง

Page 73: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

71

ราชอาณาจักรไทย ความจําเปนที่ตองออกกฎหมายทางบวกตอการขจัดหรือกระตุนการเลือกปฏิบัติและการเสนอกรณีพิพาทตอศาลยุติธรรมระหวางประเทศ กรมคุมครองสิทธิสิทธิและเสรีภาพ 11. กรมคุมครองสิทธิและเสรีภาพ ดวยภารกิจตามกฎหมายของกฎกระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2545 ตองทําหนาที่ เปนกลไกปฏิบัติโดยตรงของประเทศไทยในการปฏิบัติพันธกิจหลักตามสนธิสัญญาดานสิทธิมนุษยชนไมนอยกวา 3 ใน 4 เร่ืองคือ นอกเหนือจากการประกันใหเกิดสิทธิตามสนธิสัญญา ซ่ึงสวนใหญไดบรรจุอยูในรัฐธรรมนูญแลว ภารกิจตามกฎหมายของกรมนี้คือตองปฏิบัติ พันธกิจหลักที่รับมาจากสนธิสัญญาดานสิทธิมนุษยชนอีก 3 เร่ืองหลัก คือ 1) การดําเนนิการใหเกิดสิทธิและคุมครองสิทธิ 2) การเผยแพรสิทธิ และหลักการของสนธิสัญญาตอสาธารณชน 3) การจัดทํารายงานผลการดําเนินงานที่จัดใหมีขึ้นเพื่อใหสิทธินั้นๆ บังเกิดผลตามสนธิสัญญาที่รับผิดชอบ ซ่ึงขณะนี้มี 2 ฉบับคือ กติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิของพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (ICCPR) และอนุสัญญาวาดวยการขจัดการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติในทุกรูปแบบ (ICERD) และดวยความตระหนักในภารกิจและสถานะการเปนกลไกของรัฐในเรื่องนี้ จึงเปนที่มาของการศึกษาเรื่องการวางแนวทางการจัดทํารายงานประเทศตามสนธิสัญญาดานสิทธิมนุษยชนขึ้นในครั้งนี้ อยางไรก็ตาม ภารกิจและบทบาทของกรมยังมีอีกมากมาย ซ่ึงเปนภารกิจที่ทาทายและสรางสรรค จึงควรเรงรัดใหผลงานไดปรากฏเปนรูปธรรมชัดเจน ประจักษแกสาธารณชนโดยเร็ว

12. ในสวนที่เกี่ยวกับสนธิสัญญาดานสิทธิมนุษยชนและการจัดทํารายงาน ในขั้นตนควร เปนกลไกในการปฏิบัติภารกิจของรัฐบาลที่รับมาตามสนธิสัญญาคือ 12.1 การเรงรัดจัดทําเอกสารหลัก (common core document) ซ่ึงกรมตองเรงดําเนินการรวมกับสํานักงานอัยการสูงสุดและกระทรวงการตางประเทศ ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 7 มิถุนายน (ตามหนังสือสํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ที่ นร 0504/7793 ลงวันที่ 16 มิถุนายน 2548)โดยรับผิดชอบดําเนินการจัดตั้งองคกร/คณะกรรมการจัดทํารายงานประเทศ หรือคณะกรรมการจัดทําเอกสารหลักตามสนธิสัญญาระหวางประเทศดานสิทธิมนุษยชน ดวยโครงสรางและสถานะที่สอดคลองกับแนวทางเสนอแนะฯ ขององคการสหประชาชาติโดยกรมปฏิบัติหนาที่เปนฝายเลขานุการ 12.2 การเรงรัดการถอนขอสงวนและถอยแถลงตีความที่ยังคงอยูในสนธิสัญญาทั้ง 5 ฉบับที่ประเทศไทยเปนภาคี ซ่ึงโดยหนาที่การเปนกลไกปฏิบัติโดยตรงของประเทศ กรมตองรับภารกิจนี้มาดําเนินการในนามของรัฐบาล โดยปรึกษาขอคําแนะนําจากคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติในฐานะหนวยนโยบายที่มีหนาที่เสนอความเห็นตอคณะรัฐมนตรีและรัฐสภาในการจะเขาเปนภาคีสนธิสัญญาเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน และประสานงานกับทุกหนวยงานที่รับผิดชอบตอสนธิสัญญาแตละฉบับวางขั้นตอนและดําเนินกระบวนการใหบรรลุเปาหมาย โดยมีกําหนดเวลาที่ชัดเจน

Page 74: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

72

13. นอกจากนี้ในฐานะกลไกปฏิบัติของรัฐที่ตองดําเนินพันธกิจตามสนธิสัญญาดานสิทธิมนุษยชนแทนรัฐบาล กรมสงเสริมสิทธิและเสรีภาพตองเปนองคกรกลาง ประสานงานกับหนวยงานภาครฐัที่รับผิดชอบตอสนธิสัญญาทุกฉบับ โดยทําการสํารวจสถานการณเขาเปนภาคีตอพิธีสาร หรือสนธิสัญญาฉบับรองฯ อ่ืน ๆ ที่ประเทศไทยไดเขาเปนภาคีไวมากกวาสนธิสัญญา 5 ฉบับ ที่ไดนําเสนอในเอกสารนี้ รวมทั้งประสานงานกับองคกรภาคเอกชนตางๆ ที่ดําเนินงานดานสิทธิมนุษยชน เพื่อสนับสนุน รวมมือ และติดตามภารกิจ การสงเสริมใหเกิดสิทธิ การเผยแพรแนวคิดและการจัดทํารายงานตามสนธิสัญญานั้น ๆ ประสานงานเสริมสรางเจตคติและความรูความเขาใจในเรื่องสิทธิมนุษยชนและสนธิสัญญาที่มีผลตอการปฏิบัติงานของหนวยงานรัฐบางกลุม เชน หนวยงานที่รับผิดชอบการบังคับใชกฎหมาย หนวยที่ดูแล การจํากัดสิทธิเสรีภาพของประชาชนผูกระทําผิดกฎหมาย โดยเฉพาะอยางยิ่งแนวคิดเกี่ยวกับการคุมครองสิทธิบางเรื่องใหมและละเอียดออนที่ตองปรับพื้นฐานเจตคติของสังคมและวัฒนธรรมอีกมาก เชนความเสมอภาคทางเพศ สิทธิเด็ก สิทธิของชนเผา ชนพื้นเมือง และคนไทยอพยพบางกลุมที่ไมมีสถานะบุคคล เปนตน คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาต ิ 14. คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ดวยอํานาจหนาที่ตามพระราชบัญญัติคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ พ.ศ. 2542 ในฐานะองคกรนโยบายระดับชาติที่มีหนาที่สงเสริม ตรวจสอบ กํากับติดตามและประเมินการปฏิบัติตามหลักสิทธิมนุษยชนทั้งระดับชาติและระหวางประเทศ และตองใหความเห็นตอรัฐบาลและรัฐสภาในการเขาผูกพันตอพันธกรณีระหวางประเทศดานสิทธิมนุษยชน เปนองคกรที่ถูกกลาวถึงไวในเอกสารแนวทางเสนอแนะวาดวยกระบวนการจัดทํารายงานฯ ขององคการสหประชาชาติ ดวยความประสงคเพื่อทราบขอมูลขององคกรนี้ ในฐานะองคกรระดับชาติเกี่ยวกับบทบาทในการสงเสริมการเคารพสิทธิ คุมครองสิทธิ และการปฏิบัติตามหลักสิทธิมนุษยชน โดยเฉพาะระบุถึงความรับผิดชอบโดยตรงตอเร่ืองของสิทธิที่คอนขางละเอียดออนยิ่งขึ้นเกี่ยวกับความเสมอภาคทางเพศ เชื้อชาติ และสิทธิเด็ก ขอมูลเกี่ยวกับภารกิจที่ไดรับมอบหมาย องคประกอบ งบประมาณ กิจกรรม และสถานภาพขององคกร ซ่ึงเปนองคกรอิสระวาเปนไปตามหลักการกรุงปารีสหรือไม (Paris Principles) -E 1992/22 (A/res/48/134) โดยเฉพาะบทบาทที่เปนอิสระตามหลักการนี้ตอกระบวนการจัดทํารายงานของประเทศในการติดตามรายงานของรัฐที่ตองเสนอตอองคกรตามสนธิสัญญา รวมถึงการกํากับติดตามอยางจริงจัง ตอการถอนขอสงวน/ถอยแถลงและการปฏิบัติตามสรุปขอสังเกตและขอเสนอแนะขององคกรตามสนธิสัญญา ในระดับชาติ ดังนั้นคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ จึงควรทบทวนและเรงรัดบทบาทตามที่ระบุในรายงาน และที่สําคัญควรไดเผยแพรสถานะ/บทบาทอิสระตามหลักการกรุงปารีใหสาธารณชนไดทราบดวย

Page 75: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

73

หนวยงานภาครัฐอื่น ๆ 15. หนวยงานภาครัฐที่เปนหนวยงานรับผิดชอบตามสนธิสัญญาดานสิทธิมนุษยชนและหนวยงานที่เกี่ยวของอื่น ๆ ซ่ึงไดแก

- กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย - สํานักงานอัยการสูงสุด - ศาลยุติธรรม - กระทรวงยุติธรรม - กระทรวงศึกษาธิการ - กระทรวงแรงงาน - กระทรวงมหาดไทย

สํานักงานตํารวจแหงชาติ - องคกรปกครองสวนทองถ่ิน : เทศบาล องคการบริหารสวนจังหวัด

และองคการบริหารสวนตําบล ฯลฯ

ซ่ึงในปจจุบันบางกระทรวงมีหนวยงานที่รับผิดชอบโดยตรงตอสนธิสัญญาบางฉบับ เชน - สํานักงานอัยการสูงสุด รับผิดชอบตอกติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิทางเศรษฐกิจ

สังคมและวัฒนธรรม (ICESCR) - กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย (พม.) โดยสํานักงานสงเสริม

สวัสดิภาพและพิทักษเด็ก เยาวชน ผูดอยโอกาส คนพิการ และผูสูงอายุ (สท.) รับผิดชอบตออนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็ก (CRC) สํานักงานกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว (สค.) รับผิดชอบตออนุสัญญาวาดวยการขจัดการเลือกปฏิบัติตอสตรีในทุกรูปแบบ (CEDAW) ควรมีบทบาทอยางจริงจังในคณะกรรมการจัดทําเอกสารหลักฯ ของรายงาน และควรไดรับการสงเสริม กระตุน แนะนํา และชวยเหลือในเรื่องการจัดทํารายงานตามเอกสารโดยตรงของสนธิสัญญาดวยการประสานงาน แลกเปลี่ยนประสบการณกับคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ และกรมคุมครองสิทธิและเสรีภาพ อยางใกลชิด กระทรวงและหนวยงานอื่นๆ ที่ระบุขางตนก็ควรจะมีบทบาทอยางเทาเทียมกันในคณะกรรมการจัดทําเอกสารหลัก โดยเฉพาะในเรื่องที่เปนความรับผิดชอบโดยตรง เชน เร่ืองสถานะบุคคล โดยกระทรวงมหาดไทยและองคการปกครองสวนทองถ่ิน การคุมครองดานกฎหมาย และกระบวนการยุติธรรม โดยศาลยุติธรรม และกระทรวงยุติธรรม สํานักงานตํารวจแหงชาติ ดานแรงงานโดยกระทรวงแรงงาน ตลอดจนการคุมครองสิทธิอ่ืน ๆ เชน การชวยเหลือคุมครองเหยื่อการคามนุษย โดยกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย สํานักงานตํารวจแหงชาติ และองคกรปกครองสวนทองถ่ิน เปนตน

Page 76: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

74 ภาคสวน/องคกรเอกชน 16. ภาคสวน/องคกรเอกชนมี 3 กลุมหลักที่ควรใหความสนใจ คือ - องคกรกลางเอกชนระดับชาติซ่ึงเปนศูนยกลางเครือขายที่เกี่ยวของ เชน สภาองคการพัฒนาเด็กและเยาวชนฯ สภาสตรีแหงชาติฯ สภาสังคมสงเคราะหแหงประเทศไทยฯ สภาผูปกครองและครู ฯลฯ - องคกรเอกชนที่ปฏิบัติงานดานสิทธิมนุษยชนที่เกี่ยวกับเด็ก เยาวชน สตรี คนพิการ ผูสูงอายุ ชนเผา ฯลฯ เชน สมาคม/มูลนิธิตางๆ ที่ทํางานกับเด็กและเยาวชน องคกรสตรี สมาคม/มูลนิธิ ที่ทํางานเกี่ยวกับสตรี กลุมชมรมตาง ๆ ที่ทํางานเฉพาะเรื่องในดานสิทธิมนุษยชนดานตาง ๆ - องคกรภาคประชาสังคมในชุมชนทั้งในสวนกลางและสวนภูมิภาค ซ่ึงมีจํานวนมากกระจายอยูทั่วประเทศ องคกรภาคเอกชนทั้งองคกรและภาคประชาสังคม ปฏิบัติงานโดยตรงตอประชาชนและกลุมเปาหมายที่ตองการคุมครองสิทธิในพื้นที่ระดับรากหญา ทําหนาที่ชวยแบงเบาภารกิจของภาครัฐ และมีประสบการณตรง สามารถใหขอมูลและขอเสนอแนะที่เกิดจากประสบการณการปฏิบัติงานจริงโดยตรงตอกลุมเปาหมาย และดวยความสัมพันธและทัศนคติที่ดีตอกัน ระหวางหนวยงานภาครัฐและภาคเอกชน ที่เปนลักษณะพิเศษของประเทศไทย จะชวยใหรายงานของรัฐมีขอมูลที่ครอบคลุม ชัดเจน ใหขอมูลจริงในเร่ืองตางๆ ดวยเนื้อหาที่นาสนใจ และที่สําคัญจะทําใหรายงานของภาครัฐจะไมแตกตางจนสวนทางกับรายงานคูขนานของภาคเอกชนที่ตองจัดทําเสนอตอองคองคการสหประชาชาติเชนเดียวกัน การศึกษาเพื่อจัดทํา คูมือการจัดทํารายงานประเทศตามพันธกรณีระหวางประเทศที่ประเทศไทยเปนภาคี ที่ศึกษาจากบทเรียนที่ไดรับของประเทศไทย และแนวทางรวมเพื่อการจัดทํารายงานของสนธิสัญญาระหวางประเทศดานสิทธิ มนุษยชนและแนวทางการจัดทําเอกสารหลักและเอกสารโดยตรงของสนธิสัญญาเฉพาะเรื่องขององคการสหประชาชาตินี้จะชวยใหหนวยงานภาครัฐที่ตองรับผิดชอบการจัดทํารายงาน ไดมีแนวทางและกระบวนการจัดทํารายงานไดอยางมีประสิทธิภาพ และทันกําหนดเวลาตอไป

Page 77: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

ภาคผนวก

Page 78: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร
Page 79: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

77

- 1 -

ภาคผนวกหลัก องคการสหประชาชาต ิ HR1 กลไกระหวางประเทศ distr. ดานสิทธิมนุษยชน GENERAL HRI/MC/2005/3 1 มิถุนายน 2548 ตนฉบับภาษาอังกฤษ การประชุมนานาคณะกรรมการครั้งที่ 4 เจนีวา 20-22 มิถุนายน 2548 การประชุมครั้งที่ 17 ของประธานองคกรตามสนธิสัญญาดานสิทธิมนุษยชน เจนีวา 23-24 มิถุนายน 2548 ระเบียบวาระที่ 7 แนวทางรวมเพื่อการจัดทํารายงานของสนธิสัญญาระหวางประเทศดานสิทธิมนุษยชน และแนวทางการจัดทําเอกสารหลัก และเอกสารโดยตรงของสนธิสัญญาเฉพาะเรื่อง

รายงานของฝายเลขานุการ เอกสารฉบับนี้ นําเสนอภาคปรับปรุงของรางแนวทางรวมซึ่งไดรวมเอาการแกไขเปลี่ยนแปลงหลายประการใสไวทั้งการแกไขที่เสนอโดยองคกรตามสนธิสัญญา รัฐภาคี องคกรตางๆ ของสหประชาติ กองทุน และโครงการตางๆ และองคกรภาคเอกชน เอกสารนี้จัดเตรียมโดยฝายเลขานุการตามการรองขอของการประชุมนานาคณะกรรมการครั้งที่ 3 และการประชุมครั้งที่ 16 ของประธานองคกรตามสนธิสัญญา GE.05-42226

Page 80: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

78

- 2 -

สารบัญ หนา แนวทางเสนอแนะวาดวยกระบวนการจัดทํารายงานเพือ่เสนอตอองคกรกํากับติดตาม สนธิสัญญาระหวางประเทศดานสิทธิมนุษยชน 4 ความมุงหมายของแนวทาง 4 1. ขอแนะนําเพื่อการเตรียมการสําหรับกระบวนการจัดทํารายงาน 6 ความมุงหมายของการรายงาน 6 การเก็บรวบรวมขอมูลและการรางรายงาน 8 กําหนดระยะเวลาในการเสนอรายงาน 9 2. ขอแนะนําเกี่ยวกับรูปแบบของรายงาน 9 3. ขอแนะนําเกี่ยวกับเนื้อหาของรายงาน 11 สวนแรกของรายงาน เอกสารหลัก 13 3.1 ขอมูลทั่วไปและขอมูลสถิติของรัฐภาคีผูเสนอรายงาน 14 ก. โครงสรางประชากร เศรษฐกจิ สังคม และลักษณะทางวัฒนธรรม 14 ข. โครงสรางของรัฐธรรมนูญ ระบบการเมือง และกฎหมาย 14 3.2 กรอบแนวทางพื้นฐานเพื่อการคุมครองและการสงเสริมสิทธิมนุษยชน 14 ค. การยอมรับมาตรฐานระหวางประเทศดานสิทธิมนุษยชน 14 ง. กรอบกฎหมายพืน้ฐานภายในเพื่อการคุมครองสิทธิมนุษยชนในระดับชาติ 17 จ. กรอบแนวทางพืน้ฐานภายในเพื่อสงเสริมสิทธิมนุษยชนในระดับชาต ิ 18 ฉ. บทบาทของกระบวนการจัดทํารายงานในการสงเสริมสิทธิมนุษยชนในระดับชาต ิ 20 ช. ขอมูลอ่ืน ๆ เกี่ยวกับเรื่องสิทธิมนุษยชน 21 3.3 การปฏิบัติตามขอบัญญัติของหลักสิทธิมนุษยชนพื้นฐานตามหลักการรวมของ สนธิสัญญาตาง ๆ 22 ซ. หลักการไมเลือกปฏิบัติและความเสมอภาค 23 สวนที่สองของรายงาน เอกสารโดยตรงของสนธิสัญญาเฉพาะเรื่อง 25 ภาคผนวก 1 ภาระหนาที่ขององคกรตามสนธิสัญญาในการรองขอรายงานจากรัฐภาคี 27 ภาคผนวก 2 อนุสัญญาระหวางประเทศทีเ่กี่ยวกับประเดน็สิทธิมนุษยชน 32 ก. อนุสัญญาหลักระหวางประเทศดานสิทธิมนุษยชนและพิธีสาร 32 ข. อนุสัญญาอื่นๆ ของสหประชาชาติดานสิทธิมนษุยชนและอนสัุญญาที่เกี่ยวของ 32

Page 81: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

79

- 3 -

ค. อนุสัญญาขององคการแรงงานระหวางประเทศ 33 ง. อนุสัญญาขององคการศึกษาวิทยาศาสตรและวัฒนธรรมแหงสหประชาชาต ิ 34 จ. อนุสัญญาของการประชุมเฮกวาดวยกฎหมายระหวางประเทศวาดวยคดีบุคคล 34 ฉ. อนุสัญญาเจนีวาและสนธิสัญญาอื่น ๆ วาดวยกฎหมายมนษุยธรรมระหวางประเทศ 35 ภาคผนวก 3 การประชุมสัมมนาระดับโลก 36 ภาคผนวก 4 ตัวช้ีวดัเกีย่วกบัสิทธิมนุษยชน 37 ภาคผนวก 5 เปาหมายการพัฒนาของสหสัวรรษ 39

Page 82: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

80 - 4 -

แนวทางเสนอแนะวาดวยกระบวนการจัดทํารายงานเพื่อเสนอตอองคกรกํากับติดตามสนธิสัญญาระหวางประเทศดานสิทธิมนุษยชน

ความมุงหมายของแนวทาง 1. แนวทางเสนอแนะนี้มุงแนะนําแนวทางแกรัฐภาคีในการดําเนินพันธกิจการจัดทํารายงานใหครบถวนสมบูรณตาม 1.1 ขอ 40 ของกติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (ICCPR)ซ่ึงตองรายงานตอ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน(HRC) 1.2 ขอ 16 ของกติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม(ICESCR)ซ่ึงตอง รายงานตอคณะกรรมการวาดวยสิทธิทางสังคมและวัฒนธรรม(CESCR) 1.3 ขอ 9 ของอนุสัญญาวาดวยการขจัดการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติในทุกรูปแบบ(ICERD)ซ่ึงตองรายงาน ตอคณะกรรมการวาดวยการขจัดการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติ(CERD) 1.4 ขอ 18 ของอนุสัญญาวาดวยการขจัดการเลือกปฏิบัติตอสตรีในทุกรูปแบบซึ่งตองรายงานตอคณะ กรรมการวาดวยการขจัดการเลือกปฏิบัติตอสตรีในทุกรูปแบบ(CEDAW) 1.5 ขอ 19 ของอนุสัญญาวาดวยการตอตานการทารุณกรรมและการปฏิบัติอ่ืนหรือการลงโทษที่โหดราย ไรมนุษยธรรมหรือย่ํายีศักดิ์ศรี ซ่ึงตองรายงานตอคณะกรรมการตอตานการทารุณกรรม(CAT) 1.6 ขอ 44 ของอนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็ก ซ่ึงตองรายงานตอคณะกรรมการวาดวยสิทธิเด็ก(CRC) 1.7 ขอ 73 ของอนุสัญญาวาดวยการคุมครองสิทธิของคนงานอพยพและสมาชิกครอบครัว ซ่ึงตอง รายงานตอคณะกรรมการวาดวยคนงานอพยพ(CMW) แนวทางเหลานี้ไมใชกับรายงานที่จัดทําโดยรัฐทั้งหลายตามขอ 8 ของพิธีสารเลือกรับของอนุสัญญาวาดวย สิทธิเด็กวาดวยความเกี่ยวพันของเด็กในความขัดแยงกันดวยกําลังอาวุธ และขอ 12 ของพิธีสารเลือกรับ

Page 83: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

81 - 5 -

ของอนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็กวาดวยการคาเด็ก คาประเวณีเด็ก และสื่อลามกอนาจารเกี่ยวกับเด็ก ถึงแมวารัฐทั้งหลายประสงคจะพิจารณาใชขอมูลเหลานี้เมื่อเตรียมการจัดทํารายงานอื่น ๆ เพื่อเสนอตอองคกรตามสนธิสัญญาตาง ๆ 2. รัฐภาคีทั้งหลายของแตละสนธิสัญญาดานสิทธิมนุษยชนเหลานี้ รับที่จะเสนอรายงานตามขอบัญญัติ(ตามภาคผนวก 1) ตอองคกรตามสนธิสัญญาที่เกี่ยวของในเรื่องเกี่ยวกับมาตรการ ซ่ึงรวมถึงมาตรการดานกฎหมาย กระบวนการยุติธรรม การบริหาร หรือมาตรการอื่นๆ ซ่ึงรัฐภาคีรับปฏิบัติ และความกาวหนาในการทําใหการคํานึงและการใชสิทธิที่ยอมรับตามสนธิสัญญาเหลานี้บังเกิดผล สนธิสัญญาทั้งหลายรองขอใหรัฐภาคีระบุในรายงานถึงปจจัยและปญหาตาง ๆ ถามีที่สงผลกระทบตอการปฏิบัติตามสนธิสัญญา 3. รายงานที่เสนอตามแนวทางรวมฉบับนี้ จะชวยใหองคกรตามสนธิสัญญาแตละคณะและรัฐภาคีไดเห็นภาพรวมของความกาวหนา ที่เกิดจากการปฏิบัติตามสนธิสัญญาที่เกี่ยวของในบริบทที่กวางขึ้นของพันธกิจดานสิทธิมนุษยชนในระดับนานาชาติของรัฐนั้น และวางกรอบแนวทางในรูปแบบเดียวกันที่คณะกรรมการแตละคณะจะทําใหสอดคลองกับองคกรตามสนธิสัญญาอื่นๆ เทาที่จะกระทําได 4. การดําเนินการตามแนวทางนี้จะ ก) หลีกเลี่ยงความซ้ําซอนที่ไมจําเปนในการเสนอขอมูลที่เสนอแลวตอองคกรตามสนธิสัญญา ข) ลดชองทางที่รายงานจะถูกพิจารณาวามีความครอบคลุมหรือมีรายละเอียดไมเพียงพอ ที่จะชวยให องคกรตามสนธิสัญญาปฏิบัติทําหนาที่ไดอยางครบถวน ค) ลดความจําเปนที่คณะกรรมการจะตองรองขอขอมูลเพิ่มเติมกอนพิจารณารายงาน ง) สรางแนวทางที่สอดคลองกันในระหวางคณะกรรมการตางๆในการพิจารณารายงาน และ จ) ชวยใหคณะกรรมการแตละคณะสามารถพิจารณาสถานการณดานสิทธิมนุษยชนในรัฐภาคีตางๆบน พื้นฐานที่เทาเทียมกัน 5. รัฐภาคีจะตองรายงานเฉพาะการปฏิบัติตามขอบัญญัติของสนธิสัญญาที่ตนเปนภาคี ซ่ึงทั้งนี้หากเห็นวาเหมาะสม

Page 84: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

82

- 6 -

ตามขอบัญญัติของแตละสนธิสัญญา องคกรตามสนธิสัญญาอาจขอขอมูลเพิ่มเติมจากรัฐภาคีเพื่อชวยใหสามารถทําหนาที่ไดครบถวนในการตรวจสอบการปฏิบัติตามสนธิสัญญาของรัฐภาคี แมวารายงานที่เสนอจะดําเนินการตามแนวทางนี้แลวก็ตาม 6. แนวทางไดวางขอแนะนําใหกับรัฐภาคี ในเรื่องรูปแบบและเนื้อหาของรายงานที่เสนอแนะใหจัดทํา เพื่อชวยใหบรรลุผลตามพันธกิจในการจัดทํารายงานของรัฐภาคีตอองคกรตามสนธิสัญญาที่กํากับติดตามการปฏิบัติตามสนธิสัญญานั้น แนวทางจัดเปน 3 สวน สวนที่ 1 และ 2 ใชกับรายงานทุกฉบับที่จัดทําขึ้นเพื่อเสนอตอองคกรตามสนธิสัญญาใดก็ได และใหขอแนะนําทั่วไปในเรื่องการดําเนินกระบวนการจัดทํารายงานและรูปแบบที่แนะนําตามลําดับ สวนที่ 3 เปนขอแนะนําสําหรับรัฐทั้งหลายในเรื่องเนื้อหาของเอกสารหลักที่จะเสนอตอองคกรตามสนธิสัญญาทุกชุด และเอกสารโดยตรงตามสนธิสัญญาเฉพาะเรื่อง ที่จะเสนอตอแตละองคกร I. ขอแนะนําเพื่อการเตรียมการสําหรับกระบวนการจัดทํารายงาน ความมุงหมายของการรายงาน สิทธิมนุษยชนในมิติของภาพรวม 7. ระบบการรายงานที่ปรับปรุงนี้ มุงที่จะวางกรอบแนวทางภายในที่ชัดเจน ซ่ึงรัฐทั้งหลายสามารถบรรลุพันธกิจ การจัดทํารายงานภายใตสนธิสัญญาระหวางประเทศดานสิทธิมนุษยชนที่ตนเปนภาคี ในฐานะที่เปนสวนหนึ่งของกระบวนการที่ไดวางแนวทางไวอยางชัดเจนและครอบคลุม การเตรียมการนี้ไดรับการสนับสนุนจากเลขาธิการและสมัชชาใหญแหงสหประชาชาติ ซ่ึงสะทอนใหเห็นมิติในภาพรวมของสิทธิมนุษยชนที่กําเนิดขึ้นตามกติกาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน และยืนยันไวในสนธิสัญญาดานสิทธิมนุษยชนทั้งหลายวาสิทธิมนุษยชนนั้นเปนเรื่องที่เกี่ยวพันกันจนไมอาจแบงแยกได จนตองใหความสําคัญอยางเทาเทียมกันในสิทธิแตละดานที่ยอมรับไว เมื่อจัดทํารายงานรัฐภาคีจะตองคํานึงถึงการปฏิบัติเพื่อใหเกิดสิทธิที่คุมครองตามสนธิสัญญานั้นๆในบริบทโดยกวางของการปฏิบัติพันธกิจดานสิทธิมนุษยชนระดับนานาชาติ

Page 85: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

83

- 7 -

พันธกรณีตอสนธิสัญญา 8. กระบวนการรายงาน เปนสวนหนึ่งในการยืนยันของรัฐภาคีที่จะสืบสานพันธกรณีโดยเคารพและประกันการคํานึงถึงสิทธิที่กําหนดไวในสนธิสัญญาที่ตนเขาเปนภาคี พันธกรณีนี้จะตองถูกมองในบริบทรวมของพันธกรณีของทุกรัฐ คือเพื่อสงเสริมความเคารพตอสิทธิและเสรีภาพตามที่ระบุไวในปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน ดวยมาตรการตางๆ ทั้งในระดับชาติ และระดับนานาชาติ เพื่อยืนยันการยอมรับในความเปนสากล การมีผลกระทบและการคํานึงถึงดวย

การทบทวนการปฏิบัติดานสิทธิมนุษยชนในระดับชาติ 9. รัฐภาคีควรตองมองวา กระบวนการเตรียมการจัดทํารายงานเพื่อเสนอตอองคกรตามสนธิสัญญานั้น ไมเพียงแตเปนการทําหนาที่ตามพันธกิจระหวางประเทศเทานั้น แตยังเปนโอกาสที่จะไดประเมินสถานะการคุมครองสิทธิมนุษยชนในเขตอํานาจของรัฐ เพื่อการกําหนดนโยบายและการปฏิบัติในเรื่องนี้ กระบวนการเตรียมการทํารายงานใหโอกาสแกรัฐภาคีที่จะ (ก) ดําเนินการทบทวนอยางจริงจังเกี่ยวกับมาตรการที่รัฐไดปฏิบัติเพื่อปรับกฎหมายและนโยบายระดับชาติ ใหสอดคลองกับบทบัญญัติของสนธิสัญญาระหวางประเทศดานสิทธิมนุษยชนนั้นที่ตนเปนภาคีอยู (ข) กระตุนและติดตามความกาวหนาของการสงเสริมการใชสิทธิตามสนธิสัญญาในบริบทของการสงเสริม สิทธิมนุษยชนอยางกวางขวาง (ค) ระบุปญหาและขอขัดของในการปฏิบัติตามสนธิสัญญานั้น (ง) ประเมินความตองการและเปาหมายในอนาคต เพื่อการปฏิบัติสนธิสัญญานั้นใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น และ (จ) วางแผนและพัฒนานโยบายที่เหมาะสมเพื่อใหบรรลุเปาหมาย 10. กระบวนการจัดทํารายงานควรตองสนับสนุนและเอื้อใหเกิดประโยชนระดับชาติ ในเรื่องการมีสวนรวมของประชาชน การตรวจสอบสาธารณะตอนโยบายของรัฐบาล และขอผูกพันเชิงสรางสรรคตอประชาคมที่ดําเนินการดวยเจตนารมณเพื่อความรวมมือและความเคารพตอกัน ดวยจุดมุงหมายเพื่อความกาวหนาของการใชสิทธิทุกเรื่องที่คุมครองไวตามสนธิสัญญาที่เกี่ยวของ

Page 86: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

84

- 8 -

พื้นฐานเพื่อการสนทนาอยางสรางสรรคในระดับนานาชาต ิ11. ในระดับนานาชาติ กระบวนการรายงานสรางแนวทางใหเกิดการสนทนาอยางสรางสรรคระหวาง รัฐภาคีกับองคกรตามสนธิสัญญานั้น ซ่ึงไดจัดทําแนวทางนี้โดยปรารถนาจะเนนบทบาทในการสนับสนุนใหเกิดการปฏิบัติที่มีประสิทธิภาพตามตราสารระหวางประเทศดานสิทธิมนุษยชนและสนับสนุนความรวมมือระหวางประเทศในการสงเสริมและคุมครองสิทธิมนุษยชนโดยทั่วไป การเก็บรวบรวมขอมูลและการรางรายงาน 12. รัฐทั้งมวลเปนภาคีสนธิสัญญาหลักดานสิทธิมนุษยชนอยางนอย 1 ฉบับ และกวารอยละ 75 เปนภาคี 4 ฉบับ หรือมากกวานั้น ดวยเหตุนี้ รัฐทั้งมวลจึงมีพันธกิจสําคัญในการจัดทํารายงานใหลุลวงและจะไดรับประโยชนในการรับเอาแนวทางเตรียมการจัดทํารายงานมาใชดําเนินการเพื่อการจัดทํารายงานตอองคกรตามสนธิสัญญาทั้งมวล 13. องคกรตามสนธิสัญญาแนะนําให รัฐทั้งหลายพิจารณาจัดวางแนวทางการเตรียมการจัดทํารายงาน ในรูปองคกร/สถาบันที่เหมาะสม โครงสรางสถาบันที่มีคณะกรรมการรวมระหวางกระทรวง ทบวง กรมตางๆ และ/หรือมีผูประสานงานกลางอยูในสวนราชการที่เกี่ยวของทุกหนวยนี้ จะชวยสนับสนุนพันธกิจในการจัดทํารายงานของรัฐตามตราสารระหวางประเทศดานสิทธิมนุษยชนและสนธิสัญญาระหวางประเทศที่เกี่ยวของ (เชน อนุสัญญาตาง ๆ ขององคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) และองคการศึกษาวิทยาศาสตรและวัฒนธรรมแหงสหประชาชาติ (UNESCO)) และจะชวยวางกลไกที่มีประสิทธิภาพเพื่อประสานการติดตามงานตามสรุปขอสังเกตขององคกรตามสนธิสัญญา โครงสรางนี้ควรยอมรับใหองคการระดับรอง ๆ ที่ปฏิบัติงานจริงอยูในประเทศไดมีสวนเขามารวม และควรจัดตั้งอยางถาวร 14. โครงสรางดังกลาว เสริมดวยเทคโนโลยีสมัยใหม ควรพัฒนาระบบที่มีประสิทธิภาพในการเก็บรวบรวมขอมูลสถิติและขอมูลที่เกี่ยวของตาง ๆ ของการปฏิบัติดานสิทธิมนุษยชนอยางจริงจังตอเนื่อง(จากกระทรวง ทบวง กรม และสํานักงานสถิติของรัฐ) ความชวยเหลือดานวิชาการ สามารถหาไดจากสํานักงานคณะกรรมาธิการสิทธิมนุษยชนแหงสหประชาชาติ (Office of the United Nations High Commissioner for Human Rights – OHCHR) โดยความรวมมือประสานงานกับ หนวยงานความกาวหนาของสตรี (Division for the Advancement of Women – DAW) และองคการตางๆ ของสหประชาชาติที่เกี่ยวของ 15. ความถาวรของโครงสรางองคกรจัดทํารายงาน จะชวยสนับสนุนใหรัฐสามารถทํารายงานสําหรับพันธกรณีอ่ืนๆไดดวยตัวอยาง เชน การติดตามผลการประชุมสัมมนาระหวางประเทศตางๆ และ

Page 87: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

85

- 9 -

การประชุมระดับโลก กํากับติดตามการปฏิบัติตามเปาหมายการพัฒนาแหงสหัสวรรษเปนตน ขอมูลขาวสารที่เก็บรวบรวมไวอยางถูกตองชัดเจนสําหรับรายงานนี้ จํานวนมากจะเปนประโยชนตอการเตรียมจัดทํารายงานตาง ๆ ของรัฐตอองคกรตามสนธิสัญญาตาง ๆ ดวย กําหนดระยะเวลา 16.โดยกําหนดระยะเวลาของสนธิสัญญาที่เกี่ยวของ รัฐภาคีรับที่จะเสนอรายงานเกี่ยวกับมาตรการที่ดําเนินการเพื่อใหเกิดผลตามขอบัญญัติของสนธิสัญญาและความกาวหนาที่เกิดขึ้นตามนั้นภายในระยะเวลาที่กําหนดหลังจากที่สนธิสัญญามีผลใชบังคับตอรัฐผูรายงาน หลังจากนั้นรัฐภาคีจะตองเสนอรายงานฉบับตอๆไปเปนระยะตามขอบัญญัติของแตละสนธิสัญญา กําหนดระยะเวลานี้แตกตางกันไปตามสนธิสัญญาแตละฉบับ 17. เอกสารหลัก ซ่ึงจะเสนอติดตามมาดวยเอกสารโดยตรงของสนธิสัญญา จะเปนสวนแรกของรายงานฉบับตางๆที่จะเสนอตอองคกรตามสนธิสัญญาทั้งหลาย และโดยการเขาเปนภาคีในวันที่ ที่ตางกัน ระยะเวลาการสงรายงานที่ตางกัน กําหนดเวลาการสงรายงานตางๆจะไมตรงกัน รัฐทั้งหลายควรจะประสานการเตรียมการทํารายงานโดยปรึกษากับองคกรตามสนธิสัญญาที่เกี่ยวของ โดยมุงมองถึงการสงรายงานทุกฉบับในชวงเวลาในลักษณะที่สอดคลองกัน ซ่ึงจะชวยใหไดรับประโยชนเต็มที่จากการความเปนไปไดในการเสนอขอมูลที่ตองการขององคกรตามสนธิสัญญาตางๆไปในคราวเดียวกันในเอกสารหลัก 18. รายงานที่เสนอชากวากําหนด อาจจะไมสนองความตองการขององคกรตามสนธิสัญญาไดเต็มที่เมื่อเสนอเอกสารโดยตรงของสนธิสัญญา เนื่องจากขอมูลในเอกสารหลักไมสอดคลองทันสถานการณ รัฐทั้งหลายจึงควรทบทวนเอกสารหลักเมื่อสงเอกสารโดยตรงของสนธิสัญญา และเตรียมปรับขอมูลใหทันสมัยเปนปจจุบันเมื่อจําเปน หากพิจารณาวาไมจําเปนตองปรับขอมูลจะตองระบุไวในเอกสารโดยตรงของสนธิสัญญา พรอมระบุวันที่ของการทบทวนรายงานครั้งหลังสุดดวย II.ขอแนะนําเกี่ยวกับรูปแบบของรายงาน 19. ขอมูลที่รัฐพิจารณาเห็นวาจะชวยใหองคกรตามสนธิสัญญาเขาใจสถานการณในประเทศ ควรนําเสนอโดยกระชับและเรียบเรียงเปนระบบ ถึงแมจะเปนที่เขาใจไดวาบางรัฐภาคีมีโครงสรางการจัดการที่ซับซอนซ่ึงจําเปนตองเสนอไวในรายงาน รายงานก็ไมควรยาวจนเกินไป หากเปนไปได เอกสารหลักควรมีความยาวไมเกิน 60-80 หนากระดาษ

Page 88: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

86

- 10 -

เอกสารโดยตรงของสนธิสัญญาฉบับแรกไมควรยาวเกิน 60 หนากระดาษ และเอกสารโดยตรงฉบับเพิ่มเติมควรจํากัดความยาวเพียง 40 หนากระดาษ หนากระดาษตองใชตามแบบฟอรมขนาด A4 ดวยระยะหางระหวางบรรทัดที่ 1.5 และขอความใชตัวอักษรขนาด 12 ของตัวพิมพ Times New Roman 20. รัฐทั้งหลายควรเสนอเอกสารผนวกเกี่ยวกับองคกรหลักดานนิติบัญญัติ ตุลาการและดานบริหาร รวมถึงเร่ืองอื่นๆที่อางถึงไวในรายงานโดยแยกไวตางหากและเทาที่มีตองเปนภาษาราชการของคณะกรรมการ(ของสหประชาชาติ) เอกสารเหลานี้ไมตองผลิตเพิ่มเพื่อการแจกจาย แตจะตองมีไวใหคณะกรรมการไดดูเปนขอมูลเพิ่มเติมเพื่อการปรึกษาหารือ หากเอกสารมิไดคัดลอกมาใสไวหรือมิไดอยูในภาคผนวกของรายงาน ตัวรายงานจะตองมีขอมูลเพียงพอที่จะชวยใหเขาใจไดโดยไมตองอางอิงเอกสารนั้น 21. รายงานจะตองมีคําอธิบายเต็มของอักษรยอทั้งหมดที่ใชในเอกสารโดยเฉพาะอยางยิ่งเมื่ออางอิงถึงสถาบันแหงชาติ องคกร กฎหมาย ฯลฯ ซ่ึงไมนาจะเปนที่เขาใจไดโดยบุคคลภายนอกรัฐภาคีนั้น 22. รายงานจะตองจัดทําเสนอเปนภาษาราชการของสหประชาชาติในภาษาใดภาษาหนึ่ง (อราบิค จีน อังกฤษ ฝร่ังเศส รัสเซยี และสเปน) 23. รายงานตองมีการตรวจสอบอยางถ่ีถวนกอนนําเสนอตอเลขาธิการสหประชาชาติเพื่อใหแนใจวาภาษา ที่ใชเปนที่เขาใจไดและถูกตองชัดเจน เพื่อประสิทธิผล รายงานที่เสนอโดยรัฐที่ใชภาษาราชการเปนภาษาใดภาษาหนึ่งที่เปนภาษาราชการขององคการสหประชาชาติ ไมจําเปนตองทําการบรรณาธิกรณโดยฝายเลขานุการ รายงานที่เสนอโดยรัฐที่ใชภาษาราชการที่มิใชภาษาราชการขององคการสหประชาชาติจะมีการบรรณาธิกรณโดยฝายเลขานุการ อยางไรก็ตามเพื่ออํานวยความสะดวกใหกับกระบวนการบรรณาธิกรณและการแปล และเพื่อหลีกเลี่ยงความเสี่ยงในความผิดพลาดและการเขาใจผิด มีขอแนะนําวา เอกสารฉบับทายสุดควรทําการบรรณาธิกรณ โดยบรรณาธิการอาชีพที่มีความสามารถสูงในภาษาที่ใชเสนอรายงานนั้นกอนการนําเสนอ 24. รายงานควรนําเสนอเปนเอกสารอิเลคทรอนิคส (เปนแผนดิสเก็ต ซีดีรอม หรือโดยจดหมายอิเลค ทรอนิคส) พรอมไปกับเอกสารพิมพ 1 ชุด 25. รายงานที่ไดรับ หากพบวาไมสมบูรณอยางเดนชัด หรือตองทําการบรรณาธิกรณอยางหนักอาจถูกสงกลับคืนรัฐภาคีเพื่อปรับปรุงใหดีขึ้นกอนจะรับอยางเปนทางการโดยเลขาธิการ

Page 89: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

87

- 11 -

III.ขอแนะนําเกี่ยวกับเนื้อหาของรายงาน

บทท่ัวไป 26. รายงานแตละฉบับประกอบดวยเอกสาร 2 สวนรวมกัน ไดแกเอกสารหลัก ที่มีขอมูลทันสมัยเปนปจจุบัน และเอกสารโดยตรงตามสนธิสัญญาเฉพาะเรื่อง เอกสารหลักจะใชเสนอตอองคกรทุกคณะรวมกับ รายงานเฉพาะเรื่องโดยตรงตามสนธิสัญญาที่เกี่ยวของ เอกสารทั้ง 2 ชุดจะรวมบูรณาการกันเขาเปนรายงานของรัฐ คณะกรรมการจะไมพิจารณาวารัฐภาคีไดทําหนาที่สมบูรณในการเสนอรายงานตามพันธกิจของสนธิสัญญานั้น ๆ แลว จนกวาจะเสนอรายงานครบทั้ง 2 สวนดวยขอมูลที่ทันสมัยและเปนปจจุบัน 27. เอกสารหลักควรประกอบดวยขอมูลที่เกี่ยวกับการปฏิบัติตามสนธิสัญญาตางๆ แตละฉบับที่รัฐผูรายงานนั้นเปนภาคีอยู และอาจจะเกี่ยวโยงถึงองคกรตามสนธิสัญญาทุกคณะหรือหลายคณะที่กํากับติดตามการปฏิบัติตามสนธิสัญญาเหลานั้น จุดมุงหมายคือเพื่อหลีกเลี่ยงการใหขอมูลซํ้า ๆ กันในรายงานหลายๆฉบับที่จัดทําตามขอบัญญัติของสนธิสัญญาฉบับตางๆ และเพื่อใหคณะกรรมการแตละคณะไดพิจารณาการปฏิบัติตามสนธิสัญญาของตนไดในบริบทที่กวางขวางในเรื่องการคุมครองสิทธิมนุษยชนภายในรัฐที่ตองมีคําถาม 28. เอกสารโดยตรงตามสนธิสัญญาควรมีขอมูลเกี่ยวกับการปฏิบัติตามสนธิสัญญานั้น ๆ ซ่ึงเปนความสนใจโดยตรงของคณะกรรมการผูกํากับติดตามการปฏิบัติตามสนธิสัญญานั้น หรือเปนขอมูลซ่ึงตองการ หยิบยกขึ้นมาสูความสนใจโดยเฉพาะของคณะกรรมการ หรืออาจเปนประเด็นที่นาสนใจเปนพิเศษ ที่คณะกรรมการหยิบยกขึ้นมาเปนรายกรณี 29. เอกสารแตละฉบับอาจเสนอแยกกัน อยางไรก็ตามรัฐภาคีไดรับการแนะนําใหดําเนินการกับพันธกิจทั้งหลายในการเสนอรายงานในลักษณะเปนสวนของกระบวนการที่จัดไวอยางประสานตอเนื่องและควรพยายามลดความลาชาของการสงรายงานระหวางเอกสารหลัก กับเอกสารโดยตรง ตอคณะกรรมการแตละคณะเพื่อประกันวา เอกสารหลักจะทันสมัยเปนปจจุบันที่สุดเทาที่จะเปนได เมื่อมีการพิจารณาเอกสารโดยตรง องคกรตามสนธิสัญญา อาจรองขอใหปรับขอมูลในเอกสารหลักอีก ถาพิจารณาเห็นวาขอมูลที่มีอยูนั้นลาสมัยไปแลว การปรับขอมูลอาจนําเสนอในรูปเอกสารเพิ่มเติมจากเอกสารหลักที่มีอยูหรือทําฉบับปรับปรุงใหมทั้งนี้ขึ้นอยูกับความมากนอยของการปรับเปลี่ยนที่จําเปนตองใสเพิ่มเติม

Page 90: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

88

- 12 -

30. กระบวนการรายงานภายใตระบบการรายงานนี้ เปนดังนี้ (ก) รัฐภาคีนําเสนอเอกสารหลักตอเลขาธิการสหประชาชาติ ซ่ึงจะถูกสงตอมายังองคกรตามสนธิสัญญา แตละคณะที่มีหนาที่กํากับติดตามการปฏิบัติตามสนธิสัญญานั้นๆ ที่รัฐเปนภาคี (ข) รัฐภาคีนําเสนอเอกสารโดยตรงของสนธิสัญญาตอเลขาธิการสหประชาชาติซ่ึงจะถูกสงตอ มายัง องคกรตามสนธิสัญญานั้นโดยตรง (ค) องคกรตามสนธิสัญญาแตละคณะ พิจารณารายงานประเทศของรัฐนั้นซึ่งประกอบดวยเอกสารหลัก และเอกสารโดยตรงของสนธิสัญญา ตามขั้นตอนกระบวนการของแตละคณะ 31. รายงานเปดโอกาสใหรัฐภาคีไดนําเสนอตอองคกรตามสนธิสัญญาแตละคณะ ใหทราบถึงขอบขายความกวางขวางที่กฎหมายและการปฏิบัติของรัฐสอดคลองกับสนธิสัญญาดานสิทธิมนุษยชนที่รัฐนั้นไดใหสัตยาบัน หรือทําภาคยานุวัติไว 32. รายงานควรมีขอมูลเพียงพอที่จะชวยใหองคกรตามสนธิสัญญาแตละคณะสามารถเขาใจไดถึงการปฏิบัติตามสนธิสัญญานั้นภายในประเทศนั้น 33. รายงานควรใหรายละเอียดของสถานการณทั้งโดยพฤตินัยและโดยนิตินัย ในเรื่องการปฏิบัติตามขอบัญญัติของสนธิสัญญาที่รัฐนั้นเปนภาคี รายงานไมควรจํากัดอยูแตเฉพาะบัญชีรายชื่อหรือคําอธิบายของกลไกทางกฎหมายที่ยอมรับในประเทศในชวงเวลาที่เพิ่งผานมา แตควรจะชี้ใหเห็นวา กลไกทางกฎหมายเหลานั้นไดสะทอนความจริงในทางปฏิบัติในสถานการณทั่วไป ดานเศรษฐกิจ การเมือง สังคมและวัฒนธรรมที่เปนอยูในประเทศ 34. รัฐทั้งหลาย ในการเตรียมการจัดทําเอกสารหลักเปนครั้งแรก และไดเสนอรายงานบางฉบับไปแลวตอองคกรตามสนธิสัญญาใดๆ อาจอางอิงขอมูลในรายงานเหลานั้นได หากขอมูลยังคงใชไดในขณะจัดทําเอกสารหลัก

Page 91: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

89

- 13 -

สวนแรกของรายงาน เอกสารหลัก 35. เพื่อความสะดวก เอกสารหลักควรวางโครงสรางที่ใชการจัดเรียงหัวขอตามลําดับ ตาม ก ข ค ง ใหสอดคลองกับแนวทาง เอกสารหลักควรมีขอมูลตอไปนี้

3.1 ขอเท็จจริงและขอมูลสถิติของรัฐผูรายงาน

36. ในบทนี้ควรนําเสนอขอเท็จจริงทั่วไปและขอมูลทางสถิติที่เกี่ยวของซึ่งจะชวยใหคณะกรรมการเขาใจบริบททางการเมือง กฎหมาย สังคมและเศรษฐกิจ อันจะชวยใหสามารถเขาใจถึงการปฏิบัติดานสิทธิมนุษยชนของรัฐนั้น 37. รายงานควรมีการประเมินภาพทั่วไปของขอมูลอยางเพียงพอที่จะชวยใหองคกรตามสนธิสัญญาสามารถประเมินการปฏิบัติตามสนธิสัญญาตางๆ ของรัฐ โดยนําเสนอและอธิบายความในลักษณะที่สามารถติดตามเขาใจได ขอมูลดานสถิติที่เกี่ยวของ จําแนกโดย อายุ เพศ และกลุมประชากรอื่นๆ ควรมีการสรุปไวในรายงานเมื่อจําเปน 38. โดยที่ตัวช้ีวัดดานสถิติหลายตัว อาจเกี่ยวโยงไปในหลายบทของรายงาน ขอมูลสถิติเต็มรูปควรนําเสนอรวมเปนตารางไวในภาคผนวกของเอกสารในลักษณะประมวลสถิติขอมูลโดย ขอมูลเหลานั้นควรจําแนกเพศ และอายุ (อยางนอยแสดงขอมูลเกี่ยวกับเด็กและเยาวชนอายุต่ํากวา 18 ป) ควรมีการเปรียบเทียบโดยชวงเวลาและระบุแหลงที่มาของขอมูล ขอมูลควรจําแนกตอไปอีกเทาที่จะทําไดจนถึงกลุมประชากรอื่นๆ ซ่ึงรวมถึง เชื้อชาติ ชาติพันธุ ชนพื้นเมือง ภาษา หรือกลุมศาสนา ผูพิการ ชนกลุมนอย ผูพลัดถ่ินภายในประเทศ และผูที่มิใชพลเมืองของประเทศ ( คนไรสัญชาติ ) รวมถึงผูล้ีภัย ผูแสวงหาที่พักพิง คนไรรัฐ หรือผูอพยพ 39. บัญชีรายการตัวช้ีวัดที่อาจจะเกี่ยวของกับการรายงานภายใตสนธิสัญญาดานสิทธิมนุษยชนระหวางประเทศ ปรากฏอยูในภาคผนวก 4 อาจมีหลาย ๆ รัฐที่ไมอยูในสถานะที่จะจัดหาขอมูลตามตัวช้ีวัดไดทุกตัว รัฐที่ประสบความยากลําบากในการจัดทําสถิติขอมูลเต็มรูปเกี่ยวกับพันธกิจดานสิทธิมนุษยชนของตน ควรอธิบายความยากลําบากนี้ไวในเอกสารหลัก

Page 92: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

90

- 14 -

ก. โครงสรางประชากร เศรษฐกิจ สังคม และลักษณะทางวัฒนธรรม 40. รัฐทั้งหลาย ควรจัดใหมีขอมูลภูมิหลังเบื้องตนเกี่ยวกับลักษณะเฉพาะของประเทศโดยไมจําเปนตองเปนการเลาประวัติศาสตรอยางละเอียด แตควรเสนอเฉพาะประวัติศาสตรสําคัญหลักๆดวยเนื้อหาสั้นแตชัดเจนเทาที่จะชวยใหองคกรตามสนธิสัญญาไดเขาใจพื้นฐานความเปนมาของรัฐที่สงผลตอการปฏิบัติตามสนธิสัญญานั้นๆ 41. รัฐทั้งหลาย ควรจัดทําขอมูลที่ชัดเจน เกี่ยวกับลักษณะของชาติพันธุหลัก ลักษณะโครงสรางประชากรและประชากรของประเทศ 42. รัฐทั้งหลาย ควรจัดทําขอมูลที่ชัดเจนเกี่ยวกับมาตรฐานชีวิตความเปนอยูของภาคสวน/กลุมตาง ๆ ของ ประชากร และสถิติดานเศรษฐกิจพื้นฐาน 43. รัฐทั้งหลาย ควรจัดทําขอมูลที่ชัดเจนซึ่งรวมถึงภาพดานอาชญากรรมและการบริหารกระบวนการยุติธรรม รวมทั้งขอมูลที่บงชี้ถึงภาพของผูกระทําผิดและเหยื่ออาชญากรรมและขอมูลโดยตรงอื่นๆของอาชญากรรมที่เกิดจากสาเหตุดานเชื้อชาติและความเกลียดชังตอคนตางเชื้อชาติ ข. โครงสรางของ รัฐธรรมนูญ ระบบการเมืองและกฎหมาย 44. รัฐทั้งหลาย ควรจัดทําคําอธิบายโครงสรางรัฐธรรมนูญและกรอบแนวทางดานการเมืองและกฎหมายของรัฐ ที่รวมถึงลักษณะของรัฐบาล ระบบการเลือกตั้ง และการจัดองคการทางการบริหาร นิติบัญญัติ และตุลาการ

3.2 กรอบแนวทางพื้นฐานเพื่อการคุมครองและสงเสริมสิทธิมนุษยชน

ค. การยอมรับมาตรฐานระหวางประเทศดานสิทธิมนุษยชน 45. รัฐทั้งหลาย ควรจัดทําขอมูลเกี่ยวกับสถานะของสนธิสัญญาระหวางประเทศหลักดานสิทธิมนุษยชนฉบับหลักทุกฉบับ ขอมูลอาจจัดทําในรูปแผนภูมิหรือตารางที่รวมขอมูลเหลานี้ไวดวย

(ก) การใหสัตยาบันตอตราสารหลักระหวางประเทศดานสิทธิมนุษยชน ขอมูลเกี่ยวกับสถานะ การให สัตยาบันตอสนธิสัญญาระหวางประเทศดานสิทธิมนุษยชนฉบับหลัก และพิธีสารเลือกรับตามรายชื่อ ในภาคผนวก 2 สวน A โดยระบุถึง สถานะ ถา หรือเมื่อรัฐเปดรับการเขาสูตราสารเหลานั้นซึ่งยังมิได เขาเปนภาคี หรือลงนามแลวแตยังมิไดใหสัตยาบัน

Page 93: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

91

- 15 -

(ข) ขอสงวนและถอยแถลง ในกรณีที่รัฐไดมีขอสงวนตอสนธิสัญญาใดที่เปนภาคี เอกสารหลัก ควรจะชี้แจงถึง (1) ขอบเขตของขอสงวนนั้น (2) เหตุผลที่พิจารณาวาขอสงวนนั้นจําเปนและยังคงไว (3) ผลกระทบที่ชัดเจนของขอสงวนที่มีตอกฎหมายและนโยบายแหงชาติ (4) โดยขอสงวนที่รัฐภาคีตั้งไว มีพันธกิจใดที่เกิดขึ้นตามสนธิสัญญาฉบับหนึ่ง สงผลตอเนื่องกับ พันธกิจตามสิทธิเร่ืองเดียวกันในสนธิสัญญาฉบับอื่นๆหรือไม และ (5) โดยเจตนารมณของการประชุมระดับโลกวาดวยสิทธิมนษุยชน และการประชุมอื่น ๆ ในทํานอง เดียวกันที่สนับสนุนใหรัฐตาง ๆ พิจารณาทบทวนขอสงวนดวยความเห็นที่จะถอนขอสงวนนั้น (ดู A/CONF.157/23 ภาค II ยอหนา 5 และ 46) แผนการทีจ่ะจํากัดผลกระทบของขอสงวนตาง ๆ และเปาหมายทายสุดที่จะถอนขอสงวนเหลานั้น ภายในชวงระยะเวลาที่กําหนดไวอยางชัดเจน

(ค) ขอรอนสิทธิ ขอกํากัดสิทธ ิ และขอจํากัดสิทธิ ในกรณีที่รัฐทั้งหลายมีขอกํากดั ขอจํากัด หรือ ขอรอนสิทธิ ตามกฎหมายหรือประเพณตีอขอบัญญัติของสนธิสัญญาใดที่รัฐเปนภาคีอยู เอกสารหลัก ตองใหขอมูลที่อธิบายถึงขอบขายของขอรอนสิทธิ ขอกํากัดสิทธิและขอจํากัดสิทธิ สภาวะทีจ่ําเปนตอง จัดเขาเปนขอเหลานั้น และชวงกําหนดเวลาที่จะถอน (ง) ขอคดัคานของรัฐภาคีอ่ืน รัฐทั้งหลาย ควรระบุวา มีรัฐภาคีอ่ืนใดหรือไมที่มีขอคัดคานตอขอสงวน

ขอรอนสิทธิ ขอกํากัดสิทธิ และขอจํากัดสิทธิตอขอบัญญัติของสนธิสัญญาที่เกี่ยวของนัน้ของรัฐ ผูรายงาน

Page 94: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

92

- 16 -

46. รัฐทั้งหลาย อาจเสนอขอมูลเกี่ยวกับการยอมรับมาตรฐานระหวางประเทศอื่นๆ ที่เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน โดยเฉพาะขอมูลที่ เกี่ยวของโดยตรงกับการปฏิบัติตามขอบัญญัติของสนธิสัญญาระหวางประเทศ ดานสิทธิมนุษยชนฉบับหลักของแตละรัฐ โดยเฉพาะอยางยิ่งรัฐภาคีควรใหความสนใจตอแหลงขอมูลที่เกี่ยวของ ตอไปนี้ (ก) การใหสัตยาบันตอสนธิสัญญาดานสิทธิมนุษยชนและที่เกี่ยวของฉบับอื่นๆของสหประชาชาติ รัฐทั้งหลายอาจระบุวาเปนภาคีของอนุสัญญาอื่นๆของสหประชาชาติที่เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน ตามรายชื่อในภาคผนวก 2 สวน B

(ข) การใหสัตยาบันตออนุสัญญาดานแรงงาน รัฐทั้งหลาย อาจระบุวาเปนภาคีของอนุสัญญาดาน แรงงานฉบับใดที่เกี่ยวของกับการคุมครองสิทธิมนุษยชน ตามรายชื่อในภาคผนวก 2 สวน C เมื่อรัฐทั้งหลาย ไดเสนอรายงานตอคณะกรรมการนิเทศกดานแรงงานที่เกี่ยวของซึ่งเกี่ยวกับ

ขอบัญญัติตามสนธิสัญญาระหวางประเทศดานสิทธิมนุษยชนที่เปนภาคีอยูดวยแลวอาจอางอิง

สวน/ตอนนั้น ๆ ในรายงานดีกวาจะใหขอมูลซ้ําอีก

(ค) การใหสัตยาบันตออนุสัญญากรุงเฮกวาดวยกฎหมายเอกชนระหวางประเทศ รัฐทั้งหลาย อาจระบุ วา เปนภาคีอนุสัญญาของการประชุมกรุงเฮกวาดวยกฎหมายระหวางประเทศวาดวยคดีบุคคล ที่เกี่ยวกับการคุมครองสิทธิมนุษยชน ตามรายชื่อในภาคผนวก 2 สวน D (ง) การใหสัตยาบันตออนุสัญญากรุงเจนีวาและสนธิสัญญาดานมนุษยธรรมอื่น ๆ รัฐทั้งหลาย อาจระบุ วาเปนภาคีของอนุสัญญากรุงเฮกและกรุงเจนีวาที่วาดวยกฎหมายดานมนุษยธรรมระหวางประเทศ หรือ สนธิสัญญาทางกฎหมายวาดวยมนุษยธรรมอื่นๆ ที่เกี่ยวกับการคุมครองสิทธิมนุษยชน ตามรายชื่อในภาคผนวก 2 สวน E (จ) การใหสัตยาบันตออนุสัญญาดานสิทธิมนษุยชนในระดับภูมิภาค รัฐทั้งหลายอาจระบุวาเปนภาคี ของอนุสัญญาดานสิทธิมนุษยชนในระดับภูมิภาค หากอนุสัญญา (ระดับภูมิภาค) นั้น ๆ รองขอให รายงาน รัฐผูรายงานอาจประสานเชื่อมโยงขอมูลที่เกี่ยวของเขาดวยกันเพื่อใหการเสนอรายงานเปน ไปอยางครบถวนตามพันธกิจนั้น

Page 95: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

93

- 17 -

ง. กรอบกฎหมายพื้นฐานภายในเพื่อการคุมครองสิทธิมนุษยชนในระดับชาติ 47. รัฐทั้งหลาย ควรชี้ใหเห็นถึงบริบทของกฎหมายโดยตรงภายใน ที่มีผลใหเกิดการคุมครองสิทธิ มนุษยชนภายในประเทศ โดยเฉพาะอยางยิ่งควรใหขอมูลที่วาดวย (ก) กระบวนการทางตุลาการ ทางการบริหาร หรือองคกรอํานาจที่เทาเทียมกันอื่นใดที่มีเขตอํานาจที่มี ผลตอเร่ืองสิทธิมนุษยชนและความกวางขวางของเขตอํานาจนั้น (ข) การเยียวยาที่มีตอปจเจกบุคคลผูเรียกรองวาสิทธิของตนถูกละเมิด และระบบการชดเชยและการ ฟนฟูสภาพที่ดําเนินการอยูสําหรับผูถูกกระทํา (ค) มีสิทธิใดที่อางไวในตราสารดานสิทธิมนุษยชนตางๆ ไดรับการคุมครองตามรัฐธรรมนูญ กฎหมาย สิทธิ และกฎหมายพื้นฐานอื่นๆ และถามี ขอบัญญัติใดที่มีไวเพื่อรอนสิทธิและในสภาพการณใด (ง) สนธิสัญญาดานสิทธิมนุษยชนไดบรรจุเขาไวในระบบกฎหมายแหงชาติอยางไร (จ) ขอบัญญัติของตราสารดานสิทธิมนุษยชนทั้งหลาย สามารถ ไดเคยเปนแรงผลักดัน หรือใช บังคับโดยตรง ในศาล โดยตุลาการอื่น หรือโดยองคกรทางการบริหารอื่นใดหรือไม หรือ ไดถูก บรรจุลงในกฎหมายภายในประเทศ หรือกฎระเบียบทางการบริหารเพื่อการใชบังคับหรือไม (ฉ) มีสถาบัน หรือกลไกแหงชาติใดหรือไม ที่รับผิดชอบตอการดูแลภาพรวมของการปฏิบัติตาม สิทธิมนุษยชน รวมถึงกลไกเพื่อความกาวหนาของสตรี หรือมุงเนนโดยตรงตอสถานการณ เร่ืองเด็ก ผูสูงอายุ ผูพกิาร ชนกลุมนอย ชนพื้นเมือง ผูอพยพและผูพลัดถ่ินภายในประเทศ คนงานอพยพ คนตางดาวและคนไรสัญชาติ หรือกลุมอื่นๆ ภารกิจหนาที่ของสถาบันเหลานั้น และทรัพยากรบุคคลและการเงินที่มีให

Page 96: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

94

- 18 -

(ช) รัฐไดยอมรับอํานาจของศาลสิทธิมนุษยชนระดับภูมิภาค หรือกลไกอื่นใดหรือไม ถายอมรับควร ใหขอมูลเกี่ยวกับลักษณะพื้นฐานและความกาวหนาของกรณีที่เพิ่งเสร็จสิ้นหรือที่รอการพิจารณา จ. กรอบแนวทางพื้นฐานภายในเพื่อสงเสริมสิทธิมนุษยชนในระดับชาติ 48. รัฐทั้งหลาย ควรชี้ใหเห็นถึงความพยายามที่ดําเนินการเพื่อสงเสริมการเคารพตอสิทธิมนุษยชนทั้งมวล ในรัฐ รวมถึงบทบาทของประชาสังคม โดยเฉพาะควรจัดทําขอมูลเกี่ยวกับ (ก) สภาและสมัชชาแหงชาติและภูมิภาค บทบาทและกิจกรรมของรัฐสภาและองคกรอื่นที่มีอํานาจหนาที่ ในระดับรองจากระดับชาติ ระดับภูมภิาค ระดับจงัหวัด หรือสันนิบาตเทศบาล ในการสงเสริมและ คุมครองสิทธิมนุษยชนโดยทั่วไป และโดยเฉพาะตามสนธิสัญญาระหวางประเทศดานสิทธิมนุษยชน (ข) สถาบันแหงชาติดานสิทธิมนุษยชน มีสถาบันใดหรือไมที่กอตั้งขึ้นเพื่อคุมครองและสงเสริมสิทธิ มนุษยชนในระดบัชาติ รวมถึงที่มีความรับผิดชอบโดยตรงในเรื่อง ความเสมอภาคทางเพศ ความเกีย่ว พันทางเชื้อชาติ สิทธิเด็ก ภารกิจหนาที่ที่ชัดเจน องคประกอบ ทรัพยากรทางการเงินและกิจกรรมและ สถาบัน ดังกลาวนั้นถูกมองวาเปนอิสระหรือไม ตาม “หลักการเกี่ยวกับสถานะของสถาบันแหงชาติ” (หลักการกรุงปารีส) E 1992/22 (A/RES/48/134) (ค) การพิมพเผยแพรตราสารดานสิทธิมนุษยชน ความกวางขวางในการแปล พิมพ และเผยแพรตราสาร ระหวางประเทศดานสิทธิมนุษยชนภายในประเทศของรัฐภาคีนั้นดวยภาษาแหงชาติ ภาษาถิ่น ชนกลุม นอย หรือชนพื้นเมืองมีมากนอยเพียงใด รวมถึงเอกสารฉบับงายที่สามารถเขาใจไดโดยทั่วไป (ง) การสงเสริมความตระหนักรูเร่ืองสิทธิมนุษยชนในกลุมขาราชการของรัฐ ที่มีมาตรการใดที่ดําเนินการ เพื่อประกันวามีการศึกษาและฝกอบรมที่เพียงพอในเรื่องสิทธิมนุษยชนพื้นฐานทั่วไป และโดยเฉพาะ เกี่ยวกับตราสารระหวางประเทศดานสิทธิมนุษยชนโดยตรง สําหรับขาราชการและเจาหนาที่ของรัฐ รวมถึง ครู เจาหนาที่ผูบังคับใชกฎหมาย ตํารวจ ศุลกากร และเจาหนาที่ตรวจคนเขาเมือง ผูพิพากษา อัยการ

Page 97: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

95

- 19 -

นักกฎหมาย ขาราชการฝายทหาร เจาหนาที่ชายแดน เจาหนาที่เรือนจํา แพทย เจาหนาที่สาธารณ สุข และนักสังคมสงเคราะห (จ) การสงเสริมความตระหนักรูเร่ืองสิทธิมนุษยชน โดยผานรายการการศึกษาและขาวสารทางราชการ ที่รัฐบาลอุดหนุน มาตรการที่ดําเนินการเพื่อสงเสริมความเคารพตอสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพพื้นฐาน ที่สอดคลองกับปฏิญญาสากลดวยการใหการศกึษาและฝกอบรม ควรใหรายละเอียดเกีย่วกับการบรรจุ การศึกษาเรื่องสทิธิมนุษยชนเขาในหลักสูตรการศึกษาในโรงเรียนระดับชาติในรายการการศึกษาผู ใหญ และการรณรงคดวยขาวสารทางราชการที่รัฐบาลอุดหนุน รวมถึงความกวางขวางของการใหการ ศึกษานัน้ที่มี อยางทั่วถึงในภาษาแหงชาติ ภาษาถิ่น ภาษาชนกลุมนอย หรือภาษาชนพื้นเมือง (ฉ) การสงเสริมการตระหนักรูเร่ืองสิทธิมนุษยชนผานสื่อมวลชน บทบาทของสื่อสารมวลชน เชน หนังสือพิมพ วิทยุ และโทรทัศน ในการเผยแพรสิทธิมนุษยชนและเผยแพรขอมูลตามวัตถุประสงค และหลักการของตราสารดานสิทธิมนุษยชน โดยใหความสนใจตอการจัดใหมีขอมูลเหลานี้ในทุก ภาษาทั้งภาษาแหงชาติ ภาษาถิ่น ภาษาชนกลุมนอย หรือภาษาชนพื้นเมือง (ช) บทบาทของประชาสังคมและองคกรเอกชน สถานะปจจุบันของประชาสังคมและองคกรเอกชน กิจกรรมและโครงการภายในประเทศและความเขมงวดที่ตองอยูภายใตกฎระเบียบของรัฐ ขั้นตอนที่ ดําเนินการโดยรัฐบาลที่จะสนับสนุนและสงเสริมการพัฒนาของประชาสังคมดวยทัศนะที่จะประกัน การสงเสริมและคุมครองสิทธิมนุษยชน (ซ) การจัดสรรงบประมาณและแนวโนม ถาสามารถทาํไดการจัดสรรงบประมาณและแนวโนมในอัตรา สวนรอยละของงบประมาณแหงชาติ หรือของงบประมาณภูมิภาค หรือของผลิตภัณฑมวลรวมภายใน ประเทศ(GDP) และจําแนกเพศ ควรจัดสรรใหโดยตรงเพื่อการปฏิบัติตามพันธกิจดานสิทธิมนุษยชน ของรัฐและตามขอบัญญัติของสนธิสัญญา และผลของการประเมนิผลกระทบของงบประมาณที่ เกี่ยวของ

Page 98: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

96

- 20 -

(ฌ ) ความรวมมือและการชวยเหลือเพื่อการพัฒนา ขอบขายความกวางขวางที่รัฐไดรับความรวมมือและการ ชวยเหลือเพื่อการพัฒนา หรือการสนับสนุนอื่นใด ซ่ึงเกี่ยวโยงถึงการสงเสริมสิทธิมนุษยชน รวมถึง การจัดสรรงบประมาณ ขอมูลควรรวมถึงขอบขายที่รัฐจัดความรวมมือและความชวยเหลือเพื่อการ พัฒนาใหแกรัฐอื่น ๆ ซ่ึงเกี่ยวโยงถึงการสงเสริมสิทธิมนุษยชนในประเทศนั้น 49. รัฐผูรายงานควรระบุปจจัยและความยากลําบากของสภาพพื้นฐานทั่วไป ถามี ที่สงผลกระทบหรือกีดขวางปฏิบัติตามมาตรฐานระหวางประเทศดานสิทธิมนุษยชนในระดับชาติ ฉ. บทบาทของกระบวนการจัดทํารายงานในการสงเสริมสิทธิมนุษยชนในระดับชาติ 50. รัฐผูรายงาน ควรอธิบายกระบวนการในการจัดเตรียมรายงาน ซ่ึงควรจะรวมถึงขอมูลในเรื่อง (ก) การมีสวนรวมของหนวยงานภาครัฐในสวนกลาง ในระดับภูมิภาค และระดับทองถ่ิน และในภาค รัฐบาลกลาง และ ระดับจังหวัด ตามความเหมาะสม (ข) การมีสวนรวมโดยอิสระของสถาบันแหงชาติดานสิทธิมนุษยชนที่ตั้งขึ้นตามหลักการกรุงปารีส ในกระบวนการรายงาน ในการกํากับติดตามรายงานของภาครัฐบาลตอองคกรตามสนธิสัญญาและ ในการกํากับติดตามอยางจริงจังตอการปฏิบัติตามสรุปขอสังเกต/ขอเสนอแนะขององคกรตามสนธิ สัญญาในระดับชาติ (ค) การมีสวนรวมขององคกรเอกชน และแกนนําตางๆของภาคประชาสังคมในขั้นตอนใดๆใน กระบวนการรายงานในระดับชาติ ที่รวมถึงการโตเถียงสาธารณะตอรางรายงานของรัฐที่จะนํา เสนอตอองคกรตามสนธิสัญญา และ/หรือ การตอบสนองในระดับชาติตอสรุปขอสังเกต/ ขอเสนอแนะ ขององคกรตามสนธิสัญญา (ง) การมีสวนรวมของผูไดรับผลกระทบตามขอบัญญัติของสนธิสัญญาที่เกี่ยวของ ซ่ึงรวมถึง สตรี เด็ก และกลุมตางๆ เชนกลุมผูสูงอายุ กลุมชาติพันธุ กลุมเชื้อชาติ กลุมชนพื้นเมือง กลุมศาสนา ภาษา หรือกลุมวัฒนธรรมและชนกลุมนอย ผูพิการ สมาชิกพรรคหรือองคกรทางการเมือง

Page 99: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

97

- 21 -

ผูอพยพ และคนงานอพยพ ผูล้ีภัย คนพลัดถ่ินภายในประเทศ ผูแสวงหาที่พักพิง และคนไรสัญชาติ (จ) ขั้นตอนที่ดําเนินการเพื่อการพิมพเผยแพรรายงานตอทุกคนในรัฐ รวมถึงการแปลและเผยแพรดวย ภาษาแหงชาติ ภาษาถิ่น ภาษาชนกลุมนอยและชนพื้นเมือง และจัดทําในรูปแบบที่สามารถเขาถึง ไดโดยเด็กและผูที่ บกพรองทางการรับรู (ฉ) เหตุการณกิจกรรมตางๆ เชน การอภิปรายของรัฐสภา และการประชุมของภาครัฐ การประชมุ ปฏิบัติการ การสัมมนา การออกอากาศทางวิทยุและโทรทัศน และการตีพิมพเผยแพรเพื่ออธิบาย รายงานหรือเหตุการณกิจกรรมอื่นๆ ในทํานองเดียวกันที่ดําเนินการในระหวางชวงการจัดทําราย งาน การติดตามการดําเนินการตามสรุปขอสังเกต/ขอเสนอแนะขององคกรกํากับติดตามผลสนธิสัญญาดานสิทธิมนุษยชน 51. รัฐทั้งหลาย ควรระบุมาตรการและกระบวนการที่รับเอาหรือเตรียมไวในอนาคต (ถามี) เพื่อประกันการ เผยแพรอยางกวางขวาง ของการติดตามการดําเนินงานที่บังเกิดผลตามขอสรุปสังเกตหรือขอเสนอแนะขององคกรตามสนธิสัญญาหลังจากการพิจารณารายงานของรัฐแลว รวมถึงความเห็นจากรัฐสภาและความเห็นผานสื่อตางๆ 52. ขอมูลโดยตรงเกี่ยวกับขั้นตอนที่ดําเนินการเพื่อปฏิบัติตามขอเสนอแนะที่ไดรับจากองคกรตามสนธิสัญญา ควรจัดไวในเอกสารโดยตรงตามสนธิสัญญา ที่นําเสนอตอองคกรตามสนธิสัญญาที่เกี่ยวของ (ดูในสวนที่ 2 ของรายงาน)

ช. ขอมูลอื่นๆ เกี่ยวกับเรื่องสิทธิมนุษยชน

53. รัฐทั้งหลาย ควรพิจารณาแหลงขอมูลที่เกี่ยวของเพิ่มเติมตอไปนี้ เพื่อนํามาผนวกไวในเอกสารหลัก

การติดตามผล ตามการสัมมนาระหวางประเทศ

54. รัฐทั้งหลาย ควรจัดทําขอมูลที่เกี่ยวของกับการติดตามผลการปฏิบัติตามปฏิญญา ขอเสนอแนะ พันธกรณ ีหรือพันธกิจที่รับไวจากการประชุมระดับโลก และการทบทวนการดําเนินงานตามผลการประชุมเหลานั้นในสวนสงผลตอสถานการณดานสิทธิมนุษยชนของประเทศ รายช่ือการประชุมสัมมนาที่ยังคงสภาพดําเนินการปรากฏในภาคผนวก 3

Page 100: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

98

- 22 -

55. ในกรณีที่การประชุมสัมมนาเหลานั้นรวมถึงกระบวนวิธีการจัดทํารายงานไวดวย รัฐทั้งหลายอาจอางอิงขอมูลที่ปรากฎอยูรายงานเหลานั้นในรายงานที่เสนอตอองคกรตามสนธิสัญญา โดยเฉพาะอยางยิ่ง รายงานตามเปาหมายการพัฒนาของสหัสวรรษ ซ่ึงอยูในความสนใจโดยตรงของคณะกรรมการหลายชุดในประเด็นซ่ึงผลกระทบหลายประการตามเปาหมายเกี่ยวของกับหลายขอบทของสนธิสัญญา(ดูภาคผนวก 5)

3.3 การปฏิบตัิตามขอบัญญัติของหลักสทิธิมนุษยชนพื้นฐาน ตามหลักการรวมของสนธิสัญญาตางๆ

56. เอกสารสวนนี้ ควรเนนมาตรการที่ดําเนินการโดยรัฐเพื่อประกันการปฏิบัติตามสิทธิที่กําหนดไวในสนธ ิ สัญญาระหวางประเทศดานสิทธิมนุษยชนฉบับหลักที่เขาเปนภาคี ที่เปนประเด็นรวมในสนธิสัญญาทุกฉบับหรือหลาย ๆ ฉบับ เพื่อชวยรัฐทั้งหลายในการเสนอขอมูลที่เกี่ยวกับขอบัญญัติตามหลักสิทธิพื้นฐาน ใหเปนไปในลักษณะที่ปรากฏประเด็นชัดเจน ขอบทที่เกี่ยวของจึงควรจัดกลุมตามประเด็นหลักที่ตองการเนน เอกสารหลักควรรวมถึงสวนที่วาดวย การไมเลือกปฏิบัติและความเสมอภาค(ซ) และอาจรวมถึงกลุมประเด็นเหลานี้อันไดแก (I) การเยียวยาที่มีประสิทธิภาพ (J) กระบวนวิธีการประกันสิทธิ (K) การมีสวนรวมในชีวิตเพื่อสาธารณะ (ดวยขอมูลที่ไมซํ้ากับที่ปรากฏในสวน B) (L) ชีวิต เสรีภาพ และความมั่นคงของบุคคล (M) การสมรสและครอบครัว (N) กิจการเศรษฐกิจและสังคม (N) การศึกษา 57. รัฐผูรายงาน ควรตัดสินเลือกวาจะจัดขอมูลใดลงในเอกสารหลักและขอมูลใดจะสงวนไวจัดลงในเอกสารโดยตรงของสนธิสัญญาเพื่อใหสอดคลองกับวัตถุประสงคที่กําหนดไวในยอหนาที่ 27 และ 28 ขางตน ในหลักการ เอกสารโดยตรงของสนธิสัญญาฉบับหนึ่ง ไมควรจะใสขอมูลที่จําเปนตองเสนอในเอกสารโดยตรงของสนธิสัญญาอีกฉบับหนึ่ง 58. ในกรณีที่ มาตรฐานเฉพาะที่มีอยูในสนธิสัญญาหลาย ๆ ฉบับ แตกตางออกไปจากขอบัญญัติของหลักสิทธิมนุษยชนพื้นฐาน รัฐผูรายงานควรเนนประเด็นรายงานในเอกสารหลักตามมาตรฐานความกาวหนาและการคุมครองที่มากที่สุด 59. ขอมูลสถิติและตัวช้ีวัดอื่นๆ เกี่ยวกับสิทธิหลายๆเรื่อง ควรนําเสนอเปนภาคผนวกของรายงาน

Page 101: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

99

- 23 -

ซ. หลักการไมเลือกปฏิบัติและความเสมอภาค 60. ขอมูลกลุมนี้ นําเสนอการตรวจสอบการปฏิบัติตามพันธกิจทั่วไปของรัฐเพื่อที่จะ ขจัดการเลือกปฏิบัติและสงเสริมความเสมอภาคทั้งปวงโดยสอดคลองตามขอบทที่ 1 และ 2 ของปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน ซ่ึงเนนขอบัญญัติที่สอดคลองตอไปนี้คือ ขอ 2(1) และ 3 ของ ICCPR ขอ 2(2) และ 3 ของ ICESCR ขอ 2-7 ของ ICERD ขอ 2 และ 9-16 ของ CEDAW ขอ 2 ของ CRC ขอ 7,18,25,27 ของ CMW ในขณะที่ CAT อางถึงหลักการความเสมอภาคไวในอารัมภบท 61. รายงานควรนําเสนอขอมูลเกี่ยวกับมาตรการที่ดําเนินการเพื่อขจัดการเลือกปฏิบัติในทุกรูปแบบของการใชสิทธิของพลเมืองดานการเมือง วัฒนธรรม เศรษฐกิจ และสังคม และสงเสริมความเสมอภาคของทุกคนภายในรัฐ การเลือกปฏิบัติ มีความหมายรวมถึงทุกรูปแบบของการเลือกปฏิบัติบนพื้นฐานของ เชื้อชาติ สีผิว เพศ อายุ เผาพันธุ ความพิการ ภาษา ศาสนา หรือการถูกจองจํา การเมืองหรือความคิดเห็นที่แตกตาง ชาติพันธุแหงชาติหรือ รากเหงาทางสังคม สถานะภาพทางเศรษฐกิจ ทรัพยสิน สถานะการสมรส การเกิด การเปนพลเมือง แหลงที่อยูหรือสถานะอื่นๆ รายงานควรครอบคลุมถึงขั้นตอนที่ดําเนินการโดยรัฐภาคีที่จะทําใหเกิดความเสมอภาคตอกลุมตางๆที่อยูภายใตการเลือกปฏิบัติทั้งโดยรูปแบบและเนื้อหา 62. รายงานควรชี้ใหเห็นสถานการณในประเทศที่เกิดขึ้นตอกลุมบุคคลที่อาจตองประสบกับสถานการณการเลือกปฏิบัติที่รวมถึงกลุมตางๆ คือ สตรี เด็ก (รวมถึงเด็กที่เกิดนอกสมรส และเด็กเรรอน) ผูสูงอายุ กลุมชาติพันธุ เชื้อชาติ ชนพื้นเมือง กลุมศาสนา ภาษาและวัฒนธรรม และ ชนกลุมนอย ผูพิการ ผูติดเชื้อเอชไอวี/เอดส สมาชิกพรรคหรือองคกรทางการเมือง ผูพลัดถ่ินภายในประเทศ ผูอพยพ และคนงานอพยพ ผูล้ีภัย ผูแสวงหาที่พักพิง และคนไรสัญชาติ 63. รายงานควรชี้ใหเห็นวาหลักการการไมเลือกปฏิบัติไดสอดใสไวในหลักการของรัฐธรรมนูญ หรือ รางกฎหมายวาดวยสิทธิตาง ๆ หรืออยูในระบบกฎหมายภายในหรือไม ยังมีชองทาง การเลือกปฏิบัติปรากฏอยูในขอบัญญัติตามกฎหมายหรือไม และขอบัญญัติดังกลาวยังมีผลใชกับกลุมใดกลุมหนึ่งที่ถูกระบุวาตองการความคุมครองในอนุสัญญาใดหรือไม 64. ขอมูลควรแสดงถึงขึ้นตอนที่ดําเนินการเพื่อประกันวาการเลือกปฏิบัติในทุกรูปแบบถูกปองกันและตอตานทั้งโดยกฎหมายและการปฏิบัติ ในกรณีที่ขอบัญญัติของอนุสัญญาใดตองการไดรัฐภาคีออกบท ลงโทษโดยตรงตามกฎหมายเพื่อทําให

Page 102: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

100

- 24 -

รูปแบบใด ของการเลือกปฏิบัติเปนการกระทําที่ขัดตอกฎหมาย รายงานควรจะครอบคลุมและแสดงใหเห็นวาไดมีกฎหมายเฉพาะที่ออกแบบเพื่อปฏิบัติตามขอบัญญัตินั้นๆ ออกมาบังคับใชหรือวางแผนไวหรือไม หากไมมีกฎหมายเฉพาะที่ออกบังคับใชดังกลาว รายงานควรใหขอมูลเกี่ยวกับแนวทางและขอบขายที่บทบัญญัติของกฎหมายอาญาที่มีอยู ซ่ึงใชในการพิจารณาตัดสินของศาล ไดสงผลในทางปฏิบัติของรัฐภาคีตอพันธกิจตามหลักการของตราสารหลักดานสิทธิมนุษยชนอยางไรหรือไม 65. รัฐทั้งหลาย ควรอธิบายถึงปญหาสําคัญที่ขัดขวางการปฏิบัติตามขอบัญญัติของอนุสัญญาตางๆ ที่เกี่ยวกับการไมเลือกปฏิบัติและแผนแนวทางแกปญหาเหลานั้น รายงานควรประเมินความกาวหนาในการปองกันและตอตานการเลือกปฏิบัติทุกรูปแบบรวมถึงสิ่งที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติตามขนบธรรมเนียมที่เปนอันตรายหรือเปนผลราย ในกรณีที่สมาชิกของกลุมพิเศษกลุมหนึ่งกลุมใดที่ตองการความคุมครองตามอนุสัญญาตาง ๆ ไมไดรับการประกันสิทธิทั้งมวลตามที่กําหนดไวในอนุสัญญาเหลานี้ รายงานจะตองอธิบายถึงที่มาและภูมิหลังที่สงผลใหเกิดการเลือกปฏิบัติที่ปรากฏอยูนั้น ๆ รวมถึงขั้นตอนที่ดําเนินการหรือวางแผนที่จะดําเนินการเพื่อขจัดการเลือกปฏิบัตินั้น ๆ 66. สถานการณของความเสมอภาคในการใชสิทธิตางๆ ของสมาชิกของกลุมพิเศษทั้งหลายที่ครอบคลุมโดยสนธิสัญญาตาง ๆ นั้น ควรตองเนนใหเห็นอยางเดนชัด รายงานควรเปดเผยถึงอุปสรรคที่ขัดขวางการมีสวนรวมของกลุมตางๆเหลานั้นบนพื้นฐานความเสมอภาคที่เทาเทียมกับสมาชิกกลุมอื่นๆในสังคม ในวิถีชีวิตทางการเมือง สังคม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรมในประเทศ และใหขอมูลเกี่ยวกับประเภทและความบอยครั้งของการเกิดกรณีที่ไมเปนไปตามหลักการของสิทธิในความเสมอภาค 67. รัฐทั้งหลาย ควรระบุถึงมาตรการโดยตรงที่รับปฏิบัติเพื่อลดความเหลื่อมลํ้าทางเศรษฐกิจ สังคม และสภาพพื้นที่ รวมถึงระหวางชนบทกับเมือง เพื่อปองกันการเลือกปฏิบัติตอกลุมผูดอยโอกาส รวมทั้งอธิบายถึงผลกระทบของมาตรการเหลานั้นดวย 68. รัฐทั้งหลาย ควรระบุถึงมาตรการตางๆรวมถึงรายการดานการศึกษาและการรณรงคเผยแพรขอมูลตอสาธารณชน ซ่ึงไดดําเนินการเพื่อปองกันและขจัดเจตคติในทางลบและอคติตอกลุมพิเศษที่ตองการความคุมครองเพื่อกีดกันกลุมคนเหลานี้ออกไปจากการไดใชสิทธิดานสิทธิมนุษยชนอยางเต็มที่ รวมทั้งอธิบายถึงผลกระทบของมาตรการเหลานั้นดวย

Page 103: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

101

- 25 -

ความเสมอภาคในกฎหมาย และการคุมครองที่เทาเทียมกันตามกฎหมาย 69. ขอมูลกลุมนี้ ตรวจสอบการปฏิบัติตามพันธกิจของรัฐเพื่อที่จะประกันความเสมอภาคในกฎหมายและความคุมครองที่เทาเทียมกันตามกฎหมายตามขอบทที่ 7 ของปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน ซ่ึงเนนขอบัญญัติที่สอดคลองคือ ขอ 14(1) และ 26 ของ ICCPR ขอ 5(ก) ของ ICERD ขอ 15 ของ CEDAW ขอ 18(1) ของ CMW ประเด็นที่เกี่ยวกับสิทธินี้ถูกกลาวถึงไวดวยในขอ 9(2) ของ CRC และขอ 12 และ 13 ของ CAT 70. รัฐทั้งหลาย ควรอธิบายถึงมาตรการเฉพาะที่ดําเนินการเพื่อประกันสิทธิเสมอภาคในกฎหมายและการคุมครองที่เทาเทียมกันตามกฎหมายสําหรับทุกคนภายในเขตอํานาจ รวมถึงมาตรการที่ดําเนินการเพื่อประกันวา สมาชิกของกลุมตางๆที่กลาวขางตนซึ่งถูกเลือกปฏิบัติ ไดรับความคุมครองที่เทาเทียมกันจากการเลือกปฏิบัติที่ละเมิดตอขอบัญญัติของอนุสัญญาทั้งหลายที่รัฐเปนภาคี และจากการกระตุนใหเกิดการเลือกปฏิบัตินั้น

มาตรการพิเศษเพื่อเรงรัดความกาวหนาสูความเสมอภาค

71. สนธิสัญญาบางฉบับอนุญาตใหใชมาตรการพิเศษชั่วคราวในสภาวการณเฉพาะเพื่อชวยเรงรัดความกาวหนาสูความเสมอภาค โดยเฉพาะในสภาวการณที่จําเปน มาตรการเชนวานี้ถูกระบุไวในขอบัญญัติตอไปนี้คือ ขอ 27 ของ ICCPR ขอ 2(3) ของ ICESCR ขอ 1(4) และขอ 2(2) ของ ICERD ขอ 4 และ 14 ของ CEDAW ขอ 22 และ 23 ของ CRC และผลกระทบของมาตรการเหลานี้เปนเรื่องที่คณะกรรมการ ทุกชุดสนใจ 72. รัฐทั้งหลาย ควรอธิบายวา มาตรการพิเศษตางๆโดยเฉพาะอยางยิ่ง มาตรการพิเศษชั่วคราวที่มุงเรงรัด การปฏิบัติโดยพฤตินัยที่เสมอภาคสําหรับสมาชิกของกลุมพิเศษที่รับความคุมครองโดยขอบัญญัติเร่ืองการไมเลือกปฏิบัติตามสนธิสัญญาใด ๆ ที่รัฐเปนภาคี ไดเปนที่ยอมรับหรือไม โดยอธิบายถึงผลกระทบของมาตรการเหลานี้ดวย ในกรณีที่มาตรการเหลานั้น เปนที่ยอมรับปฏิบัติช่ัวคราว รัฐควรระบุถึงขอบเขตระยะเวลาที่คาดวาจะบรรลุเปาหมายแหงความเสมอภาคทางโอกาสและการปฏิบัติ และการยกเลิกมาตรการเหลานั้น สวนที่สองของรายงาน เอกสารโดยตรงของสนธิสัญญา 73. เอกสารโดยตรงของสนธิสัญญา ควรบรรจุขอมูลทั้งหมดที่เกี่ยวกับการปฏิบัติของรัฐภาคีตอสนธิสัญญานั้นโดยตรง ซ่ึงเกี่ยวของโดยเฉพาะหรือโดยหลักการ

Page 104: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

102

- 26 -

ตอคณะกรรมการผูรับผิดชอบกํากับ ติดตาม การปฏิบัติตามสนธิสัญญานั้น สวนที่สองของรายงานนี้ชวยใหคณะกรรมการมุงความสนใจไปที่ประเดน็เฉพาะที่เกีย่วกบัการปฏิบัติตามอนุสัญญา 74. เอกสารสวนนี้ควรจะมขีอมูลตาง ๆ ดังนี้ (ก) ขอมูลที่องคกรตามสนธิสัญญารองขอตามแนวทางของเอกสารโดยตรงของสนธิสัญญา ซ่ึงตอบ ขอถามโดยตรงของสนธิสัญญา ดังนั้นจึงไมรวมอยูในสวนแรกของรายงาน (เอกสารหลัก) (ข) ขอมูลที่องคกรตามสนธิสัญญารองขอ ซ่ึงมุงใหเปนขอมูลเพิ่มเติมของเอกสารหลัก ที่คณะกรรมการตองการขอมูลที่เฉพาะเจาะจงมากขึ้น (ค) ในกรณีที่ทําได ขอมูลวาดวยข้ันตอนที่จดัดําเนนิการโดยตรง เพื่อเนนตอบสนองประเด็นที่ถูก หยิบยกขึ้นโดยองคกรตามสนธิสัญญา ในสรุปขอสังเกต/ขอเสนอแนะจากรายงานฉบับกอนของ รัฐภาค ี 75. คณะกรรมการแตละชุดอาจกําหนดแนวทางโดยตรงของสนธิสัญญาขึ้นใช เพื่อการเตรียมการสําหรับ สวนที่ 2 ของรายงานโดยสอดคลองกับแนวทางรวมนี้

Page 105: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

103

- 27 -

ภาคผนวก 1

ภาระหนาท่ีขององคกรตามสนธิสัญญาในการรองขอรายงานจากรัฐภาค ี กติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ขอ 16 1. รัฐภาคีแหงกติกานี้รับที่จะเสนอรายงานโดยสอดคลองกับภาคนี้แหงกติกาในเรื่องมาตรการตาง ๆ ซ่ึงรัฐนั้น ๆ ไดนํามาใช และในเรื่องความกาวหนาของการดําเนินการเพื่อใหมีการยอมรับสิทธิที่ไดรับการรับรองไว ณ ที่นี้ 2. (ก) ใหเสนอรายงานทั้งปวงตอเลขาธิการสหประชาชาติ ซ่ึงจะสงสําเนาตอไปใหคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม เพื่อการพิจารณาตามบทบัญญัติของกติกานี้ (ข) เลขาธิการสหประชาชาติจะตองสงสําเนารายงานหรือสวนใดที่เกี่ยวของของรายงาน ซ่ึงไดรับจากรัฐภาคีแหงกติกานี้ ซ่ึงเปนสมาชิกแหงทบวงการชํานัญพิเศษตาง ๆ ไปยังทบวงการชํานัญพิเศษนั้น ๆ เทาที่รายงาน หรือสวนใดของรายงานเกี่ยวของกับเรื่องที่อยูในความรับผิดชอบของทบวงการดังกลาวตามตราสารกอตั้งของตน ขอ 17 1. รัฐภาคีแหงกติกานี้จะสงรายงานเปนชวงระยะตามแผนงานซึ่งจะกําหนดโดยคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคมภายในเวลาหนึ่งป นับจากวันที่กติกานี้มีผลบังคับใชภายหลังจากการปรึกษาหารือกับรัฐภาคีและทบวงการชํานัญพิเศษที่เกี่ยวของ 2. รายงานอาจแสดงปจจัยและอุปสรรคซึ่งกระทบระดับของการปฏิบัติตามพันธกรณีภายใตกติกานี้ 3. ในกรณีที่รัฐภาคีใดแหงกติกานี้ไดสงขอสนเทศที่เกี่ยวของไปยังสหประชาชาติหรือทบวงการชํานัญพิเศษใดแลว รัฐภาคีไมจําเปนตองใหขอสนเทศนั้นอีก เพียงแตอางใหถูกตองถึงขอสนเทศที่สงไปแลวก็พอ กติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง ขอ 40 1. รัฐภาคีแหงกติกานี้รับที่จะเสนอรายงานวาดวยมาตรการตาง ๆ ซ่ึงรัฐนั้น ๆ ไดรับไวในอันที่จะทําใหสิทธิที่ไดรับรองไวในกติกานี้เปนผลจริง และวาดวยความกาวหนาในการอุปโภคสิทธิเหลานั้น

Page 106: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

104

- 28 -

(ก) ภายในหนึ่งปนับแตวันที่กติกานี้มีผลใชบังคับสําหรับรัฐภาคีที่เกี่ยวของนั้น ๆ (ข) ภายหลังจากนั้น เมื่อใดก็ตามที่คณะกรรมการรองขอ 2. ใหสงรายงานทั้งปวงตอเลขาธิการสหประชาชาติผูซ่ึงจะนําสงตอไปใหคณะกรรมการพิจารณารายงานนั้นใหระบุปจจัยและอุปสรรคตาง ๆ ซ่ึงกระทบตอการปฏิบัติตามกติกานี้ หากมี 3. ภายหลังจากที่ไดหารือกับคณะกรรมการแลว เลขาธิการสหประชาชาติอาจนําสงสําเนารายงานบางสวนเทาที่อยูในขอบเขตอํานาจหนาที่ของทบวงการชํานัญพิเศษใดไปยังทบวงการชํานัญพิเศษที่เกี่ยวของนั้น 4. ใหคณะกรรมการศึกษารายงานที่รัฐภาคีแหงกติกานี้ไดเสนอ คณะกรรมการจะจัดสงรายงานของตนและความเห็นทั่วไปตามที่เห็นสมควรไปยังรัฐภาคีนั้น ๆ คณะกรรมการอาจสงความเห็นดังกลาวพรอมดวยสําเนารายงานที่ไดรับจากรัฐภาคีแหงกติกานี้ไปยังคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคมดวย 5. รัฐภาคีแหงกติกานี้อาจเสนอขอสังเกตตอความเห็นที่ไดใหไวตามวรรค 4 ของขอนี้ตอคณะกรรมการ อนุสัญญาวาดวยการขจัดการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติในทุกรูปแบบ ขอ 9 1. รัฐภาคีรับที่จะเสนอรายงานใหเลขาธิการสหประชาชาติเพื่อเขาสูการพิจารณาของคณะกรรมการ เกี่ยวกับมาตรการตาง ๆ ทางดานกฎหมาย กระบวนการยุติธรรม กระบวนการบริหารและอื่น ๆ ซ่ึงรัฐภาคีไดจัดใหมีขึ้น เพื่อบังคับใชขอบทของอนุสัญญานี้ (ก) ภายในหนึ่งปหลังจากที่อนุสัญญานี้มีผลใชบังคับกับรัฐภาคีนั้น และ

Page 107: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

105

- 29 -

(ข) ทุก ๆ สองปหลังจากนั้นและเมื่อคณะกรรมการรองขอ ทั้งนี้คณะกรรมการอาจขอขอมูลอ่ืนๆ จากรัฐภาคีได 2. คณะกรรมการจะรายงานเปนประจําทุกป ผานเลขาธิการสหประชาชาติใหสมัชชาสหประชาชาติรับทราบถึงกิจกรรมของคณะกรรมการ และอาจจัดทําขอเสนอแนะและขอแนะนําทั่วไป โดยต้ังอยูบนพื้นฐานของรายงานและขอมูลที่ไดรับจากรัฐภาคี ขอเสนอแนะและขอแนะนําทั่วไปเหลานั้นจะไดรับการรายงานตอที่ประชุมสมัชชา พรอมดวยทัศนะ (หากมี) จากรัฐภาคี อนุสัญญาวาดวยการขจัดการเลือกปฏิบัติตอสตรีในทุกรูปแบบ ขอ 18 1. รัฐภาคีรับที่จะเสนอรายงานวาดวยมาตรการดานนิติบัญญัติ ตุลาการ การบริหาร หรืออ่ืน ๆ ซ่ึง รัฐภาคีเหลานั้นไดกําหนดขึ้น เพื่อใหมีผลตอบทบัญญัติของอนุสัญญาฉบับปจจุบัน และความกาวหนาที่เกิดขึ้นในเรื่องนี้ตอเลขาธิการสหประชาชาติเพื่อการพิจารณาโดยคณะกรรมการ (ก) ภายใน 1 ป หลังจากการเริ่มมีผลบังคับใชสําหรับรัฐที่เกี่ยวของ (ข) หลังจากนั้นอยางนอยที่สุดทุก ๆ 4 ป และตอจากนั้นเมื่อใดก็ตามที่คณะกรรมการรองขอ 2. รายงานอาจระบุปจจัยและความยากลําบากซึ่งกระทบกระเทือนถึงระดับที่ทําใหไมสามารถปฏิบัติตามขอผูกพันตาง ๆ ภายใตอนุสัญญาฉบับปจจุบัน อนุสัญญาวาดวยการตอตานการทารุณกรรม การลงโทษที่โหดราย ไรมนุษยธรรม หรือย่ํายีศักดิ์ศรี ขอ 19 (คําแปลอยางไมเปนทางการ) 1. รัฐภาคีจะเสนอรายงานตอคณะกรรมการ โดยผานเลขาธิการสหประชาชาติในเรื่องมาตรการตาง ๆ ที่รัฐบาลไดจัดใหมีขึ้นเพื่อทําใหการดําเนินการภายใตอนุสัญญานี้บังเกิดผล ภายในหนึ่งปหลังจากการมีผลบังคับใชของอนุสัญญาตอรัฐภาคีที่เกี่ยวของ หลังจากนั้น รัฐภาคีจะเสนอรายงานเพิ่มเติมทุก ๆ 4 ป เกี่ยวกับมาตรการใหมที่ดําเนินการ และรายงานอื่น ๆ ตามที่คณะกรรมการรองขอ 2. เลขาธิการสหประชาชาติจะตองสงรายงานไปยังรัฐภาคีทั้งหมด

Page 108: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

106

- 30 -

3. รายงานแตละฉบับจะไดรับการพิจารณาจากคณะกรรมการซึ่งจะใหความเห็นทั่วไปเกี่ยวกับรายงานตามที่เห็นเหมาะสม และจะสงความเห็นเหลานี้ไปยังรัฐภาคีที่เกี่ยวของ รัฐภาคีนั้นอาจมีการชี้แจงพรอมขอสังเกตที่พิจารณาแลวตอคณะกรรมการ อนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็ก ขอ 44 1. รัฐภาคีรับที่จะเสนอรายงานตอคณะกรรมการ โดยผานเลขาธิการสหประชาชาติ ในเรื่องมาตรการตาง ๆ ที่รัฐบาลรับเอา ซ่ึงทําใหสิทธิที่ไดรับการรับรองในอนุสัญญานี้บังเกิดผล และในเรื่องความคืบหนาของการใชสิทธิเหลานั้น (ก) ภายในสองป นับจากวันที่อนุสัญญานี้มีผลใชบังคับตอรัฐภาคีที่เกี่ยวของ (ข) ทุก ๆ หาป หลังจากนั้น 2. รายงานที่ทําขึ้นตามขอนี้ จะระบุถึงปจจัยและปญหาตาง ๆ ถามี ที่สงผลกระทบตอระดับของการปฏิบัติตามพันธกรณีตามอนุสัญญานี้ ใหรายงานเหลานั้นมีขอมูลขาวสารเพียงพอ สําหรับใหคณะกรรมการมีความเขาใจอยางถองแทถึงการดําเนินการตามอนุสัญญาในประเทศที่เกี่ยวของดวย 3. รัฐภาคีที่ไดเสนอรายงานฉบับเริ่มแรกที่สมบูรณใหแกคณะกรรมการแลว ไมจําเปนตองใหขอมูลขาวสารพื้นฐานที่ไดใหไวแลวแตตนอีกในรายงานฉบับตอ ๆ ไป ที่เสนอตามนัยแหงวรรค 1 (ข) ของขอนี้ 4. คณะกรรมการอาจขอขอมูลขาวสารที่เกี่ยวกับการดําเนินการตามอนุสัญญานี้เพิ่มเติมจากรัฐภาคี 5. คณะกรรมการจะรายงานกิจกรรมของตนตอสมัชชาใหญสหประชาชาติโดยผานคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคมทุก ๆ สองป

Page 109: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

107

- 31 -

6. รัฐภาคีจะทําใหรายงานดังกลาว เปนที่ทราบกันอยางกวางขวางในประเทศของตน อนุสัญญาวาดวยการคุมครองสิทธิของคนงานอพยพและสมาชิกครอบครัว ขอ 73 (คําแปลอยางไมเปนทางการ) 1. รัฐภาคีรับที่จะเสนอรายงานใหเลขาธิการสหประชาชาติ เพื่อเขาสูการพิจารณาของคณะกรรมการ เกี่ยวกับมาตรการตาง ๆ ทางดานกฎหมาย กระบวนการยุติธรรม กระบวนการบริหารและอื่น ๆ ซ่ึงรัฐภาคไีดจัดใหมีขึ้นเพื่อทําใหบทบัญญัติของอนุสัญญานี้บังเกิดผล ก) ภายใน 1 ป หลังจากที่อนุสัญญานี้มีผลใชบังคับตอรัฐภาคีนั้น ข) หลังจากนั้นทุก ๆ 5 ป และเมื่อคณะกรรมการรองขอ 2. รายงานที่ทําขึ้นตามขอนี้ จะระบุถึงปจจัยและปญหาตาง ๆ ถามี ที่สงผลกระทบตอการปฏิบัติตามอนุสัญญา และมีขอมูลที่รวมถึงเรื่องเกี่ยวกับลักษณะของการอพยพที่รัฐภาคีนั้นเกี่ยวของอยู 3. คณะกรรมการจะพิจารณาวางแนวทางที่จะนํามาใชในการจัดทํารายงานตอไป 4. รัฐภาคีจะทําใหรายงานดังกลาว เปนที่ทราบกันอยางกวางขวางในประเทศของตน ขอ 74 1. คณะกรรมการจะตรวจสอบงานที่รัฐภาคีไดเสนอ และจะจัดสงความเห็นตามที่พิจารณาเห็นสมควรไปยังรัฐภาคีที่เกี่ยวของ รัฐภาคีนั้นอาจเสนอขอสังเกตตอความเห็นของคณะกรรมการตามขอบทนี้ตอคณะกรรมการ คณะกรรมการอาจรองขอขอมูลเพิ่มเติมจากรัฐภาคีทั้งหลายในการพิจารณารายงานเหลานี้

Page 110: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

108

- 32 -

ภาคผนวก 2 อนุสัญญาระหวางประเทศที่เก่ียวกับประเด็นสิทธิมนุษยชน

ก. อนุสัญญาระหวางประเทศดานสิทธิมนุษยชนฉบับหลักและพิธีสาร กติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม (International Covenant on Economic, Social and Cultural Rights - ICESCR) กติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (International Covenant on Civil and Political Rights - ICCPR) อนุสัญญาวาดวยการขจัดการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติในทุกรูปแบบ (International Convention on the Elimination of All Forms of Racial Discrimination - ICERD) อนุสัญญาวาดวยการขจัดการเลือกปฏิบัติตอสตรีในทุกรูปแบบ (Convention on the Elimination of All Forms of Discrimination against Women - CEDAW) อนุสัญญาวาดวยการตอตานการทารุณกรรมและการปฏิบัติอ่ืนหรือการลงโทษที่โหดราย ไรมนุษยธรรม หรือย่ํายีศักดิ์ศรี (Convention against Torture and Other Cruel, Inhuman or Degrading Treatment or Punishment - CAT) อนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็ก (Convention on the Rights of the Child - CRC) อนุสัญญาวาดวยการคุมครองสิทธิของคนงานอพยพและสมาชิกครอบครัว (International Convention on the Protection of the Rights of All Migrant Workers and Members of Their Families - CMW) พิธีสาร (คําแปลชื่ออยางไมเปนทางการ) พิธีสารเลือกรับของ CRC เร่ืองความเกี่ยวพันของเด็กในความขัดแยงกันดวยกําลังอาวุธ (Optional Protocol to the CRC on the involvement of children in armed conflict) พิธีสารเลือกรับของ CRC เร่ืองการคาเด็ก การคาประเวณีเด็กและสื่อลามกที่เกี่ยวกับเด็ก (Optional Protocol to the CRC on the sale of children, child prostitution, and child pornography) พิธีสารเลือกรับของ CCPR เร่ืองการยื่นคํารองตอศาลของบุคคล (Optional Protocol to CCPR, concerning individual petition) พิธีสารเลือกรับของ CCPR เร่ืองการลบลางโทษประหารชีวิต (Second Optional Protocol to CCPR, concerning abolition of the death penalty) พิธีสารเลือกรับของ CEDAW เร่ืองการรองเรียนของบุคคลและกระบวนการไตสวน (Optional Protocol to CEDAW, concerning individual complaints and inquiry procedures)

Page 111: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

109

- 33 - พิธีสารเลือกรับของ CAT เร่ืองการตรวจเยี่ยมที่คุมขังอยางสม่ําเสมอของสถาบันแหงชาติ และสถาบันระหวางประเทศ (Optional Protocol to Committee against Torture, concerning regular visits by national and international institutions to places of detention) ข. อนุสัญญาดานสิทธิมนุษยชนและอนุสัญญาที่เก่ียวของอ่ืน ๆ ของสหประชาชาติ Convention on the Prevention and Punishment of the Crime of Genocide 1948 Slavery Convention 1926 as amended 1955 Convention for the Suppression of the Traffic in Persons and of the Exploitation of the Prostitution of Others 1949 Convention relating to the Status of Refugees 1951 and its 1967 Protocol Convention relating to the Status of Stateless Persons 1954 Convention on the Reduction of Statelessness 1961 Rome Statute of the International Criminal Court 1998 United Nations Convention against Transnational Organized Crime 2000 and its Protocols against the smuggling of migrants by land, sea and air, and to prevent, suppress and punish trafficking in persons, especially women and children ค. อนุสัญญาขององคการแรงงานระหวางประเทศ Weekly Rest (Industry) Convention, 1921 (No. 14) Forced or Compulsory Labour Convention 1930 (No. 29) Labour Inspection Convention, 1947 (No. 81) Migration for Employment Recommendation, 1949 (No. 86) Freedom of Association and Protection of the Right to Organize Convention, 1948 (No. 87) Migration for Employment Convention, 1949 (No. 97) Right to Organize and Collective Bargaining Convention, 1949 (No. 98) Equal Remuneration Convention 1951 (No. 100) Abolition of Forced Labour Convention, 1957 (No. 105) Weekly Rest (Commerce and Offices) Convention, 1957 (No. 106) Discrimination (Employment and Occupation) Convention, 1958 (No. 111) Employment Policy Convention, 1964 (No. 122) Labour Inspection (Agriculture) Convention, 1969 (No. 129)

Page 112: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

110

- 34 -

Minimum Wage-Fixing Convention 1970 (No. 131) Holidays with Pay Convention (Revised) 1970 (No. 132) Minimum Age Convention 1973, (No. 138) Migrant Workers (Supplementary Provisions) Convention, 1975 (No. 143) Migrant Workers Recommendation, 1975 (No. 151) Labour Relations (Public Service) Convention, 1978 (No. 151) Occupational Safety and Health Convention, 1981 (No. 155) Equal Opportunities and Equal Treatment for Men and Women Workers : Workers with Family Responsibilities Convention, 1981 (No. 156) Indigenous and Tribal Peoples in Independent Countries Convention, 1989 (No. 169) Worst Forms of Child Labour Convention, 1999 (No. 182) ง. อนุสัญญาขององคการศึกษาวิทยาศาสตรและวัฒนธรรมแหงสหประชาชาติ Convention against Dirscrimination in Education 1960 จ. อนุสัญญาของการประชุมเฮกวาดวยกฎหมายระหวางประเทศวาดวยคดีบุคคล Convention relating to the settlement of the conflicts between the law of nationality and the law of domicile 1955 Convention on the law applicable to maintenance obligations towards children 1956 Convention concerning the recognition and enforcement of decisions relating to maintenance obligations towards children 1958 Convention concerning the powers of authorities and the law applicable in respect of the protection of minors 1961 Convention on Jurisdiction, Applicable Law and Recognition of Decrees Relating to Adoptions 1965 Convention on the Law Applicable to Maintenance Obligations 1973 Convention on the Recognition of Divorces and Legal Separations 1970 Convention on the Recognition and Enforcement of Decisions relating to Maintenance Obligations 1973 Convention on the Civil Aspects of International Child Abduction 1973 Convention on Celebration and Recognition of the Validity of Marriages 1978 Convention on the Law Applicable to Matrimonial Property regimes 1978 Convention on International Access to Justice 1980

Page 113: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

111

- 35 - Convention on the Law Applicable to Succession to the Estates of Deceased Persons 1989 Convention on Protection of Children and Co-operation in respect of Intercountry Adoption 1993 Convention on Jurisdiction, Applicable Law, Recognition, Enforcement and Co-operation in respect of Parental Responsibility and Measures for the Protection of Children 1996 Convention on the International Protection of Adults 2002 ฉ. อนุสัญญาเจนีวาและสนธิสัญญาอื่น ๆ วาดวยกฎหมายมนุษยธรรมระหวางประเทศ Geneva Convention (I) for the Amelioration of the Condition of the Wounded and Sick in Armed Forces in the Field 1949 Geneva Convention (II) for the Amelioration of the Condition of Wounded, Sick and Shipwrecked Members of Armed Forces at Sea 1949 Geneva Convention (III) relative to the Treatment of Prisoners of War 1949 Geneva Convention (IV) relative to the Protection of Civilian Persons in Time of War. Geneva 1949 Protocol Additional to the Geneva Conventions of 12 August 1949, and relating to the Protection of Victims of International Armed Conflicts (Protocol I) 1977 Protocol Additional to the Geneva Conventions of 12 August 1949, and relating to the Protection of Victims of Non-International Armed Conflicts (Protocol II) 1977 Ottawa Convention on the Prohibition of the Use, Stockpiling, Production and Transfer of Anti- Personnel Mines and On Their Destruction 1987

Page 114: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

112

- 36 -

ภาคผนวก 3 การประชุมสมัมนาระดับโลก

World Summit on the Information Society 2003-2005; World Summit on Sustainable Development 2002; World Conference against racism, racial discrimination, xenophobia and related intolerance 2001; United Nations Conferences on the Least Developed Countries 2001; Millennium Summit 2000; Second United Nations Conference on Human Settlements (Habitat II) 1996; Fourth World Conference on Women 1995; World Summit for Social Development 1995; International Conference on Population and Development 1994; World Conference on Human Rights 1993; UN Conference on Environment and Development (Earth Summit) 1992; World Summit for Children 1990.

Page 115: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

113

- 37 -

ภาคผนวก 4 ตัวชี้วัดเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน

ภาคผนวกดานสถิติของรายงานควรประกอบดวยตัวช้ีวัดตอไปนี้ ซ่ึงจําแนกตามเพศและประชากรกลุมอื่น ๆ เทาที่จัดหาได ท่ีดินและประชากร รัฐผูรายงาน ควรจัดทําขอมูลที่ชัดเจนเกี่ยวกับโครงสรางหลักของประชากร ลักษณะเฉพาะของประชากร เชน 1. อัตราการเพิ่มของประชากร 2. ความหนาแนนของประชากร 3. การใชที่ดิน 4. ภาษาของประชากรโดยภาษาแม 5. ศาสนา 6. องคประกอบดานอายุ 7. อัตราการพึ่งพา (อัตราสวนรอยละของประชากรอายุต่ํากวา 15 (ต่ํากวา 18) และเกิน 65 ป) 8. เพศ 9. อัตราสวนของประชากรในเขตชนบทและเขตเมือง 10. สถิติการเกิด 11. สถิติการตาย 12. อายุขัยเฉลี่ย 13. อัตราการเจริญพันธุ 14. ขนาดครัวเรือน 15. อัตราสวนของครัวเรือนที่มีบิดาหรือมารดาคนเดียว และครัวเรือนที่มีหัวหนา ครอบครัวเปนผูหญิง สถิติดานสังคม เศรษฐกิจและวัฒนธรรม รัฐผูรายงาน ควรจัดทําขอมูลที่ชัดเจนวาดวยมาตรฐานการดํารงชีวิตของแตละสวนของประชากร รวมถึง 1. รายไดเฉลี่ยตอหัวของประชากร 2. สวนแบงของ (ครัวเรือน) คาใชจายในการบริโภคดานอาหาร ที่อยูอาศัย สุขภาพและ การศึกษา

Page 116: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

114

- 38 -

3. อัตราสวนของประชากรที่อยูใตเสนความยากจนของชาติ 4. อัตราสวนประชากรที่อยูใตระดับต่ําสุดของการไดรับอาหารตามเกณฑปกติ 5. Gini coefficient (ที่เกี่ยวโยงกับการกระจายรายได) 6. จํานวนเด็กอายุต่ํากวา 5 ป ที่มีน้ําหนักต่ํากวาเกณฑ 7. อัตราการตายของทารก อัตราการตายของมารดา 8. สาเหตุการตาย 9. อัตราการติดเชื้อ HIV/AIDS 10. อัตราสุทธิการเขาเรียนในการศึกษาระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา 11. อัตราการคงอยูและจบการศึกษาระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา 12. อัตราการออกกลางคัน 13. อัตราสวนครตูอนักเรียน 14. อัตราการรูหนังสือ 15. อัตราการวางงาน 16. การจางงานตามภาคสวน รวมขอแตกตางระหวางภาคในระบบและนอกระบบ 17. อัตราการมีสวนในการทํางาน จําแนกตามเพศ ศาสนา และกลุมประชากร 18. ประชากรที่ส่ือมวลชนครอบคลุมถึง การหมุนเวียนของ นสพ. รายวันและหนังสือ จําแนกตามภาษาที่ใช 19. ผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศ (GDP) 20. อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ 21. รายไดมวลรวมของชาติ (GNI) 22. อัตราเงินเฟอ 23. รายจายสาธารณะที่เปนสัดสวนตอ GDP 24. หนี้ภาครัฐทั้งภายนอกและภายในประเทศ 25. สวนแบงความชวยเหลือระหวางประเทศในภาษีรายไดและรายจายการพัฒนา

Page 117: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

115

- 39 -

สถิติดานระบบการเมืองและการบริหารความยุติธรรม รัฐผูรายงาน ควรจัดทําขอมูลวาดวยลักษณะการเลือกตั้งและการเมืองของประเทศที่รวมถึง 1. จํานวนพรรคการเมืองที่เปนที่ยอมรับ 2. การกระจายของจํานวนที่นั่งในฝายนิติบัญญัติจําแนกตามพรรคการเมือง 3. อัตราสวนของสตรีในรัฐสภา 4. ชวงระยะเวลาสําหรับการเลือกตั้งในระดับชาติและทองถ่ิน 5. ผูไมใชสิทธิเลือกตั้ง (Voter Turnouts) 6. สถิติอาชญากรรม และขอมูลเกี่ยวกับการบริหารกระบวนการยุติธรรม รวมถึง 7. จํานวนคดีอาชญากรรม 8. จํานวนคดีตอผูพิพากษา 9. ประชากรนักโทษ จําแนกตามการกระทําผิดและระยะเวลาที่ถูกตัดสิน 10. อัตราการตายในที่คุมขัง 11. กรณีการใชนักโทษประหาร 12. จํานวนนักโทษที่รอการพิจารณาคดี และระยะเวลาที่รอการตัดสิน

Page 118: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

116

- 40 -

ภาคผนวก 5 เปาหมายการพัฒนาของสหสัวรรษ

เปาหมายการพัฒนาของสหัสวรรษ กับ อนุสัญญาดานสิทธิมนุษยชน เปาหมายที่ 1 (ขจัดความยากจนและความหิวโหยที่รุนแรง) ICESCR (ขอ 11 และขอคิดเห็นทั่วไป 12) CRC (ขอ 24 (2) และ 27(3)) เปาหมายที่ 2 (ความสําเร็จตามการประถมศึกษาสากล) ICESCR (ขอ 13 และ 14 และขอคิดเห็นทั่วไป ที่ 11) CRC (ขอ 28 a และขอคิดเห็นทั่วไปขอ 1) CERD (ขอ 5 และ 7) เปาหมายที่ 3 (สงเสริมความเสมอภาคทางเพศและเพิ่มศักยภาพสตรี) CEDAW, ICESCR (ขอ 3 และ 7 (a) (i)) ICCPR (ขอ 3, 6 (5) และ 23 (2)) CRC (ขอ 2) CERD (ขอคิดเห็นทั่วไปขอ 25) เปาหมายที่ 4 (ลดอัตราการตายของเด็ก) CRC (ขอ 6 และ 24 (2)(a)) ICESCR (ขอ 12 (2)(a)) ขอคิด เห็นทั่วไปขอ 14) เปาหมายที่ 5 (ปรับปรุงสุขภาพมารดา) CEDAW (ขอ 10 (h) 11(f) 12(1) 14(b)) และขอคิดเห็นทั่วไปขอ 24 CERD (ขอ 5 e IV) ICESCR ขอคิดเห็นทั่วไปขอ 14 CRC (ขอ 24 (d)) เปาหมายที่ 6 (ตอตาน HIV/AIDS มาลาเรียและโรคอื่น ๆ) แนวทางระหวางประเทศเกี่ยวกับ HIV/AIDS และสิทธิมนุษยชน ICECR ขอคิดเห็นทั่วไปขอ 14 CRC (ขอ 24 (c) และขอคิดเห็นทั่วไป 3) เปาหมายที่ 7 (ประกันการพัฒนาที่ยั่งยืน) น้ําดื่มที่ปลอดภัย ICESCR ขอคิดเห็นทั่วไปขอ 15 และ 14 ผูอยูอาศัยในชุมชนแออัด ICESCR ขอคิดเห็นทั่วไป 4 และ 7 CRC (ขอ 24 (c)) เปาหมายที่ 8 (พัฒนาความรวมมือระดับโลกเพื่อการพัฒนา) กฎบัตรสหประชาชาติ (ขอ 1 (3)) ICESCR (ขอ 2) CRC (ขอ 4)

Page 119: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

117

- 41 -

ภาคผนวก 6 เว็บไซตเสนอแนะ

Attorney- Human Rights We provide experienced human rights attorneys at affordable prices. Just fill in our simple form and we will contact you soon. 100% satisfaction guaranteed. www.911-legalservices.com Women's Rights Network THEWRN is a non-governmental, non-profit international human rights organization that addresses the causes of intimate partner abuse in the United States. www.wcwonline.org Human Rights Publications Save The Children Sweden is a non-profit NGO working in 30 countries around the world. Our goal is to spread knowledge through our publications - they are for professionals. se-web-01.rb.se Access Top Lawyers - Protect Your Rights With a Pre-Paid Legal Membership at $26.00 per month or less, access ongoing legal consultation with top lawyers and many more benefits. Signup Online Today! A Pre-Paid Legal Affiliate. www.myrightscentral.com ExecSearches.com - Human Rights Jobs Executive and senior management job listings in human rights, advocacy, non-profit and socially conscious organizations. www.execsearches.com Questia, Online Library - Human Rights Research and discover over 1,000,000 books, journals and articles covering over 6,000 research topics, continuously updated - a complete academic library. Free gift with membership. www.questia.com Web Links Human Rights Watch - Defending Human Rights Worldwide Home page for Human Rights Watch, an organization dedicated to protecting the human rights of people around the world. We stand with victims and activists to bring offenders to justice, to prevent discrimination, to uphold political freedom and ... Russia: HIV/AIDS Pioneer Fights for Vulnerable Populations. Russia: Support UN Human Rights Council ... www.hrw.org Make a choice Click on your choice. www.a-human-right.com HRI - Human Right Internet - Education … Woman, man, youth and child has the human right to education, training and information, and to … www.pdhre.org Human Right Defenders Human Rights Defenders. Reports of the Secretary-General … rights and freedoms of human rights defenders; the right to meet or assemble peacefully … information about all human rights; the right to develop and discuss new human rights ideas … www.hri.ca

Page 120: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

118

- 42 - Derechos Human Rights Links: Kenya Human Rights Links. Home: Regional: Africa. Kenya. Amnesty International Reports on Kenya. European Parliament: Resolution on the violation of human rights in Kenya – 1997. expression today-journal www.derechos.net Rethinking Schools Online - Special Collection on Bilingual Education … Society of America also affirmed this basic human right. It passed a resolution supporting the right of all … native language a human right, it is a civil right as well … www.rethinkingschools.org The Human Right to Water … paper argues that access to a basic water requirement is a fundamental human right implicitly and … that water as a human right. By acknowledging a human right to water … www.pacinst.org UNIAP ประเทศไทย www.no-trafficking.org US Embassy www.http://bangkok. usembassy.gov แอมเนสตี้ อินเตอรเนชั่นแนล ประเทศไทย www.amnesty.org www.amnasty.or.th คณะกรรมาธิการเพื่อสิทธิมนุษยชนแหงเอเชีย (AHRC) www.thailand.ahrchk.net เว็บไซตของหนังสือพิมพในประเทศไทย หาไดจากหวัหนังสือพิมพฉบับนั้น ๆ เว็บไซตของไทย www.nhrc.or.th www.bannok.com www.geocities.com/thaihumanright/

Page 121: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

119

บรรณานุกรม

ภาษาไทย กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย สํานักงานกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว รายงานการอนุวัติตามอนุสัญญาวาดวยการขจัดการเลือกปฏิบัติตอสตรีในทุกรูปแบบ ฉบับที่ 4-5 (ฉบับรวม) ไมปรากฏปที่พิมพ สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ขอมูลพื้นฐานกลไกสิทธิมนุษยชนในระบบสหประชาชาติ แนวทางปฏิบัติและมาตรฐานสิทธิมนุษยชนระหวางประเทศ 2546 สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ พันธกรณีระหวางประเทศดานสิทธิมนุษยชนของไทย อัจฉรา ฉายากุล และคณะ 2546 สํานักนายกรัฐมนตรี สํานักงานคณะกรรมการสงเสริมและประสานงานเยาวชนแหงชาติ “แนวทางในการ จัดทําเนื้อหาและรูปแบบของรายงาน (periodic report) ตามขอกําหนดของอนุสัญญาวาดวย สิทธิเด็ก ตามมติเห็นชอบของคณะกรรมการสิทธิเด็กแหงสหประชาชาติ ในการประชุมครั้งที่ 343 เมื่อวันที่ 11 ตุลาคม 2539” กุมภาพันธ 2542 สํานักนายกรัฐมนตรี สํานักงานคณะกรรมการสงเสริมและประสานงานเยาวชนแหงชาติ และ องคการทุน เพื่อเด็กแหงสหประชาชาติ (ยูนิเซฟ) รายงานผลการดําเนินงานของประเทศไทย ตาม อนุสัญญาวา ดวยสิทธิเด็ก (ฉบับที่ 1) เสนอตอคณะกรรมการสิทธิเด็กแหงสหประชาชาติ 2541 สํานักนายกรัฐมนตรี สํานักงานคณะกรรมการสงเสริมและประสานงานเยาวชนแหงชาติ “รายงานผลการ ดําเนินงานของประเทศไทยตามอนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็ก (ฉบับที่ 2) เสนอตอคณะกรรมการ สิทธิเด็กแหงสหประชาชาติ” โดยคณะทํางานจัดทํารายงานผลการดําเนินงานตามอนุสัญญาวา ดวยสิทธิเด็ก ฉบับที่ 2 คณะอนุกรรมการเรื่อง “สิทธิเด็ก” เอกสารอัดสําเนา มิถุนายน 2545 สํานักนายกรัฐมนตรี สํานักงานคณะกรรมการสงเสริมและประสานงานเยาวชนแหงชาติ 25 ป สยช. ตุลาคม 2545 สํานักงานอัยการสูงสุดและกระทรวงยุติธรรม คณะอนุกรรมการสงเสริมการจัดทํารายงานการปฏิบัติตามภาคี กติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิของพลเมืองและสิทธิทางการเมือง ค.ศ. 1996 ในคณะกรรมการ ฉลองครบรอบ 50 ป ปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชนของสหประชาชาติ รายงานสิทธิ มนุษยชน ในประเทศไทย เสนอตอคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนตามกติการะหวางประเทศ วาดวยสิทธิของพลเมืองและสิทธิทางการเมือง ค.ศ. 1966 เอกสารอัดสําเนา กรกฎาคม 2545 ราชกิจจานุเบกษา พระราชบัญญัติ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ พ.ศ. 2542 ราชกิจจานุเบกษา เลมที่ 116 ตอนที ่118 ก วันที่ 25 พฤศจิกายน 2542 กฎกระทรวงแบงสวนราชการ กรมคุมครองสิทธิและเสรีภาพ กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2545 ราชกิจจานุเบกษา เลม 119 ตอนที่ 103 ก วันที่ 9 ตุลาคม 2545

Page 122: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร

120

ภาษาองักฤษ Ministry of Social Development and Human Security, Office of Women’s Affairs and Family Development

“Thailand’s combined Fourth and Fifth Report to the Committee on the Elimination of Discrimination against Women”

Office of the Prime Minister, National Commission on Women’s Affairs Thailand’s Combined Second and Third Report to the Committee on The Elimination of Discrimination against Women July 1996 by Committee for Thailand’s Second Report on the Implementation of the Convention on the Elimination of All Forms of Discrimination against Women Kurusapa Ladprao Press 1997

Office of the Prime Minister, National Commission on Women’s Affairs Thailand’s Report on the Status of Women and Platform for Action 1994 for the Fourth World Conference on Women Beijing, the People’s Republic of China 4-15 September 1995 Amarin Printing and Publishing Public Co., Ltd. Bangkok Thailand 1995

United Nations, ABC Teaching human Rights, Practical activities for primary and secondary schools New York 1989

United Nations, Center for Human Rights genera Bulletin of Human Rights 91/2 The Rights of the Child New York 1992

United Nations, Convention on the Rights of the Child, Committee on the Rights of the Child “General Guidelines Regarding the Form and Contents of Periodic Report to be Submitted by States Parties under Article, 44, paragraph 1 (b) of the Convention” Adopted by the Committee at its 343rd meeting (13th session) on 11 October 1996

United Nations, Department of Economic and Social Affair Division for the Advancement of Women “Assessing the Status of Women, A Guide to Reporting under the Convention on the Elimination of All Forms of Discrimination against Women 2000”

United Nations, Human Rights International Instruments “Chart of Ratifications as at 30 June 1995” New York and Geneva 1995

United Nations, International Human Rights Instruments “Compilation of Guidelines on the Form and Content of Reports to be Submitted by States Parties to the International Human Rights Treaties” 5 May 2003

United Nations, International Human Rights Instruments, “Harmonized guidelines on reporting under the international human rights treaties, including guidelines on a common core document and treaty-specific targeted documents” 1 June 2005

Page 123: คู มือรายงานประเทศ ตามพันธกรณ ... · 2014-02-27 · - ขั้นตอนการจ ัดทํารายงาน เขียน/ร