บทที่ 2 ทฤษฎีและหล ักการท...

8
3 บทที2 ทฤษฎีและหลักการที่เกี่ยวข้อง 2.1 เครื่องดัดท ่อรูปแบบต่างๆ จากการศึกษาทฤษฎีและหลักการในการออกแบบเครื่องดัดท่อพบว่าเครื่องจักรที่ใช้ดัดท่อ ขนาดเล็กและขนาดใหญ่โดยใช้แรงงานคนหรือเครื่องจักรที่มีการผลิตขายในท้องตลาดมีรูปแบบ การทํางานอยู4แบบหลักๆดังนี [1] 1.เครื่องดัดท่อแบบมือโยก(แสดงในรูปที2.1.1) การทํางานของเครื่องดัดท่อมีลักษณะการ โยกคันโยกเป็นจังหวะโดยงัดซี่ฟันแต่ละซี่ซึ ่งท่อจะถูกดัดประมาณ 3 องศาในแต่ละซี่ฟันโดยมี หลักการคือใช้ลักษณะของการงัดซี่ฟันเป็นการผ่อนแรงในการดัดท่อเนื่องจากว่าการมีซี่ฟันแบบนี จะช่วยล็อกไม่ให้คันโยกดีดตัวกลับไปเมื ่อยังไม่สิ้นสุดกระบวนการทํางานรายละเอียดของเครื่องดัด ท่อแบบที1 โดยเครื่องดัดท่อแบบที1 มีข้อดีคือ 1. ช่วยผ่อนแรงการใช้แรงของคนได้มาก 2. มีรูปแบบการทํางานและการใช้งานที่ไม่ซับซ้อน 3. สามารถดัดท่อได้หลายขนาดและดัดเส้นผ่าน ศูนย์กลางที่กว้างกว่าแบบอื่นได้ 4. สามารถดัดได้มุมองศาตามที่ต้องการและมี ความเที่ยงตรงของมุมองศา รูปที2.1.1

Upload: others

Post on 20-Sep-2019

7 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: บทที่ 2 ทฤษฎีและหล ักการท ี่เกี่ยวข้องresearch-system.siam.edu/images/0auto/57/07_ch2.pdf · 4 2. เครื่องดัดท่อไฮโดรล

3

บทที ่2

ทฤษฎแีละหลกัการทีเ่กีย่วข้อง

2.1 เคร่ืองดัดท่อรูปแบบต่างๆ

จากการศึกษาทฤษฎีและหลกัการในการออกแบบเคร่ืองดดัท่อพบวา่เคร่ืองจกัรท่ีใชด้ดัท่อขนาดเลก็และขนาดใหญ่โดยใชแ้รงงานคนหรือเคร่ืองจกัรท่ีมีการผลิตขายในทอ้งตลาดมีรูปแบบการทาํงานอยู ่4แบบหลกัๆดงัน้ี[1]

1.เคร่ืองดดัท่อแบบมือโยก(แสดงในรูปท่ี 2.1.1) การทาํงานของเคร่ืองดดัท่อมีลกัษณะการโยกคนัโยกเป็นจงัหวะโดยงดัซ่ีฟันแต่ละซ่ีซ่ึงท่อจะถูกดดัประมาณ 3 องศาในแต่ละซ่ีฟันโดยมีหลกัการคือใชล้กัษณะของการงดัซ่ีฟันเป็นการผอ่นแรงในการดดัท่อเน่ืองจากวา่การมีซ่ีฟันแบบน้ีจะช่วยลอ็กไม่ใหค้นัโยกดีดตวักลบัไปเม่ือยงัไม่ส้ินสุดกระบวนการทาํงานรายละเอียดของเคร่ืองดดัท่อแบบท่ี 1 โดยเคร่ืองดดัท่อแบบท่ี 1 มีขอ้ดีคือ

1. ช่วยผอ่นแรงการใชแ้รงของคนไดม้าก 2. มีรูปแบบการทาํงานและการใชง้านท่ีไม่ซบัซอ้น 3. สามารถดดัท่อไดห้ลายขนาดและดดัเสน้ผา่น

ศูนยก์ลางท่ีกวา้งกวา่แบบอ่ืนได ้4. สามารถดดัไดมุ้มองศาตามท่ีตอ้งการและมี

ความเท่ียงตรงของมุมองศา

รูปท่ี 2.1.1

Page 2: บทที่ 2 ทฤษฎีและหล ักการท ี่เกี่ยวข้องresearch-system.siam.edu/images/0auto/57/07_ch2.pdf · 4 2. เครื่องดัดท่อไฮโดรล

4

2. เคร่ืองดัดท่อไฮโดรลิคแบบมือโยก (แสดงในรูปท่ี 2.1.2) มีลักษณะการทาํงานท่ีคลา้ยคลึงกบัเคร่ืองดดัท่อแบบท่ี 1 เน่ืองจากว่ามีการนาํเอาลษัณะของการผ่อนแรงโดยการใชจ้านฟันเขา้มาช่วยในการผอ่นแรงแต่มีกลไกการใชง้านท่ียุง่ยากกว่าและไม่มีตวัลอ็กซ่ีอตัโนมติัสาํหรับการงดัซ่ีลอ็กแต่ละซ่ีเน่ืองจากในขณะใชง้านเม่ืองดัซ่ีล็อกไป 1 ลอ็กแลว้นั้นผูใ้ชจ้ะตอ้งงา้งตวัล๊อกตามมาเพ่ือทาํการลอ็กไม่ใหค้นัโยกดีดตวักลบัไปรายละเอียดของเคร่ืองดดัท่อแบบท่ี 2 โดยเคร่ืองดดัท่อแบบท่ี 2 มีขอ้ดีคือ

1. ช่วยผอ่นแรงในการดดั 2. มีมุมองศาในการดดัท่ีเท่ียงตรงและสามารถ ดดัไดมุ้มตามท่ีตอ้งการ 3. สามารถดดัท่อไดห้ลายขนาดและมีเสน้ผา่น

ศูนยก์ลางท่ีโตข้ึน 3. เคร่ืองดดัท่อไฮโดรลิคแบบไฟฟ้า(แสดงในรูปท่ี 2.1.3) มีลกัษณะการทาํงานโดยใชแ้รง

คนในการดดัตวัของท่อซ่ึงขนาดของท่อท่ีดดักจ็ะข้ึนอยูแ่ลว้แต่ความสามารถของแรงของผูด้ดัเน่ืองจากวา่เคร่ืองดดัท่อชนิดน้ีจะไม่มีตวัช่วยเพื่อมาช่วยในการผอ่นแรงแต่จะใชแ้รงคนเพ่ือทาํให้ท่อเกิดการดดัตวัจึงทาํใหเ้คร่ืองดดัท่อชนิดน้ีสามารถดดัไดก้บัท่อท่ีมีขนาดเลก็รายละเอียดของเคร่ืองดดัท่อแบบท่ี 3 โดยเคร่ืองดดัท่อแบบท่ี 3 มีขอ้ดีคือ

1. กลไกการทาํงานไม่ซบัซอ้น 2. เหมาะท่ีจะใชด้ดัท่อท่ีมีขนาดเลก็ 3. เคร่ืองดดัท่อมีขนาดเลก็กะทดัรัด

รูปท่ี 2.1.2 รูปท่ี 2.1.3

Page 3: บทที่ 2 ทฤษฎีและหล ักการท ี่เกี่ยวข้องresearch-system.siam.edu/images/0auto/57/07_ch2.pdf · 4 2. เครื่องดัดท่อไฮโดรล

5

\4. เคร่ืองดดัท่ออตัโนมติั (แสดงในรูปท่ี 2.1.4) มีลกัษณะการทาํงานโดยส่วนมากจะนิยม

ใชใ้นโรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ ซ่ึงสามารถดดัท่อท่ีมีขนาดใหญ่ เคร่ืองดดัชนิดน้ีจะมีความ

แขง็แรงสูงและใชง้านไดแ้บบอตัโนมติัโดยใชค้อมพวิเตอร์เป็นตวัออกแบบการดดัของท่อโดยจะใช้

วิธีการเขียน Program Drawing เคร่ืองดดัชนิดน้ีสามารถผอ่นแรงคนไดสู้ง มีความแม่นยาํสูงในการ

ข้ึนรูปช้ินงาน

โดยเคร่ืองดดัท่อแบบท่ี 4 มีขอ้ดีคือ

1. ใชก้าํลงัคนนอ้ย

2. เคร่ืองดดัมีความคงทน

3. เพิ่มอตัราการผลิต

4. สามารถดดัท่อไดห้ลายขนาดและดดัเสน้ผา่นศูนยก์ลางท่ีกวา้งกวา่แบบอ่ืนได ้5. สามารถดดัไดมุ้มองศาตามท่ีตอ้งการและมีความเท่ียงตรงของมุมองศา

และมีขอ้เสียคือ

1. มีรูปทรงขนาดใหญ่

2. มีลกัษณะการใชง้านท่ีซบัซอ้น

3. เคร่ืองจกัรมีราคาสูง

4. ไม่เหมาะกบัธุรกิจขนาดเลก็

รูปท่ี 2.1.4

Page 4: บทที่ 2 ทฤษฎีและหล ักการท ี่เกี่ยวข้องresearch-system.siam.edu/images/0auto/57/07_ch2.pdf · 4 2. เครื่องดัดท่อไฮโดรล

6

2.2 วสัดุทีใ่ช้ในงานดัดทีพ่บในโรงงาน

1.ท่อสแตนเลส(แสดงในรูปท่ี 2.2.1) มีคุณสมบติัท่ีไม่เหมือนใคร เช่น ยากต่อการข้ึนสนิม

เม่ือเทียบกบัโลหะหรือวสัดุชนิดอ่ืนๆ ค่าบาํรุงรักษาตํ่า ง่ายต่อการเช่ือมและการข้ึนรูป ระยะเวลา

การใชง้านคุม้ค่ากบัราคา และสามารถนาํกลบัมาใชไ้ดใ้หม่ ท่ีพบในโรงงานจะใช ้ท่อกลมสแตนเล

สแบบมีตะเขบ็ 2”1/2x1.2 ราคา 800 บาท ใชใ้นการดดังานของ ฟอร์ด เช่นพวก Rear bars

รุปท่ี 2.2.1 ท่อกลมสแตนเลส (แบบมีตะเขบ็)

Page 5: บทที่ 2 ทฤษฎีและหล ักการท ี่เกี่ยวข้องresearch-system.siam.edu/images/0auto/57/07_ch2.pdf · 4 2. เครื่องดัดท่อไฮโดรล

7

2. ท่ออลูมีเนียม(แสดงในรูปท่ี 2.2.2) ถือเป็นโลหะท่ีถูกนาํมาใชป้ระโยชน์มากทั้งใน

ภาคอุตสาหกรรม และภาคครัวเรือน สาํหรับภาคอุตสาหกรรมใชใ้นการผลิตอลูมิเนียมผสม และ

ผลิตภณัฑอ์ลูมิเนียม ส่วนภาคครัวเรือนมีใชม้ากในการก่อสร้าง และตกแต่งบา้น ทดแทนไม ้และ

เหลก็ เน่ืองจากเป็นโลหะท่ีมีคุณสมบติัคงทนต่อการหกั ความร้อน การกดักร่อน นํ้าหนกัเบา และมี

ความสามารถในการสะทอ้นแสง และความร้อนไดดี้ ท่ีพบในโรงงานจะใช ้ท่อกลมอลูมีเนียมแบบ

มีตะเขบ็ 2”1/2x1.2 ราคา 1200 บาท ใชใ้นการดดังานของฟอร์ด เช่นพวก Spost bars

รูปท่ี 2.2.2 ท่ออลูมีเนียม (แบบมีตะเขบ็)

Page 6: บทที่ 2 ทฤษฎีและหล ักการท ี่เกี่ยวข้องresearch-system.siam.edu/images/0auto/57/07_ch2.pdf · 4 2. เครื่องดัดท่อไฮโดรล

8

2.3 การวเิคราะห์ท่อทีถู่กดัด

จากการศึกษาทฤษฏีและหลกัการในการดดัท่อพบว่ารัศมีการดดัโคง้ของท่อในขนาดต่างๆนั้นจะตอ้งมีรัศมีการดดัโคง้ของท่อโดยใหรั้ศมีการดดัไม่นอ้ยกวา่ 6 เท่าของขนาดเสน้ผา่นศูนยก์ลางของท่อจึงจะทาํใหท่้อท่ีถูกดดัเกิดการเสียหายเช่นเกิดการฉีกขาดของท่อเกิดการพบัหกัหรือเกิดการบุบบ้ีของท่อโดยส่วนใหญ่ท่ีพบในโรงงานจะใชเ้คร่ืองดดัท่อแบบอตัโนมติัในกรณีท่ีท่อไม่ไดต้ามขนาดท่ีตั้งไวส่้วนมากจะเป็นการ setup เคร่ืองจึงส่งผลให้ท่อท่ีนาํมาดดัอาจมีขนาดคลาดเคล่ือนไม่สามารถลง jigไดท้าํให้ท่อท่ีดดันั้นเสีย โดยส่วนใหญ่ท่ีเกิดการคลาดเคล่ือนไดเ้น่ืองจากช้ินส่วนอุปกรณ์ของเคร่ืองเกิดการสึกหรอเช่น Wiper die(แสดงในรูปท่ี 2.3.1) และความตึงของ Pressor die (แสดงในรูปท่ี 2.3.2) และ Clamping die(แสดงในรูปท่ี 2.3.3) โดยขนาดท่ีแบบตอ้งการควรมีความยาวให้ไดต้ามขนาด(แสดงในรูปท่ี 2.3.4)แต่ตวัอย่างท่อท่ีวดัไดมี้ขนาด 1536 mm. (แสดงในรูปท่ี 2.3.5)

รูปท่ี 2.3.1 Wiper die ท่ีสึกหรอ

Page 7: บทที่ 2 ทฤษฎีและหล ักการท ี่เกี่ยวข้องresearch-system.siam.edu/images/0auto/57/07_ch2.pdf · 4 2. เครื่องดัดท่อไฮโดรล

9

รูปท่ี 2.3.2 ตวัอยา่ง Pressor die ท่ีสกึหรอ

รูปท่ี 2.3.3 ตวัอยา่ง Clamping die ท่ีสกึหรอ

Page 8: บทที่ 2 ทฤษฎีและหล ักการท ี่เกี่ยวข้องresearch-system.siam.edu/images/0auto/57/07_ch2.pdf · 4 2. เครื่องดัดท่อไฮโดรล

10

รูปท่ี 2.3.4 ท่อต้องมีขนาดความยาวของทอ่ 1540 mm.

รูปท่ี 2.3.5 ระยะท่ีวดัได้ 1536 mm.ทําให้ทอ่นีไ้มส่ามารถนําไปผลติได้