คํานํา¸ารประเมิน... · คํานํา...

73

Upload: others

Post on 25-Jan-2020

22 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

คํานํา บทเรียบเรียง “การประเมินภาวะสุขภาพ” จัดทําข้ึนเพื่อเปนแนวทางใหนิสิตสามารถประเมินภาวะสุขภาพของผูใชบริการไดอยางถูกตอง อันจะเปนสวนหนึ่งของการใหการพยาบาลผูใชบริการอยางมีประสิทธิภาพ ผูเรียบเรียงขอขอบพระคุณผูเรียบเรียงตําราท่ีผูเขียนไดอางอิง และขอขอบพระคุณครู อาจารยทุกทานที่ไดใหความรู คําแนะนําในการจัดทําบทเรียบเรียงนี้

ดร. ชุลีกร ดานยทุธศิลป คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร

เมษายน 2552

2 สารบาญ

หนา ความรูเบ้ืองตนในการประเมินภาวะสุขภาพ ความสําคัญการประเมินภาวะสุขภาพ ประเภทของการประเมินภาวะสุขภาพ กรอบแนวคิดการประเมินภาวะสุขภาพ การเก็บรวบรวมขอมูลในการประเมินภาวะสุขภาพ ชนิดของขอมูล การตรวจสอบความเที่ยงตรงของขอมูล การซักประวัติสุขภาพ การตรวจรางกาย อุปกรณที่ใชในการตรวจรางกาย การตรวจทางหองปฏิบัติการ สรุป คําถามทายบท บรรณานุกรม

3 การประเมินภาวะสุขภาพ

ดร.ชุลกีร ดานยุทธศิลป

แนวคิด

การประเมินภาวะสุขภาพเปนข้ันตอนแรกของการเก็บรวบรวมขอมูลเกี่ยวกับสุขภาพของบุคคล ครอบครัว และชุมชนอยางเปนระบบในการปฏิบัติการพยาบาล เพื่อจะนําไปสูการบงชี้ภาวะสุขภาพและทราบความตองการของผูรับบริการ วิธีการเก็บรวบรวมขอมูลในการประเมินภาวะสุขภาพประกอบดวยการซักประวัติสุขภาพ การตรวจรางกาย และการตรวจทางหองปฏิบัติการ วัตถุประสงคของบทเรียนนี้ เมื่อจบบทเรียน ผูเรียนมีความรูความสามารถ ดังนี้ 1. บอกความสําคัญ ประเภท และกรอบแนวคิดที่ใชในการประเมินภาวะสุขภาพได 2. อธิบายการเก็บรวบรวมขอมูลในการประเมินภาวะสุขภาพได 3. อธิบายแนวทางการตรวจรางกายตามหลักการดู คลํา เคาะ ฟงได 5. ระบุการเลือกใชอุปกรณไดตรงตามวัตถุประสงคในการตรวจรางกายตางๆได 6. ระบุการสงตรวจทางหองปฏิบัติการที่ชวยสนับสนุนในการวินิจฉัยโรคได

4 ความรูเบื้องตนในการประเมินภาวะสุขภาพ การประเมินภาวะสุขภาพเปนการเก็บรวบรวมขอมูลบุคคล ครอบครัว และชุมชนอยางเปนระบบและตอเนื่อง เพื่อทราบปญหาหรือความตองการทางสุขภาพของบุคคล ครอบครัว และชุมชน ซึ่งความรูเบ้ืองตนที่พยาบาลควรมีความรูความเขาใจในการประเมินภาวะสุขภาพ (Health assessment) มีดังนี้

1 ความสําคัญการประเมินภาวะสุขภาพ การประเมินสุขภาพเปนข้ันตอนแรกของกระบวนการพยาบาลที่สําคัญ

มาก เนื่องจากการประเมินสุขภาพนั้นเปนกระบวนการที่เกิดข้ึนอยางตอเนื่องและเปนระบบ ทําใหขอมูลที่ไดนั้นมีความสมบูรณ การประเมินภาวะสุขภาพตองประเมินใหครอบคลุมความเปนองครวม ทั้งดานรางกาย จิตใจสังคม และจิตวิญญาณของผูรับบริการ เมื่อประเมินภาวะสุขภาพครอบคลุมจะชวยใหวิเคราะหขอมูลตามปญหาที่เกิดข้ึนและแปลผลไดถูกตอง หลังจากนั้นจะนําไปสูการวินิจฉัยการพยาบาลและวางแผนการพยาบาลซ่ึงพยาบาลสามารถปฏิบัติไดอยางอิสระ หากการประเมินสุขภาพไมครอบคลุมหรือถูกตองก็นําไปสูการวางแผนการพยาบาลที่ผิดพลาดและไมสอดคลองกับปญหาหรือความตองการของผูรับบริการอยางแทจริง

2 ประเภทของการประเมินภาวะสุขภาพ การประเมินสุขภาพของผูรับบริการนั้นแตกตางกันไปตามบริบท ความ

ตองการทางสุขภาพ และปญหาสุขภาพที่เกิดข้ึน ประเภทของการประเมินภาวะสุขภาพนั้นแบงเปน 4 ประเภท ดังนี้

5 2.1 ก า ร ป ร ะ เ มิ น ภ า ว ะ สุ ข ภ า พ แ บ บ เ บ็ ด เ ส ร็ จ

(Comprehensive assessment) การประเมินสุขภาพประเภทนี้ครอบคลุมการซักประวัติสุขภาพและการตรวจรางกายอยางสมบูรณ ต้ังแตผูรับบริการเขามาในโรงพยาบาลหรือต้ังแตหนวยแรกรับผูปวยจนเขารับการรักษาในโรงพยาบาล การประเมินทั้งปญหาสุขภาพที่เกิดข้ึนของผูรับบริการ การสงเสริมสุขภาพ การปองกันโรค ปจจัยเส่ียงหรือปญหาที่เกิดข้ึนตามชวงอายุ หรือเพศ

2.2 การประเมินสุขภาพที่เนนเฉพาะอาการ (Problem-based/focused assessment) การประเมินสุขภาพประเภทนี้จะไดจากการซักประวัติและการตรวจรางกายคลายกับการประเมินสุขภาพแบบเบ็ดเสร็จแตจะเนนเฉพาะปญหาหรืออาการที่เกิดข้ึน มักจะประเมินในคลินิกสุขภาพ แผนกหองฉุกเฉิน หรือ แผนกผูปวยนอก เชน ผูรับบริการมาดวยอาการปวดทองกะทันหัน การซักถามจะเนนเฉพาะระบบที่เปนปญหาหรือที่เกี่ยวของ เชน ระบบทางเดินอาหาร ลําไส การขับถาย เปนตน ถึงแมวาการประเมินในชวงแรกจะเนนเฉพาะอาการหรือตามปญหาที่เกิดข้ึน แตการประเมินนั้นจําเปนตองประเมินผลกระทบการเจ็บปวยและภาวะสุขภาพของผูรับบริการดวย

2.3 การประเมินเพื่อติดตามการรักษา (Episodic/follow-up assessment) การประเมินสุขภาพประเภทนี้เปนการประเมินเพื่อติดตามผลการรักษาท่ีผานมา เชน การประเมินระดับน้ําตาลในเลือดในผูรับบริการที่เปนโรคเบาหวานภายหลังไดรับยาลดระดับน้ําตาลในเลือด การวัดความดันโลหิตในผูรับบริการที่ได รับยาควบคุมความดันโลหิต การติดตามอาการภายหลังไดรับยาปฏิชีวนะครบตามแผนการรักษา เปนตน นอกจากนี้การประเมินประเภทน้ียังรวมถึงการติดตามอาการของผูรับบริการภายหลังไดรับ

6 การดูแลรักษาในระยะเฉียบพลัน ซึ่ งมีจุดมุ งหมายเพื่อคนหาอาการเปล่ียนแปลงหรืออาการที่ปกติ

2.4 ก า ร ป ร ะ เ มิ น เ พื่ อ คั ด ก ร อ ง สุ ข ภ า พ (Screening assessment) การประเมินสุขภาพประเภทนี้เพื่อตรวจคัดกรองโรค ซึ่งสามารถปฏิบัติในชวงระยะเวลาส้ันๆ และไมเสียคาใชจายมาก เชน การตรวจวัดความดันโลหิต ระดับน้ําตาลในเลือด ไขมันในเลือด และตรวจปสสาวะ เปนตน

3 กรอบแนวคิดการประเมินภาวะสุขภาพ

กรอบแนวคิดในการประเมินภาวะสุขภาพมีความสําคัญเนื่องจากชวยใหพยาบาลสามารถรวบรวมขอมูลอยางเปนระบบมากยิ่งข้ึน และสามารถใหบริการสุขภาพไดอยางมีประสิทธิภาพ กรอบแนวคิดที่ใชในการประเมินภาวะสุขภาพมีทั้งแนวคิดทฤษฎี ทฤษฎีทางการพยาบาล หรือ แบบแผนการประเมินสุขภาพของกอรดอน (Marjorie Gordon) แตละแนวคิดที่นํามาใชนั้นแตกตางกันตามปรัชญาความเช่ือของแตละบุคคลและควรเลือกใชใหเหมาะสมกับสภาพการณที่แตกตางกัน ดังนี้

1) แนวคิดทฤษฎีหรือโมเดล (model) คือ ขอความที่แสดงความสัมพันธกัน อธิบายองคประกอบเกี่ยวของกับพยาบาล ผู รับบริการ ปฏิสัมพันธของพยาบาลกับผูรับบริการ สุขภาพ เปาหมายการพยาบาลและกิจกรรมการพยาบาล กรอบการประเมินสุขภาพนั้นข้ึนอยูกับแนวคิดทฤษฎีที่ไดรับการพัฒนาข้ึน ซึ่งถูกนํามาใชเปนเคร่ืองมือที่จะชวยใหพยาบาลสามารถประเมินภาวะสุขภาพไดอยางอิสระและสามารถจัดขอมูลเปนระบบมากข้ึน (organize)

7 2) ทฤษฎีทางการพยาบาล (Nursing Theory) คือ องค

ความรูซึ่งใชในการสนับสนุนการปฏิบัติทางการพยาบาล ทฤษฎีทางการพยาบาลที่นํามาประยุกตใชเพื่อใชเปนแนวทางของการประเมินภาวะสุขภาพ เชน ทฤษฎีการดูแลตนเองของโอเร็ม (Orem’s Self-care Deficit Theory) ทฤษฎีการปรับตัวของรอย (Adaptation of Sister Callista Roy’s) ทฤษฎีระบบของนิวแมน (Betty Neumann’s Theory) ทฤษฎีการต้ังเปาหมายของคิง (Imogene King’s Theory) เปนตน

3) แบบแผนสุขภาพ (Functional Health Pattern) ของมารจอรีย กอรดอน (Marjorie Gordon) หมายถึง แบบแผนพฤติกรรมทางสุขภาพของผูรับบริการที่เกิดข้ึนในชวงระยะเวลาหนึ่ง ซึ่งสงผลกระทบตอสุขภาพของผูรับบริการ กอรดอน (1994) ไดพัฒนาแบบแผนสุขภาพข้ึนโดยใหความสําคัญที่ขอมูลระดับพื้นฐาน เนนที่การทําหนาที่ของรางกายมนุษยซึ่งประกอบดวย 11 แบบแผนสุขภาพ ในแตละแบบแผน คือ พฤติกรรมของบุคคลทั้งดานรางกาย จิต สังคม ที่เกี่ยวของกับสุขภาพของคนอยางเปนองครวม แบบแผนสุขภาพของกอรดอน ประกอบดวย

(1) แบบแผนการรับรูภาวะสุขภาพและการดูแลสุขภาพ (2) แบบแผนโภชนาการและการเผาผลาญอาหาร (3) แบบแผนการขับถาย (4) แบบแผนกิจกรรมและการออกกําลังกาย (5) แบบแผนการนอนหลับ (6) แบบแผนสติปญญาการรับรู (7) แบบแผนการรับรูตนเองและอัตมโนทัศน

8 (8) แบบแผนบทบาทและสัมพันธภาพ (9) แบบแผนทางเพศและการเจริญพันธุ (10) แบบแผนการปรับตัวและการเผชิญความเครียด (11) แบบแผนคานิยมและความเช่ือ

วิธีการเก็บรวบรวมขอมูลในการประเมินภาวะสุขภาพ

วิธีการเก็บรวบรวมขอมูลในการประเมินภาวะสุขภาพ มีรายละเอียดดังนี้

1 ชนิดของขอมูล ขอมูลสุขภาพแบงเปน 2 ชนิด ดังนี้ 1.1 ขอมูลอัตนัย (Subjective data) ขอมูลอัตนัยเปนขอมูลที่

เกี่ยวกับความรูสึก หรืออาการ (symptom) ที่ผูรับบริการบอกกลาว การรับรู ความเชื่อ ความคิด ความปรารถนา ส่ิงที่ชอบหรือไมชอบ และขอมูลสวนบุคคล โดยทั่วไปขอมูลอัตนัยประกอบดวย ขอมูลสวนบุคคล เชน ชื่อ อายุ สถานภาพสมรส ศาสนา อาชีพ เปนตน อาการสําคัญ ประวัติเจ็บปวยปจจุบันหรือส่ิงที่ผูรับบริการกังวลใจ อาการตามระบบรางกาย เชน ตา หู ทอง เปนตน ประวัติการเจ็บปวยในอดีต ประวัติการเจ็บปวยในครอบครัว การปฏิบัติตัวการดูแลสุขภาพ โภชนาการ ออกกําลังกาย สัมพันธภาพในครอบครัวและเพ่ือนบาน การใชยาและการรักษา

การเก็บรวบรวมขอมูลอัตนัยตองรวบรวมขอมูลใหถูกตองและชัดเจน พยาบาลตองหม่ันฝกฝน เรียนรูทักษะการสัมภาษณผูรับบริการในสถานการณที่แตกตางกัน

9 ตัวอยางขอมูลอัตนัย เชน ผูรับบริการบอกวา “นอนไมหลับ

และต่ืนตอนกลางคืน เปนมา 5 วัน” หรือ ผูรับบริการบอกวา “ไมเคยไดรับการผาตัด หรือประสบอุบัติเหตุเมื่อ 5 ปกอน”

1.2 ขอมูลปรนัย (Objective data) เปนขอมูลที่ไดจากการสังเกตโดยตรง โดยออม ขอมูลจากการตรวจลักษณะทั่วไป การแตงกาย ความสะอาด พฤติกรรมการแสดงออกทางอารมณ จิตใจ อาการแสดง การตรวจรางกาย เชน สังเกตสีผิว อัตราการหายใจ อัตราการเตนของหัวใจ ระดับความดันโลหิต อุณหภูมิรางกาย น้ําหนักตัว สวนสูง ผลตรวจทางหองปฏิบัติการ เชน การตรวจนับจํานวนเกร็ดเลือด (Platelet count) หรือผลตรวจเอกซเรย (X-ray) เปนตน นอกจากนี้แหลงขอมูลปรนัยไดมาจากการบันทึกทางสุขภาพ ผลการตรวจวินิจฉัยจากทีมสุขภาพ เชน พยาบาล แพทย นักกายภาพ นักโภชนาการ นักสังคมสงเคราะห หรือขอมูลจากการสังเกตของสมาชิกในครอบครัว หรือบุคคลใกลชิดอ่ืนๆ

ตัวอยางขอมูลปรนัย เชน อัตราการหายใจ 20 คร้ัง/นาที หายใจสม่ําเสมอ หรือ ผลเอกซเรยกระดูกแขน พบกระดูกหักบริเวณแขนซาย

2 การตรวจสอบความเที่ยงตรงของขอมูล (Validation of assessment data) การตรวจสอบความเที่ยงตรงของขอมูล เปนกระบวนการที่มีความสําคัญมากในการประเมินสุขภาพ ซึ่งขอมูลอัตนัยและปรนัยจําเปนตองมีความนาเช่ือถือและตรงตามความเปนจริงของผูรับบริการ การตรวจสอบความเที่ยงตรงของขอมูลมีหลายวิธี เชน การตรวจหรือการประเมินซ้ําหากขอมูลที่

10 ไดมายังไมแนใจหรือมีความคลุมเครือ การปรึกษาเพื่อนรวมงานเพื่อชวยประเมินซํ้า เชน การฟงเสียง murmur ของหัวใจที่ผิดปกติ และหากไมแนใจอาจปรึกษาแพทยใหชวยฟงซ้ํา เปนตน หรือการสอบถามขอมูลเพิ่มเติมทั้งจากตัวผูรับบริการหรือญาติที่นําสงโรงพยาบาล จะชวยทําใหขอมูลมีความสมบูรณ ชัดเจนมากข้ึน เพื่อใหการบันทึกขอมูลนั้นๆ ครอบคลุมปญหาของผูรับบริการและมีความสมบูรณมากข้ึน

3 การซักประวัติสุขภาพ การซักประวัติสุขภาพ (Health history taking) หรือการสัมภาษณ (interview) คือ กระบวนการส่ือสารระหวางผูใหบริการและผูรับบริการ ในการซักประวัติสุขภาพนั้นที่ สําคัญคือ ทักษะการสรางสัมพันธภาพและความไววางใจระหวางผูรับบริการกับผูใหบริการ และการเก็บรวบรวมขอมูลภาวะสุขภาพของผูรับบริการควรครอบคลุมดานพัฒนาการ รางกาย จิตใจ สังคม วัฒนธรรม ความเชื่อและจิตวิญญาณ เพื่อนําขอมูลดังกลาวไปวิเคราะหปญหา ภาวะเบ่ียงเบนทางสุขภาพ และชวยใหสามารถวินิจฉัยปญหา วางแผนการพยาบาลรวมกันระหวางผูรับบริการกับผูใหบริการ และกําหนดกิจกรรมการพยาบาลไดอยางเหมาะสม ในการซักประวัตินั้นพยาบาลตองใชความรูดานตางๆ มาประกอบกัน เชน ศาสตรทางการพยาบาล ทฤษฎีความตองการของมนุษย (Maslow’s Hierarchy of Human Needs) จิตวิทยา พยาธิวิทยา อาการวิทยา กายวิภาคและสรีรวิทยา การเจริญเติบโตและพัฒนาการ วัฒนธรรม ความเช่ือ ศาสนา เศรษฐกิจและสังคม รวมถึงตองมีศิลปะในการซักประวัติทางสุขภาพ 3.1 ขั้นตอนการซักประวัติสุขภาพ

11 ข้ันตอนการซักประวัติทางสุขภาพ แบงเปน 3 ข้ันตอน คือ

ข้ันกอนการซักประวัติ ข้ันขณะซักประวัติ และข้ันสรุปผลและยุติ 1) ขั้นกอนการซักประวัติ พยาบาลผูซักประวัติจะตอง

ศึกษาขอมูลเบ้ืองตนของผูรับบริการจากแฟมประวัติกอนทําการซักถามประวัติเพิ่มเติม เพื่อจะไดทราบขอมูลสวนตัวและสุขภาพเบ้ืองตน หลังจากนั้นจัดเตรียมสถานที่ ในการซักประวัติที่ไมทําใหผูรับบริการรูสึกอึดอัดใจแตรูสึกผอนคลาย ภายในหองควรมีความเปนสวนตัว เงียบสงบ เพื่อสามารถพูดคุยดวยความไววางใจ

พยาบาลแนะนําตนเองพรอมทั้งอธิบายวัตถุประสงคของการซักประวัติ คําถามที่จะใชถามและการจดบันทึก เพื่อชวยใหผูรับบริการลดความวิตกกังวล กลัว และเกิดความรูสึกมั่นใจและเช่ือใจวาขอมูลที่ถูกซักถาม หรือการบันทึกจะถูกเก็บเปนความลับ

การส่ือสารสามารถใชภาษาพูดและภาษากาย รวมทั้งน้ําเสียงที่ใชในการสื่อสารควรพูดคุยดวยความนุมนวลไมคุกคามผูรับบริการ 2) ขั้นขณะซักประวัติ พยาบาลผูซักประวัติ/ ผูสัมภาษณตองทบทวนขอมูลที่ผูรับบริการกลาวถึง คนหาสาเหตุของการมารับการรักษา การเจ็บปวยปจจุบัน ประวัติการเจ็บปวยในอดีต ประวัติการเจ็บปวยในครอบครัว การทบทวนอาการตามระบบ แบบแผนการดําเนินชีวิต และการจัดการทางสุขภาพ

พยาบาลผูซักประวัติ/ ผูสัมภาษณตองต้ังใจฟงและสังเกตอาการแสดงออกในขณะสัมภาษณ มีความรูสึกไวตอความรูสึกของ

12 ผูรับบริการที่มีความแตกตางทางวัฒนธรรม เชน ชนกลุมนอย เช้ือชาติ เผาพันธุ ประกอบกับใชการคิดอยางมีวิจารณญาณคนหาสาเหตุและผลและความเช่ือมโยงกัน เพื่อแปลผลและขณะเดียวกันตองมีการตรวจสอบความตรงของขอมูลจากผูรับบริการ เพื่อสามารถระบุปญหาและเปาหมายการพยาบาลรวมกัน ซึ่งในการสัมภาษณนั้น ควรจะไดมีการจัดเตรียมขอคําถามไว เพื่อที่จะชวยใหการสัมภาษณไมติดขัด 3) ขั้นสรุปผลและยุติ ภายหลังจากที่ไดซักประวัติหรือสัมภาษณครบถวน พยาบาลผูสัมภาษณจะมีการสรุปขอมูลและตรวจสอบความเที่ยงตรงของขอมูลรวมดวยเกี่ยวกับปญหาสุขภาพ สาเหตุ และเปาหมายการพยาบาล และแนวทางในการพยาบาลใหผูรับบริการทราบ กอนจะยุติการซักประวัติ

3.2 ประเภทของการสื่อสารที่ใชในการซักประวัติ

การสื่อสารสามารถแบงเปน 2 ประเภท ไดแก วัจนภาษา (Verbal communication) และอวัจนภาษา (Nonverbal communication) ซึ่งวัจนภาษา คือ ภาษาที่ใชถอยคําในการส่ือสาร สวนอวัจภาษา หมายถึง ภาษาที่ไมใชถอยคําในการสื่อสาร การสื่อสารทั้งวัจนภาษาและอวัจนภาษามีสําคัญเทาๆ กัน ดังนั้นพฤติกรรมหรือทาทีของพยาบาลในขณะสัมภาษณ หรือพูดคุยจะมีผลกระทบตอกระบวนการส่ือสาร ส่ิงที่ควรระมัดระวัง ไดแก ลักษณะทาทาง (appearance) พฤติกรรมการแสดงออก (demeanor) การแสดงทางสีหนา (Facial expression) ทัศนคติ (attitude)

13 1) ลักษณะทาทาง เนื่ องจากลักษณะทาทาง หรือ

ภาพลักษณที่ ดีของพยาบาลเปนส่ิงที่ทําใหผู รับบริการรูสึกเช่ือมั่น ดังนั้นพยาบาลตองแตงกายใหสุภาพ สะอาดเรียบรอย ติดปายช่ือบนเคร่ืองแบบใหเรียบรอย มองเห็นชัดเจน ตัดผมใหส้ัน หรือรวบผมใหเรียบรอย รักษาความสะอาด เคร่ืองประดับอ่ืนๆ ใหมีนอยชิ้นที่สุดในขณะที่สวมเคร่ืองแบบพยาบาล 2) พฤติกรรมการแสดงออก ขณะสัมภาษณ พยาบาลตองระมัดระวังเนื้อหาการสัมภาษณและการประเมินภาวะสุขภาพ ไมควรหัวเราะเสียงดัง พูดตอวาผูรับบริการ หรือใชเสียงโห ซึ่งการแสดงทาทีเชนนี้จะเปนการแสดงถึงความไมเปนวิชาชีพ ไมเคารพใหเกียรติผูถูกสัมภาษณควรทักทายผูรับบริการดวยน้ําเสียงเปนมิตรและทาทีที่เราต้ังใจจะพูดคุยดวย ระยะหางระหวางการพูดคุยประมาณ 1.5 - 4 ฟุต ไมควรนั่งชิดติดกันมากเกินไปจนทําใหผูรับบริการรูสึกอึดอัดในการใหสัมภาษณ 3) การแสดงทางสีหนา พยาบาลจําเปนตองระมัดระวังการแสดงทางสีหนา และควรใชใหเหมาะสมกับสถานการณ เนื่องจากการแสดงออกทางสีหนาจะเปนการส่ือสารอยางหนึ่งที่แสดงใหทราบวาผูสัมภาษณสนใจกับคําพูด สีหนา ทาทางของผูรับบริการหรือไม เชน ผูรับบริการกําลังอยูในภาวะเศราเสียใจ พยาบาลควรแสดงทาทางที่แสดงถึงความเขาใจ และตระหนักถึงความรูสึกของผูรับบริการ ไมควรย้ิมหัวเราะ เพราะไมถูกกาลเทศะและบงบอกความไมใสใจกับอารมณผูรับบริการ

4) ทัศนคติ พยาบาลตองเปดใจที่จะรับฟงส่ิงที่ผูรับบริการกําลังบอก ไมวาจะเกี่ยวของกับความเชื่อ ชนชาติ วิถีการดําเนินชีวิต การปฏิบัติทางสุขภาพ เปนตน พยาบาลตองไมแสดงทาทีรังเกียจ แสดงทาทีที่เหนือกวา

14 เพราะส่ิงเหลานี้จะทําใหผูรับบริการรูสึกวาไมไดรับการยอมรับ ไมกลาเปดใจที่จะพูดหรือเลา และอาจทําใหไมใหความรวมมือที่จะพูดคุยดวย ปกปดขอมูลสําคัญๆบางอยางไว เชน ผูรับบริการเลาวา “สูบบุหร่ีมา 10 ป และเลิกไมไดเลย” พยาบาลควรหลีกเล่ียงการตอวา หรือตําหนิวา “คนสูบบุหร่ีเปนคนที่โง หรือนารังเกียจของสังคม” อยารีบรอนที่จะตัดสินหรือประเมินคาในส่ิงที่ผูรับบริการบอกกลาว

3.3 ชนิดของคําถามในการซักประวัติ ชนิดของคําถามที่ใชในการซักประวัติ แบงเปน 2 ชนิด คือ

คําถามปลายเปด (Open-ended questions) และคําถามปลายปด (Close-ended questions) ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ 1) คําถามปลายเปด คําถามปลายเปดจะใชเพื่อถามขอมูลความรูสึกและการรับรูของผูรับบริการ ขอคําถามมักถามดวย “อยางไร” หรือ “อะไร” เชน วันนี้คุณรูสึกอยางไรบาง หรือ เมื่อเย็นนี้ทานขาวกับอะไร

ลั กษณะ คําถามชนิ ดนี้ มี ค ว าม สํา คัญ เพ ราะผูรับบริการสามารถตอบไดมากกวา 1 คําตอบ และยังชวยใหผูรับบริการตอบคําถามหรือขยายความส่ิงที่ตอบไดมากที่สุด เชน

พยาบาล: ทําไมคุณลุงถึงลืมรับประทานยาเบาหวานคะ

ผูสูงอายุ: ปกติก็กินทุกวัน แตชวงนี้มันใกลวันครบรอบ 1 ปการจากไปของเมียผม ผมก็เลยคิดไปถึงวาจะทําอะไรบางดี….ก็เลยลืมรับประทานยาครับ

15 2) คําถามปลายปด ลักษณะคําถามปลายปดจะ

เฉพาะเจาะจง ผูตอบจะตอบสั้นๆ เพียง 1-2 คํา เชน คุณปวดทองต้ังแตเมื่อไหร หรือตอบวา “เคย” “ไมเคย” เชน คุณเคยไปวัดฟงธรรมไหม นอกจากนี้คําถามที่กําหนดตัวเลือก ใหเลือกตอบ หรือใหบอกความรูสึก เชน ลักษณะอาการปวดทองคุณปวดแบบไหน ระหวางปวดตื้อๆ ปวดเสียด ปวดแบบเหมือนมีอะไรทิ่มแทง เปนตน

3.4 เทคนิคที่ใชในการซักประวัติสุขภาพ ในการซักประวัติสุขภาพ พยาบาลตองทําใหบรรยากาศเปนแบบสนทนามากกวากําลังไตสวนความผิด เทคนิคที่ใชในการซักประวัติสุขภาพ ที่สําคัญๆ มีดังนี้ 1) การฟงอยางต้ังใจ (Active listening) เทคนิคนี้มีความสําคัญ เพราะเปนการฟงดวยความสนใจ ต้ังใจฟงวา ผูรับบริการกําลังเลาหรือบอกอะไร มีขอมูลอะไรที่แฝงอยูในส่ิงที่ผูรับบริการกําลังบอกเลา จะชวยใหพยาบาลสามารถคนหาสถานการณปญหาหรือปญหาทางสุขภาพของผูรับบริการได ในขณะที่ฟงนั้นพยาบาลตองมีการตอบสนองที่แสดงออกวา รับรูหรือสนใจฟงอยูเปนระยะๆ เชน “ผงกศีรษะ” “คะ” “ครับ” เมื่อต้ังใจฟงจะสามารถวางแผนตอไดวาควรใชคําพูดหรือคําถามอยางไรตอ หากไมต้ังใจฟงใหดีต้ังแตแรกก็จะทําใหไมสามารถจับประเด็นสําคัญที่ผูรับบริการสื่อออกมาได หรือไมทราบวาควรจะตองถามอะไรตอไป ทําใหเสียเวลา ไมไดขอมูลที่ชัดเจนและถูกตอง

16 2) การเงียบ (silence) การเงียบเปนอีกเทคนิคหนึ่งในการซักประวัติ พยาบาลตองมีทักษะการใชที่ดี หมั่นฝกฝนจนเกิดความความชํานาญ เทคนิคนี้จะชวยใหผูรับบริการไดเลาปญหาทางสุขภาพหรือส่ิงที่เกี่ยวของของตนเองโดยไมมีการขัดจังหวะ เปนการสงเสริมหรือกระตุนใหผูรับบริการไดทบทวนสิ่งที่ตนเองบอกเลา เนื่องจากชวงการเงียบเปนชวงที่ชวยให ผู รับบริการได คิดทบทวนส่ิงที่พูดและจัดลําดับความคิดอีกคร้ัง ในขณะเดียวกันพยาบาลตองแสดงทาทางการฟงอยางต้ังใจโดยการโนมตัวไปทางผูรับบริการ หรือในขณะฟงใหสังเกตอาการรวมดวย ในบางคร้ังผูรับบริการเงียบนานเกินไปเมื่อถูกถาม อาจมีหลายๆ เหตุผลที่ตองพิจารณา เชน ไมไดยินคําถามชัดเจน ไมเขาใจคําถาม หรือกําลังกังวลใจที่จะตอบคําถามนั้น พยาบาลตองสังเกตใหดี และพูดทวนคําถามใหมอีกคร้ังดวยทาทางแสดงถึงความเคารพและยอมรับ หรือชวงระยะเวลาของการเงียบภายหลังที่ผูรับบริการหยุดเลาเร่ือง พยาบาลไมควรทิ้งชวงเวลาเงียบชวงนี้นานเกินไป เพราะจะยิ่งทําใหผูรับบริการรูสึกกดดัน หรือวิตกกังวล กังวลใจเพิ่มมากข้ึน

3) การกลาวย้ํา (restatement) เปนการพูดซ้ําหรือยอนความคิดเร่ืองที่ผูรับบริการกําลังพูดถึง เทคนิคนี้ชวยใหขอมูลหรือเร่ืองที่พูดถึงถึงมีความชัดเจนมากข้ึน และชวยใหพยาบาลรับรูไดวาอะไรเปนส่ิงที่ผูรับบริการกําลังพูดถึง เชน

ผูรับบริการ: ฉันรูสึกเหนื่อยมาหลายวัน บางคร้ังทํางานหนักก็มีอาการเจ็บหนาอก ฉันกลัววามันจะเปนอีกและอาจจะรุนแรงกวาเดิม พยาบาล: คุณกําลังมีปญหาเร่ืองเจ็บหนาอก

17 4) การสงเสริม (facilitating) เปนเทคนิคที่ ใชคําพูดส้ันๆ หรือกริยาทาทางตอบสนองผูรับบริการในขณะซักประวัติ เพื่อสงเสริมหรือสนับสนุนใหผูรับบริการเลาตอไปหรือพูดตอไปอยางตอเนื่อง เชน การพยักหนารับรูเพื่อสนับสนุนการเลา การสัมผัสมือเพื่อใหพูดตอหรือแสดงวายังสนใจฟงอยู หรือการพูดวา “คะ” “ครับ” “แลวยังไงอีก” “เลาตอไปซิคะหรือครับ” “แลวเกิดอะไรหลังจากนั้นคะหรือครับ” เปนตน

ผูรับบริการ: ผมถายอุจาระไมแนนอนครับ บางที 2-3 วัน/คร้ัง ก็เปนแบบนี้มานานแลวครับบางคร้ังก็ 5 วัน

พยาบาล: คะ แลวยังไงอีกคะ 5) การทําใหกระจาง (clarification) การถามเพื่อทํา

ความกระจางในส่ิงที่ผูรับบริการพูดแลวไมชัดเจน มีความวกวก หรือสับสน เชน “ที่คุณปาบอกวา ที่บานไมเหลือใครแลว หมายความวาอยางไรคะ” “คุณตาบอกวารูสึกตึงๆบริเวณใบหนา อาการมันเปนอยางไรคะ” 6) การสะทอนกลับ (reflection) เปนการตอบสนองหรือสะทอนส่ิงที่ผูรับบริการไดแสดงความรูสึก ความคิดเห็นของตนเองออกมา เทคนิคนี้จะชวยใหผูรับบริการไดทบทวนส่ิงที่พูดหรือความรูสึกที่แสดงออก เนื่องจากความคิดเห็น ทัศนคติ ความรูสึกของผูรับบริการเปนส่ิงที่มีคาดังนั้นพยาบาลตองรับฟง และหลีกเล่ียงการตัดสินส่ิงที่ผูรับบริการบอกเลาวาถูกตองหรือไมถูกตอง

ผูรับบริการ: ฉันเคยบอกหมอแลววากินยาตัวนี้แลวมันไมดีข้ึน ฉันควรจะหยุดยาไหม…กินแลวมันแยลง….มีอาการเหมือนลุกล้ีลุกลน…ฉันก็บอกกินยาแลวมีปญหาแตหมอก็ไมเคยฟงฉัน

18 พยาบาล: เหมือนวาคุณกําลังรูสึกโกรธหมอ

7) การเผชิญหนา (confrontation) เปนการทําความกระจางของขอมูลซึ่งพบวาขอมูลเกี่ยวกับความคิด พฤติกรรม หรือความรูสึกของผูรับบริการนั้นมีความขัดแยง หรือไมสอดคลองกันระหวางส่ิงที่พูดกับส่ิงที่สังเกตเห็น หรือขอมูลที่ไดรับทราบมากอน การใชน้ําเสียงในการใชเทคนิคนี้ตองระมัดระวัง ระดับน้ําเสียงที่พูดควรบงบอกวาพยาบาลมีความเอ้ืออาทร เขาใจมากกวาการจับผิด หรือคาดค้ันความจริง เชน

“คุณลุงบอกวาไมไดคิดเกี่ยวกับภรรยาแลว แตเวลาพูดถึงภรรยา คุณลุงน้ําตาคลอ และกมหนา”

8) การใหความม่ันใจ (reaffirmation) เปนการพูดใหผูรับบริการทราบวาส่ิงที่ปฏิบัติหรือพูดออกมานั้นถูกตองแลว เชน “คุณนาออกเดินรอบๆ บานตอนเชาทุกวัน วันละ 30 นาทีดีมากคะ” “พยายามยืดเหยียดแขนขาอยางนี้ทุกวันนะคะ คุณลุงทําแบบนี้มันจะคอยๆ ดีข้ึนคะ”

9) การแปลความหมาย (interpretation) ในการแปลความหมายนั้นตองอาศัยขอมูลจากส่ิงที่ผูรับบริการไดบอกเลา ซึ่งขอมูลนั้นอาจมาจากการคาดคะเนหรือความเชื่อมโยงในขณะที่สัมภาษณออกมาเปนการแปลความหมาย เชน

ผูรับบริการ: อาการปวดทองมักจะเกิดข้ึนตอนชวงใกลสอบหลังจากนั้นก็ไมมีอาการปวดเกิดข้ึนอีก

พยาบาล: ดูเหมือนวาอาการปวดทองของคุณจะสัมพันธกับชวงที่คุณมีความเครียดมาก เชน ชวงการสอบ

19 10) การคาดคะเน (inferring) เปนการคาดคะเน

จากส่ิงที่ผูรับบริการเลา และพยาบาลก็ไดสังเกตเห็นพฤติกรรมขณะนั้น ซึ่งส่ิงที่เลากับพฤติกรรมที่แสดงออกสอดคลองกัน ขอมูลมีความชัดเจนและตรงกัน เชน

ผูรับบริการ: “เจ็บที่ทองมากคะ” ในขณะเดียวกันก็ใชมือขวากุมทองดานขวาไว

พยาบาล: “คุณกําลังเจ็บที่บริเวณลําไสดานขวา” 11) การสรุปความ (summarizing) ภายหลังที่ได

ซักถามขอมูล พยาบาลตองแจงขอมูลเกี่ยวกับสุขภาพของผูรับบริการใหทราบดวย เพื่อชวยใหรับทราบถึงปญหาสุขภาพของตนเอง ในขณะเดียวกันพยาบาลก็จะไดรับทราบความตองการของผูรับบริการ ความรูความเขาใจในการดูแลสุขภาพ การปองกันโรค หรือการตัดสินใจในการแกปญหา เพื่อใหผูรับบริการไดมีสวนรวมในการดูแลสุขภาพ

3.5 การซักประวัติสุขภาพอยางสมบูรณ การซักประวัติสุขภาพอยางสมบูรณ จะชวยใหสามารถระบุ

ปญหาสุขภาพของผูรับบริการ คนหาอาการสําคัญหรือเหตุผลของการมารับบริการ จึงจําเปนตองถามประวัติการเจ็บปวยปจจุบัน ประวัติการเจ็บปวยในอดีต ประวัติการเจ็บปวยในครอบครัว การทบทวนอาการตามระบบ (Review of system) ประวัติสวนตัวหรือแบบแผนการดําเนินชีวิตประจําวัน เมื่อไดขอมูลดังกลาวก็จะระบุเปนปญหาทางการพยาบาลและทําการตรวจรางกายเปนลําดับตอไป รายละเอียดในการซักประวัติแตละหัวขอมีดังนี้

20 1) ขอมูลประวัติสวนบุคคล (Biographic data)

หมายถึง ขอมูลเ บ้ืองตนที่ชวยทําใหพยาบาล รูจักผู รับบริการมากข้ึน ประกอบดวย ชื่อ นามสกุล วันเดือนปเกิด เพศ อายุ การศึกษา เชื้อชาติ สัญชาติ ศาสนา อาชีพ ตําแหนง สถานภาพสมรส ภาษาที่ใช บุคคลที่ผูรับบริการอาศัยดวย ที่อยูอาศัย เบอรโทรศัพท

2) อาการสําคัญ (Chief complaint) หมายถึง การถามอาการสําคัญที่ทําใหผูรับบริการมาโรงพยาบาลในครั้งนี้มากที่สุด อาการสําคัญนั้นอาจมี 1-2 อาการ และควรระบุระยะของอาการสําคัญนั้นๆ ดวย เชน

- มีไข หนาวส่ัน 2 วัน - ปวดทอง และอาเจียน 4 ชั่วโมง 3) ประวัติเจ็บปวยปจจุบัน (Present illness) หมายถึง

การถามถึงรายละเอียดของการเจ็บปวยที่มาในคร้ังนี้ตามลําดับเวลา ซึ่งเร่ิมต้ังแตมีอาการ อาการแสดงของการเจ็บปวยและอาการนั้นอาจดําเนินตอเนื่อง หรือถามยอนชวงเวลาการเกิดอาการ ส่ิงที่เกี่ยวของจนตองมาโรงพยาบาล สาเหตุ วิธีการจัดการปญหาเพื่อใหอาการนั้นทุเลา ดีข้ึน หรือแยลง ในการถามนั้นควรเร่ิมถามทีละคําถาม ไมควรถามพรอมกันหลายคําถามในเวลาเดียวกัน เพราะผูปวยจะจําคําถามไมได ไมทราบวาตองตอบคําถามใดกอนหลัง เมื่อไดขอมูลแลวการเขียนบันทึกก็จะเขียนตามลําดับเหตุการณการเกิดปญหา

การซักประวัติการเจ็บปวยปจจุบันจากอาการและอาการแสดง ควรตองซักถามรายละเอียดใหครอบคลุมมากที่สุด การซักถามอาการสําคัญๆ ที่เกิดข้ึน มีแนวทางการซักถามเกี่ยวกับเร่ืองตอไปนี้

21 3.1) ลักษณะตางๆ ของอาการ (character) เปน

รายละเอียดเฉพาะของอาการที่เกิดข้ึน เชน “คุณปวดศีรษะแบบไหน (ปวดตุบ ปวดต้ือ ปวดบีบรัด)” 3.2) เวลาเริ่มตนที่ทําใหมีอาการ (onset) จะชวย

อธิบายลักษณะอาการที่เกิดข้ึนวา คอยๆ เปนคอยๆ ไป หรือเกิดข้ึนทันทีทันใด เชน

“คุณเร่ิมมีอาการปวดศีรษะต้ังแตเมื่อไหร” “อาการปวดของคุณ มันคอยๆ ปวดมากข้ึน หรือวาปวด

ข้ึนมาทันที” 3.3) ตําแหนงที่เกิดอาการ (location) เชน “คุณปวดศีรษะบริเวณไหน” “อาการปวดทอง เกิดตรงตําแหนงที่ไหนบางคะ” 3.4) ชวงระยะเวลาของอาการแสดงเปนอยูนาน

เทาไหร (duration) เชน นาที ชั่วโมง วัน หรือจํานวนที่เปนในหนึ่งวัน หรือชวงฤดูกาล เปนตน เชน

“คุณมีอาการปวดแบบนี้นานเทาไหรคะ” “อาการปวดเกิดข้ึนบอยแคไหนในรอบสัปดาห” 3.5) ความรุนแรงของอาการ (severity) ปริมาณ หรือ

จํานวนครั้งของอาการ อาการแสดง เชน “อาการปวดศีรษะที่เกิดข้ึนเปนมากี่คร้ังแลวคะ” “อาการปวดเปนมากข้ึนไหมคะ อาการปวดแตละครั้ง

แตกตางกันอยางไร”

22 3.6) ปจจัยที่เกี่ยวของหรือสัมพันธกับการเจ็บปวย

(Associated factors) เชน “ตอนมีอาการปวดศีรษะคุณกําลังทําอะไร หรือ เวลาไหน” “อะไรทําใหอาการปวดศีรษะของคุณดีข้ึน” “อะไรทําใหอาการปวดศีรษะของคุณแยลง” 4) ประวัติการเจ็บปวยในอดีต (Past history) หมายถึง

การถามประวัติการเจ็บปวยที่ผานมา และการตรวจรักษาที่เคยไดรับต้ังแตเกิดจนถึงคร้ังสุดทายกอนการเจ็บปวยในคร้ังนี้ ขอมูลการเจ็บปวยในอดีตเกี่ยวกับส่ิงตอไปนี้

ประวัติโรคภูมิแพ การแพยา อาหาร สารเคมี เชน “ทานเคยแพอาหารทะเล แพยา หรือสารเคมีใดๆ หรือไม ถาเคย มีอะไรบาง” “ทานแพอากาศ ฝุนไรอะไรบางไหม” “มีอาการอยางไร”

ประวัติปญหาสุขภาพที่ผานมา หรือโรคประจําตัว เชน “ทานเคยมีเคยมีปญหาเกี่ยวกับสุขภาพหรือไม” “ทานมีโรคประจําตัวหรือไม”

ประวัติการเขารับการรักษาตัวในโรงพยาบาล เชน “ทานเคยมาเขารับการรักษาตัวในโรงพยาบาลกอนหนานี้บางหรือไม”

ประวัติการไดรับอุบัติเหตุ การผาตัด การไดรับบาดเจ็บ การไดรับเลือด เชน “ทานเคยไดรับอุบัติเหตุ และไดรับบาดเจ็บกอนหนานี้หรือไม” “ทานเคยเขารับการผาตัดใดๆ บางไหม” “ผาตัดอะไร เมื่อไหร”

ประวัติการผาตัดคลอด การต้ังครรภ การคลอดบุตร เชน “ไมทราบวาฝากครรภที่ไหน” “การคลอดบุตรแตละคนดวยวิธีการอยางไร”

23 ประวัติดานสภาพอารมณ หรือจิตเวช เชน “ทานเคยมี

ปญหาดานการควบคุมอารมณหรือไม” “รับการรักษาที่ใด” 5) ประวัติการเจ็บปวยในครอบครัว (Family history)

หมายถึง ประวัติการเจ็บปวยหรือเสียชีวิตของสมาชิกในครอบครัว เชน ปู ยา ตา ยาย ลูกหลานและญาติพี่นอง ในการซักถามประวัติการเจ็บปวยในครอบครัวควรไดถามการเจ็บปวย การเสียชีวิตของสมาชิกในครอบครัว รวมถึงโรคที่ถายทอดทางพันธุกรรม เชน โรคความดันโลหิต เบาหวาน โรคเลือดธาลัสซีเมีย อวน มะเร็ง หัวใจ ลมบาหมู ไมเกรน โรคติดเช้ือ เชน ไวรัสตับอักเสบบี เอดส ซารส เปนตน

การเก็บรวบรวมขอมูลสวนนี้นิยมบันทึกเปนแผนภูมิครอบครัว (genogram/ family tree) เพราะชวยใหเขาใจงาย สามารถทราบสถานะสุขภาพของสมาชิกในครอบครัว และโรคที่สามารถถายทอดทางพันธุกรรม นอกจากนี้สมาชิกในครอบครัวสามารถระวังโอกาสเกิดปญหาสุขภาพในอนาคต

แผนภูมิครอบครัวจะใชการวาดรูปสัญลักษณที่เปนสากล บอกลักษณะสําคัญๆ ของสมาชิกแตละคนในแตละรุน เชน ระบุอายุปจจุบันหรือปเกิด โรคประจําตัวของสมาชิกในครอบครัว ญาติพี่นองก็ควรระบุถึงภาวะสุขภาพปจจุบันหรือโรคประจําตัว หากไมมีปญหาสุขภาพควรเขียนบอกดวย หากสมาชิกในครอบครัวเสียชีวิตตองระบุอายุที่เสียชีวิต สาเหตุการเสียชีวิต แผนภูมิครอบครัวแสดงในแผนภูมิที่ 1 ตัวอยางการเขียนประวัติสมาชิกในครอบครอบครัว - หญิงวัย 45 ป ความดันโลหิตสูงต้ังแตอายุ 40 ป

24 - สามีอายุ 44 ป ความดันโลหิตสูงและไขมันในเลือดสูงต้ังแตอายุ 40 ป - มีบุตรสาว 2 คน คนที่1 อายุ 25 ป แข็งแรงดี คนที่2 อายุ 23 ป แข็งแรงดี

25

แผนภูมิที่ 1 ตัวอยางแผนภูมิครอบครัว (genogram) 80 (ชรา) 75 (เบาหวาน) ไมทราบสาเหตุ ไมทราบสาเหตุ

ชรา ไมทราบสาเหตุ ชรา ไมทราบสาเหตุ 80 (หลอดเลือดสมองตีบ) 79 (เบาหวาน)

70 A/W 68 A/ W 66 ภูมิแพอากาศ 64 ไมมีโรคประจําตัว

45 ความดัน 45 ความดัน 40 เบาหวาน สูบบุหรี่ ไขมันสูง 25 A/W 23 A/W

สัญลักษณที่ใช แทนผูหญิง

แทนผูชาย แทนการเสียชีวิต A/ W แทนการมีชีวิตและสุขภาพดี

26 6) ประวัติสวนตัว (Personal history) และแบบ

แผนการดําเนินชีวิตประจําวัน เปนขอมูลรายละเอียดของผู รับบริการแตละบุคคลที่

เกี่ยวของกับความเปนอยู ประวัติเกี่ยวกับทางเพศ หากเปนวัยเด็ก ควรซักถามจากผูปกครอง เกี่ยวกับประวัติการเกิด การเจริญเติบโตและพัฒนา การศึกษา รวมถึงประวัติการไดรับวัคซีนและภูมิคุมกัน เปนตน แบบแผนการดํารงชีวิตประจําวันประกอบดวย สุขนิสัยการบริโภคอาหาร โภชนาการ กิจกรรมยามวาง การออกกําลังกาย การนอนหลับ การพักผอนหยอนใจ การใชยาและสารเสพติด การดูแลตนเอง คานิยมและความเช่ือ การจัดการความเครียด การปรับตัว การตรวจสุขภาพประจําป ส่ิงแวดลอมที่บานและที่ทํางาน ตัวอยางประวัติสวนตัว เชน

- ผูรับบริการมีมนุษยสัมพันธดี ชอบพูดคุย ชอบสังสรรคกับเพื่อน

- เคยด่ืมสุราและเบียร มาต้ังแตอายุ 18 ป ปจจุบันเลิกด่ืม - เคยสูบบุหร่ีวันละ 2-3 ซอง ต้ังแตอายุประมาณ 27 ป

สูบอยูนาน 2-3 ป เลิกสูบไดประมาณ 10 กวาป เนื่องจากเจ็บปวย - รับประทานอาหารวันละ 3 มื้อไมตรงเวลา ชอบอาหาร

รสหวาน ไมชอบเค็ม - ไมคอยไดออกกํากังกาย เวลาวางจะหางานทําเล็กๆ

นอยๆ ที่บาน - สวดมนตไหวพระกอนนอนทุกคืน เขานอนเวลา 20.00

น. ต่ืนเวลา 05.00 น.

27 7) การทบทวนอาการตามระบบ (Review of body

system, ROS) เปนการทบทวนอาการเก่ียวกับความผิดปกติของอวัยวะ

ตางๆ ตามระบบตางๆ ที่สําคัญ ต้ังแตศีรษะถึงปลายเทา จะซักถามอาการอาการแสดง และโรคตางๆ เพิ่มเติมภายหลังจากที่ไดเก็บรวบรวมขอมูลสวนอ่ืนๆ เรียบรอยแลว เนื่องจากผูรับบริการอาจลืมบอก แตนึกข้ึนไดภายหลัง จะชวยใหคนพบอาการหรือส่ิงผิดปกติอ่ืนที่อาจนําไปสูปญหาของผูรับบริการได การซักถามอาการตามระบบมีดังนี้

ลักษณะท่ัวไป: น้ําหนักตัวเพิ่มข้ึนหรือลดลง ออนเพลีย นอนหลับไหม ผิวหนัง ผม เล็บ: สีผิว อุณหภูมิรางกาย เหงื่อออกมากเกินไป ผ่ืนคัน

รอยโรคบนผิวหนัง เล็บ ผมมีรังแคไหม ศีรษะ: ศีรษะลาน มีผมรวง บาดแผล อาการคอแข็งไหม

ตา: มองเห็นชัดเจนไหม อาการปวดตา ตาแดง ตามัว เคืองตา น้ําตาไหล ตอกระจก ตอหินไหม สวมแวนตากันแดดไหม หู: การไดยินชัดเจนไหม ปวดหู มีเสียงในหู มีน้ําหนองหรือน้ําไหลออกจากหูไหม ปาก คอ จมูก ไซนัส: แผลในปาก เหงือกและฟนอักเสบ ฟนผุ ปวดฟน กล่ินปาก อาการเสียงแหบ ตอมทอนซิลอักเสบ คัดจมูก เลือดกําเดาไหล เปนหวัดบอยแคไหน อาการคันในจมูก ไซนัสอักเสบไหม ระบบหายใจ: อาการหายใจลําบาก ไอ เสมหะ หายใจมีเสียงหวีด นอนราบไมได โรคหอบหืด วัณโรคมีไหม

28 เตานม: มีกอน มีอาการปวดหรือกอนบวมไหม มีสารคัดหล่ังหรือน้ํานมไหล รอยบุมของเตานมมีไหม

ตอมน้ําเหลือง: คลําไดกอนขนาดเทาไหร กดเจ็บไหม หัวใจและหลอดเลือด: มีหอบเหนื่อยต่ืนข้ึนกลางดึกไหม อาการเจ็บ

หนาอก เขียว ฟงไดเสียง Murmur อาการหัวใจเตนเร็ว ความดันโลหิตผิดปกติไหม มีเสนเลือดที่คอโปงพองไหม

ระบบทางเดินอาหาร: อาการทองอืด แนนทอง อาการคล่ืนไส อาเจียน ทองเสีย ทองผูก ถายเปนเลือด อาการตัวตาเหลือง ตับอักเสบ ทองมาน ริดสีดวงทวาร แผลในกระเพาะอาหาร นิ่วในถุงน้ําดี อวัยวะสืบพันธุเพศชาย: ปวดบริเวณลูกอัณฑะ ไสเล่ือน ตอมลูกหมากโต การแข็งตัวของอวัยวะเพศมีไหม อวัยวะสืบพันธุเพศหญิง: สารคัดหล่ังทางชองคลอด ประจําเดือนมาปกติไหม อาการปวดประจําเดือนมีไหม เลือดออกทางชองคลอด การต้ังครรภ การทําแทง กน ทวาร: ลักษณะการขับถาย ออกแรงเบงถายอุจจาระและอุจจาระแข็ง ถายแข็งปนเลือด ทองผูก ริดสีดวงทวาร กระดูกและกลามเนื้อ: มีอาการบวม แดง รอนตามขอ เคล่ือนไหวขอลําบาก ขอฝด ความแข็งแรงของกลามเนื้อเปนอยางไร ระบบประสาท: เคยมีอาการชัก อาการชาบริเวณหนา หรือแขนขาบางไหม ระบบโลหิต: เคยมีอาการเลือดออกแลวหยุดยากไหม เคยไดรับเลือดหรือไม

29 ระบบตอมไรทอ: กอนที่คอโตข้ึน ตาโปน มีอาการข้ีรอน ใจส่ัน เหงื่อออกมาก กินจุบอย น้ําหนักลด เคยเปนเบาหวาน เคยเปนคอพอกหรือไม

3.6 สิ่งที่ควรควรหลีกเลี่ยงในการซักประวัติ ส่ิงที่ควรควรหลีกเล่ียงในการซักประวัติ มีดังนี้ 1) การจองหรือสบตาผูรับบริการมากเกินไป เนื่องจากจะทําให

ผูรับบริการรูสึกอึดอัด เชน ในการพูดคุยถึงประวัติภูมิหลังทางวัฒนธรรม ซึ่งการถามเกี่ยวกับความเช่ือตางๆบางครั้งอาจทําใหผูรับบริการรูสึกวากําลังถูกจับผิด หรือความเชื่อนั้นๆ ไมถูกตอง หากพยาบาลจองมากเกินไปอาจทําใหผูรับบริการไมกลามองสบตาในขณะที่กําลังเลาเร่ือง

2) การมองสนใจส่ิงอ่ืนในขณะที่สัมภาษณ พฤติกรรมการแสดงเชนนี้ จะทําใหผูรับบริการเช่ือวา การสัมภาษณนั้นไมสําคัญ พยาบาลตองสนใจส่ิงที่ผูรับบริการกําลังเลา

3) ไมควรยืนคํ้าศีรษะผูรับบริการในขณะพูดคุย หรือระดับการพูดคุยที่ไมเทากัน เชน ผูรับบริการนั่งเกาอ้ีแตพยาบาลยืนอยูในระดับที่สูงกวาแลวต้ังคําถาม หากเรายืนสูงกวาผูรับบริการ อาจทําใหผูรับบริการรูสึกตํ่ากวา ผูรับบริการอาจจะไมกลาเปดเผยขอมูลสําคัญๆ ใหทราบ นอกจากนี้ในการดูแลสุขภาพของผูรับบริการพยาบาลควรจะตองคํานึงถึงความเปนหุนสวนในการดูแลสุขภาพรวมกันดวย

4) การถามนํา หรือคําถามที่ชี้แนะการตอบ การถามนําจะเปนสาเหตุใหไดรับคําตอบไมตรงความเปนจริง

30 5) หลีกเล่ียงการถามที่เปนลําดับการตอบ เชน ถามคําถาม

ปลายปดไลเรียงมาลงมาจากบน ซึ่งแนวคําตอบเปน “ใช” “ไมใช” 6) หลีกเล่ียงการอานคําถามในการถามผูปวย ซึ่งจะทําให

ผูปวยรูสึกวาไมเปนกันเอง 4 การตรวจรางกาย ในการตรวจรางกาย พยาบาลควรมีการปฏิบัติในการตรวจรางกาย ดังนี้ 4.1 การเตรียมกอนตรวจรางกาย กอนที่พยาบาลจะทําการตรวจราง กายจําเปนตองมีการเตรียมการในเร่ืองตอไปนี้

1) การเตรียมสถานท่ีตรวจ สถานที่ในการตรวจรางกาย เชน หองตรวจในแผนกผูปวย

นอก หองตรวจบนหอผูปวยใน โรงพยาบาล คลินิก บาน เปนตน การจัดเตรียมสถานที่กอนทําการตรวจควรปฏิบัติดังนี้ อุณหภูมิหอง อุณหภูมิหองไมใหรอนหรือเย็นจัด เพราะอุณหภูมิหองที่เย็นเกินไปจะทําใหผูรับบริการมีอาการหนาวส่ัน บางคร้ังอาจตองมีการจัดเตรียมผาหมสํารองไวภายในหองตรวจ เพื่อความสะดวกสบาย หองตรวจมีความเปนสวนตัว ควรมีประตูปดมิดชิด เชน ปดมานในขณะตรวจ ปดประตูหองใหเรียบรอย สถานที่ตรวจตองเงียบ ไมมีเสียงรบกวนจากภายนอก

31 แสงสวางเพียงพอ ภายในหองตรวจควรเปนแสงธรรมชาติดี

ที่สุด หากเปนแสงไฟจากหลอดไฟฟา ตองใหแสงสวางเพียงพอ ถาแสงสวางมัว อาจทําใหมองสีผิวหรือความผิดปกติของรางกายคาดเคล่ือนได เตียงตรวจตองมีความมั่นคงแข็งแรง ไมเล่ือนไปมา ระดับความสูงของเตียงพอประมาณ

2) การเตรียมตนเอง พยาบาลควรมีการฝกฝนในการตรวจสุขภาพเพื่อใหมีความ

มั่นใจ และควรตองคํานึงถึงหลักการปองกันการแพรกระจายเชื้อดวย ในการตรวจรางกายควรปฏิบัติดังนี้ การลางมือ ควรลางมือใหสะอาดทุกคร้ังกอนทําการตรวจรางกายและภายหลังเสร็จการพยาบาลทุกคร้ังทันที หากสัมผัสเลือด ส่ิงคัดหล่ังของผูรับบริการใหรีบลางมือทันที ถุงมือ ควรสวมถุงมือปองกันต้ังแตเร่ิมแรกในขณะใหการพยาบาลที่อาจตองสัมผัสสารคัดหล่ังจากผูรับบริการ เชน บาดแผล เลือด หนอง น้ําปสสาวะ เสมหะ อุจจาระ เพื่อปองกันการสัมผัสสารคัดหล่ังดังกลาวจากผูรับบริการ และเพื่อปองกันผูรับบริการที่อาจไดรับเช้ือโรคจากมือของพยาบาล และชวยลดการแพรกระจายเช้ือ แวนตาหรือหนากากปองกัน ควรสวมหนากากและแวนตา เพื่อปองกันสารคัดหล่ังจากผูรับบริการที่อาจกระเด็นมาถูก เชน เลือด หรือละอองฝอยของเสมหะจากการไอ

32 เส้ือคลุม ควรสวมเส้ือคลุมทับในขณะที่ทําการพยาบาล เพื่อปองกันสารคัดหล่ังที่อาจกระเด็นมาถูกตามผิวหนังหรือเส้ือผาของพยาบาล หรือสวมเส้ือคลุมทับเมื่อเขาหองแยกผูปวยที่ติดเชื้อหรือมีภูมิคุมกันตํ่า อุปกรณการแพทย หลีกเล่ียงการสัมผัสสารคัดหล่ัง เลือด หนองที่ติดอยูบนเคร่ืองมือเคร่ืองใชทางการแพทยโดยตรง หรือเข็มกลัดปลายแหลมที่ใชทดสอบการทํางานของระบบประสาทเกี่ยวกับความรูสึกเมื่อใชเข็มนั้นแลวควรทิ้งเสมอและไมควรนํามาใชตรวจกับผูรับบริการรายถัดไป

3) การเตรียมผูรับบริการ การเตรียมผูรับบริการ ควรเร่ิมจากการสรางสัมพันธภาพท่ีดีกับผูรับบริการต้ังแตกอนซักถามประวัติ และกอนการตรวจรางกาย ข้ันตอนนี้จะชวยใหผูรับบริการรูสึกผอนคลายความวิตกกังวล และใหความไววางใจ อธิบายวัตถุประสงค และข้ันตอนการตรวจอยางคราวๆ เพื่อสรางความเขาใจที่ถูกตอง และขออนุญาตและความยินยอมกอนการตรวจรางกายเสมอ หากตองการเก็บส่ิงสงตรวจ (specimen) เชน น้ําปสสาวะ ควรอธิบายจุดประสงคของการตรวจ วิธีการเก็บ การปฏิบัติที่ถูกตอง เปนตน การเปลี่ยนเสื้อผาและสวมชุดคลุม (gown) จัดเตรียมชุดและหองเปล่ียนเส้ือผาใหมิดชิด และควรเคาะประตูกอนเขาหองตรวจ จัดเตรียมทาการตรวจใหเหมาะสม เพื่อใหผูรับบริการอยูในทาที่ผอนคลายสุขสบาย เชน ทานอน ทานั่ง เปนตน

33 เร่ิมตรวจวัดสัญญาณชีพกอน เพื่อลดความวิตกกังวลในขณะที่ทําการตรวจ การตรวจรางกายพยาบาลควรเขาดานขวาของผูรับบริการ เนื่องจากเทคนิคในการตรวจสวนใหญจะเปนการตรวจดวยมือขวา ถึงแมวาพยาบาลจะถนัดมือซายก็ตาม 4.2 การจัดทาผูรับบริการในการตรวจ กอนทําการตรวจรางกายควรจัดเตรียมผูรับบริการใหอยูในทาที่เหมาะสม การจัดทาตรวจถูกตองจะชวยใหตรวจไดสะดวกและรวดเร็ว พยาบาลตองทราบจุดประสงคของการตรวจนั้นๆจึงจะสามารถเตรียมผูรับบริการไดถูกตอง ทาที่ใชในการตรวจรางกายมีดังนี้ 1) ทานั่ง (Sitting position)

การจัดใหผูรับบริการอยูในทานั่งตรง เชน เตียงผูปวย เกาอ้ี หรือนั่งตรงขอบเตียง ทานี้จะเหมาะสําหรับการตรวจศีรษะ คอ ปอด หนาอกดานหนาและหลัง เตานม รักแร หัวใจ สัญญาณชีพ และแขนขาสวนบน นอกจากนี้จะชวยใหสามารถประเมินดูการขยายตัวของทรวงอก หากผูรับบริการมีอาการออนเพลีย ออนแรง ไมสามารถนั่งได ก็อาจจะเปล่ียนไปจัดใหอยูในทานอนแทน

34

รูปที่ 1 ทานั่ง

2) ทานอนหงาย (Supine position) การจัดใหผูรับบริการนอนหงายราบ เหยียดขาตรง นอนหนุนหมอนสูงเล็กนอย เพื่อชวยใหผูปวยรูสึกสุขสบายและชวยผอนคลายกลามเนื้อบริเวณหนาทอง ทานี้เหมาะในการตรวจสัญญาณชีพ ศีรษะ ลําคอ ทรวงอกดานหนา ปอด เตานม หัวใจ หนาทอง แขนและขา

35 รูปที่ 2 ทานอนหงาย

3) ทานอนหงายชันเขา (Dorsal recumbent position) การจัดทาใหผูรับบริการนอนหงายและงอเขาทั้งสองขาง แยกขาหางกันเล็กนอย ทานี้เหมาะสําหรับตรวจประเมินศีรษะ คอ ทรวงอกดานหนา รักแร ปอด หัวใจ แขน ขา เตานม อวัยวะเพศหญิง และชีพจรสวนปลาย

รูปที่ 3 ทานอนหงายชันเขา 4) ทานอนตะแคงกึ่งคว่ํา (Sim’s position)

36 การจัดทาใหผูรับบริการนอนตะแคงซายกึ่งคว่ํา โดยแขนซายวางเหยียดไปขางหลัง งอแขนขวาตรงหัวไหลกับขอศอก งอเขาทั้งสองขางโดยใหขาขวางอชิดหนาอกมากที่สุด ทานี้เหมาะสําหรับใชตรวจทวารหนัก หรืออวัยวะสืบพันธุเพศหญิง ควรระมัด ระวังในผูสูงอายุที่อาจมีปญหาเกี่ยวกับกระดูกและขอตอ

รูปที่ 4 นอนตะแคงซายกึ่งคว่ํา 5) ทายืน (Standing position) การจัดใหอยูในทายืนตรง เหมาะสําหรับการประเมินลักษณะการยืน ความสมดุลของรางกาย การทรงตัว และทาทางในการเดิน ทานี้ตองระมัดระวังกรณีที่ผูรับบริการมีการทรงตัวที่ผิดปกติ อาการสั่น ออนเพลีย เพราะอาจทําใหล่ืนลมได

37

รูปที่ 5 ทายนื 6) ทานอนคว่ํา (Prone position) จัดใหผูรับบริการนอนคว่ํา ตะแคงหนาไปขางใดขางหนึ่ง ทานี้จะใชในการประเมินความผิดปกติของขอสะโพก แนวกระดูกสันหลัง ทรวงอก

38 ดานหลัง ทานี้จํากัดในผูรับบริการที่มีปญหาระบบหัวใจและระบบทางเดินหายใจ ผูรับบริการที่ไมสามารถนอนคว่ําได

รูปที่ 6 ทานอนคว่ํา 7) ทานอนคว่ําชันเขาชิดอก (Knee-chest position) จัดใหผูรับบริการอยูในทานอนคว่ํา หันหนาไปขางใดขางหนึ่ง (อาจจะนอนหนุนหมอนหรือไมหนุนก็ได) ชันเขาทั้งสองขางต้ังข้ึนโดยยกบริเวณสะโพกทํามุม 90 องศากับแนวลําตัว วางแขนสองขางเหนือศีรษะ ทานี้ใชตรวจกน ลําไสตรง สําหรับผูสูงอายุที่มีปญหาระบบการหายใจ และหัวใจ ตองระมัดระวังเปนพิเศษ

39

รูปที่ 7 ทานอนคว่ําชันเขา 8) ทานอนบนขาหยั่ง (Lithotomy position) จัดทาใหผูรับบริการนอนหงาย โดยใหกนชิดปลายเตียงหรือขอบโตะ ยกขาทั้งสองขางวางบนที่พักขา คลุมผาบริเวณหนาขาและเปดเฉพาะบริเวณที่ตองการตรวจ เพื่อปองกันการเขินอายและถูกเปดเผยมากเกินไป ทานี้เหมาะสําหรับการตรวจอวัยวะสืบพันธุเพศหญิง ชองคลอด ทวารหนัก เปนตน

40

รูปที่ 8 ทานอนบนขาหยั่ง 4.3 เทคนิคการตรวจรางกาย (Physical assessment technique) เทคนิคสําคัญที่ใชในการตรวจรางกายผูรับบริการ ไดแก การดู การคลํา การเคาะ และการฟง แตละเทคนิคมีดังนี้

1) การดู (inspection) การดูเปนกระบวนการตรวจที่ใชตาสังเกตดูลักษณะตางๆ อยางมีจุดมุงหมาย เชนลักษณะทาทาง กริยา อาการแสดงตางๆ การดูรวมถึงการใชประสาทสัมผัสตางๆ รวมดวย เชน การมองเห็น การไดกล่ิน การไดยิน เปนตน การดูชวยคนหาความผิดปกติออกจากส่ิงปกติของรางกาย เทคนิคนี้สังเกตไดต้ังแตพบผูรับบริการตลอดจนการประเมินสุขภาพ แนวทางการปฏิบัติในการใชเทคนิคการดู มีดังนี้

แสงสวางเพียงพอ ภายในหองตรวจควรเปนแสงธรรมชาติดีที่สุด หากเปนแสงจากหลอดไฟฟาตองใหแสงสวางเพียงพอ ถาแสงสวางมัวอาจทําใหไมสามารถมองเห็นส่ิงผิดปกติไดชัดเจน

ใชการดูตรวจกอนสัมผัส หากเราใชการสัมผัสกอนอาจทําใหไมสามารถแยกลักษณะส่ิงที่ปกติหรือผิดปกติได

41 ตรวจรางกายตองไมเปดเผยรางกายของผูรับบริการมากเกินไป

ควรใชผาหมคลุมเปดเฉพาะบริเวณที่ตองการตรวจ สังเกตสวนตางๆของรางกาย เชน สีผิว ซีด/ ตัวเหลือง/ เขียว ขนาด รูปราง ตําแหนง ความยืดหยุน (consistency) ความสมมาตร การเคล่ือนไหว พฤติกรรม กล่ิน เสียง เปนตน อวัยวะที่มีสองขาง ควรดูเปรียบเทียบลักษณะทั้งสองขาง เพื่อแยกความผิดปกติ เชน ตา หู แขน มือ เปนตน

2) การคลํา (palpation) การคลําเปนเทคนิคการตรวจที่ใชมือคลําหรือสัมผัส และรับความรูสึก มือและนิ้วมือเปนเคร่ืองมือที่รับความรูสึกไดไว สามารถประเมินอุณหภูมิ ความตึงตัว รูปราง ความชื้น การสั่นสะเทือน การคลําแบงเปนคลําต้ืนและคลําลึก ซึ่งกอนจะคลํา พยาบาลตองตัดเล็บใหส้ัน ฝามือตองอุน หากเย็นอาจทําใหสะดุง ตกใจ การคลําตองคลําดวยความนุมนวล ควรคลําสวนที่ปกติกอนจึงตรวจสวนที่ผิดปกติ และสังเกตสีหนาในขณะตรวจรวมดวย การคลํามีวิธีดังนี้ 2.1) การคลําต้ืน (Light palpation) การคลําต้ืน เพื่อประเมินความผิดปกติบริเวณที่ตรวจ เชน อาการกดเจ็บ และความตึงตัวหรือแรงตานของกลามเนื้อบริเวณหนาทอง เชน guarding, rigidity เปนตน การคลําต้ืนใหใชปลายนิ้วมือ หรือฝามือในการคลําโดยคลําใหทั่วๆ บริเวณหนาทอง ใหคลําตําแหนงปกติกอนแลวคอยๆ ขยับไปคลําดานที่

42 ผิดปกติ การคลําใหกดปลายนิ้วมือลงบนผิวหนังของบริเวณที่ตรวจ กดลึกประมาณ 1 เซนติเมตร

รูปที่ 9 คลําต้ืน 2.2) การคลําลึก (Deep palpation) การคลําลึกเพื่อประเมินลักษณะของอวัยวะภายในที่อยูลึก เชน คลํากอน หรืออวัยวะที่อยูขางใน ไดแก ตับ ไต มาม กระเพาะปสสาวะ เปนตน วิธีการคลําโดยวางมือลงบนบริเวณที่จะคลํา กดมือลงบนผิวหนังลึก 2.5 – 5 เซนติเมตร หรือ 1-2 นิ้ว แลวประเมินส่ิงที่คลํา ไดแก ตําแหนง ขนาด รูปราง กดเจ็บ การเคลื่อนไหว ตัวอยางเชน คลําพบกอนบริเวณลําคอ ควรอธิบายลักษณะของกอน ดังนี้ - พื้นผิวของกอน (หยาบ / ขรุขระ/ ผิวเรียบ) - อุณหภูมิ (อุน / เย็น) - ความชุมชื้น (แหง / เปยก) - การเคลื่อนไหวของกอน (อยูกับที่ / เคล่ือนที่ได) - ความยืดหยุนของกอน (ออนนุม / แข็ง / แนน/ มีน้ําขางใน)

43 - ความแรงของชีพจร (แรง / เบา / หนัก (bounding)) - ขนาด (เล็ก / ปานกลาง / ใหญ) - รูปราง (กลม/ รี/ ไมเปนรูปราง) - การกดเจ็บ (กดเจ็บ/ ไมเจ็บ) การคลํามือเดียว (Unimanual palpation) เปนการคลําที่ใชฝามือขางใดขางหนึ่งคลําบริเวณที่ตองการตรวจ เชน บริเวณหนาทอง เตานม ชีพจร เปนตน

รูปที่ 10 การคลําลึกมือเดียว การคลําสองมือ (Bimanual palpation) เปนการคลําดวยการใช 2 มือ วางซอนกันบนบริเวณที่ตองการตรวจ โดยใหใชมือขางหนึ่งกดลงบนผิวหนัง มืออีกขางรองขางใตคอยรับสัมผัส เชน ขนาด รูปราง ความออนนุม การเคลื่อนที่ เปนตน การคลําสองมือสามารถใชในการตรวจอวัยวะภายในรางกาย เชน การคลําตับ ไต มาม ระดับมดลูกของหญิงต้ังครรภ เปนตน

44

รูปที่ 11 การคลําสองมือ

3) การเคาะ (percussion) เปนเทคนิคการตรวจที่อาศัยทักษะและความชํานาญ อวัยวะที่ใชในการเคาะไดแก ปลายนิ้ว ฝามือ สันมือ หรือกําปน ใหเคาะลงบนอวัยวะที่ตองการตรวจ การเคาะจะทําใหเกิดการส่ันสะเทือนของเสียงที่ไปกระทบอวัยวะที่อยูขางใต ทําใหเกิดเสียงสะทอนกลับมาวาเปนเสียงอะไร ดังนั้นเมื่อเคาะควรฟงเสียงที่ไดยิน ซึ่งมีลักษณะตางๆ เชน เสียงโปรง (resonance) เสียงโปรงมาก (Hyper-resonance) เสียงกังวาน (tympany) เสียงทึบ (dullness) เสียงทึบมาก (flatness)

การเคาะนั้นสามารถใชประเมินอวัยวะภายในรางกายวามีความผิดปกติหรือไม ผูตรวจตองมีความรูเกี่ยวกับศาสตรที่เกี่ยวของ เชน สรีรวิทยา กายวิภาคศาสตร เปนตน ทราบวาอวัยวะใดต้ังอยูบริเวณใด หรือตําแหนงใด ฝกฟงเสียงที่ปกติของอวัยวะนั้นๆ จนชํานาญจึงจะสามารถฟงแยกเสียงที่ผิดปกติได ลักษณะของเสียงที่ไดยินจากการเคาะอวัยวะภายในรางกาย เชน เคาะปอดปกติมีเสียงโปรง เคาะบริเวณหนาทองไดเสียงกังวาน เคาะหัวใจ ตับ

45 ไดเสียงทึบ เคาะบริเวณตนขาไดเสียงทึบมาก เคาะบริเวณกระเพาะ ลําไส เสียงจะโปรงมาก เปนตน การเคาะ สามารถแบงได 2 วิธี ดังนี้

1. การเคาะโดยตรง (Direct percussion) เปนการใชนิ้วมือเคาะลงบริเวณอวัยวะที่ตองการตรวจโดยตรง การเคาะนั้นใหใชนิ้วชี้หรือนิ้วกลาง เคาะเบาๆ ลงบริเวณที่ตองการตรวจแลวคอยๆ ขยับปลายนิ้วชาๆ ในขณะที่ตรวจ เชน การตรวจไซนัส ใชปลายนิ้วเคาะเบาๆ บริเวณโพรงระหวางค้ิวหรือโหนกแกม ประเมินอาการเจ็บมีหรือไม เปนตน

นอกจากนี้การเคาะสามารถใชกําปน หรือทุบเบาๆ บนบริเวณที่ตรวจ (Direct fist percussion) เคาะเพื่อประเมินวามีอาการปวดหรือไม หากพบวามีอาการเจ็บปวด (tenderness) ในขณะที่เคาะ บงบอกวา อวัยวะภายในอาจมีการอักเสบ เชน กรวยไต ไต เปนตน

2. การเคาะผานที่รองรับ (Indirect percussion) วิธีการเคาะคือ วางฝามือขางที่ไมถนัด (ขางซาย) ลงบนบริเวณตําแหนงที่ตองการตรวจ โดยใหนิ้วทั้งหมดวางอยูในแนวตรง แนบฝามือลงกับผิวหนังหรือบริเวณที่ตองการตรวจใหสนิท ใชปลายนิ้วช้ีหรือนิ้วกลางของมือขางที่ถนัด (ขางขวา) เคาะลงที่ขอตอของนิ้วกลางขางที่ไมถนัด (ขางซาย) ใหสะบัดขอมือขางที่ถนัดข้ึนลงใหต้ังฉากเปนจังหวะ ลงน้ําหนักการเคาะใหสม่ําเสมอ เคาะเปนจังหวะประมาณ 1-2 คร้ัง แลวหยุดพักเพื่อฟงเสียง แลวจึงเคาะตอ เพื่อฟงเสียงซ้ํา ฟงดูความแตกตางของเสียงที่ไดยิน การเคาะอวัยวะที่มีสองขางตองฟงเสียงเพื่อเปรียบเทียบกัน เร่ิมเคาะจากบนลงลาง และเคาะทั้งสองขางในระดับเดียวกัน

46 ควรเปรียบเทียบทั้งดานหลังและดานหนา เชน เคาะปอดดานหนา ดานหลัง ดานขาง เปนตน

รูปที่ 12 เคาะผานที่รองรับ

4) การฟง (auscultation) การฟงอาศัยการไดยิน สามารถฟง

โดยอาศัยหูของผูตรวจ เชน เสียงไอ เสียงพูด เสียงหายใจหวีด (wheezing) และสามารถฟงดวยเคร่ืองมือ (Indirect auscultation) โดยทั่วไปจะอาศัยเคร่ืองมือในการฟง เรียกวา หูฟง (stethoscope) การฟงชวยประเมินแยกโรคตางๆ ที่อาจเกิดข้ึนจากหัวใจ หลอดเลือด ระบบทางเดินหายใจ และระบบ

47 ทางเดินอาหาร ผูตรวจตองหม่ันฝกฝนใหฟงจนชํานาญ โดยเร่ิมจากการฟงเสียงที่ปกติกอน หลักการฟงมีดังนี้

4.1 หองตรวจตองเงียบ ไมมีเสียงรบกวน เชน วิทยุ โทรทัศน หรือเสียงเคร่ืองจักรกล

4.2 ตรวจสอบอุปกรณการฟงกอนใชงาน เชน บริเวณทอสายยางของหูฟงไมใหพันกัน เพราะจะทําใหเกิดเสียงดังจากการเสียดสีกัน และรบกวนการไดยิน

4.3 การวางดานแบนหรือตลับ (diaphragm) หรือดานกรวยหรือดานระฆัง (bell) ของหูฟงบนรางกายของผูรับบริการ ควรแนใจกอนวาอุปกรณนั้นไมเย็นจัด หากเย็นตองสัมผัสสวนนั้นใหอุนข้ึนกอน เพราะจะทําใหผูรับบริการสะดุง และตกใจในขณะที่กําลังตรวจ ทําใหไดยินเสียงไมชัดเจน

4.4 หลีกเล่ียงการฟงผานเส้ือผาของผูรับบริการ หรือบนบริเวณหนาอกท่ีมีขนปกคลุมอยูซึ่งอาจไมชัดเจน ควรเปดเส้ือผาเฉพาะบริเวณที่ตองการตรวจ วางหูฟงแนบบนผิวหนัง แลวต้ังใจฟง

4.5 การฟงหากใชสวนที่เปนดานแบน ใหวางแนบสนิทกดลงบนผิวหนังสวนที่ตองการฟง จะชวยใหสามารถฟงเสียงที่มีความถี่สูงดังชัดเจนข้ึน (High – pitched sound) เชน เสียงหัวใจปกติ เสียงการหายใจ เสียงกระเพาะอาหาร (Bowel sound)

4.6 การฟงโดยใชดานกรวย ใหวางแตะกับผิวหนังกดไมแนนเกินไป ใชฟงเสียงที่มีความถี่ตํ่า (Low – Pitched sound) เชน เสียงผิดปกติของหัวใจ ไดแก murmur, bruits เปนตน

48 เสียงที่ฟงไดจะมีลักษณะ 4 อยาง ดังนี้ 1. จํานวนความถี่ของคล่ืนเสียง (pitch) ความถี่วัดเปนรอบตอวินาที

(Cycle per second or Hertz) ความถี่ของเสียงมีความแตกตางต้ังแตความถี่ตํ่าถึงความถี่สูง เชน ความถี่สูงเกิดในเสียงระดับสูง (High – Pitched sound) ความถี่ตํ่าจะทําใหเกิดเสียงที่มีระดับตํ่า (Low – Pitched sound) เสียงหัวใจที่ผิดปกติ อาจเปนไดทั้งเสียงที่มีระดับเสียงสูงและตํ่า

2. การขยายออกของคล่ืนเสียง (intensity) ต้ังแตเสียงเบาถึงดังมาก หากมีการขยายออกมากเสียงที่ไดยินจะมีความดังมากกวา หากขยายนอยกวาเสียงจะมีความเบากวา

3. ระยะความยาวนานในการเกิดเสียงหนึ่งคร้ัง (duration) ระยะความยาวนานของเสียงมีต้ังแตส้ัน ปานกลาง และยาวนานมาก

4. คุณภาพของเสียง (quality) คุณภาพของเสียงที่ไดยินมีลักษณะอยางไร เชน เสียง gurgling, blowing, whistling, wheezing เปนตน

4.4 การตรวจลักษณะท่ัวไปและสัญญาณชีพ การตรวจรางกายของผูรับบริการอยางสมบูรณ ควรเร่ิมประเมิน

จากลักษณะทั่วๆ ไป (General appearance) การตรวจสัญญาณชีพ (Vital signs) และการตรวจรางกาย (Physical examination) ตามระบบ การตรวจลักษณะทั่วไปจะเร่ิมสังเกตต้ังแตผูรับบริการเดินเขามาพบพยาบาล และตลอดระยะเวลาที่ซักประวัติ ส่ิงสําคัญที่ควรสังเกต ไดแก

49 อายุ ควรประเมินอายุกับลักษณะทาทางที่ปรากฏวาเหมาะสม

หรือสัมพันธกันหรือไม เพราะบางคนอาจมีใบหนาตาเกินกวาอายุจริง ทาทาง ลักษณะการเคลื่อนไหว การทรงตัว การเดิน ทาเดิน

ผิดปกติหรือไม เชน เดินเซ เดินขาลาก เดินแบบส่ันๆ หรือกระตุก เปนตน สังเกตแนวกระดูกสันหลังวาเบ้ียว เอียงหรือไม มีหลังคด หลังโกงหรือไม หากพบมีความผิดปกติของระบบประสาทรวม เชน กลามเนื้อตากระตุก ออนแรง จะทําให ทาทางในการเคลื่อนไหวผิดปกติ เปนตน

ลักษณะรูปราง สัดสวนโครงสรางของรางกาย ความสูงสัมพันธกับน้ําหนักหรือไม รูปรางสมสวนหรือไม เชน อวน ผอม เต้ียแคระผิดปกติ เปนตน

ลักษณะใบหนา ดูความสมมาตรของใบหนา มีหนังตาตก มุมปากตก ปากเบ้ียว ปากแหวง หรือไม ใบหนาบวมฉุอาจเกิดจากภาวะที่มีน้ําค่ังอยูที่ใบหนา ตาโปน มักพบในผูปวยที่มีความผิดปกติของการทํางานของตอมธัยรอยด การสังเกตอาการแสดงออกทางสีหนา เชน แสดงความเจ็บปวดทางสีหนา มีหนานิ่วค้ิวขมวด หรือแสดงสีหนาเศรา ต่ืนตัว ซึมเศรา เปนตน

ลักษณะการพูด ใหสังเกต น้ําเสียง วิธีการพูด จังหวะการพูด โดยปกติจะตองสามารถพูดโตตอบ เสียงดังฟงชัดเจน ไมพูดตะกุกตะกัก หากพบวาลักษณะคําพูดมีความผิดปกติ เชน พูดชามาก พูดไมชัดเจน พูดรัว พูดเสียงดังเกินไป พูดเร็วเกินไป ก็ควรตองประเมินเพิ่มเติมเพื่อคนหาความผิดปกติ เชน ผูรับบริการใชเวลานานในการเปลงคําพูดแตละคร้ัง หรือมีความผิดปกติทางสมองทําใหพูดลําบาก พูดเสียงดังเกินไปอาจจะมีปญหาการไดยิน เปนตน

50 การแตงกาย และสุขอนามัย การแตงกายของผู รับบริการ

เหมาะสมกับอากาศหรือฤดูกาลไหม ความสะอาดของเส้ือผาและรางกาย การแตงกายเรียบรอยมากไปไหม เปนตน

กล่ินตัว หรือกล่ินลมหายใจ เชน ลมหายใจมีกล่ินแอลกอฮอล กล่ินตัวแรง กล่ินปสสาวะ กล่ินปาก เปนตน สีผิว สีผิวอาจแตกตางกันไปตามเช้ือชาติและส่ิงแวดลอม แตสีผิวที่บงบอกความผิดปกติไดแก สีผิวซีด ทําใหนึกถึงโรคโลหิตจาง ผิวสีเหลืองมักพบในผูปวยโรคตับหรือถุงน้ําดี ริมฝปากเขียว อาจพบวามีภาวะขาดออกซิเจน อารมณ และทาทางที่แสดงออก เชน อารมณฉุนเฉียว ราเริง ซึมเศรา รองไห ควรสังเกตอารมณ หรือกิริยาอาการแสดงวามีความสัมพันธกับการพูดหรือความคิดหรือไม เชน ถามเร่ืองที่โศกเศรา แตผูรับบริการแสดงอาการหัวเราะเสียงดัง เปนตน การรับรูและระดับความรูสติ ประเมินการรับรูของผูรับบริการเกี่ยวกับวัน เวลา สถานที่ ความจํา รวมทั้งระดับความรูสึกตัว หากผูรับบริการมีระดับความรูสึกผิดปกติ สังเกตอาการตอบสนองจากการเรียกหรือถูกปลุก เชน การลืมตา ดูความต่ืนตัวเปนปกติหรือไม มีการสับสน ซึมหรือไม การตอบคําถามสมเหตุสมผลหรือไม เปนตน การประเมินสัญญาณชีพ (Vital signs) การตรวจวัดสัญญาณชีพจะชวยใหสามารถประเมินความผิดปกติของอัตราการหายใจ ชีพจร อุณหภูมิรางกาย และความดันโลหิต ในการตรวจสัญญาณชีพ ควรมีการจัดเตรียมอุปกรณการตรวจใหพรอม เลือกอุปกรณที่มีขนาดพอเหมาะกับ

51 ผูรับบริการแตละราย เชน cuff พันแขนเด็กหรือผูใหญ ปรอทวัดไขทางรักแรหรือทางทวาร เปนตนอธิบายข้ันตอนการตรวจ ทําการประเมินสัญญาณชีพ และบันทึกผลการตรวจใหถูกตองชัดเจน

5 อุปกรณที่ใชในการตรวจรางกาย (equipment) อุปกรณหรือเครื่องมือทางการแพทยที่ใชในการตรวจรางกาย

จําเปนตองมีการจัดเตรียมใหพรอมกอนใชงานอยูเสมอ อุปกรณตองสะอาดและปลอดเช้ือ ยึดหลักการปองกันการแพรกระจายเชื้อ กอนทําการตรวจหรือทําการตรวจแลวตองลางมือใหสะอาดทุกคร้ัง อุปกรณที่ใชชนิดใชแบบคร้ังเดียวก็ควรทิ้งลงในภาชนะ ไมนํามาใชใหม อุปกรณที่นํามาใชอีกตองลางทําความสะอาดและผานการฆาเช้ือโรค อุปกรณที่ใชตรวจรางกายมีดังนี้

5.1 ปรอทวัดไข (Thermometer/ Temperature measurement)

ปรอทวัดไขใชในการประเมินการทํางานของเนื้อเยื่อและเซลลในรางกาย มี 4 ชนิด ดังนี้

1) Mercury-in-glass thermometer เปนปรอทวัดไขแบบแกวมีปรอทบรรจุอยูภายในหลอดแกว ปรอทวัดไขนี้มีทั้งใชวัดอุณหภูมิรางกายทางทวารหนัก ปาก และรักแร ถาวัดทางทวารหนักสําหรับผูใหญ ใหสอดปรอทเขาทวารหนักลึก 0.5 – 1 นิ้ว วัดนาน 1-2 นาที สําหรับทารกใหสอดปรอทเขาทวารหนักลึก 1.5 – 2 เซนติเมตร วัดนาน 1-2 นาที ถาวัดทางปากใหผูรับบริการอมไวใตล้ิน ประมาณ 2-3 นาที ถาวัดทางรักแรใหสอดปรอทในอุงรักแร วัดนาน 5 นาที

52 A B รูปที่ 13 A) ปรอทวัดไขทางปาก และรักแร B) ปรอทวัดไขทางทวารหนัก

2) Electronic thermometer เปนปรอทวัดไขที่ใชแบตเตอร่ี ใชเวลาการวัดประมาณ 15-30 วินาที

รูปที่ 14 Electronic thermometer

3) Tympanic thermometer เปนอุปกรณการตรวจอุณหภูมิรางกายโดยวางเคร่ืองมือตรวจที่กระดูกหลังใบหู ใชเวลาในการวัด 5 วินาที นิยมใชเนื่องจากวิธีการตรวจไมยุงยาก

53

รูปที ่15 Tympanic thermometer

4) Disposable Thermometer เปนแผนวัดไขแบบกระดาษ

ใชแปะวัดไขลงบนสวนตางๆของรางกาย เชน บนหนาผาก ขางรักแร บนหนาอก เปนตน สามารถอานผลไดเร็วประมาณ 30 วินาที

รูปที่ 16 Disposable thermometer 5.2 หูฟง (stethoscope)

54 หูฟงใชฟงเสียงสวนตางๆของรางกาย มีทั้งชนิด Acoustic

stethoscope และ fetoscope ซึ่ง fetoscope จะใชฟงเสียงทารกในครรภ หูฟงมีสวนประกอบดังนี้

สวนอก (Chest piece) มีอยู 2 ดาน คือ ดานที่เปนตลับ ซึ่งมีลักษณะแบนเรียบ (diaphragm) ใชฟงเสียงที่มีความถี่สูง และดานที่เปนกรวยหรือระฆัง (bell) ฟงเสียงที่มีความถี่ตํ่า

สวนหูฟง (earpieces) สวนหูฟงมี 2 ขา ใชสําหรับฟง ซึ่งขนาดหูฟงควรมีขนาดพอเหมาะ ไมกดรัดทําใหเจ็บเวลาที่สวมฟง

ทอสายยาง (Rubber or Plastic tubing) ทอสายยางจะเช่ือมตอระหวางหูฟงกับสวนอก ซึ่งความยาวสายประมาณ 30.5 – 40 เซนติเมตร (12-18 นิ้ว) หากสายยางมีความยาวมากเกินไป จะทําใหไมไดยินหรือทําใหเสียงเบากวาปกติ

bell diaphragm

earpieces

Chest piece

Rubber or Plastic tubing

55

รูปที่ 17 Acoustic stethoscope

รูปที่ 18 fetoscope

5.3 เครื่องวัดความดันโลหิต (sphygmomanometer) เคร่ืองวัดความดันโลหิตใชตรวจวัดแรงดันเลือดแดงใหญ

เคร่ืองวัดความดันโลหิตมี 3 ชนิด ไดแก aneroid, mercury และ Electronic sphygmomanometer สองชนิดแรกเปนเคร่ืองวัดความดันที่ตองใชมือบีบลมเขา cuff และใชหูฟงในการวัดความดัน ชนิดสุดทายเปนเคร่ืองวัดความดันแบบอัตโนมัติ เมื่อกดปุมทํางานเคร่ืองจะทํางานและอานคาโดยอัตโนมัติ

56

A

B

B

C

57 รูปที่ 19 เคร่ืองวัดความดันโลหิต A) Aneroid sphygmomanometer

B) Mercury sphygmomanometer C) Electronic sphygmomanometer

5.4 เครื่องขยายเสียง (doppler) เคร่ืองขยายเสียงใชสําหรับขยายเสียงเพื่อชวยใหฟงเสียงไดชัดเจนข้ึนในกรณีเสียงเบาไมสามารถฟงดวย Acoustic Stethoscope เชน เสียงชีพจรที่เตนเบาๆ เสียงเตนของหัวใจทารกในครรภ ชีพจรสวนปลายที่เบามากๆ เปนตน

รูปที่ 20 doppler 5.5 เ ครื่ อ ง วั ดปริ ม าณออก ซิ เ จนใน เลื อด (Pulse

oximetry) เปนอุปกรณที่ใชตรวจวัดความเขมขนของออกซิเจนในเลือด

(Spo2) วัดคาออกมาเปนเปอรเซนต เคร่ืองวัดจะประกอบดวย สาย probe กับ

58 จอภาพ การตรวจวัดใชสายวัดที่เปนตัวหนีบ หนีบที่นิ้วมือ นิ้วโปงที่เทา หรือต่ิงหู เปนตน กดปุมสวิทซเคร่ืองจะทําการตรวจวัดความเขมขนของออกซิเจนในเลือด และชีพจร รายงานผลที่หนาจอภาพมอนิเตอร คาปริมาณออกซิเจนในเลือดประมาณ 70%-100% คนปกติที่ไมมีปญหาโรคปอด คา Spo2 97 % – 98 % ผูรับบริการที่มีปญหาโรคปอด หัวใจ มีอาการหอบเหนื่อยจําเปนตองวัดทุกราย

รูปที่ 21 Pulse oximetry

5.6 แผนทดสอบระดับสายตา (Snellen’s visual acuity chart)

แผนทดสอบระดับสายตาใชเพื่อตรวจคัดกรองโรคจากระดับการมองเห็น ที่ระยะไกล และการรับรูตอการมองเห็นสี แผนทดสอบมี 2 ลักษณะคือ เปนตัวอักษรภาษาอังกฤษ และเปนลักษณะตัว E เรียกวา E-chart ซึ่ง E-chart นิยมใชกับวัยเด็กหรือผูที่ไมสามารถอานภาษาอังกฤษได

59

รูปที่ 22 แผนทดสอบระดับสายตา A) E-Chart, B) ตัวอักษรภาษาอังกฤษ

5.7 เครื่องตรวจตา (ophthalmoscope) เคร่ืองตรวจตาใชในการตรวจโครงสรางภายในของลูกตา เชน

เรตินา ประสาทตา เสนเลือด เปนตน

On/ Off switch

Lens selector dial

Aperture setting

A B

60

รูปที่ 23 ophthalmoscope

5.8 เครื่องตรวจหู (otoscope) เคร่ืองตรวจหูใชตรวจดูสวนลักษณะภายในชองหู เชน กระดูก

คอน ทั่ง โคน เยื่อบุแกวหู เปนตน

รูปที่ 24 otoscope

5.9 เครื่องตรวจจมูก (Nasal speculum) เคร่ืองตรวจจมูกใชถางจมูกเพื่อตรวจลักษณะภายในของจมูก

Head of otoscope handle

On/Off switch

61

รูปที่ 25 Nasal speculum

5.10 สอมเสียง (Tuning forks) สอมเสียงใชสําหรับตรวจการไดยินและใชทดสอบการรับรูการ

ส่ันสะเทือน เชน การตรวจสอบระบบประสาท สอมเสียงที่ใชตรวจการไดยินจะมีระดับความถี่ต้ังแต 500 -1000 Hz ถาใชในการประเมินภาวะสูญเสียการไดยิน จะมีระดับความถี่ต้ังแต 300-3000 Hz หากตองการทดสอบการทํางานของระบบประสาท ควรเลือกใชสอมเสียงที่มีความถี่ 100-400 Hz

รูปที่ 26 สอมเสียง

5.11 เครื่องตรวจการไดยิน (audiometer) เคร่ืองตรวจการไดยินใชตรวจสอบการไดยินกรณีที่สงสัย

ผูรับบริการมีปญหาการไดยิน

62

รูปที่ 27 audiometer

5.12 ไมเคาะเขา (Reflex hammer/ Percussion hammer) ไม เคาะเขาใชในการทดสอบปฏิกิ ริยาตอบสนอง Deep

tendon reflex เชน Biceps tendon, Quadriceps tendon

รูปที่ 28 ไมเคาะเขา

63 5.13 เครื่องมือวัดการเหยียดและงอของขอ (goniometer) เปนเคร่ืองมือที่ใชตรวจองศาการเหยียดและงอขอตอสวน

ตางๆ

รูปที่ 29 goniometer 5.14 ไฟฉาย (penlight) มีลักษณะคลายปากกาและมีแสงไฟ เพื่อใชสองดูอวัยวะขาง

ใน ทําใหชวยมองเห็นชัดเจนยิ่งข้ึน เชน ลําคอ โพรงจมูก นัยนตา เปนตน

รูปที่ 30 ไฟฉาย

64 5.15 ไมบรรทัด (ruler) ไมบรรทัดใชในการวัดระยะขอบเขตของรอยโรค เชน บาดแผล

รอยโรคตามผิวหนัง เปนตน สามารถวัดเปนมิลลิเมตร หรือเซนติเมตร

รูปที่ 31 ไมบรรทัด

5.16 สายวัด (Tape measure) สายวัดใชวัดเสนรอบวงหรือความยาว เชน เสนรอบศีรษะ

ทารก รอบอก ความยาวของทารกแรกเกิด เปนตน

รูปที่ 32 สายวัด 5.17 เครื่องวัดความหนาแนนของกลามเนื้อ (Skinfold

calipers)

65 ใชวัดความหนาของเนื้อเยื่อใตผิวหนังเพื่อประเมินปริมาณไขมันใน

รางกาย ตําแหนงที่นิยมวัดคือ ใตทองแขนใชประเมินความหนาของกลามเนื้อไตรเซบส (triceps)

รูปที่ 33 Skinfold calipers 5.18 เครื่องถางปากมดลูก (Vaginal speculum) เคร่ืองถางปากมดลูกใชในการตรวจภายในชองคลอด ตรวจ

ปากมดลูก มี 3 ชนิด ไดแก Graves’ speculum, the Pederson speculum, and the Pediatric or Virginal speculum แตละชนิดจะประกอบดวย blades 2 อัน และดามจับ (handle) ซึ่งเคร่ืองถางปากมดลูกมีทั้งแบบพลาสติกที่ใชคร้ังเดียว (Disposable plastic models) และแบบโลหะที่สามารถนํากลับมาใชไดอีกเมื่อผานการฆาเช้ือ (Reusable metal models)

66 Graves’ speculum จะมีหลายขนาด ขนาดของ blade มี

ความยาวต้ังแต 3.5 - 5.0 นิ้ว กวาง 0.75 - 1.25 นิ้ว สวน the Pederson speculum มีความยาวเทากับ Graves’ speculum แตต้ืนกวาและแบนกวา สําหรับ Pediatric speculum จะมีขนาดเล็กกวาทั้งความกวางและความยาว จึงเหมาะกับผูปวยเด็ก

ปที่ 34 Vaginal speculum

6 การตรวจทางหองปฏิบัติการ โรคบางโรคหรืออาการบางอยางตองอาศัยการตรวจทางหองปฏิบัติการในการสนับสนุนการวินิจฉัยการพยาบาลหรือการวินิจฉัยแยกโรค การเก็บส่ิงสงตรวจจําเปนตองเก็บอยางถูกวิธีและตรงเวลา จึงจะไดผลการตรวจที่ถูกตอง ปจจัยสําคัญที่ชวยใหเก็บส่ิงสงตรวจทางหองปฏิบัติไดสําเร็จ คือ ความรวมมือของผูรับบริการ พยาบาลควรตระหนักถึงความหลากหลายทาง

Two blades

handle

67 สังคมวัฒนธรรมซึ่งอาจมีผลกระทบตอความรวมมือและความเต็มใจในการปฏิบัติ การอธิบายวัตถุประสงค ข้ันตอนการเก็บอยางชัดเจนและเขาใจงายก็ชวยใหผูรับบริการปฏิบัติไดถูกตอง กรณีที่พยาบาลเปนผูชวยแพทยในการเก็บspecimen ควรกระตุนใหผูรับบริการผอนคลาย สังเกตอาการในขณะและภายหลังทําการพยาบาล และพยาบาลควรทราบผลการตรวจท่ีปกติเพื่อสามารถแปลผลการตรวจไดอยางถูกตอง การสงตรวจทางหองปฏิบัติ มีดังนี้

1) การตรวจทางโลหิตวิทยา (Hematological examination) เปนการตรวจนับจํานวนเม็ดเลือด การดูลักษณะเม็ดเลือดและสวนประกอบทางเคมีของโลหิต มีประโยชนในการวินิจฉัยและวินิจฉัยแยกโรคโดยเฉพาะในผูปวยโรคติดเชื้อ หรือโรคเลือด เชน การตรวจ Complete Blood Count (CBC)

2) การตรวจอิเล็กโทรลัยต (Electrolyte examination) เปนการตรวจดูความสมดุลของปริมาณอิเล็กโทรลัยตที่อยูในรางกาย มีประโยชนในการวินิจฉัยและวินิจฉัยแยกโรคไต เชน Sodium, Potassium, Chloride, Magnesium, CO2, Blood Urea Nitrogen (BUN), Creatinine เปนตน

3) การตรวจการทํางานของตับ (Liver Function Test: LFT) เปนการตรวจการทํางานของตับ ซึ่งจะมีหนาที่ในการสรางและหล่ังน้ําดี การเผาผลาญสารอาหารประเภทคารโบไฮเดรท โปรตีน และไขมัน การสรางโปรตีนในรางกาย การสรางและทําลายเม็ดเลือดแดง ชวยในการแข็งตัวของเลือด และชวยในการกําจัดสารพิษตางๆ การตรวจการทํางานของตับประกอบไปดวย Serum Billirubin Test, Liver Enzymes Test, Total Serum Protein, และการตรวจอ่ืนๆ เชน Hepatitis Virus A, Hepatitis Virus B, Cholesterol เปนตน

68 4) การตรวจระบบตอมไรทอ (Endocrine examination) เปน

การตรวจการทํางานของระบบตอมไรทอ ซึ่งมีหนาที่รักษาสมดุลภายในรางกาย ไดแก การตรวจการทํางานของตอมธัยรอยด และตับออน ซึ่งประกอบดวย Serum Thyroxin Test (T4), Serum Triiodothyronine Test (T3), Fasting Blood Sugar (FBS)

5) การตรวจปสสาวะ (Urine examination) เปนการตรวจที่ชวยในการวิเคราะหแยกโรคสําหรับการวินิจฉัยโรคและคัดกรองโรคไดมาก การเก็บมีหลายวิธี เชน การเก็บปสสาวะทันทีเมื่อตองการตรวจ เก็บปสสาวะ 24 ชั่วโมง เก็บปสสาวะคร้ังแรกตอนเชา เก็บปสสาวะที่ไดจากการสวน

6) การตรวจอุจจาระ (Stool examination) เปนการตรวจที่ชวยในการวินิจฉัยแยกโรคทางระบบทางเดินอาหาร เชน อุจจาระรวง โรคแผลกระเพาะอาหาร โรคพยาธิลําไส เปนตน

7) การตรวจเสมหะ (Sputum examination) เปนการศึกษาสวนประกอบของเสมหะ ซึ่งมีประโยชนตอการวินิจฉัยและแยกโรคในระบบทางเดินหายใจ เชน การติดเชื้อทางเดินหายใจ วัณโรค เปนตน

8) การตรวจทางรังสีวิทยา (X-ray) การสงตรวจทางรังสีวิทยาก็เปนการสวนหนึ่งของการประเมินภาวะสุขภาพ บางคร้ังตองอาศัยการถายภาพรังสี (X-ray) เพื่อชวยในการวินิจฉัยโรค ซึ่งอาจจะบอกไดในระยะเวลาแรกเร่ิมของการเกิดโรค บอกตําแหนง และยังสามารถชวยติดตาม และประเมินผลการรักษาพยาบาลวาไดผลดีมากนอยเพียงใด การถายภาพรังสีที่นิยมตรวจเปนพื้นฐานของการประเมินสุขภาพคือ การถายภาพรังสีที่ทรวงอก (Chest X-

69 ray) เพื่อเปนการวินิจฉัยโรคของปอด หัวใจ กระดูกซี่โครง หลอดเลือด และกระบังลม สรุป การประเมินภาวะสุขภาพน้ันเปนการเก็บรวบรวมขอมูล วิธีการเก็บรวบรวมขอมูลไดแก การซักประวัติ การตรวจรางกาย และการตรวจทางหองปฏิบัติการ พยาบาลตองมีความรู ความสามารถ และความชํานาญ มีความรูเร่ืองกายวิภาค และสรีรวิทยาของรางกายเปนอยางดี มีทักษะในดานการสังเกต การใชคําถาม ใชทักษะการดู การคลํา การเคาะ การฟง ฝกการใชเคร่ืองมือที่ชวยในการตรวจ ตลอดจนตองมีความรูดานการตรวจทางห อ ง ป ฏิ บั ติ ก า ร เ พื่ อ ส า ม า ร ถ แ ป ล ผ ล ไ ด อ ย า ง ถู ก ต อ ง

70 คําถามทายบท คําสั่ง จงใสเคร่ืองหมายถกู (/) หนาขอที่ทีท่านเหน็วาถูก และใสเคร่ืองหมาย

ผิด (X) หนาขอที่ทานเหน็วาผิด ……1. การประเมินภาวะสุขภาพทําใหทราบความตองการและปญหาสุขภาพผูรับบริการ ……2. การคัดกรองผูปวยโรคความดันโลหิตสูงเปนการประเมินภาวะสุขภาพแบบเบ็ดเสร็จ ……3. คุณปวดทองยังไง เปนการถามเพือ่ประเมินลักษณะอาการปวดทอง ……4. ขณะซักถามอาการเจ็บปวย ผูถามควรมองสบตาและใชหางตามองผูรับบริการเปนระยะ ……5. การจัดทาตรวจโดยนอนตะแคงก่ึงคว่ําจะใชตรวจโรคริดสีดวงทวาร ……6. การคลําลึกเพื่อประเมิน guarding ของกลามเนื้อ ……7. การคลําต้ืนจะใชปลายนิ้วมือกดลงบริเวณผิวหนังลึกประมาณ 1 เซนติเมตร ……8. ทารกถายเหลวเปนน้ําบอยคร้ัง ควรวัดอุณหภูมิทางทวารหนักเพื่อประเมินการติดเชื้อ ……9. หญิงวัยกลางคนรูปรางทวม ตองการทราบความหนาแนนกลามเนื้อใตทองแขนควรใช skin fold calipers ……10. การสงตรวจ fasting blood sugar เปนการตรวจดูการทํางานของตับออน เฉลย 1. (ถูก) 2. (ผิด) 3. (ถูก) 4. (ผิด) 5. (ถูก)

71 6. (ผิด) 7. (ถูก) 8. (ผิด) 9. (ถูก) 10. (ถูก) บรรณานุกรม สุระพรรณ พนมฤทธ์ิ (บรรณาธิการ). (2541). กระบวนการพยาบาล.

กรุงเทพฯ: ประชุมชาง. Estes, M. E. Z. (2002). Health assessment & physical examination (2nd

ed.). Clifton Park, NY: Delmar Thomson Learning. Taylor, C. J., Lillis, C., LeMone, P. K. and Lynn, P. (2008).

Fundamentals of nursing: The art and science of nursing care (6th ed.). Philadelphia: Lippincott Williams & Wilkins.

Weber, J. and Kelly, J. N. (2003). Health assessment in nursing (2nd ed.). Philadelphia: Lippincott William & Wilkins.

Wilson, S. F. and Giddens, J. F. (2009). Health assessment for nursing

approach (4th ed.). St. Louis, Missouri: Mosby. จันทรเพ็ญ สันตวาจา, อภิญญา เพียรพิจารณ และ รัตนาภรณ ศิริวัฒนชัยพร.

(2550). แนวคิด พื้นฐาน ทฤษฎีและกระบวนการพยาบาล . กรุงเทพฯ: ธนารส.

จินตนา ศิรินาวิน และ สาธิต วรรณแสง. (2539). ทักษะทางคลินิก (พิมพคร้ัง ที่ 3). กรุงเทพฯ: สํานักพิมพหมอชาวบาน. ชัยเวช นุชประยูร. (2536). การสัมภาษณประวัติและการตรวจรางกาย

(พิมพคร้ังที่ 8). กรุงเทพฯ: โรงพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

72 ฟาริดา อิบราฮัม. (2541). กระบวนการพยาบาล. กรุงเทพฯ: บุญศิริ การ

พิมพ ธนารักษ สุวรรณประพิศ. (2539). การรักษาพยาบาลโรคเบ้ืองตน (พิมพคร้ัง

ที่ 4). เชียงใหม : โครงการตําราคณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม.

เนตรทราย รุงเรืองธรรม และ จริยวัตร คมพยัคฆ. (2539). การรักษาพยาบาลขั้นตน (พิมพคร้ังที่ 5). กรุงเทพฯ: เทพเนรมิตการพิมพ.

ศิริพร ขัมภลิขิต. (2539). แบบแผนสุขภาพ: การเก็บรวบรวมขอมูล (พิมพคร้ังที่ 4). กรุงเทพฯ: เทมการพิมพ.

อภิชัย ลีละสิริ. (2544). การซักประวัติและการตรวจรางกาย. กรุงเทพฯ: โครงการตําราวิทยาลัยแพทยศาสตรพระมงกุฎเกลา.

Delaun, S. C. and Ladner, P. K. (1998). Fundamental of nursing:

Standards & practice. Albany: Delmar. Fuller, J. M. and Schaller, A. J. (2000). Health assessment: A nursing

approach (3rd ed.). Philadelphia: J.B Lippincott. Potter, P. A. and Perry, A. G. (1999). Basic nursing: A critical thinking

approach (4thed.). St. Louis: Mosby. http://evolve.elsevier.com/ Wilson/ assessment/ www.healthassessment.com CD-Rom for health assessment