การปนเป อนของสารตกค างบางชนิดใ...

8
ว.วิทย. มข. 43(1) 83-90 (2558) KKU Sci. J. 43(1) 83-90 (2015) การปนเปอนของสารตกคางบางชนิดในกุงขาว (Litopenaeus vannamei Boone, 1931) จากบอเลี้ยงกุในจังหวัดจันทบุรีและตราด Contamination of some Residues in Pacific White Shrimp (Litopenaeus vannamei Boone, 1931) in Shrimp Pond from Chanthaburi and Trat Provinces ชวัลรัตน สมนึก 1* จักรพันธ โพธิพัฒน 1 และ ศุทธินี เมฆประยูร 2 บทคัดยอ การตรวจหาปริมาณสารตกคางจํานวน 4 กลุม คือ สารกําจัดแมลงกลุมออรแกโนฟอสเฟต โลหะหนัก (ตะกั่ว ทองแดง แคดเมียม และสังกะสี) เชื้อแบคทีเรียกอโรค ( Vibrio cholerae, Vibrio vulnificus และ Vibrio parahaemolyticus) และกลุมของยาปฏิชีวนะ (ออกซี่เตตราไซคลิน เตตราไซคลิน และไนโตรฟูแรน) ในตัวอยาง กุงขาวจากพื้นที่จังหวัดจันทบุรี จํานวน 4 อําเภอ (อําเภอเมือง อําเภอแหลมสิงห อําเภอขลุง และอําเภอทาใหม) และพื้นที่จังหวัดตราด จํานวน 3 อําเภอ (อําเภอเมือง อําเภอแหลมงอบ และอําเภอคลองใหญ) พบการตกคางของ สารที่มีคาเกินจากเกณฑมาตรฐานที่ยอมใหมีไดในอาหารและอาหารทะเลตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขเพียง 1 ชนิด คือ ทองแดงในตัวอยางจากอําเภอขลุง จังหวัดจันทบุรี (32.18±8.64 ไมโครกรัมตอกรัม) สวนสารที่ตรวจ พบแตมีคาไมเกินจากเกณฑมาตรฐาน คือ ยาปฏิชีวนะเตตราไซคลินในตัวอยางจากอําเภอเมือง จังหวัดจันทบุรี (นอยกวา 0.05 ไมโครกรัมตอกิโลกรัม) เชื้อ V. parahaemolyticus ในตัวอยางจากอําเภอแหลมงอบ จังหวัด ตราด (3.0±2.4 MPN ตอกรัม ในตัวอยาง 25 กรัม) และสังกะสีในตัวอยางจากอําเภอคลองใหญ จังหวัดตราด (17.30±4.67 ไมโครกรัมตอกรัม) สวนสารกําจัดแมลงกลุมออรแกโนฟอสเฟต เชื้อ V. cholerae และ V. vulnificus ยาปฏิชีวนะออกซี่เตตราไซคลิน และไนโตรฟูแรนไมพบการตกคางในตัวอยางจากทุกพื้นที1 ภาควิชาวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี จ.จันทบุรี 22000 2 ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี จ.จันทบุรี 22000 *Corresponding Author, E-mail: [email protected]

Upload: others

Post on 05-Feb-2020

1 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: การปนเป อนของสารตกค างบางชนิดใ ...scijournal.kku.ac.th/files/Vol_43_No_1_P_83-90.pdfว.ว ทย. มข. 43(1) 83-90 (2558)

ว.วิทย. มข. 43(1) 83-90 (2558) KKU Sci. J. 43(1) 83-90 (2015)

การปนเปอนของสารตกคางบางชนิดในกุงขาว

(Litopenaeus vannamei Boone, 1931) จากบอเล้ียงกุง

ในจังหวัดจันทบุรีและตราด

Contamination of some Residues in Pacific White Shrimp

(Litopenaeus vannamei Boone, 1931) in Shrimp Pond from

Chanthaburi and Trat Provinces ชวัลรัตน สมนึก1* จักรพันธ โพธิพัฒน1 และ ศุทธินี เมฆประยูร2

บทคัดยอ

การตรวจหาปริมาณสารตกคางจํานวน 4 กลุม คือ สารกําจัดแมลงกลุมออรแกโนฟอสเฟต โลหะหนัก

(ตะก่ัว ทองแดง แคดเมียม และสังกะสี) เช้ือแบคทีเรียกอโรค (Vibrio cholerae, Vibrio vulnificus และ Vibrio

parahaemolyticus) และกลุมของยาปฏิชีวนะ (ออกซ่ีเตตราไซคลิน เตตราไซคลิน และไนโตรฟูแรน) ในตัวอยาง

กุงขาวจากพื้นที่จังหวัดจันทบุรี จํานวน 4 อําเภอ (อําเภอเมือง อําเภอแหลมสิงห อําเภอขลุง และอําเภอทาใหม)

และพื้นที่จังหวัดตราด จํานวน 3 อําเภอ (อําเภอเมือง อําเภอแหลมงอบ และอําเภอคลองใหญ) พบการตกคางของ

สารที่มีคาเกินจากเกณฑมาตรฐานที่ยอมใหมีไดในอาหารและอาหารทะเลตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขเพียง

1 ชนิด คือ ทองแดงในตัวอยางจากอําเภอขลุง จังหวัดจันทบุรี (32.18±8.64 ไมโครกรัมตอกรัม) สวนสารที่ตรวจ

พบแตมีคาไมเกินจากเกณฑมาตรฐาน คือ ยาปฏิชีวนะเตตราไซคลินในตัวอยางจากอําเภอเมือง จังหวัดจันทบุรี

(นอยกวา 0.05 ไมโครกรัมตอกิโลกรัม) เช้ือ V. parahaemolyticus ในตัวอยางจากอําเภอแหลมงอบ จังหวัด

ตราด (3.0±2.4 MPN ตอกรัม ในตัวอยาง 25 กรัม) และสังกะสีในตัวอยางจากอําเภอคลองใหญ จังหวัดตราด

(17.30±4.67 ไมโครกรัมตอกรัม) สวนสารกําจัดแมลงกลุมออรแกโนฟอสเฟต เช้ือ V. cholerae และ V. vulnificus ยาปฏิชีวนะออกซ่ีเตตราไซคลิน และไนโตรฟูแรนไมพบการตกคางในตัวอยางจากทุกพื้นที ่

1ภาควิชาวิทยาศาสตรส่ิงแวดลอม คณะวทิยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี จ.จันทบุรี 22000 2ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวทิยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี จ.จันทบุรี 22000

*Corresponding Author, E-mail: [email protected]

Page 2: การปนเป อนของสารตกค างบางชนิดใ ...scijournal.kku.ac.th/files/Vol_43_No_1_P_83-90.pdfว.ว ทย. มข. 43(1) 83-90 (2558)

84 KKU Science Journal Volume 43 Number 1 Research

ABSTRACT

Four types of residue including organophosphate insecticides, heavy metals (lead,

copper, cadmium and zinc), pathogenic bacteria (Vibrio cholerae, Vibrio vulnificus and Vibrio

parahaemolyticus) and antibiotics (Oxytetracycline, Tetracycline and Nitrofuran) in Pacific white

shrimp from shrimp pond in four Districts (Muang, Laem Sing, Kloong and Tha Mai Districts) of

Chanthaburi Province, and three Districts (Muang, Laem Ngob and Klong Yai Districts) of Trat

Province were determined. Results show that only copper level exceeds standard value

specified by Ministry of Public Health from Kloong District, Chanthaburi Province (32.18±8.64

µg/g). The result also indicates residue of antibiotics, especially tetracycline at a quantity of less

than 0.05 µg/kg in area of Muang District, Chanthaburi Province, V. parahaemolyticus at 3.0±2.4

MPN/g in 25 g of sample from Laem Ngob District, Trat Province and zinc at 17.30±4.67 µg/g

from Klong Yai Districts, Trat Province. However, it was less than specified standard value. In

addition, no residue of organophosphate insecticides, V. cholerae, V. vulnificus, oxytetracycline

and nitrofuran was detected in all samples from both Chanthaburi and Trat Provinces.

คําสําคัญ: ออรแกโนฟอสเฟต โลหะหนัก แบคทีเรียกอโรค ยาปฏิชีวนะ กุงขาว

Keywords: Organophosphate, Heavy metal, Pathogenic bacteria, Antibiotics, Litopenaeus

vannamei Boone, 1931

บทนํา

ประเทศไทยเปนแหลงเพาะเล้ียงและสงออก

กุงทะเลไปตางประเทศมากถึงรอยละ 85-90 ของ

ปริมาณผลผลิตทั้งหมดของประเทศ (จตุเกษม, 2550)

โดยมีการเพาะเล้ียงบริเวณชายฝงทะเลภาคตะวันออก

ของประเทศโดยเฉพาะในเขตพื้นที่จังหวัดจันทบุรีและ

ตราด เน่ืองจากมีทรัพยากรชายฝงที่อุดมสมบูรณ การ

ขนสงผลผลิตทําไดสะดวกและรวดเร็ว ในชวงปลายป

2545 ก ลุ ม ผู เ ล้ี ย ง กุ ง ไ ด เ ริ่ มหั นมาเ ล้ีย ง กุ งข า ว

(Litopenaeus vannamei) ซ่ึงผลจากการทดลอง

เล้ียง พบวากุงขาวเจริญเติบโตไดดี มีอัตราการรอดตาย

สูงถึงรอยละ 80-90 อีกทั้งยังใหผลผลิตตอไรสูงกวาการ

เล้ียงกุงกุลาดํา 3-4 เทา และใชตนทุนในการเพาะเล้ียง

ต่ํา (สวนวิจัยเศรษฐกิจปศุสัตวและประมง, 2548)

อยางไรก็ตามขั้นตอนการเตรียมบอจนถึงกระบวนการ

รักษาผลผลิตเพื่อปองกันโรค รักษาโรค และการจัดการ

คุณภาพดินและนํ้ายังมีการใชสารเคมี และยาในการ

กําจัดศัตรูของกุงขาว จนอาจทําใหเกิดการปนเปอนของ

สารตกคางในกุงขาวได

ประเทศไทยใหความสําคัญกับประเด็นความ

ปลอดภัยทางดานอาหาร การบริโภคอาหารที่มีการ

ปนเปอนสารตกคางจะสงผลกระทบตอสุขภาวะของ

ประชาชนในประเทศ รวมถึงปริมาณสารตกคางในกุง

ขาวและผลิตภัณฑทางการเกษตรอ่ืน ๆ เปนปจจัย

สําคัญที่ประเทศผูนําเขาใชเปนมาตรการกีดกันการ

นําเขาสินคาเกษตรจากประเทศผูส งออก ดัง น้ัน

การศึกษาการปนเปอนของสารตกคางบางชนิดในกุง

ขาวจึงเปนขอมูลที่เปนประโยชนตอเกษตรกรและผูที่

Page 3: การปนเป อนของสารตกค างบางชนิดใ ...scijournal.kku.ac.th/files/Vol_43_No_1_P_83-90.pdfว.ว ทย. มข. 43(1) 83-90 (2558)

งานวิจัย วารสารวิทยาศาสตร มข. ปที่ 43 ฉบับที่ 1 85

เก่ียวของทั้งภาครัฐบาล เอกชน ชุมชนและผูบริโภค

นอกจากน้ียังทําใหผูเล้ียงกุงเกิดความตระหนักตอการ

ใชสารเคมีในปริมาณที่เหมาะสมเพื่อปองกันปญหาการ

ตกคางที่จะสงผลกระทบตอระบบหวงโซอาหารใน

ธรรมชาติ และสรางความม่ันใจกับผูบริโภคกุงขาวได

อยางปลอดภัยทั้งในประเทศและตางประเทศ งานวิจัย

น้ีจึงทําการตรวจหาสารตกคางกลุม ออรแกโนฟอสเฟต

ปริมาณโลหะหนัก (ตะก่ัว แคดเมียม ทองแดง และ

สังกะสี) เช้ือแบคทีเรียกอโรค (Vibrio cholerae,

Vibrio parahaemolyticus และ Vibrio vulnificus)

และกลุมยาปฏิชีวนะ (ออกซ่ีเตตราไซคลิน เตตรา

ไซคลิน และไนโตรฟูแรน) ในกุงขาวจากบอเล้ียงใน

พื้นที่จังหวัดจันทบุรีและจังหวัดตราด โดยนําผลการ

ตรวจหาสารตกคางมาเปรียบเทียบกับคามาตรฐานที่

ยอมใหมีไดในอาหารโดยไมกอให เกิดอันตรายตอ

ผูบริโภคจากขอมูลของกระทรวงสาธารณสุข

วิธกีารดําเนินการวิจัย

เก็บตัวอยางกุงขาวชวงอายุ 2-3 เดือน จาก

บอเล้ียงกุงโดยการสุมเก็บตัวอยางตามจุดตางๆ ในแต

ละบอ ประมาณ 500 กรัม จากน้ันบรรจุใสถุงแชใน

นํ้าแข็งแลวนําสงหองปฏิบัติการเพื่อทําการวิเคราะห

ปริมาณสารกําจัดแมลงกลุมออรแกโนฟอสเฟต โลหะ

หนัก ยาปฏิชีวนะและเช้ือแบคทีเรียกอโรค ในเขตพื้นที่

4 อําเภอ คือ อําเภอเมือง อําเภอแหลมสิงห อําเภอขลุง

และอําเภอทาใหม ของจังหวัดจันทบุรี และพื้นที่ 3

อําเภอ ในจังหวัดตราด คือ อําเภอเมือง อําเภอแหลม

งอบ และอําเภอคลองใหญ

วิเคราะหสารตกคางกลุมออรแกโนฟอสเฟต

ในตัวอยางเน้ือกุงสดดวยเทคนิคแกสโครมาโทกราฟ

(Gas Chromatography, GC) ใชดีเทคเตอรชนิด FID

(Flame ionization detector) (Venkata et al.,

2004) สารกลุมโลหะหนักวิเคราะหดวยเครื่อง

อะตอมมิกแอบซอรพช่ันสเปกโตรโฟโทมิเตอร (Atomic

Absorption Spectrophotometer, AAS) ทําการ

ยอยดวยกรดไนตริกและกรดซัลฟวริก สารกลุมยา

ปฏิชีวนะวิเคราะหดวยเครื่องโครมาโทกราฟของเหลว

สมรรถนะ สูง (High Performance Liquid

Chromatography, HPLC) ดวย ดีเทคเตอรชนิด UV

ที่ความยาวคล่ืน 350 นาโนเมตร มี 0.01 M oxalic

acid–ACN–MeOH (60:30:10 v/v/v) เปนเฟส

เคล่ือนที่ (Reed, 2004) และการวิเคราะหหาเช้ือ

แ บ ค ที เ รี ย ก อ โ ร ค ก ลุ ม วิ บ ริ โ อ ใ ช วิ ธี FDA’s

Bacteriological Analytical Manual (BAM)

(Kaysner and DePaola, 2004)

การวิเคราะหคุณภาพนํ้าทางกายภาพและ

ทางเคมี ประกอบดวยความเค็ม (Salinity) ใช

Salinometer คาการนําไฟฟาและคาพีเอชใชเครื่อง

Electrochemical Analyser แบบภาคสนาม ยี่หอ

Consort C 932 คาออกซิเจนละลายนํ้า ปริมาณไน

ไตรทและฟอสเฟต ใชเทคนิคของกรมประมง (ไมตรี

และจารุวรรณ, 2528) คาบีโอดีใชวิธี Direct method

(อรทัย, 2545)

ผลการวิจัย

สภาพแวดลอมทั่วไปของบอเพาะเล้ียงกุงใน

จังหวัดจันทบุรีและตราดมีลักษณะเปนบอดินเหนียวปน

ดินลูกรังตามธรรมชาติ และเปนบอที่ปูดวยแผน

พลาสติกโพลีเอทธิลีน LDPE รอบบอ (รูปที่ 1) มีการใช

เครื่องใหออกซิเจนกระจายทั่วบอ มีการปรับสภาพสี

ของนํ้าในบอใหเหมาะสมกับสภาพการเล้ียงกุงในแตละ

พื้นที่ อายุของกุงที่เล้ียงอยูระหวาง 1-3 เดือน คุณภาพ

นํ้าทางกายภาพและทางเคมีในบอกุงแตกตางกันไปตาม

พื้นที่ (ตารางที่ 1)

Page 4: การปนเป อนของสารตกค างบางชนิดใ ...scijournal.kku.ac.th/files/Vol_43_No_1_P_83-90.pdfว.ว ทย. มข. 43(1) 83-90 (2558)

86 KKU Science Journal Volume 43 Number 1 Research

รูปท่ี 1 ลักษณะบอกุงในพื้นที่จังหวัดจันทบุรีและตราด

ตารางท่ี 1 คาเฉล่ียและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (mean±SD, n = 3) ของพารามิเตอรนํ้าในบอกุงจาก 4 อําเภอ

ของจังหวัดจันทบุรี และ 3 อําเภอของจังหวัดตราด พารามิเตอรของน้าํ

ในบอกุง

จ.จนัทบุรี จ.ตราด

เมอืง แหลมสงิห ขลุง ทาใหม เมอืง แหลมงอบ คลองใหญ

อุณหภูมิอากาศ (๐C) 30.0±0.0 30.5±0.5 30.5±0.5 32.5±0.5 30.5±0.9 31.5±0.5 33±0.9

อุณหภูมินํ้า (๐C) 29.0±0.5 29.0±0.5 28.0±0.0 30.0±0.0 28.0±0.5 29.5±0.5 29.5±0.5

คาความเค็ม (ppt) 18.0±0.1 15.5±0.0 25.5±0.5 23.0±0.2 21.5±0.5 23.0±0.0 21.0±0.5

คาความเปนกรด-ดาง

(pH) 7.75±0.14 7.20±0.15 7.70±0.14 7.55±0.08 7.55±0.11 7.60±0.14 7.70±0.16

คาการนําไฟฟา

(µS/cm) 9.80±0.10 8.81±0.09 9.04±0.05 9.33±0.13 5.93±0.08 5.54±0.09 6.31±0.14

ปริมาณออกซิเจน

ละลายนํ้า (mg/L) 6.05±0.15 5.75±0.86 6.99±0.28 6.53±0.18 6.94±0.32 6.82±0.15 8.14±0.84

คาบีโอดี (mg/L) 1.94±0.32 2.00±0.46 3.95±0.82 2.75±0.65 3.05±0.50 3.81±1.04 3.65±1.03

ไนไตรท (NO2-) (µg/L) 574.57±67.21 712.87±54.72 669.24±42.76 525.39±53.22 521.8±33.90 523.47±46.07 622.61±49.42

ฟอสเฟต (PO43-)

(µg/L) 17.96±2.94 18.05±3.52 19.27±3.98 17.95±5.31 19.86±4.30 21.59±6.24 17.69±4.49

การวิเคราะหสารตกคางบางชนิด จํานวน 4

กลุม ไมพบการตกคางของสารในกลุมออรแกโน

ฟอสเฟตในตัวอยางเน้ือเยื่อกุงขาวในทุกพื้นที่

ปริมาณโลหะหนัก 4 ชนิด คือ ตะ ก่ัว

แคดเมียม ทองแดง และสังกะสี พบในปริมาณที่

แตกตางกัน โดยพบปริมาณทองแดงตกคางสูงสุด

32.18±8.64 ไมโครกรัมตอกรัม ที่อําเภอขลุง จังหวัด

จันทบุรี ซ่ึงมีคาเกินกวาเกณฑมาตรฐานที่ยอมมีไดใน

อาหารและอาหารทะเลตามประกาศกระทรวง

สาธารณสุข ฉบับที่ 98 (พ.ศ.2529) ที่กําหนดใหมีคา

ทองแดงไมเกิน 20 ไมโครกรัมตอกรัม สวนพื้นที่จังหวัด

ตราดพบปริมาณสังกะสีตกคางสูงสุด 17.03±4.67

ไมโครกรัมตอกรัม ที่อําเภอคลองใหญ จังหวัดตราด แต

มีคาไมเกินจากเกณฑมาตรฐาน (100 ไมโครกรัมตอ

กรัม)

ปริมาณเช้ือแบคทีเรียกอโรคกลุมวิบริโอ พบ

เฉพาะเช้ือ V. parahaemolyticus ในพื้นที่อําเภอ

เมือง จังหวัดจันทบุรีปริมาณต่ํากวา 0.3 MPN ตอกรัม

ในตัวอยาง 25 กรัม และในพื้นที่อําเภอแหลมงอบ

จังหวัดตราด พบปริมาณ 3.0±2.4 MPN ตอกรัม ใน

ตัวอยาง 25 กรัม

การตรวจหาปริมาณยาปฏิชีวนะไมพบการ

ตกคางของสารออกซ่ีเตตราไซคลิน และไนโตรฟูแรนใน

ทุกพื้นที่ แตพบเฉพาะเตตราไซคลิน ในปริมาณที่ต่ํากวา

0.05 ไมโครกรัมตอกิโลกรัมที่อําเภอเมือง จังหวัด

จันทบุรี (ตารางที่ 2)

Page 5: การปนเป อนของสารตกค างบางชนิดใ ...scijournal.kku.ac.th/files/Vol_43_No_1_P_83-90.pdfว.ว ทย. มข. 43(1) 83-90 (2558)

งานวิจัย วารสารวิทยาศาสตร มข. ปที่ 43 ฉบับที่ 1 87

ตารางท่ี 2 คาเฉล่ียและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (mean±SD, n = 3) ของปริมาณสารตกคางในกุงขาวจากบอกุง

ใน 4 อําเภอ ของจังหวัดจันทบุรแีละ 3 อําเภอ ของจังหวัดตราด

กลุมสารตกคางในบอกุง จ.จันทบรุ ี จ.ตราด คามาตรฐานที่

ยอมรบัได เมือง แหลมสิงห ขลุง ทาใหม เมือง แหลมงอบ คลองใหญ

กลุมออรแกโนฟอสเฟต

(มิลลิกรัมตอกิโลกรัม) n.d. n.d. n.d. n.d. n.d. n.d. n.d. ตองตรวจไมพบ

กลุมโลหะหนัก

(ไมโครกรัมตอกรัม)

- ตะกั่ว

- แคดเมียม

- ทองแดง

- สังกะสี

<0.079

0.016±0.011

15.96±5.26

15.06±4.51

<0.079

0.020±0.023

5.52±1.32

13.49±3.15

<0.079

0.017±0.017

32.18±8.64

17.69±6.83

<0.079

<0.013

4.58±1.48

10.55±4.22

<0.079

<0.013

3.96±1.31

10.80±4.70

<0.079

0.027±0.010

4.52±2.23

7.52±4.12

<0.079

n.d.

8.50±3.07

17.30±4.67

< 0.5 µg/g

< 2.0 µg/g

< 20 µg/g

< 100 µg/g

กลุมเช้ือ Vibrio

(MPN ตอกรัม) ใน 25 กรัม

- V. cholera

- V. parahaemolyticus

- V. vulnificus

n.d

<0.3

n.d

n.d

<0.3

n.d

n.d

<0.3

n.d

n.d

<0.3

n.d

n.d.

<0.3

n.d.

n.d.

3.0±2.4

n.d.

n.d.

<0.3

n.d.

ตองตรวจไมพบ

< 104 MPN/g*

ตองตรวจไมพบ

ยาปฏิชีวนะ

(ไมโครกรัมตอกิโลกรัม)

- ออกซ่ีเตตราไซคลิน

- เตตราไซคลิน

- ไนโตรฟูแรน

n.d.

<0.05

n.d.

n.d.

n.d.

n.d.

n.d.

n.d.

n.d.

n.d.

n.d.

n.d.

n.d.

n.d.

n.d.

n.d.

n.d.

n.d.

n.d.

n.d.

n.d.

< 200 µg/kg**

< 200 µg/kg**

0.3-1.0 µg/kg

หมายเหตุ: n.d. = ตรวจไมพบ; * = คามาตรฐานการสงออกผลิตภัณฑอาหารทะเลดิบพรอมบริโภคของสหรัฐอเมริกา (Lokkhumlue and Prakitchaiwattana, 2014); ** = คา

มาตรฐานในกุงกุลาดํา

สรุปและวิจารณผลการวิจัย

การศึกษาปริมาณสารตกคางในบอกุง มีการ

ใชพารามิเตอรในการตรวจสอบคุณภาพนํ้าทั้งทาง

กายภาพและทางเคมี ประกอบดวย คาความเค็ม

อุณหภูมิ การนําไฟฟา คาพีเอช คาออกซิเจนที่ละลาย

ในนํ้า ปริมาณไนไตรทและฟอสเฟต มีการควบคุมใหมี

ความเหมาะสมกับการเพาะเล้ียงกุง ซ่ึงเจาของบอกุงจะ

มีการตรวจสอบคุณภาพนํ้าเปนประจํา เพื่อไมใหกุง

ไดรับผลกระทบจากการเปล่ียนแปลงคุณภาพนํ้าที่มาก

เกินไป เน่ืองจากกุงเปนสัตวที่ไวตอการเปล่ียนแปลงตอ

สภาพส่ิงแวดลอมคอนขางมาก

ความเค็มที่มากหรือนอยเกินไปอาจสงผลตอ

การเจริญของกุง การลอกคราบของกุง สงผลใหกุงติด

โรคไดงาย นอกจากน้ีการเล้ียงกุงที่ความเค็มต่ําจะมี

โอกาสประสบปญหาความเปนพิษจากไนไตรทมากกวา

การเล้ียงกุงที่ระดับความเค็มสูง (นงนุชและกฤษดา,

2553) อุณหภูมิและความเค็มที่สูงขึ้นในชวงที่มีอากาศ

รอนสงผลใหความสามารถในการละลายของออกซิเจน

ในนํ้าลดลง อุณหภูมิที่สูงขึ้นยังสงผลใหกุงกินอาหารได

ลดลง หากอุณหภูมิสูงเกินกวา 32 องศาเซลเซียส จะ

ทําใหกุงไมกินอาหาร ดังน้ัน เกษตรกรที่เล้ียงกุงในบอที่

มีความลึกไมมากอาจไดรับผลกระทบจากอุณหภูมิที่

เพิ่มขึ้น การควบคุมคาพีเอชของนํ้าสามารถปองกัน

แบคทีเรียกอโรคกลุมวิบริโอหรือลดความเปนพิษจาก

แอมโมเ นีย ได นอกจาก น้ี พี เ อชของนํ้าที่ ลดลง

คาอัลคาไลนหรือความเปนดางของนํ้าจะลดลงตามไป

ดวย ทําใหกุงเส่ียงตอการเปนโรคตายดวนหรือโรค

EMS (Early Mortality Syndrome) มากขึ้น และทํา

ใหสงผลตอเน้ือกุงดวย (ชลอและคณะ, 2556; สมาคม

กุงไทย, 2555)

การปนเปอนของสารตกคางในตัวอยางกุง

จากพื้นที่จังหวัดจันทบุรีและตราดสามารถนําผลการ

Page 6: การปนเป อนของสารตกค างบางชนิดใ ...scijournal.kku.ac.th/files/Vol_43_No_1_P_83-90.pdfว.ว ทย. มข. 43(1) 83-90 (2558)

88 KKU Science Journal Volume 43 Number 1 Research

วิเคราะหมาเปรียบเทียบกับคามาตรฐานของสารตกคาง

ที่ยอมให มีไดในอาหารเพื่อไม ให เ กิด อันตรายกับ

ผูบริโภค พบวา ในพื้นที่จังหวัดจันทบุรีและตราดไมพบ

การปนเปอนสารกําจัดแมลงกลุมออรแกโนฟอสเฟตใน

ตัวอยางกุง แสดงใหเห็นถึงความปลอดภัยในการเล้ียง

กุงและสภาพแวดลอมโดยทั่วไป จากการสอบถามจาก

เกษตรกรผูเล้ียงกุง กลาววา มีการลดการใชสารกําจัด

แมลงกลุมออรแกโนฟอสเฟตบางชนิดในการกําจัด

พาหะของกุง และปรับเปล่ียนวิธีการเตรียมบอจากเดิม

ตั้งแตขั้นตอนการสูบนํ้าเขาและการพักนํ้าเพื่อลดพาหะ

ของกุงที่มากับนํ้า และปรับวิธีใหเขาสูมาตรฐาน Good

Agriculture Practice (GAP)

ปริมาณโลหะหนัก 4 ชนิดที่ตรวจสอบมีคาไม

เกินเกณฑมาตรฐานที่ยอมใหมีไดในอาหารทั้งในจังหวัด

จันทบุรีและตราด ยกเวนปริมาณทองแดงในอําเภอขลุง

จังหวัดจันทบุรทีี่เกินจากเกณฑมาตรฐาน สาเหตุอาจมา

จากทองแดงเปนธาตุอาหารที่ มีความจําเปนตอการ

เจริญเติบโตของกุงในการสรางเน้ือเยื่อและใชเปน

องคประกอบของเ ลือดเพื่อลําเ ลียงออกซิเจน ซ่ึง

โดยทั่วไปทองแดงมีปริมาณต่ํามากในนํ้าทะเล จึงอาจ

ทําใหกุงไดรับไมเพียงพอตอความตองการตอขบวนการ

ทางสรีระเคมี การเจริญเติบโตของกุงขาวแวนนาไมจะ

ลดลงหากมีปริมาณทองแดงต่ํากวา 34 มิลลิกรัมตอ

กิโลกรัม นอกจากน้ี การที่เ น้ือกุงมีปริมาณทองแดง

สะสมมากอาจเกิดจากกุงตองใชพลังงานมากในการ

ปรับสมดุลในรางกาย นําไปใชในกระบวนการหายใจ

กิจกรรมภายในเซลล และการควบคุมสมดุลเกลือแร

ตาง ๆ (บุญรัตน, 2553; 2554) ดังน้ัน ปริมาณทองแดง

ในตัวอยางกุงที่มีคาเกินกวาเกณฑมาตรฐานอาจมาจาก

การใหอาหารที่มีสวนผสมของทองแดงและการนําไปใช

เพื่อการเจริญเติบโตของกุง สําหรับการบริโภคน้ัน

รางกายคนสามารถรับทองแดงได 2-5 มิลลิกรัมตอวัน

(ศูนยสุขภาพและโภชนาการอาหารไทย, 2554) ซ่ึงจาก

การตรวจสอบปริมาณทองแดงในกุงที่ มีคาเกินกวา

เกณฑมาตรฐานน้ันยังจัดอยูในหนวยไมโครกรัมตอกรัม

เทาน้ัน

การวิเคราะหปริมาณสารตกคางกลุมยา

ปฏิชีวนะ 3 ชนิด คือออกซ่ีเตตราไซคลิน เตตราไซคลิน

และไนโตรฟูแรน ตรวจพบการใชเฉพาะสารเตตรา

ไซคลิน ในพื้นที่ อําเภอเมือง จังหวัดจันทบุรี อยู ใน

ปริมาณที่นอยกวา 0.05 ไมโครกรัมตอกิโลกรัม ซ่ึงต่ํา

กวาระดับคามาตรฐานมาก (คามาตรฐานกําหนดคา

นอยกวา 200 ไมโครกรัมตอกิโลกรัม) ตามประกาศ

กระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 303 (พ.ศ.2550) ยา

ปฏิชีวนะในกลุมเตตราไซคลิน เปนยาที่อนุญาตใหใช

อยางถูกกฎหมาย อยางไรก็ตามการนํายากลุมน้ีมาใช

อยางไมถูกวิธีอาจเกิดการตกคางอยูในเน้ือสัตวเกินกวา

คามาตรฐานที่กําหนดได (สํานักวิจัยและพัฒนาประมง

ชายฝง, 2554)

การตรวจหาเช้ือแบคทีเรียกอโรคกลุมวิบริโอ

3 ช นิ ด ใ น ตั วอ ย า ง กุ ง พ บ เ ฉ พ า ะ เ ช้ื อ V.

parahaemolyticus ในปริมาณที่ต่ํากวา 0.3 MPN

ตอกรัม ในทุกพื้นที่ ยกเวนอําเภอแหลมงอบ จังหวัด

ตราด ที่พบเช้ือมากที่สุด คือ 3.0±2.4 MPN ตอกรัม ใน

ตัวอยาง 25 กรัม สวนเช้ือ V. cholerae และ V.

vulnificus ไมพบการปนเปอนทั้งในพื้นที่ จังหวัด

จันทบุรีและตราด ซ่ึงตามคามาตรฐานในอาหารทะเล

พรอมบริโภคดิบของกระทรวงสาธารณสุข ระบุวาตอง

ตรวจไมพบเช้ือ V. cholerae และ V. vulnificus ใน

ตั วอย า ง อาห าร ส วนค าม าตร ฐ านของ เ ช้ื อ V.

parahaemolyticus สามารถตรวจพบไดแตตองมี

ปริมาณต่ํา เน่ืองจากในสภาวะปกติสามารถพบเช้ือ V.

parahaemolyticus ในนํ้ากรอยและนํ้าทะเลได ซ่ึงคา

มาตรฐานของ V. parahaemolyticus มีความ

แตกตางกันไปตามการสงออกผลิตภัณฑไปยังกลุม

ประเทศตางๆ โดยในสหรัฐอเมริการะบุใหตรวจพบเช้ือ

Page 7: การปนเป อนของสารตกค างบางชนิดใ ...scijournal.kku.ac.th/files/Vol_43_No_1_P_83-90.pdfว.ว ทย. มข. 43(1) 83-90 (2558)

งานวิจัย วารสารวิทยาศาสตร มข. ปที่ 43 ฉบับที่ 1 89

ไดไมเกิน 104 MPN ตอกรัม (Lokkhumlue and

Prakitchaiwattana, 2014) ซ่ึงในการวิจัยน้ีพบเช้ือ V.

parahaemolyticus สูงที่สุดอยูที่ 3.0±2.4 MPN ตอ

กรัม ถือวามีปริมาณที่นอยมากเม่ือเทียบกับงานวิจัย

ของ สุรี ย และคณะ (2556) ที่ พบปริมาณ เ ช้ือ V.

parahaemolyticus ในตัวอยางกุงจากตลาดสดมาก

ถึง 24 – มากกวา 11,000 MPN ตอกรัม อยางไรก็ตาม

หากมีการเพิ่มปริมาณของเช้ือ V. parahaemolyticus

ในบอเล้ียงกุงทีม่ากเกินไปอาจทําใหมีความเส่ียงตอการ

เกิดโรคตายดวนในกุงและหากมีการบริโภคกุงดิบหรือ

ผานกระบวนการประกอบอาหารดวยวิธีที่ไมเหมาะสม

อาจทําใหเกิดอาการอาหารเปนพิษได

กิตติกรรมประกาศ

โครงการวิจัยน้ีไดรับทุนอุดหนุนการวิจัยจาก

สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.) ประจําป

งบประมาณ 2555 คณะผูวิจัยใครขอขอบคุณ วช. ที่ได

สนับสนุนงบประมาณการทําวิจัยน้ีจนสําเร็จลุลวงไป

ดวยดี

เอกสารอางอิง จตุเกษม สุริยพงษ. (2550). คุณลักษณะกุงขาวตามความพอใจ

ของผูบริโภคในเขตเมืองของจังหวัดเชียงใหมและ

ลําพูน. วิทยานิพนธวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, สาขา

ธุร กิจเกษตร, บัณฑิตวิทยา ลัย , มหาวิทยา ลัย

เชียงใหม. 79 หนา.

ชลอ ล้ิมสุวรรณ นิติ ชู เชิด และปทมา วิ ริยะพัฒนทรัพย .

(2556). แนวทางการเล้ียงกุงเพ่ือปองกันโรคในป

2556. กรุงเทพฯ: ศูนยวิจัยธุรกิจเพาะเล้ียงสัตวนํ้า

คณะประมง มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร. หนา 1-

15.

บุญรัตน ปทุมชาติ. (2553). การสะสมแรธาตุของกุงขาว. ใน:

บทความประกอบการสัมมนางานกุงตรังป 2553.

แหลงขอมูล: http://www.shrimpcenter.com

/shrimp00209.html. คนเมื่อวันที่ 25 ธันวาคม

2556

บุญรัตน ประทุมชาติ และ กระสินธุ หังสพฤกษ. (2554). ผลของ

การเสริมธาตุทองแดงในรูปคีเลตในอาหารตอการ

เจริญเติบโตการรอดตายอัตราการแลกเน้ือ และการ

เ ป ล่ี ย น แ ป ล ง ท า ง ส รี ร ะ เ ค มี ข อ ง กุ ง ข า ว

(Litopenaeus vannamei). ภาควิชาวาริชศาสตร

มหาวทิยาลัยบูรพา. หนา 1-28.

ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 98 (พ.ศ.2529). เร่ือง

มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปอน. ลงวันที่ 21

มกราคม พ.ศ. 2529.

ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 303 (พ.ศ.2550). เร่ือง

อาหารที่มียาสัตวตกคาง. ลงวันที่ 10 สิงหาคม พ.ศ.

2550

นงนุช ตั้งเกริกโอฬาร และ กฤษดา ทองเทียม. (2553). ผลของ

ความเค็มและไนไตรทตอคาออสโมลาลิตี้ของเลือด

และการดูดซึมไนไตรทเขาสูกระแสเลือดของกุงขาว

แวนนาไม. วารสารวิทยาศาสตรบูรพา 15(2): 20-28.

ไมตรี ดวงสวัสดิ์ และ จารุวรรณ สมสิริ. (2528). คุณสมบัติของ

นํ้าและวิธีวิเคราะห. ฝายวิจัยส่ิงแวดลอมสัตวนํ้า

สถาบันประมงนํ้าจืดแหงชาติ กรมประมง 115 หนา.

สมาคมกุงไทย. (2555). เ ล้ียงกุงหนารอนอยางไรใหสําเร็จ.

วารสารขาวกุง 24(285): 1-4.

สุรีย นานาสมบัติ นวรัตน โพธิราช ประทุม แสนมา วรรธนนท

หาเพ่ิมพูน และ สิทธิโชค ศิริศรชัย. (2556). การ

ตรวจหาการปนเปอน Vibrio parahaemolyticus

ในอาหารทะเลสดที่ จํ าหน าย ในกรุง เทพและ

การศึกษากา รต านทานคว ามรอน . ว ารสา ร

มหาวิทยาลัยทักษิณ 16(3) ฉบับพิเศษ: 175-184.

สวนวิ จัยเศรษฐกิจปศุ สัตวและประมง. (2548). การศึกษา

ศักยภาพการผลิตการตลาดกุงขาวแวนนาไมของ

ประเทศไทย. กรุงเทพฯ: สํานักงานเศรษฐกิจเกษตร.

หนา 1-76

สํานักวิจัยและพัฒนาประมงชายฝง. (2554). กรมประมงเตือน

ห า ม ใ ช ย า ป ฏิ ชี ว น ะ เ ล้ี ย ง กุ ง , แ ห ล ง ข อ มู ล

http://www.coastalaqua.com/webboard/ind

ex.php?topic=4759.0. คนเมื่อวันที่ 10 มิถุนายน

2556.

Page 8: การปนเป อนของสารตกค างบางชนิดใ ...scijournal.kku.ac.th/files/Vol_43_No_1_P_83-90.pdfว.ว ทย. มข. 43(1) 83-90 (2558)

90 KKU Science Journal Volume 43 Number 1 Research

ศูนยสุขภาพและโภชนาการอาหารไทย. (2554). ทองแดง.

แ ห ล ง ข อ มู ล http://ww.nutritonthailand.

com/nutriton/minral/350-coper. คนเมื่อวันที่

17 สิงหาคม 2556.

อรทัย ชวาลภาฤทธิ์ (2545). คูมือวิเคราะห นํ้าและนํ้าเสีย .

วิศวกรรมสถานแห งประเทศไทยในพระบรม

ราชูปถัมภ. หนา 120-131.

Kaysner, C.A. and DePaola, Jr, A. (2004). Vibrio. In

Bacteriological Analytical Manual (BAM).

Retrieved December 4, 2012 from

www.fda.gov/Food/ScienceResearch/Laborat

oryMethods/BacteriologicalAnalyticalManual

BAM/ucm070830.htm

Lokkhumlue, M. and Prakitchaiwattana, C. (2014).

Influences of Cultivation Conditions on

Microbial Profiles of Pacific White Shrimp

(Litopenaeus vannamei) Harvested from

Eastern and Central Thailand. Chiang Mai

University of Natural Sciences 13(1): 67-75.

Reed, L.A. (2004). Pharmacolinetics of oxytetracycline

in the white shrimp, Litopenaeus setiferus.

Aquaculture 232: 11-28.

Venkata, M.S., Sirisha, K., Chandrasekhara, R.N., Sarma,

P.N. and Jayarama, R.S. (2004). Degradation

of Chlorpyrifos Contaminated Soil by

Bioslurry Reactor Operated in Sequencing

Batch Mode: Bioprocess Monitoring. Journal

of Hazardous materials B116: 39-48.