รวมเนื้อหา ahi-ppp iom...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ...

180
โครงการสุขภาพประชากรตางดาว จังหวัดเชียงราย โครงการความรวมมือระหวางกระทรวงสาธารณสุขและ องคการระหวางประเทศเพื่อการโยกยายถิ่นฐาน(IOM) ในการแกไขปญหาสุขภาพประชากรตางดาว จังหวัดเชียงราย เตรียมพรอมรับการระบาดใหญของโรคไขหวัดนก และโรคไขหวัดใหญสายพันธุใหม ใน 4 อําเภอนํารอง จังหวัดเชียงราย .. 2551 รางแผนการ

Upload: others

Post on 18-Jan-2020

4 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

โครงการสุขภาพประชากรตางดาว จังหวัดเชียงราย โครงการความรวมมือระหวางกระทรวงสาธารณสุขและ องคการระหวางประเทศเพือ่การโยกยายถ่ินฐาน(IOM)

ในการแกไขปญหาสุขภาพประชากรตางดาว จังหวัดเชียงราย

เตรียมพรอมรบัการระบาดใหญของโรคไขหวัดนก และโรคไขหวดัใหญสายพันธุใหม

ใน 4 อาํเภอนํารอง จงัหวัดเชียงราย พ.ศ. 2551

รางแผนการ

Page 2: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

ชื่อหนังสือ : รางแผนการเตรียมพรอมรับการระบาดใหญของโรคไขหวัดนก และโรคไขหวัดใหญสายพันธุใหมใน 4 อําเภอนํารอง จังหวัดเชียงราย พ.ศ. 2551

ท่ีปรึกษา : : :

นายแพทยสุรินทร สุมนาพันธุ นางรัชนี บูรณกิจไพบูลย ดร.นิกุล จิตตไทย

บรรณาธิการ : นายวิทยา สุมิตรเหมาะ

จัดพิมพโดย : องคการระหวางประเทศเพื่อการโยกยายถ่ินฐาน

ออกแบบรูปเลม : นายมานิตย แกวกันธะ

ISBN : 978-974-598-817-0

พิมพคร้ังท่ี 1 : ธันวาคม พ.ศ. 2551

จํานวนพิมพ : 300 เลม

ผลิตโดย : บานเอกสารก็อปปเซ็นเตอร 132/13 หมู 4 ตําบลบานดู อําเภอเมือง จังหวัดเชียงราย 57100 โทรศัพท 053-776432

Page 3: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

คํานํา

โรคไขหวัดในสัตวปก หรือโรคไขหวัดใหญสายพันธุใหม H5N1 ไดเกิดระบาดข้ึนในหลายภูมิภาคของโลกต้ังแตป พ.ศ. 2546 สําหรับประเทศไทย พบสัตวปกจํานวนมากมีการติดเช้ือสายพันธุนี้ รวมทั้งพบการเจ็บปวยและเสียชีวิตของผูปวยท่ีติดเช้ือ H5N1 ซ่ึงมีผลกระทบตอสังคมและเศรษฐกิจโดยรวม ดวยเหตุนี้ โครงการสุขภาพประชากรตางดาวจังหวัดเชียงราย ซ่ึงเปนโครงการภายใตความรวมมือระหวางกระทรวงสาธารณสุข โดยสํานักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงราย และองคการระหวางประเทศเพ่ือการโยกยายถ่ินฐาน (ไอโอเอ็ม) สํานักงานประจําประเทศไทย จึงไดตระหนักถึงการเตรียมพรอมเพื่อรับการระบาดใหญของโรคไขหวัดใหญสายพันธุใหม โดยรวมมือกับหนวยงานตาง ๆ ในพื้นท่ีเปาหมายของโครงการสุขภาพประชากรตางดาวในเขตอําเภอเมือง อําเภอแมสาย อําเภอเชียงแสน และอําเภอแมฟาหลวง จังหวัดเชียงราย จัดการประชุมเชิงปฏิบัติการอยางตอเนื่องเพื่อจัดทําระเบียบปฏิบัติ (Procedures) การเตรียมพรอมเพ่ือรับการระบาดใหญของโรคไขหวัดนกและโรคไขหวัดใหญสายพันธุใหมของหนวยงานตาง ๆ รวมท้ังจัดการฝกซอมแผนชนิดบนโตะ (Tabletop) แบบแบงตามบทบาทหนาท่ี (Functional Exercise) และการฝกซอมแผนแบบฝกปฏิบัติจริง (Drill Exercise)

จากการดําเนินกิจกรรมดังกลาว ทางคณะทํางานโครงการสุขภาพประชากรตางดาวไดรวบรวมขอมูลเพื่อจัดทําเปน แผนการเตรียมพรอมเพื่อรับการระบาดใหญของโรคไขหวัดนกและโรคไขหวัดใหญสาย

พันธุใหม ในเขตอําเภอนํารอง 4 อําเภอเปาหมายของโครงการสุขภาพประชากรตางดาว และจัดพิมพขึ้นเพื่อแจกจายแกหนวยงานท่ีเกี่ยวของรวมท้ังหนวยงานท่ีสนใจ หวังวาขอมูลท่ีจัดทําข้ึนนี้จะเปนประโยชนกับทุกภาคสวนตอไป

การจัดทําเอกสารเลมนี้สําเร็จไดดวยความอนุเคราะหจากหนวยงานท่ีเกี่ยวของหลายฝายในจังหวัดเชียงราย สํานักงานปองกันควบคุมโรคท่ี 10 จังหวัดเชียงใหม และกระทรวงสาธารณสุข จึงขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี้

นายวิทยา สุมิตรเหมาะ

ผูประสานงานภาคสนามประจําจังหวัดเชียงราย

องคการระหวางประเทศเพื่อการโยกยายถ่ินฐาน(ไอโอเอ็ม) 31 ตุลาคม พ.ศ. 2551

Page 4: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

สารบัญ

หนา

คํานํา ก

สารบัญ ข

เลาเร่ือง แผนการเตรียมพรอมรับการระบาดของโรคไขหวัดนก จ

สารจาก ไอโอเอ็ม ฉ

บทนํา แผนการเตรียมพรอมรับการระบาดใหญของโรคไขหวัดนกและโรคไขหวัดใหญสายพันธุใหมฯ 1

วิธีดําเนินงาน 4 1. การจัดทําระเบียบปฏิบัติ (Procedures Development) 4 2. การฝกซอม (Simulation Exercise) 6 3. การจัดทําแผนเตรียมพรอมรับการระบาดใหญ (Pandemic Preparedness Plan) 7

แผนยุทธศาสตรชาติ : ปองกัน แกไข และเตรียมพรอมรับปญหาโรคไขหวัดนก 9 และการระบาดใหญของโรคไขหวัดใหญฉบับท่ี 2 (พ.ศ.2551 – 2553) สรุปสาระสําคัญของแผนยุทธศาสตรแหงชาติเพ่ือปองกัน แกไข และเตรียมพรอมรับปญหาโรคไขหวัดนก

และการระบาดใหญของโรคไขหวัดใหญฉบับท่ี 2 (พ.ศ.2551 – 2553) 13 ยุทธศาสตรท่ี 1 การจัดระบบการผลิตและเล้ียงสัตวปก 15 ยุทธศาสตรท่ี 2 การเฝาระวัง ปองกัน และควบคุมโรคท้ังในสัตวและคน 17 ยุทธศาสตรท่ี 3 การเตรียมความพรอม รับการระบาดใหญของไขหวัดใหญ 19 ยุทธศาสตรท่ี 4 ความรวมมือระหวางหนวยงาน ประชาชน ภาคธุรกิจ และนานาประเทศ 21

คณะกรรมการศูนยปฏิบัติการปองกันและแกไขปญหาการแพรระบาดโรคไขหวัดนก ระดับจังหวัด และอําเภอของจังหวัดเชียงราย 23

การอํานวยการและการสั่งการในภาวะวิกฤต 33

การสั่งการในภาวะวิกฤต 36

ศูนยอํานวยการปฏิบัติการปองกันและแกไขปญหาการระบาดใหญของโรคไขหวัดใหญ ระดับจังหวัด 37

การบริหารจัดการเพ่ือเตรียมความพรอม 43 ดานงบประมาณ

ดานการประสานงาน แผนภูมิ ขั้นตอนการดําเนินการเม่ือเกิดการระบาดใหญของโรคไขหวัดใหญในจังหวัด 44 แนวทางการดําเนินการ 45 1. ภาวะปกติ 45

2. ขณะเกิดภาวะวิกฤต 45 3. เม่ือเหตุการณยุติ (กรณีสามารถควบคุมสถานการณได) 46

Page 5: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

หนา บทบาทและหนาท่ีหลักของแตละหนวยงาน 47

สํานักงานปองกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด 49 ประชาสัมพันธจังหวัด 49 สํานักงานปศุสัตวจังหวัดเชียงรายและสํานักงานปศุสัตวอําเภอ 49 องคกรปกครองสวนทองถิ่น 50 ดานควบคุมโรคติดตอระหวางประเทศ 51 ดานศุลกากรอําเภอแมสาย 51 กองบังคับการตํารวจภูธรจังหวดัเชียงรายและสถานีตํารวจภูธร 52 หนวยเฉพาะกิจกรมทหารมาท่ี 3 กองกําลังผาเมือง 52 สํานักงานขนสงจังหวัดเชียงราย 53 สํานักงานประปาจังหวัดเชียงราย 53 บริษัท ทีโอที จํากัด (มหาชน) 54 สํานักงานการไฟฟาสวนภูมิภาค 54 จุดปฏิบัติการเตรียมความพรอมวิทยุชุมชน 54 โรงเรียน/สถานศึกษา 55 โรงพยาบาล 56 ทีมเฝาระวังสอบสวนเคล่ือนท่ีเร็ว (SRRT) 56 อาสาสมัครสาธารณสุข และพนักงานสาธารณสุขตางดาว 57 บทบาทหนาท่ีของหนวยงานในการเตรียมพรอมรับการระบาดใหญของโรคไขหวัดนกและโรคไขหวัดใหญ

ของอําเภอเมือง อําเภอแมสาย อําเภอเชียงแสน และอําเภอแมฟาหลวง จังหวัดเชียงราย 59 การประสานสั่งการ 61 การเตรียมพรอมดานปศุสัตว 61

การเตรียมพรอมดานสาธารณสุข 63 การสื่อสารประชาสัมพันธ 66 การเตรียมพรอมดานการคมนาคม ขนสง และดานสาธารณูปโภค 66 การรักษาความสงบเรียบรอยและการบรรเทาทุกข 67

ระเบียบปฏิบัติ ของหนวยงานตางๆเพ่ือเตรียมพรอมรับการระบาดใหญของโรคไขหวัดนกและโรคไขหวัดใหญ สายพันธุใหม จังหวัดเชียงราย 69

สํานักงานปองกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด 71 สํานักงานประชาสัมพันธจังหวัดเชียงราย 75 สํานักงานปศุสัตว 79 องคกรปกครองสวนทองถิ่น 83 ดานควบคุมโรคติดตอระหวางประเทศ 87 กองบังคับการตํารวจภูธรจังหวัดเชียงรายและสถานีตํารวจภูธร 91 หนวยเฉพาะกิจกรมทหารมาท่ี 3 กองกําลังผาเมือง 95

Page 6: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

หนา สํานักงานการไฟฟาสวนภูมิภาค 99

สถานีวิทยุชุมชน 103 โรงเรียน/สถานศึกษา 107 โรงพยาบาล 111

ทีมเฝาระวังสอบสวนเคลื่อนท่ีเร็ว (SRRT) 115 อาสาสมัครสาธารณสุขและพนักงานสาธารณสุขตางดาว 119 สรุปภาพรวมการประสานงานของหนวยงานที่เก่ียวของ ในการเตรียมพรอมรับการระบาดใหญของโรคไขหวัดนก และโรคไขหวัดใหญในเขตอําเภอเมือง อําเภอเชียงแสน อําเภอแมสาย และอําเภอแมฟาหลวง จังหวัดเชียงราย 123

ท่ีอยูและหมายเลขโทรศัพทหนวยงานและเจาหนาท่ีเก่ียวของ 127 เขตอําเภอเมือง 129 เขตอําเภอแมสาย 133 เขตอําเภอเชียงแสน 135 เขตอําเภอแมฟาหลวง 137

ภาคผนวก แบบรายงานโรคของงานฝายระบาดวิทยา 139 แบบรายงานโรคของสํานักงานปศุสัตว 149 แบบรายงานควบคุมโรคดานควบคุมโรคติดตอระหวางประเทศ 165

เอกสารอางอิง

Page 7: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

เลาเร่ือง แผนการเตรียมพรอมรับการระบาดของโรคไขหวัดนก สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงราย ไดมีสวนรวมริเร่ิมในการจัดทําแผนฉุกเฉินกรณีเกิดการระบาด

ของโรคไขหวัดนกและโรคไขหวัดใหญสายพันธุใหม ระหวางหนวยงานภาครัฐและภาคเอกชนท่ีมีบทบาทการทํางานในเขตอําเภอเมือง อําเภอแมสาย อําเภอเชียงแสน และอําเภอแมฟาหลวง ซ่ึงเปนเขตพื้นท่ีดําเนินงานของโครงการสุขภาพประชากรตางดาว ภายใตโครงการความรวมมือระหวางกระทรวงสาธารณสุข กับองคการระหวางประเทศเพ่ือการโยกยายถ่ินฐาน (ไอโอเอ็ม)

สําหรับการดําเนินงานกิจกรรมดานไขหวัดนกท่ีผานมา มีการรณรงค การอบรม การปลูกฝงความคิด และการประชาสัมพันธ ในกลุมเปาหมายตาง ๆ แตกลุมประชากรตางดาวชายแดนดูจะมีการดําเนินการเร่ืองนี้ท่ีเปนรูปธรรมคอนขางนอย

ทางคณะทํางานจึงไดปรับเปล่ียนวิธีการ โดยเลือกท่ีจะศึกษาชุมชน สถานท่ีทํางาน พูดคุยใหกับผูท่ีเกี่ยวของ เพื่อจะไดขอมูลตามความเปนจริง นําขอมูลมาวางแผนออกแบบกิจกรรม และจัดประชุมเชิงปฏิบัติการกับกลุมเปาหมาย ภาคีเครือขายภาครัฐและเอกชน โดยเพียรพยายามอดทน ทําความรูจักคุนเคย ปรับปรุงแกไข และพัฒนาแผนการประชุมเชิงปฏิบัติการ ในการจัดแตละคร้ัง เร่ิมเห็นความกาวหนา ความเปล่ียนแปลงมีพัฒนาการ มีความเปนมิตร มีความมุงม่ันรวมกันท่ีจะผลิตงานออกมา ซึ่งการดําเนินงาน มี

วัตถุประสงค เพื่อ 1. เสริมสรางความเขาใจ และตระหนักถึงความสําคัญในบทบาทหนาท่ี และความรับผิดชอบของ

หนวยงาน 2. ประสานการดําเนินงานกับหนวยงานท่ีเกี่ยวของ และแลกเปล่ียนขอมูล 3. เสริมสรางความพรอมและความเขมแข็งในการควบคุมปองกันการระบาดของโรคไขหวัดนกและ

โรคหวัดใหญในคน 4. จัดทําแผนการดําเนินงานในภาวะฉุกเฉินของการระบาดของโรคไขหวัดนกและไขหวัดใหญ

ในแตละหนวยงานท่ีเกี่ยวของ จากท่ีทุกคนต้ังใจท่ีจะผลักดันใหงานบรรลุผลในคร้ังนี้ รูสึกมีความประทับใจในหลาย ๆ ทาน และ

หลายๆ หนวยงาน ท่ีไดมีโอกาสไดทํางานรวมกัน หลายๆ ทานมีความต้ังใจ เอาจริงเอาจัง เชน ผูดูแลเร่ืองนี้ เขาจับงานแลวเอาจริง ส่ิงนี้เปนส่ิงสําคัญ เพราะคนเราจับอะไร ไมวาจะมีตําแหนงอะไรหรือไม หรือมีบทบาทหนาท่ีอะไรตองจริงจัง ไมวาจะเลนบทไหนก็ตาม เพราะถารับผิดชอบอะไรแลวไมจริงจัง ผลสําเร็จ

ของงานก็มีนอย...... แตสําหรับกลุมนี้ไดทําใหเห็นผลงานแลว แมงานจะจบและเสร็จส้ินลงไปแตความรูสึกด ีๆ ช้ินงานดี ๆ ก็ยังทําใหพวกเราไดพูดถึงกันอยูตลอดเวลา ขอขอบคุณท่ีมีโอกาสดี ๆ อยางนี้ ซ่ึงคิดวาคงจะมีกาวตอ ๆ ไปท่ีจะมีเวทีใหกับพวกเราไดทํางานรวมกันอีก

ขอบขอบคุณ

งานธุรกิจบริการสุขภาพและพื้นท่ีพิเศษพ้ืนท่ีเฉพาะ

Page 8: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงราย

สารจากผูจัดการโครงการสุขภาพประชากรตางดาว

สืบเนื่องจากความตระหนักถึงผลกระทบของการยายถ่ินฐานของประชากรท่ัวโลก ซ่ึงมีจํานวนเพ่ิมมากข้ึนเร่ือย ๆ ตอระบบงานบริการสาธารณสุขและตอสังคมโดยรวม องคการระหวางประเทศเพ่ือการโยกยายถ่ินฐาน (ไอโอเอ็ม) ไดดําเนินโครงการสุขภาพประชากรตางดาวภายใตความรวมมือกับรัฐบาลไทยโดยกระทรวงสาธารณสุขมาต้ังแตป พ.ศ. 2546 โดยมีจังหวัดเชียงรายเปนหนึ่งในจังหวัดนํารองของโครงการความรวมมือฯ และเนื่องจากโครงการความรวมมือฯ นี้ มิไดมุงพัฒนาสุขภาพเพียงดานใดดานหน่ึงของประชากรตางดาวและชุมชนไทย แตเนนท่ีการพัฒนาระบบบริการสุขภาพแบบองครวมที่ครอบคลุมทุกกลุมประชากรในชุมชนเปาหมายในทุกมิติของระบบการสุขภาพ การเตรียมความพรอมของชุมชนเพ่ือรับมือกับภัยพิบัติและโรคติดตออุบัติใหมจึงถือเปนสวนหนึ่งของภาระงานภายใตโครงการความรวมมือฯ นี้ดวย

แมวาจะยังไมเคยมีรายงานการเกิดโรคไขหวัดนกในกลุมประชากรตางดาวในประเทศไทย แตประชากรกลุมนี้ก็มีเส่ียงและเปราะบาง เนื่องจากมีประชากรตางดาวจํานวนไมนอยท่ีทํางานในฟารมหรือโรงฆาสัตวปก ประกอบกับมีจํานวนไมนอยท่ีเล้ียงสัตวปกเพื่อใชเปนแหลงอาหารโดยปลอยใหสัตวหากินเองตามธรรมชาติซ่ึงอาจเส่ียงตอการติดและการแพรเช้ือ นอกจากน้ีประชากรตางดาวสวนใหญมักมีขอจํากัดในการเขาถึงบริการดานสุขภาพ ซ่ึงอาจกอใหเกิดความลาชาในการตรวจพบการเกิดโรคและการควบคุมการแพรระบาด แต หากเราสามารถชวยใหประชากรตางดาวเขาถึงขอมูลขาวสารและบริการสุขภาพไดอยาง

ท่ัวถึง และใหเขามามีบทบาทในการชวยเหลือสังคมและภาครัฐ ในการสอดสองดูแลสถานการณในชุมชนของ

ตนและรายงานตอเจาหนาท่ีเม่ือเกิดเหตุ ประชากรกลุมนี้ก็จะเปนทรัพยากรบุคคลท่ีมีคาตอการดําเนินงาน

ควบคุมและปองกันโรคในชุมชนไดเชนกัน ในทางตรงกันขาม หากประชากรกลุมนี้ยังขาดความรูความเขาใจและไมสามารถเขารวมเปนสวนหนึ่งของชุมชนได ก็อาจทําใหการควบคุมสถานการณเม่ือเกิดการระบาดของโรคนั้นทําไดยากข้ึน

เพื่อเปนการสนับสนุนนโยบายของรัฐบาล ท่ีไดกําหนดใหการเตรียมความพรอมรับมือกับการระบาดใหญของไขหวัดนกและไขหวัดใหญสายพันธใหมเปนวาระแหงชาติ และไดกําหนดแผนยุทธศาสตรระดับชาติโดยเนนใหมีการบริหารจัดการแบบบูรณาการ และใหทุกจังหวัดมีการจัดทําและซอมแผนเพื่อปองกันและแกไขปญหาท่ีอาจเกิดข้ึน ทาง โอโอเอ็ม จึงไดรวมมือกับหนวยงานตางๆ ท่ีเกี่ยวของใน 4 อําเภอนํารองของจังหวัดเชียงราย ในการจัดทําและซอมแผนดังกลาว

เนื่องจากการจัดทําและซอมแผนยุทธศาสตรเพื่อแกไขปญหาไขหวัดนก และแผนยุทธศาสตรเตรียมพรอมในการปองกันและแกปญหาการระบาดใหญของไขหวัดใหญใน โครงการนํารองในจังหวัด

เชียงรายคร้ังนี้ เปนการรวมงานกันอยางเปนรูปธรรมและเปนรูปแบบเปนคร้ังแรก โดยมีภาคีท่ีมาจากทั้ง

ภาครัฐและเอกชน ตลอดจนภาคีจากภาคสาธารณสุขและภาคสวนอ่ืนๆ ท่ีไมไดมีหนาท่ีรับผิดชอบโดยตรงตอ

Page 9: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

งานสาธารณะสุข แตก็มีสวนสําคัญในการชวยใหกิจกรรมตางๆ ในสังคมดําเนินตอไปไดโดยไมหยุดชะงัก

หากเกิดการระบาดใหญของโรคขึ้นจริง ซ่ึงการทํางานรวมกันของคณะทํางานท่ีมาจากหลาก หลายวิชาชีพ ท่ีมีพื้นฐานความรูความเขาใจในแนวคิดและข้ันตอนในการเตรียมความพรอมและการรับมือกับโรคระบาดในระดับท่ีแตกตางกันออกไป อาจทําใหแผนฯ ท่ีทางคณะทํางานไดรวมกันรางข้ึนนี้ยังมีขอบกพรองอยูบาง และถึงแมวาการซอมแผนท่ีผานมาไดทําใหเห็นวา แผนฯ ท่ีรางขึ้นอาจตอบรับกับสถานการณระบาดในระดบัท่ี

3 และ 4 (WHO’s Pandemic Phase 3 and 4) ตามกรอบแนวคิดขององคการอนามัยโลกไดคอนขางด ีแตก็ยงัมี

ขอจํากัดอยูมากท่ีจําเปนจะตองไดรับการปรับแกไขในโอกาสตอไป โดยเฉพาะอยางยิ่งการเตรียมความพรอม

รับมือกับการระบาดใหญท่ัวโลกในระดับท่ี 5 และ 6 (WHO’s Pandemic Phase 3 and 4) ซ่ึงจะแตกตางจาก

การรับมือกับการระบาดในระดับท่ี 3 และ 4 เปนอยางมาก อยางไรก็ตาม ทาง ไอโอเอ็ม หวังเปนอยางยิ่งวา การดําเนินงานในจังหวัดเชียงรายในคร้ังนี้จะเปน

ประโยชนตอหนวยงานตางๆ ในจังหวัดเชียงราย และยังหวังเปนอยางยิ่งวาประสบการณท่ีไดจากการดําเนินโครงการนํารองนี้ จะสามารถใชเปนบทเรียนใหกับหนวยงาน จังหวัด และประเทศอ่ืนๆ ตอไปไดในอนาคต สุดทายนี้ ทาง ไอโอเอ็ม ขอขอบพระคุณเปนอยางสูงตอผูใหการสนับสนุนดานงบประมาณซ่ึงไดแกรัฐบาลญ่ีปุนและคณะกรรมาธิการยุโรป และโดยเฉพาะอยางยิ่ง ขอขอบพระคุณในความรวมมือ รวมแรง และรวมใจ ท่ีไดรับจากบุคลากรกวา 100 ทาน จากหนวยงานตางๆ มากกวา 45 แหง อยางเสมอตนเสมอปลาย และตองกราบขออภัยท่ีไมสามารถระบุรายช่ือของทุกทานในท่ีนี้ไดท้ังหมด ทาง ไอโอเอ็ม หวังเปนอยางยิ่งวาจะไดรวมงานกับภาคีท่ีเขมแข็งนี้ตอไปอีกในอนาคต เพื่อชวยกันพัฒนาแผนฯ ใหมีความสมบูรณยิ่งข้ึนตอไป

ขอขอบคุณดวยใจจริง ดร. นิกุล จิตตไทย

ผูจัดการโครงการสุขภาพประชากรตางดาว องคการระหวางประเทศเพื่อการโยกยายถ่ินฐาน (ไอโอเอ็ม)

Page 10: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

จากใจ สํานักงานปองกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม

จากการระบาดของโรคไขหวัดนกและความวิตกวา หากเช้ือไวรัสไขหวัดนกเกิดเปล่ียน แปลงสายพันธุหรือเกิดการกลายพันธุท่ีมีความรุนแรง จนกระท่ังสามารถติดตอจากคนสูคนไดงายจะกอใหเกิดการระบาดใหญของไขหวัดใหญเหมือนเชนท่ีเคยเกิดข้ึนในอดีตท่ีผานมา รัฐบาลไดกําหนดใหเปนวาระแหงชาติและไดจัดทําแผนยุทธศาสตรเพื่อแกไขปญหาไขหวัดนกและแผนยุทธศาสตรเตรียมความพรอมในการปองกันและแกปญหาการระบาดใหญของไขหวัดใหญ ฉบับท่ี 1 พ.ศ.2548-2550 และฉบับท่ี 2 พ.ศ. 2551 - 2553 โดยเนนใหมีการบริหารจัดการแบบบูรณาการ โดยมีคณะกรรมการและคณะทํางานในทุกระดับและหลายกระทรวงรวมกัน โดยระดับจังหวัดมีการแตงต้ัง “มิสเตอรไขหวัดนก”ในทุกจังหวัด มีการจัดทําแผน /ระเบียบปฏิบัติในการปองกันแกไขปญหา

ในปงบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมควบคุมโรคและสํานักงานปองกันควบคุมโรคท่ี 10 เชียงใหม ไดตอบสนองตามนโยบายโดยมีการจัดประชุมเตรียมความพรอมและประชุมฝกซอมแผนในระดับจังหวัด ซ่ึงมีวัตถุประสงคเพื่อการปองกัน แกไข และเตรียมพรอมรับปญหาโรคไขหวัดนกและการระบาดใหญของโรคไขหวัดใหญและมีการจัดซอมแผนชนิดบนโตะ โดยเปนการฝกซอมตอบสนองตอสถานการณสมมุติ โดยเนนการส่ังการ การประสานงาน และการติดตอส่ือสาร โดยหนวยงานระดับสํานักงานสาธารณสุขจังหวัดมีการซอมแผนเตรียมพรอมรับการระบาดใหญของโรคไขหวัดครบทุกจังหวัดแลวนั้น

จังหวัดเชียงรายเปนจังหวัดท่ีมีโอกาสไดพัฒนาจากการซอมแผนชนิดบนโตะไปสูการซอมจริงโดยไดรับการสนับสนุนจากองคการระหวางประเทศเพื่อการโยกยายถ่ินฐาน (IOM) ในนามของสํานักงานปองกันควบคุมโรคท่ี 10 ขอขอบคุณองคการระหวางประเทศเพื่อการโยกยายถ่ินฐาน(IOM) ท่ีไดใหความ

ไววางใจสํานักงานปองกันควบคุมโรคในการเปนผูฝกซอมแผนรวมกับสํานักงานสาธารณสุขจังหวัด และ

สามารถจัดทําระเบียบปฏิบัติตามบทบาทจริงของแตละหนวยงานเครือขายในการตอบสนองตอเหตุการณ

การเกิดการระบาดของโรคไดอยางเปนรูปธรรมและถือปฏิบัติไดจริง และนําไปสูการทดสอบ การฝกปฏิบัติ

จนบรรลุผลสําเร็จ ซ่ึงเปนประโยชนอยางยิ่งสําหรับจังหวัดเชียงรายและสามารถนําไปเปนตัวอยางท่ีดีกับพื้นท่ีอ่ืน ๆ และสามารถประยุกตใชเพื่อตอบสนองกับสถานการณภัยพิบัติอ่ืน ๆ ท่ีมีผลกระทบดานสาธารณสุขท่ีอาจเกิดข้ึนไดในอนาคต

นางเปรมมิกา ปลาสุวรรณ นักวิชาการสาธารณสุข 7

สํานักงานปองกันควบคุมโรคท่ี 10

Page 11: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

บทนําบทนํา รางแผนการเตรียมพรอมรับการระบาดใหญของโรคไขหวัดนก

และโรคไขหวัดใหญสายพันธุใหม ใน 4 อําเภอนํารอง จังหวัดเชียงราย พ.ศ. 2551

Page 12: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6
Page 13: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

บทนํา ต้ังแตป พ. ศ. 2546 เปนตนมา ไดมีการตรวจพบการระบาดของโรคไขหวัดสายพันธุใหมในสัตวปก

เกิดข้ึนในหลายประเทศท่ัวโลก ทําใหมีการทําลายและกําจัดสัตวปกท้ังท่ีติดเช้ือและไมติดเช้ือเปนจํานวนหลายรอยลานตัว ซ่ึงในชวงระยะเวลาไมกี่ปท่ีผานมายังพบวามีการติดเช้ือในคนซ่ึงทําใหเกิดการเจ็บปวยและเสียชีวิตเปนจํานวนมากอีกดวย

สําหรับในประเทศไทย ไดมีการตรวจพบการติดเช้ือไขหวัดสายพันธุใหมในสัตวปกในป พ.ศ. 2547 และมีรายงานผูปวยจากการติดเช้ือไขหวัดจากสัตวปกระหวางป พ. ศ. 2547 – 2550 รวมท้ังส้ิน 25 ราย และไดเสียชีวิตไปแลว 17 ราย ซ่ึงคิดเปนคร่ึงหนึ่งของจํานวนผูปวยท่ีพบ ปจจุบันมีแนวโนมวาจะเปนโรคประจําถ่ินและมีความเส่ียงสูงท่ีจะกลายพันธุเปนเช้ือไวรัสไขหวัดใหญสายพันธุใหม ท่ีสามารถติดตอจากคนสูคนไดงายจนเกิดการระบาดใหญไปท่ัวโลก ซ่ึงจะสามารถทําใหประชาชนเจ็บปวยและเสียชีวิตเปนจํานวนมาก มีผลทําใหเกิดความเสียหายตอเศรษฐกิจและสังคมในวงกวาง แมวาในขณะนี้จะไมสามารถคาดการณไดวาการระบาดใหญท่ัวโลกของไขหวัดใหญสายพันธุใหมในคนจะเกิดข้ึนเม่ือใด

ดวยเหตุนี้โครงการความรวมมือระหวางกระทรวงสาธารณสุข และองคการระหวางประเทศเพ่ือการโยกยายถ่ินฐาน (ไอโอเอ็ม) ในการแกไขปญหาสาธารณสุขของประชากรตางดาวจังหวัดเชียงราย ซ่ึงไดรับทุนสนับสนุนจากรัฐบาลญ่ีปุนและคณะกรรมาธิการยุโรป จึงตระหนักถึงความสําคัญของการปองกันและควบคุมการระบาดใหญของโรคไขหวัดนก และการเตรียมความพรอมรับการระบาดใหญของโรคไขหวัดใหญในจังหวัดเชียงราย โดยรวมมือกับสํานักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงราย ดําเนินการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการกับหนวยงานตางๆ ท่ีเกี่ยวของท้ังจากภาครัฐและเอกชน ตลอดจนการจัดการฝกซอมแผนเพื่อเตรียมความพรอมรับการระบาดใหญของโรคไขหวัดนกและโรคไขหวัดใหญสายพันธุใหม ในเขตอําเภอนํารอง 4 อําเภอ ไดแก อําเภอเมือง อําเภอแมสาย อําเภอเชียงแสน และอําเภอแมฟาหลวง โดยใชระยะเวลาดําเนินโครงการระหวางเดือนเมษายน พ.ศ. 2550 – กรกฎาคมพ.ศ. 2551

ทางผูจัดทํา หวังเปนอยางยิ่งวา แผนการเตรียมความพรอมรับการระบาดใหญของโรคไขหวัดนกและโรคไขหวัดใหญสายพันธุใหมฉบับนี้ จะเปนประโยชนกับหนวยงานตางๆ ท่ีเกี่ยวของท้ังในจังหวัดเชียงราย และจังหวัดอ่ืนๆ ท่ีนําแผนฯ ฉบับนี้ไปปฏิบัติหรือเปนตัวอยางเพ่ือจัดทําแผนฯ ใหเหมาะสมกับหนวยงานของตนเอง ขณะเดียวกันแผนฯ เหลานี้ควรไดรับการปรับปรุงแกไขอยูเสมอเพ่ือใหมีความสมบูรณและเปนปจจุบัน เพื่อใหเหมาะสมตอการใชงานในสถานการณจริงมากยิ่งข้ึนในอนาคต

Page 14: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

วิธีการดําเนินงาน

1. การจัดทําระเบียบปฏิบัติ (Procedures) การจัดทําระเบียบปฏิบัติ (Procedures) การเตรียมความพรอมในการรับมือกับการระบาดใหญ

ของโรคไขหวัดนกและโรคไขหวัดใหญสายพันธุใหม โดยจัดประชุมเชิงปฏิบัติการกับหนวยงานตาง ๆ 45 หนวยงาน จาก 4 อําเภอนํารองและผูแทนจากหนวยงานตางๆ ในระดับจังหวัด ซ่ึงมีผูเขารวมประชุม จํานวน 80 ทาน โดยมีข้ันตอนการดําเนินงานดังนี้

การประชุมเชงิปฏบัิติการ คร้ังท่ี 1

วันท่ี 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550 ณ สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงราย3 มีวัตถุประสงคเพื่อ ช้ีแจงและทําความเขาใจรวมกันถึงความสําคัญของการจัดทําระเบียบปฏิบัติ เพื่อเปนการเตรียมพรอม

ในการรับมือกับการระบาดใหญของโรคไขหวัดนกและโรคไขหวัดใหญสายพันธุใหม ของแตละหนวยงานท่ีเกี่ยวของ

แบงการทํางานตามบทบาทหนาท่ีของหนวยงานตางๆ ท่ีมาเขารวมโครงการจากตางอําเภอ ซ่ึง แบงออกไดเปน 9 กลุม ดังนี ้

1. สํานักงานปศุสัตวจังหวัดและอําเภอ 2. สถานศึกษา 3. สํานักงานการไฟฟาสวนภูมิภาค 4. องคกรปกครองสวนทองถ่ิน 5. โรงพยาบาล 6. ดานควบคุมโรคติดตอระหวางประเทศ 7. จุดปฏิบัติการเตรียมความพรอมวิทยุชุมชน 8. ทีมเฝาระวังสอบสวนเคล่ือนท่ีเร็ว (SRRT) 9. อาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) และพนักงานสาธารณสุขตางดาว (พสต.)

ช้ีเจงและทําความเขาใจรวมกันในการเตรียมขอมูลเพื่อนําเสนอรางระเบียบปฏิบัติของแตละ กลุมในการประชุมคร้ังท่ี 2

อนึ่ง ในการดําเนินงานภายใตโครงการนี้ ทางไอโอเอ็ม ไดขอความรวมมือใหองคกรภาคีสงผูแทนซ่ึงเปนบุคคลเดียวกันเปนผูเขารวมประชุมทุกคร้ัง เพื่อใหการทํางานมีความตอเนื่อง

Page 15: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

การประชุมเชงิปฏบัิติการ คร้ังท่ี 2

วันท่ี 18 ธันวาคม พ.ศ. 2550 ณ โรงแรมริมกกรีสอรท อําเภอเมือง จังหวัดเชียงราย มีวัตถุประสงคเพื่อ

รวบรวมรางระเบียบปฏิบัติของแตละองคกรท่ีมีบทบาทหนาท่ีเดยีวกัน เชนรวบรวมรางระเบียบ ปฏิบัติท่ีกําหนดโดยสถานศึกษาตางๆ จาก4 อําเภอนํารองเขาดวยกันและปรับใหเปนรางระเบียบปฏิบัติฉบับเดียวท่ีสามารถใชดําเนินการในสถานศึกษาทุกแหงในพื้นท่ี 4 อําเภอได เปนตน โดยการจัดประชุมกลุมยอยแยกตามกลุมงาน

นําเสนอรางระเบียบปฏิบัติท่ีจะถือเปนมาตรฐานของแตละกลุมงานตอท่ีประชุมใหญ รวมกนัวิพากย แสดงความคิดเหน็ และขอเสนอแนะ ในการปรับรางระเบียบปฏิบัติฯ ท่ีแตละกลุม

งานนําเสนอตอท่ีประชุม เพื่อใหเกิดความชัดเจน และสามารถนําไปปฏิบัติไดอยางเปนรูปธรรม และมีความเช่ือมโยงระหวางกลุมงาน

ในการประชุมเชิงปฏิบัติการคร้ังท่ี 2 นี้ ทาง ไอโอเอ็ม ไดเชิญนักวิชาการจากกระทรวงสาธารณสุขที่รับผิดชอบงานโรคอุบัติใหม และงานสาธารณสุขตางดาว เขารวมประชุมและใหขอเสนอแนะตอคณะ ทํางานดวย ภายหลังจากการประชุมเชิงปฏิบัติการคร้ังท่ี 2 ผูประสานงานภาคสนามจาก ไอโอเอ็ม. ประจําจังหวัดเชียงราย ไดรวบรวมรางระเบียบปฏิบัติของแตละกลุมงานเพ่ือจัดทําเปนแผนภูมิลําดับข้ันตอนการปฏิบัติงาน (Flowchart) เพื่อนําเสนอในการประชุมคร้ังตอไป

การประชุมเชงิปฏบัิติการ คร้ังท่ี 3

วันท่ี 7 กุมภาพันธ พ.ศ. 2551 ณ สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงราย มีวัตถุประสงคเพื่อ พิจารณาแผนภูมิลําดับข้ันตอน (Flowchart) ของรางระเบียบปฏิบัติเพื่อการเตรียมความพรอมรับมือ

กับการระบาดใหญของโรคไขหวัดนกและโรคไขหวัดใหญสายพันธุใหม ท่ีไดจากการประชุมคร้ังท่ี 2 และทําการปรับปรุงแกไขรางระเบียบปฏิบัติฯ ใหถูกตองและเหมาะสมกับการปฏิบัติงานจริง การประชุมเชงิปฏบัิติการ คร้ังท่ี 4

วันท่ี 15 กุมภาพันธ พ.ศ. 2551 ณ สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงราย มีวัตถุประสงคเพื่อ รวมกันพิจารณาและสรางความเขาใจในแผนภูมิลําดับข้ันตอน(Flowchart) ของรางระเบียบ

ปฏิบัติฯ และทําการปรับแกไขอีกคร้ัง เพื่อใหสอดคลองกับแนวทางปฏิบัติจริง กอนที่จะนําไปจัดพิมพเปนรูปเลม และแจกจายใหกับหนวยงานตางๆ ท่ีเกี่ยวของ

ในการประชุมเชิงปฏิบัติการคร้ังท่ี 4 นี้ ทาง ไอโอเอ็ม ไดเชิญนักวิชาการจากกระทรวงสาธารณสุขท่ีรับผิดชอบงานโรคอุบัติใหม และงานสาธารณสุขตางดาว เขารวมประชุมและใหขอเสนอแนะตอคณะ ทํางานดวยเชนกัน

Page 16: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

หลังจากการประชุมเชิงปฏิบัติการคร้ังท่ี 4 ไดมีการจัดพิมพและแจกจายรางระเบียบปฏิบัติฯ ไปยังหนวยงานตางๆ ท่ีเกี่ยวของท้ังในจังหวัดเชียงราย และหนวยงานท่ีเกี่ยวของในจังหวัดอ่ืนๆ เชน สํานักงานปองกันควบคุมโรคท่ี 10 จังหวัดเชียงใหม สํานักและกรมตางๆ ในกระทรวงสาธารณสุข สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดตาก สมุทรสาคร ระนอง และพังงา รวมท้ังองคกรพัฒนาเอกชน ต้ังแตเดือนเมษายน 2551 เปนตนไป

2. การฝกซอม หลังจากท่ีไดรวบรวมและจัดพิมพรางระเบียบปฏิบัติฯ แลว ทางสาธารณสุขจังหวัดเชียงราย และ ไอ

โอเอ็ม ไดรวมกันจัดการฝกซอมแผนเพื่อเตรียมความพรอมในการรับมือกับการระบาดใหญของโรคไขหวัดนกและโรคไขหวัดใหญสายพันธุใหม โดยวิธีซอมแผนบนโตะ (Tabletop Exercise) แบบจัดกลุมตามบทบาทหนาท่ี (Functional Exercise) และการฝกซอมแผนแบบฝกปฏิบัติจริง (Drill Exercise) ใหกับหนวยงานตางๆ ท่ีเกี่ยวของ โดยมีวัตถุประสงค:

เพื่อทบทวน และทดสอบรางระเบียบปฏิบัติฯ ของหนวยงานตาง ๆ ท่ีไดจัดทําข้ึน เพื่อทบทวนบทบาทหนาท่ีและความรับผิดชอบของหนวยงานตาง ๆ ท่ีเกี่ยวของ ในการ

เตรียมพรอมรับการระบาดใหญของโรคไขหวัดนกและโรคไขหวัดใหญสายพันธุใหม เพื่อประเมินความพรอมในการประสานงานท้ังภายในและภายนอกหนวยงานตาง ๆ ท่ีเกี่ยวของ เพื่อเพิ่มศักยภาพในการตอบสนองตอสถานการณท่ีอาจเกิดการระบาดใหญของโรคไขหวัดนก

และโรคไขหวดัใหญสายพันธุใหมของหนวยงานที่เกีย่วของ

สําหรับขั้นตอนการดําเนินงาน มีดังนี ้2.1 จัดประชุมหารือกับหนวยงานท่ีเกี่ยวของ จํานวน 2 คร้ัง

คร้ังท่ี 1 วันท่ี 9 มิถุนายน พ.ศ. 2551 ณ โรงแรมวังคํา จังหวัดเชียงราย ไดเชิญผูท่ีเกี่ยวของจํานวน 40 ทาน จาก 26 หนวยงาน ของ 4 อําเภอนํารอง เขารวมประชุม โดยมีวัตถุประสงค เพื่อ

ช้ีแจงและทําความเขาใจรวมกันถึงวัตถุประสงคของการจัดการฝกซอมแผน รับทราบความพรอมของแตละหนวยงานในการจัดการฝกซอมแผน ช้ีแจงและทําความเขาใจรวมกันถึงข้ันตอนของการจัดการฝกซอมแผน และการเตรียมการตาง ๆ

ท่ีจําเปน

คร้ังท่ี 2 วันท่ี 23 มิถุนายน พ.ศ. 2551 ณ โรงแรมวังคํา จังหวัดเชียงราย ผูเขารวมประชุมกลุมเดียวกับการประชุมคร้ังท่ี 1 โดยมีวัตถุประสงค เพื่อ

ใหแตละหนวยงานเขียนบทบาทหนาท่ีและความรับผิดชอบกรณีเกิดการระบาดใหญของ โรคไขหวัดนกและโรคไขหวัดใหญสายพันธุใหม รวมท้ังรายช่ือผูรับผิดชอบ หมายเลขโทรศัพท และโทรสารเพื่อใชเปนขอมูลในการจัดทําเปนเอกสารคูมือตอไป

Page 17: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

สอบถามความคืบหนาของการจัดเตรียม การฝกซอมแผน รับทราบปญหาหรืออุปสรรคในการจดัเตรียมการฝกซอมแผน เพื่อระดมความคิดในการแกไข

อุปสรรคปญหานั้น ๆ กอนการฝกซอมแผน กําหนดการฝกซอมแผนบนโตะ แบบแบงตามบทบาทหนาท่ีและความรับผิดชอบ

(Functional Exercise) ในวันท่ี 27 มิถุนายน พ.ศ.2551 ณ โรงแรมวังคํา จังหวัดเชียงราย

2.2 ดําเนินการฝกซอมแผนเพื่อเตรียมความพรอมรับการระบาดใหญของโรคไขหวัดนกและโรคไขหวัดใหญ จํานวน 2 คร้ัง

คร้ังท่ี 1. วันท่ี 27 มิถุนายน พ.ศ. 2551 ณ โรงแรมวังคํา จังหวัดเชียงราย เปนการฝกซอมแผนบนโตะ แบบจัดกลุมตามบทบาทหนาท่ีและความรับผิดชอบ (Functional Exercise)

คร้ังท่ี 2. วันท่ี 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2551 ณ โรงเรียนสหศาสตรศึกษา อําเภอเมือง จังหวัดเชียงราย เปนการฝกซอมแผนแบบฝกปฏิบัติจริง (Drill Exercise)

3. การจัดทําแผนเตรียมพรอมรับการระบาดใหญ หลังจากท่ีไดมีการซอมแผนสองคร้ัง โดยการซอมแบบจัดกลุมตามบทบาทหนาท่ีและโดยการ

ฝกซอมแผนแบบปฏิบัติจริงแลว ทางคณะทํางานไดรวมกันจัดทําแผนเตรียมความพรอมรับการระบาดใหญของโรคไขหวัดนกและโรคไขหวัดใหญ โดยไดจัดประชุมเชิงปฏิบัติการกับหนวยงานท่ีเกี่ยวของ ในวันท่ี 30 กรกฎาคม พ. ศ. 2551 เพื่อแกไขปรับปรุงรางระเบียบปฏิบัติฯ ท่ีจัดทําข้ึนใหสมบูรณและนําระเบียบปฏิบัติมาใชเปนสวนหนึ่งของแผนฯ ดังกลาว

ในจัดทําแผนฯ ทางคณะทํางานไดเพิ่มระเบียบปฏิบัติของหนวยงานอีก 4 หนวยงาน รวมเปนระเบียบปฏิบัติของหนวยงานตางๆ ท่ีเกี่ยวของท้ังหมด 13 หนวยงาน ดังนี้

สํานักงานปองกันและบรรเทาสาธารณภยั จังหวดัเชียงราย สํานักงานประชาสัมพันธจังหวัดเชียงราย สํานักงานปศุสัตว องคกรปกครองสวนทองถ่ิน ดานควบคุมโรคติดตอระหวางประเทศ กองบังคับการตํารวจภูธรจังหวดัและสถานีตํารวจภูธร หนวยเฉพาะกิจกรมทหารมาท่ี 3 กองกาํลังผาเมือง สํานักงานการไฟฟาสวนภูมิภาค

สถานีวิทยชุุมชน สถานศึกษา

Page 18: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

โรงพยาบาล ทีมเฝาระวงัสอบสวนเคล่ือนท่ีเร็ว (SRRT) อาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) และ พนักงานสาธารณสุขตางดาว (พสต.)

แมวาบุคลากรของหนวยงานท่ีเกี่ยวของไดรวมกันดําเนินการหลายข้ันตอน จนกระท่ังไดแผนการเตรียมความพรอมรับการระบาดใหญของโรคไขหวัดนกและโรคไขหวัดใหญสายพันธุใหมข้ึนมาแลวก็ตามแตทุกหนวยงานจําเปนตองมีความพรอมในดานอ่ืน ๆ ดวย เชน บุคลากร วัสดุอุปกรณ เวชภัณฑทางการแพทย งบประมาณ รวมทั้งการฝกซอมแผนเปนระยะเพื่อใหเกิดความต่ืนตัว และเพื่อใหบุคลลากรท่ีอาจมีการสับเปล่ียนภาระหนาท่ีตามระเบียบบริหารทรัพยากรบุคคลของหนวยงานตาง ๆ ไดรับความรูความเขาใจ และเพิ่มพูนทักษะในการตอบสนองตอสถานการณท่ีอาจเกิดข้ึนไดอยางมีประสิทธิภาพ

Page 19: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

แผนแผนยุทธศาสตรยุทธศาสตรชาติชาติ ::

ปองกันปองกัน แกไขแกไข และเตรีและเตรียมพรอมยมพรอม

รับปญหาโรคไขหวัดนก รับปญหาโรคไขหวัดนก

และการระบาดใหญของ และการระบาดใหญของโรคโรคไขหวัไขหวัดดใหญใหญ

ฉบับท่ีฉบับท่ี 22 ((พพ..ศศ.. 25512551 –– 22555533))

Page 20: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6
Page 21: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

ยุทธศาสตรท่ี 1 การจัดระบบการผลิต และเล้ียงสัตวปก

ยุทธศาสตรท่ี 2 การเฝาระวังปองกันและควบคุมโรคทั้งใน

สัตวและคน

ยุทธศาสตรท่ี 4 ความรวมมือระหวาง

หนวยงานประชาชน ภาคธุรกิจและนานาประเทศ

สํานักนายกรัฐมนตรี

องคกรปกครองสวนทองถ่ิน

กระทรวงเกษตรและสหกรณ

กระทรวงสาธารณสุข

กระทรวงแรงงาน

กระทรวงมหาดไทย

กระทรวงกลาโหม

กระทรวงวิทยาศาสตร และเทคโนโลยี

กระทรวงพาณิชย

กระทรวงการตางประเทศ

กระทรวงคมนาคม

กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

สํานักงานกองทุน สนับสนุนการวิจัย

สภากาชาดไทย

กระทรวงศึกษาธิการ

แผนยุทธศาสตรชาติ : ปองกัน แกไข และเตรียมพรอมรบัปญหาโรคไขหวัดนก และการระบาดใหญของโรคไขหวัดใหญ

ฉบับท่ี 2 (พ.ศ.2551 – 2553) กับหนวยงานท่ีเกี่ยวของ

ยุทธศาสตรท่ี 3 การเตรียมความพรอมรับการระบาดใหญของ

ไขหวัดใหญ

Page 22: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6
Page 23: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

สรุปสรุปแผนยุทธศาสตรแผนยุทธศาสตรแหงแหงชาติชาติ

ปองกัน แกไข และเตรียมพรอมรับปญหาปองกัน แกไข และเตรียมพรอมรับปญหา

โรคไขหวัดนก และการระบาดใหญโรคไขหวัดนก และการระบาดใหญ

ของของโรคโรคไขหวัดใหญไขหวัดใหญ ฉบับท่ี 2 (พ.ศ. 2551 – 2553)

Page 24: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6
Page 25: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6
Page 26: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

จัดทําระบบการตรวจสอบ ยอนกลับในอุตสาหกรรม

สัตวปกเชงิธุรกิจ

ปรับปรุงและพัฒนา รูปแบบการเลี้ยง

สัตวปก

ควบคุมและตรวจสอบการเคลื่อนยาย

สัตวปกและซากสัตวปก

พัฒนาบคุลากรและถายทอดความรูใหแกเกษตรกร ผูประกอบการและลูกจางในกิจการ

เลี้ยงสัตวปก

สงเสริมระบบการฆาสัตวปก ใหมีมาตรฐาน

ศึกษาและวิจัย

ประชาสัมพนัธใหความรู แกเกษตรกรและผูประกอบการ

ฟนฟูระบบการเลี้ยง พันธุ และการตลาดของสัตวปกสวยงามที่ไดรับผลกระทบจากปญหาโรคไขหวัดนกในชวงการระบาดที่ผานมา

ยุทธศาสตรที่ 1 การจัดระบบการผลิตและเลี้ยงสัตวปก

Page 27: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

ยุทธศาสตรที่ 1 การจัดระบบการผลิตและเลี้ยงสัตวปก

วัตถุประสงค

(1) เพื่อปองกันและควบคุมใหสัตวปลอดโรค ผูผลิตสัตวปก ประชาชน และผูบริโภคมีความปลอดภัย มีความม่ันใจในการบริโภคอาหารท่ีมีสวนประกอบของสัตวปก

(2) เพื่อพัฒนาระบบการเคล่ือนยายสัตวปกและผลิตภัณฑ ท้ังในดานบรรจุภัณฑและพาหนะเคล่ือนยายใหสามารถตรวจพบการเกิดโรคไขหวัดนกไดอยางฉับไว และติดตามการเปลี่ยนแปลงของปญหาไดอยางมีประสิทธิภาพ

(3) พัฒนาระบบการตรวจสอบยอนกลับ (Traceability) ของการผลิตสัตวปก (4) เพื่อใหเกิดการฟนฟูและเยียวยาผลกระทบ จาการระบาดของโรคไขหวัดนกตอผูผลิตสัตวปก ในดาน

เศรษฐกิจ สังคม และส่ิงแวดลอม

เปาหมาย

(1) เกษตรกรรายยอย ผูเล้ียงเปดไลทุง เปดเนื้อ สัตวปกพื้นเมือง สัตวปกสวยงาม ไกพื้นเมือง และไกชน มีการปรับปรุงรูปแบบการเล้ียงใหถูกหลักสุขาภิบาล

(2) ระบบการเล้ียงสัตวปกเชิงพาณิชย ระบบการเล้ียงไกชนและสัตวปกสวยงามไดรับการพัฒนาเปนระบบการเล้ียงสัตวท่ีมีความปลอดภัยทางชีวภาพ

(3) มีระบบการจัดการการฆาสัตวปกและการจัดการซากสัตวปก ตลอดจนการคาสัตวปกและผลิตภัณฑสัตวปกท่ีจําหนายในทองตลาด ท่ีมีความปลอดภัยจากโรคไขหวัดนกและเปนมาตรฐานท่ัวประเทศ

(4) ใหมีระบบตรวจสอบยอนกลับในอุตสาหกรรมสัตวปกเชิงธุรกิจ (5) มีการฟนฟูและเยียวยาผูประกอบการเล้ียงและผลิตสัตวปก ท่ีไดรับผลกระทบจากการระบาดของ

โรคไขหวัดนก ท้ังทางเศรษฐกิจ สังคมและส่ิงแวดลอมอยางเปนรูปธรรม

Page 28: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

ยุทธศาสตรที่ 2 การเฝาระวัง ปองกัน และควบคุมโรคทั้งในสัตวและคน

พัฒนาศักยภาพของหองปฏิบัติการเพื่อชันสูตรโรค

พัฒนาศักยภาพและเตรียมความพรอม

ของบุคลากร

พัฒนาศักยภาพในการดูแล วินิจฉัยและรักษาผูปวย

โรคไขหวัดนก

ควบคุมโรคเมื่อสงสัยวามีโรคไขหวัดนกเกิดขึ้น

เฝาระวังโรคและควบคุมโรคในคน

วิจัยและพัฒนา องคความรู

เฝาระวังโรคไขหวัดนกที่มีความรุนแรงต่ํา

เฝาระวังโรคในสัตวปก

เฝาระวังโรค ในนกธรรมชาติ

นกอพยพ และสัตวภายในสวนสัตว

สื่อสารและประชาสัมพันธ

จัดการและสนับสนุนเวชภัณฑ วัสดุอุปกรณปองกัน ควบคุมและรักษาโรค

ไขหวัดนก

การพัฒนาดานการชันสูตรสัตว

การพัฒนาดานการชันสูตรคน

พัฒนาผลิตภัณฑเฝาระวัง และควบคุมโรค

พัฒนาองคความรู

พัฒนาบุคลากรดานวิจัยและพัฒนา

พัฒนาโครงสรางพืน้ฐาน

วิจัยเชิงนโยบาย

พัฒนาระบบฐานขอมูล

Page 29: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

ยุทธศาสตรที่ 2 การเฝาระวัง ปองกัน และควบคุมโรค ทั้งในสัตวและคน

วัตถุประสงค

(1) เพื่อพัฒนาระบบการปองกันและควบคุมโรคท้ังในสัตวและในคน เพื่อปองกนัไมใหเกดิการแพรระบาดของโรค และสามารถควบคุมสถานการณการระบาดของไขหวัดนกไดอยางรวดเร็ว

(2) เพื่อพัฒนาระบบการเฝาระวังโรคใหสามารถตรวจพบการเกิดโรคไขหวัดนกและโรคไขหวัดใหญสายพันธุใหมอยางฉับไว และติดตามการเปล่ียนแปลงของปญหาไดอยางมีประสิทธิภาพ

(3) เพื่อเสริมศักยภาพของสถานบริการสาธารณสุขท่ัวประเทศ ใหสามารถดูแลรักษาผูปวยไขหวัดนกและไขหวัดใหญสายพันธุใหมไดอยางมีประสิทธิภาพ อีกท้ังปองกันการติดเช้ือในสถานบริการและการติดเช้ือของบุคลากรจากการปฏิบัติงาน

(4) เพื่อเสริมสรางศักยภาพในการวิจัยโรคไขหวัดนกเพื่อรองรับสถานการณท่ีอาจเกิดการระบาดของโรคไขหวัดนกและไขหวัดใหญ

เปาหมาย

(1) มีระบบการเฝาระวัง ปองกัน และควบคุมการระบาดในสัตวปกท่ีมีประสิทธิภาพ โดยสามารถดําเนินมาตรการที่เหมาะสมภายใน 12 ชั่วโมง นับจาการไดรับแจงและรับทราบสัตวปกปวยหรือตาย ซึ่งตามกฎหมายโรคระบาดสัตว เกษตรกรตองแจงใหเจาหนาท่ีทราบภายในเวลา 12 ช่ัวโมง และเจาหนาท่ีก็ตองทําลายใหเสร็จภายในเวลา 12 ช่ัวโมงหลังไดรับทราบสถานการณเชนกัน

(2) มีระบบการเฝาระวัง ปองกัน และควบคุมโรคเชิงรุกเพื่อปองกันปญหาการปวยและตายดวยโรคไขหวัดนกในคน

(3) มีโครงสรางพื้นฐานท่ีจําเปน และมีการวิจัยและพัฒนาท่ีสําคัญ พรอมท้ังมีหองปฏิบัติการชันสูตรโรคของสวนกลาง และสวนภูมิภาคที่มีความปลอดภัยทางชีวภาพ และหองปฏิบัติการเคลื่อนที่ ที่พรอมในภาวะฉุกเฉินและจําเปนท้ังในสัตวและในคน

(4) มีทีมบุคลากรที่เฝาระวัง วินิจฉัย และดูแลรักษาพยาบาลและควบคุมโรคทั้งในสัตวและคน มีเวชภัณฑปองกันท่ีจําเปนอยางเพียงพอ เพื่อเฝาระวังปองกันและควบคุมโรคไขหวัดนกอยางมีประสิทธิภาพ

(5) มีสถานบริการสาธารณสุขท่ีมีประสิทธิภาพ ในการดูแลและรักษาผูปวยไขหวัดนกและไขหวัดใหญอยางมีประสิทธิภาพท่ัวประเทศ

Page 30: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

ยุทธศาสตรที่ 3 การเตรียมความพรอม รบัการระบาดใหญของไขหวัดใหญ

พัฒนาระบบการดูแลรักษาพยาบาลการ

ควบคุมและปองกันโรค

พัฒนาระบบปฏิบัติการในภาวะฉุกเฉินดาน

สาธารณสุข

พัฒนาระบบสนับสนุนการบริการผูปวยและการ

ปฏิบัติการในภาวะฉุกเฉิน

พัฒนาระบบและมาตรการควบคุมพื้นที่

เสี่ยง

พัฒนาศักยภาพการตรวจคัดกรองผูเดินทาง

ระหวางประเทศ

พัฒนาศักยภาพการผลิตวัคซีนและยาในประเทศ เพื่อการพึ่งพาตนเองในระยะยาว

พัฒนาศักยภาพการปองกันและควบคุมโรคโดยมาตรการที่ไมใชเวชภัณฑ

(Non-pharmaceutical interventions)

ประชาสัมพันธ

Page 31: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

ยุทธศาสตรที่ 3 การเตรียมความพรอมรับการระบาดใหญของไขหวัดใหญ

วัตถุประสงค

(1) เพื่อปองกันการเกิดการระบาดใหญของโรคไขหวัดใหญ (2) เพื่อเตรียมพรอมรับสถานการณการแพรระบาด โดยใหความสําคัญกับการดูแลรักษาพยาบาลผูปวย

และการประสานงานเพ่ือแกไขปญหาเม่ือการระบาดใหญของไขหวัดใหญ (3) เพื่อลดการปวย การตาย และลดผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคม อันเนื่องมาจากการระบาดใหญ

ของโรคไขหวัดใหญ รวมท้ังใหระบบบริการสาธารณะของประเทศเปนไปโดยปกติเม่ือเกิดการระบาดใหญ

เปาหมาย

(1) ประเทศไทยสามารถจัดการในภาวะฉุกเฉินดานสาธารณสุขอยางมีประสิทธิภาพเม่ือเกิดการระบาดใหญ (1.1) มีการจัดทําแผนและการซอมแผนรองรับการระบาดของโรคไขหวัดใหญของประเทศ จังหวัด อําเภอ ตําบล หนวยบริการสาธารณสุข ดานควบคุมโรคติดตอระหวางประเทศ รวมท้ังภาคธุรกิจ สาธารณูปโภคพื้นฐาน และองคกรภาคประชาชน เชน สถานบริการเล้ียงเด็ก โรงมหรสพ สถานีขนสง เปนตน (1.2) มีมาตรฐานการเตรียมความพรอมดานระบบ Command System และมาตรฐานของผูปฏิบัติการ (1.3) มีศูนยปฏิบัติการตอบโตในภาวะฉุกเฉินดานสาธารณสุข และมีการพัฒนาบุคลากรทางการแพทยในภาวะฉุกเฉินดานสาธารณสุข (1.4) มีระบบส่ือสารสาธารณะสําหรับประชาชนในภาวะฉุกเฉินดานสาธารณสุข (1.5) มีความพรอมในการดูแลรักษาพยาบาลผูปวยในสถานบริการทั้งภาครัฐและเอกชนในทุกระดับ รวมถึงการจัดต้ังโรงพยาบาลสนาม เม่ือสถานบริการมีผูปวยเปนจํานวนมาก

(2) ประเทศไทยสามารถปองกัน ควบคุม และรักษาโรคไขหวัดใหญอยางมีประสิทธิภาพ (3) ประเทศไทยสามารถพึ่งพาตนเองในการผลิตวัคซีน ยาตานไวรัส เวชภัณฑ และวัสดุอุปกรณ

ท่ีจําเปนเพื่อปองกันโรคไขหวัดใหญในระยะยาว (4) ประชาชนและชุมชนท่ัวประเทศสามารถดูแลตนเอง และใหความชวยเหลือซ่ึงกันและกันตลอด

ชวงการระบาดใหญ

Page 32: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

ยุทธศาสตรที่ 4 ความรวมมอืระหวางหนวยงาน ประชาชน ภาคธุรกิจ และนานาประเทศ

สนับสนุนการรวมตัวของกลุมเกษตรกรและสหกรณผู

เลี้ยงสัตวปกรายยอย

พัฒนาเครือขายภาคประชาชน

พัฒนาความรวมมือกับภาคธุรกิจในการเตรียมความพรอม

เมื่อมีการระบาดใหญ

พัฒนาความรวมมือระหวางประเทศทั้งในระดับทวิภาคีและ

พหุภาคี

พัฒนาระบบบริหารจัดการระหวางหนวยงานที่เกี่ยวของ

ศึกษาและวิจัย

การสื่อสาร ประชาสัมพันธ

Page 33: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

ยุทธศาสตรที่ 4 ความรวมมือระหวางหนวยงาน ประชาชน ภาคธุรกิจ และนานาประเทศ

วัตถุประสงค

(1) เพื่อสงเสริมบทบาทของภาคประชาชน ภาคเอกชน และภาคธุรกิจในการปองกันและควบคุมการระบาดของโรคไขหวัดนกและไขหวัดใหญอยางเขมแข็งรวมกับทางราชการ

(2) เพื่อสรางความเขมแข็งของเครือขายอาสาสมัครในการปองกัน ควบคุม และเฝาระวังโรคระบาด ซ่ึงเปนระบบของชุมชน โดยชุมชนและเพ่ือชุมชน

(3) เพื่อสงเสริมความรวมมือระหวางประเทศในการปองกัน ควบคุมโรค และรักษาสิทธิประโยชนของประเทศไทย

(4) เพื่อเผยแพรขอมูลขาวสาร และสรางความรูความเขาใจแกประชาชนอยางท่ัวถึงและมีประสิทธิภาพ (5) เพื่อสรางความเขาใจที่ถูกตองตอนานาประเทศเกี่ยวกับสถานการณไขหวัดนกในประเทศไทย

ท้ังในและนอกฤดูกาลระบาด และเพื่อรักษาและสงเสริมภาพลักษณ และผลประโยชนของประเทศในดานเศรษฐกิจ

เปาหมาย

(1) มีเครือขายอาสาสมัครเฝาระวัง ปองกันและควบคุมโรคของชุมชนในทุกระดับ ต้ังแตระดับหมูบาน ตําบล ไปจนถึงระดับอําเภอ/เขต

(2) มีเครือขายการเฝาระวังปองกันควบคุมโรค โดยหนวยงานนอกภาครัฐ โดยเฉพาะภาคธุรกิจท่ีเกี่ยวของกับการผลิต

(3) มีชองทางการส่ือสารประชาสัมพันธท้ังในและนอกฤดูกาลระบาดที่ครอบคลุมทุกจังหวัด และสามารถเขาประชากรกลุมเปาหมาย ไดแก กลุมผูเล้ียงไกไข ไกเนื้อ ผูเล้ียงเปด ผูเล้ียงไกชนและสัตวปกสวยงาม ผูประกอบการโรงฆาสัตวขนาดยอม ชมรมและสมาคมตลาดสด ชมรมผูประกอบการคาอาหาร

(4) มีแนวทางการเฝาระวังและควบคุมโรค และการดูแลรักษาพยาบาลรวมกับตางประเทศ (5) มีชองทางประชาสัมพันธแกประชาคมระหวางประเทศ

Page 34: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

คณะกรรมการศูนยปฏิบัติการปองกันคณะกรรมการศูนยปฏิบัติการปองกัน และแกไขปญหาการแพรระบาดโรคไขหวัดนก และแกไขปญหาการแพรระบาดโรคไขหวัดนก

ระดับจังหวัด และอําเภอของจังหวัระดับจังหวัด และอําเภอของจังหวัดเชียงรายดเชียงราย

Page 35: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6
Page 36: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

การแตงตั้งคณะกรรมการศูนยปฏิบัติการปองกันและแกไขปญหาการแพรระบาดโรคไขหวัดนก จังหวัดเชียงราย โดยนายอมรพันธุ นิมานนัท ผูวาราชการจังหวัด ส่ัง ณ วันท่ี ๑๙ กุมภาพันธ พ. ศ.๒๕๕๐

เปนคําส่ังจังหวัดเชียงราย ท่ี ๒๕๗/๒๕๕๐ โดยคําส่ังดงักลาวแจงวา

“ตามที่ไดมีสถานการณโรคไขหวัดนก แพรระบาดในสัตวปก ในหลายจังหวัดของประเทศไทย ซ่ึงหากมีการแพรระบาดเปนวงกวาง จะมีผลกระทบกับเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ และเกิดความเดือดรอนแกผูบริโภคและเกษตรกรผูเล้ียงสัตวปก รวมท้ังชีวิตของประชาชนท่ัวไป ประกอบกับขณะน้ีโรคไขหวัดนกถือไดวาเปนโรคประจําถ่ิน จําเปนจะตองมีการเฝาระวังและควบคุม ปองกันโรคตลอดเวลา มิใชตามฤดูกาลเส่ียงท่ีจะเกิดโรค ดังนั้นเพื่อใหการควบคุม ปองกันโรคไขหวัดนกในจังหวัดเชียงราย เปนไปอยางมีประสิทธิภาพ จึงใหยกเลิกคําส่ังจังหวัดเชียงราย ท่ี ๒๕๑๒/๒๕๔๗ ลงวันท่ี ๔ ตุลาคม ๒๕๔๗ และใหแตงต้ังคณะกรรมการศูนยปฏิบัติการปองกันและแกไขปญหาการแพรระบาดโรคไขหวัดนก ระดับจังหวัดและระดับอําเภอ พรอมคณะทํางานตางๆ เพื่อปฏิบัติการปองกันและแกไขปญหาการแพรระบาดโรคไขหวัดนก” ดังนี้

Page 37: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

คณะกรรมการศูนยปฏิบติัการปองกันและแกไขปญหาการแพรระบาดโรคไขหวัดนก ระดับจังหวัด ประกอบดวย

ผูวาราชการจังหวัดเชียงราย ประธานกรรมการ

รองผูวาราชการจังหวัดเชียงราย รองประธานกรรมการ

ปลัดจังหวดัเชียงราย กรรมการ

ผูบังคับการจังหวดัทหารบกเชียงราย กรรมการ

ผูบังคับการตํารวจภูธรจังหวัดเชียงราย กรรมการ

ผอ.ศูนยวทิยาศาสตรการแพทยเชียงราย กรรมการ

ผอ.โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห กรรมการ

นายแพทยสาธารณสุขจังหวัดเชียงราย กรรมการ

ผอ.สํานกังานเขตพื้นทีก่ารศึกษาที ่1-4 กรรมการ

หัวหนาสํานักงานจังหวัดเชียงราย กรรมการ

ผอ.สํานกังานบริหารพื้นทีอ่นุรักษที่ 15 กรรมการ

ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม จังหวัดเชียงราย กรรมการ

นายกเทศมนตรีนครเชียงราย กรรมการ

นายกองคการบริหารสวนจังหวัดเชียงราย กรรมการ

เกษตรและสหกรณจังหวัดเชียงราย กรรมการ

ประมงจังหวัดเชียงราย กรรมการ

เกษตรจังหวัดเชียงราย กรรมการ

ประชาสัมพันธจังหวัดเชียงราย กรรมการ

พัฒนาการจังหวัดเชียงราย กรรมการ

หน.สนง.ปองกันและบรรเทาสาธารณภัย จังหวัดเชียงราย กรรมการ

ทองถิน่จังหวัดเชยีงราย กรรมการ

นายอําเภอทุกอําเภอ กรรมการ

ผบ.หนวยปฏิบัติการรักษาความสงบ เรียบรอยตามลําน้าํโขง กรรมการ

นายดานศุลกากรแมสาย กรรมการ

นายดานศุลกากรเชียงของ กรรมการ

นายดานศุลกากรเชียงแสน กรรมการ

หัวหนาดานกักกนัสัตวเชียงราย กรรมการ

ปศุสัตวจังหวดัเชียงราย กรรมการ/เลขานกุาร

ปองกันจังหวัดเชยีงราย กรรมการ/ผูชวยเลขานุการ

หัวหนางานระบาดวิทยา สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงราย กรรมการ/ผูชวยเลขานุการ

หัวหนากลุมพัฒนาสุขภาพสัตว สํานักงานปศุสัตวจังหวัดเชียงราย กรรมการ/ผูชวยเลขานุการ

Page 38: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

มีหนาที่ดังน้ี

1. กําหนดนโยบายและยุทธศาสตรระดับจังหวัด ในการปองกันและควบคุมการระบาดของ

โรคไขหวัดนก ใหเหมาะสมกับสถานการณ และเปนไปตามนโยบายของรัฐบาล 2. อํานวยการจัดระบบการประสานงาน และการส่ือสารการปฏิบัติในชวงวิกฤติ เชน กรณีเกิดการระบาดของโรค กําหนดมาตรการควบคุมปองกันโรคไขหวัดนก สนับสนุน ใหมีการเตรียมความพรอม รวมท้ังการกํากับติดตามผลการดําเนินงานของทุกหนวยงานท่ีเกี่ยวของถือปฏิบัติ 3. ดําเนินการบูรณาการงบประมาณ และรับผิดชอบ ในการขอตั้งงบประมาณเพ่ือใหสอดคลองกับการดําเนินการตามยุทธศาสตร แกไขปญหาโรคไขหวัดนกของจังหวัด 4. รวบรวมขอมูลขาวสาร และผลการดําเนินงานของจังหวัด รวมท้ังการประชาสัมพันธเผยแพรขาวสาร เพื่อสรางความเช่ือม่ันใหกับประชาชน 5. ต้ังคณะอนุกรรมการหรือคณะทํางาน รวมท้ังมอบหมายใหสวนราชการทุกกระทรวง รัฐวิสาหกิจ และหนวยงานของรัฐในจังหวัดเชียงราย ใหการสนับสนุนการปฏิบัติงานของคณะกรรมการตามท่ีรองขอ 6. ปฏิบัติงานอ่ืนใด ตามท่ีคณะกรรมการ แกไขปญหาโรคไขหวัดนกแหงชาติมอบหมาย

Page 39: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

คณะกรรมการศูนยปฏิบติัการปองกันและแกไขปญหาการแพรระบาดโรคไขหวัดนก ระดับอําเภอ ประกอบดวย

นายอําเภอ/ปลัดอําเภอผูเปนหัวหนาก่ิงอําเภอทุกแหง ประธานกรรมการ

ปลัดอําเภอหัวหนาฝายบริหารงานปกครอง รองประธานกรรมการ

ผูกํากับการสถานีตํารวจภูธร กรรมการ

ผูอํานวยการโรงพยาบาลประจําอําเภอ กรรมการ

สาธารณสุขอําเภอ กรรมการ

พัฒนาการอําเภอ กรรมการ

ทองถ่ินอําเภอ กรรมการ

นายกเทศมนตรีตําบลทุกแหง กรรมการ

นายกองคการบริหารสวนตําบลทุกแหง กรรมการ

เกษตรอําเภอ กรรมการ

ประมงอําเภอ กรรมการ

ปศุสัตวอําเภอ กรรมการ/เลขานุการ

ปลัดอําเภอหัวหนาฝายความมั่นคง กรรมการ/ผูชวยเลขานุการ

Page 40: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

มีหนาที่ดังน้ี

1. อํานวยการ ส่ังการ ประสานงานเพื่อใหการปฏิบัติการแกไขปญหาโรคไขหวัดนก เปนไปตามนโยบาย

ของคณะกรรมการแกไขปญหาโรคไขหวัดนก ระดับจังหวัด 2. กําหนดมาตรการ ควบคุมและ ปองกันโรคไขหวัดนก ในพื้นท่ีรับผิดชอบใหหนวยงานท่ีเกี่ยวของถือปฏิบัติ 3. ติดตามสถานการณการแพรระบาด และช้ีแจง เผยแพร ขอมูลขาวสารที่ถูกตอง และเปนประโยชน ตอการแกไขปญหาโรคไขหวัดนกระดับพื้นท่ี 4. ปฏิบัติงานอ่ืน ๆ ตามท่ีคณะกรรมการศูนยปฏิบัติการปองกันและแกไขปญหาการแพรระบาดโรคไขหวัดนก ระดับจังหวัดมอบหมาย

Page 41: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

คณะทํางานประชาสัมพันธ ประกอบดวย

มีหนาที่ดังน้ี

1. ประชาสัมพันธ และประสานงานส่ือมวลชนทุกแขนง

2. ช้ีแจงเผยแพรขอมูลขาวสาร ท่ีถูกตองและเปนประโยชนตอการแกไขปญหาโรคไขหวัดนก 3. ปฏิบัติงานอ่ืนใด ดานการประชาสัมพันธ ตามที่คณะกรรมการศูนยปฏิบัติการปองกันและแกไขปญหาการแพรระบาดโรคไขหวัดนกระดับจังหวัดมอบหมาย

ประชาสัมพันธจังหวัดเชียงราย หัวหนาคณะทํางาน

ผูอํานวยการ/หัวหนาสถานีวิทยุกระจายเสียงทุกแหง รองประธานกรรมการ

นักประชาสัมพันธ 7 เลขานุการ

นายเกรียงศักด์ิ พิมพงาม นายสัตวแพทย 8 วช. ผูชวยเลขานุการ

Page 42: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

คณะทํางานควบคุมการเคลื่อนยายสัตวภายในจังหวัดและนําเขาราชอาณาจักร ประกอบดวย

ผูบังคับการตํารวจภูธรจังหวัดเชียงราย ประธานกรรมการ

ผูกํากับการตํารวจตรวจคนเขาเมืองแมสาย กรรมการ

ผูบังคับการหนวยปฏิบัติการรักษาความสงบเรียบรอยตามลํานํ้าโขง กรรมการ

ปศุสัตวจังหวัดเชียงราย กรรมการ

ปองกันจังหวัดเชียงราย กรรมการ

นายดานศุลกากรแมสาย กรรมการ

นายดานศุลกากรเชียงแสน กรรมการ

นายดานศุลกากรเชียงของ กรรมการ

สารวัตรตรวจคนเขาเมืองเชียงแสน กรรมการ

สารวัตรตรวจคนเขาเมืองเชียงของ กรรมการ

สารวัตรตํารวจนํ้าเชียงแสน กรรมการ

สารวัตรตํารวจนํ้าเชียงของ กรรมการ

หัวหนาดานตรวจสัตวนํ้าเชียงราย กรรมการ

หัวหนาดานอาหารและยาเชียงแสน กรรมการ

หัวหนาดานอาหารและยาแมสาย กรรมการ

หัวหนาดานอาหารและยาทาอากาศยานเชียงราย กรรมการ

หัวหนาดานกักกันสัตวเชียงราย กรรมการ/เลขานุการ

สัตวแพทย ดานกักกันสัตวเชียงราย กรรมการ/ผูชวยเลขานุการ

Page 43: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

มีหนาที่ดังน้ี 1. วางแผน และตั้งจุดตรวจสกัดการลักลอบ เคลื่อนยายสัตวปก และนําวัคซีนไขหวัดนกเขามาในจังหวัดและในราชอาณาจักรไทย ตามเขตพ้ืนท่ีรับผิดชอบ 2. ปฏิบัติงานอ่ืนใดท่ี คณะกรรมการศูนยปฏิบัติการปองกนัและแกไขปญหาการแพรระบาดโรคไขหวดันก ระดับจังหวดัมอบหมาย

Page 44: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

การอํานวยการการอํานวยการ และและ

การสั่งการในภาวะวิกฤตการสั่งการในภาวะวิกฤต

Page 45: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6
Page 46: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

การอํานวยการการอํานวยการในภาวะวิกฤตในภาวะวิกฤต

ตามองคประกอบของพระราชบัญญัติปองกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ.2550 คณะกรรมการปองกันและบรรเทาสาธารณภัยแหงชาติ เปนผูรับผิดชอบนโยบาย โดยมีผูอํานวยการปองกันและบรรเทาสาธารณภัยระดับตาง ๆ เปนผูรับผิดชอบนํานโยบายไปปฏิบัติ ท้ังนี้มีกรมปองกันและบรรเทาสาธารณภัย เปนหนวยงานกลางของรัฐในการดําเนินการเกี่ยวกับ การปองกันและบรรเทาสาธารณภัยของประเทศ และเปนกองบัญชาการของรัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย ในฐานะผูบัญชาการปองกันและบรรเทาสาธารณภัยแหงชาติ ในระดับจังหวัด มีกองอํานวยการปองกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด ประกอบดวย ผูวาราชการจังหวัด เปนผูอํานวยการ มีผูแทนองคการบริหารสวนจังหวัด สวนราชการ องคกรตาง ๆ ในพื้นท่ีรวมปฏิบัติงานในกองอํานวยการ กองอํานวยการฯ ในระดับจังหวัดมีหนาท่ีรับผิดชอบ เปนหนวยงานหลักในการปองกัน บรรเทา และฟนฟูภัยพิบัติ ท่ีเกิดข้ึนในพื้นท่ีความรับผิดชอบ

ในระดับพื้นท่ี มีกองอํานวยการปองกันและบรรเทาสาธารณภัยในระดับตางๆ ไดแก 1) กองอํานวยการปองกันและบรรเทาสาธารณภัยอําเภอ ประกอบดวย นายอําเภอ เปนผูอํานวยการ และมีปลัดอําเภอ หัวหนาสวนราชการประจําอําเภอ ผูแทนองคกรปกครองสวนทองถ่ิน และภาคเอกชนในพื้นท่ีรวมปฏิบัติงานในกองอํานวยการฯ 2) กองอํานวยการปองกันและบรรเทาสาธารณภัยองคการบริหารสวนตําบล ประกอบดวย นายกองคการบริหารสวนตําบล (อบต.) เปนผูอํานวยการ และมีปลัด อบต. กํานัน ผูใหญบาน และภาคเอกชนในพ้ืนท่ีรวมในกองอํานวยการ 3) กองอํานวยการปองกนัและบรรเทาสาธารณภัยเทศบาล ประกอบดวย นายกเทศมนตรี เปนผูอํานวยการ และมีปลัดเทศบาล หัวหนาสวนราชการ และภาคเอกชน ในพื้นท่ีรวมในกองอํานวยการ กองอํานวยการปองกันและบรรเทาสาธารณภัยเขตทองท่ี มีหนาท่ี ดังตอไปนี้

1. อํานวยการ ควบคุม กํากับดูแล และแนะนํา เกี่ยวกับการดําเนินงานในการปองกันและบรรเทาสาธารณภัยในเขตทองท่ี 2. สนับสนุนกองอํานวยการปองกันและบรรเทาสาธารณภัยเขตทองท่ีอ่ืน ๆเม่ือไดรับการรองขอ 3. ประสานงานกับสวนราชการและหนวยงานท่ีเกี่ยวของในเขตทองท่ี รวมท้ังประสานความรวมมือภาคเอกชนในการดําเนินงานทุกข้ันตอนในการปองกันและบรรเทาสาธารณภัย

Page 47: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

การส่ังการในภาวะวิกฤต

การปฏิบัติเมื่อเกิดภัย ไดแก การขจัดหรือลดความรุนแรงของภัย รวมทั้งการรักษาขวัญและความเปนระเบียบในการปฏิบัติหนาท่ีของเจาหนาท่ีและประชาชนใหคงไว เปนงานท่ีทุกฝายท้ังภาครัฐและเอกชน และประชาชนจะตองรวมแรงรวมใจกันดําเนินการเปนการเรงดวน เพื่อใหภาวะภัยหมดส้ินโดยเร็ว โดยกองอํานวยการปองกันและบรรเทาสาธารณภัยทุกระดับทําหนาท่ีในการอํานวยการใหทุกสวนราชการ องคกรเอกชนและบุคคลในเขตรับผิดชอบเขาดําเนินการปฏิบัติใหเปนไปดวยความเรียบรอยและมีประสิทธิภาพ โดยมีวัตถุประสงคดังนี้

• เพื่อสงวนรักษาชีวิตและทรัพยสินของราชการและประชาชน

• เพื่อระงับภัยท่ีเกิดข้ึนใหยุติลงโดยเร็ว และบรรเทาอันตรายอันเกิดตอเนื่องจากภัยพิบัติ หรือสาธารณภัย

• เพื่อรักษาขวัญและกําลังใจ และความเปนระเบียบในการปฏิบัติหนาท่ีของเจาหนาท่ีและ ประชาชนใหคงไวระหวางท่ีภัยพิบัติหรือสาธารณภัยยังปรากฎอยู

หลักการปฏิบัติของกองอํานวยการปองกันและบรรเทาสาธารณภัย เม่ือเกิดสาธารณภัยข้ึนจะดําเนินการดังนี้

เม่ือเกิดสาธารณภัยข้ึนในทองท่ีใด ใหผูอํานวยการปองกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด ดําเนินการประกาศภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน

การจัดต้ังศูนยอํานวยการเฉพาะกิจเพื่อ 1. ดําเนินการควบคุมพื้นท่ีท่ีประสบภัยและอํานวยการปฏิบัติท้ังปวงในพื้นท่ีนั้น 2. ดําเนินการประกาศแนะนํา แจงเตือนประชาชนและเจาหนาท่ีใหหลบภัย หรือเตรียมการปองกันเพื่อลดอันตรายและความเสียหาย หากจําเปนและสมควรใหผูอํานวยการปองกันและบรรเทาสาธารณภัยเขตทองท่ี ส่ังการใหดําเนินการปองกันภัยตามแผนท่ีเตรียมการไวลวงหนาตามควรแกกรณี

เม่ือภัยลุกลามจนเกินกําลังของหนวยจะระงับภัยไดโดยลําพัง หรือไมอาจระงับไดโดยเร็วตามขีดความสามารถที่มีอยู ใหกองอํานวยการปองกันและบรรเทาสาธารณภัย เขตทองท่ี แจงขอกําลังสมทบจากกองอํานวยการปองกันและบรรเทาสาธารณภัยเขตทองท่ีติดตอ หรือเขตทองท่ีอ่ืน ตามท่ีไดมีการประสานกันไว

กรณีท่ีเกิดสาธารณภัยอยางรุนแรงเกินขีดความสามารถ ของกองอํานวยการปองกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด จะสามารถรับสถานการณได ผูบังคับบัญชาการปองกันและบรรเทาสาธารณภัยแหงชาติ มีหนาท่ีรับผิดชอบในการปองกันและบรรเทาสาธารณภัยท่ีเกิดข้ึน ท่ัวราชอาณาจักร จําเปนท่ีจะตองจัดต้ังศูนยอํานวยการเฉพาะกิจชวยเหลือผูประสบภัยในพื้นท่ีเกิดเหตุใหท่ัวถึงภายใน 24 ช่ัวโมง

Page 48: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

ในกรณีเกิดการระบาดใหญของโรคไขหวัดใหญจะมีการตั้งศูนยอํานวยการปฏิบัติการปองกันและ

แกไขปญหาการระบาดใหญของโรคไขหวัดใหญระดับจังหวัด ของทางฝายสาธารณสุขโดยเชิญผูวาราชการ

จังหวัด เปนผูอํานวยการศูนยฯ และหัวหนาสวนราชการตางๆ เปนคณะกรรมการ ดังรายละเอียดตอไปนี ้

ศูนยอํานวยการปฏิบัติการปองกันและแกไขปญหาการระบาดใหญของโรคไขหวัดใหญ ระดับจังหวัด

1. คณะกรรมการอํานวยการ คณะกรรมการอํานวยการปองกันและแกไขปญหาการระบาดใหญของไขหวัดใหญ

ระดับจังหวัด มีองคประกอบดังนี้ ผูวาราชการจังหวัด เปนผูอํานวยการศูนย ฯ หัวหนาสวนราชการตาง ๆ ประจําจังหวดั นายกองคการบริหารสวนจังหวัด และนายกเทศมนตรี ภาคเอกชนและมูลนิธิตาง ๆ นายแพทยสาธารณสุขจังหวัด เปนเลขานกุาร นายแพทย 9 ดานเวชกรรมปองกัน เปนผูชวยเลขานกุาร ผูอํานวยการโรงพยาบาลศูนยเชียงรายประชานุเคราะห เปนผูชวยเลขานุการ ผูอํานวยการสํานักงานปองกันควบคุมโรคท่ี10 เชียงใหม เปนผูชวยเลขานุการ

2. บทบาทหนาท่ีของคณะกรรมการอํานวยการ 2.1 กําหนดนโยบายและจัดทํายุทธศาสตรระดับจังหวดัในการเฝาระวัง ปองกนั และควบคุมการ ระบาดใหญของไขหวดัใหญ 2.2 ประสานและดําเนินการเก่ียวกับการจัดหางบประมาณ 2.3 อํานวยการและสนับสนุนใหเกิดการเตรียมพรอมและปฏิบัติการในจังหวัด 2.4 เปนศูนยรวมขอมูลขาวสารและการประชาสัมพันธ

2.5 เตรียมพรอมดานตาง ๆ ไดแก

• ระบบเครือขายและระบบส่ือสาร

• ครุภัณฑและยานพาหนะ

• เวชภณัฑและอุปกรณตาง ๆ 2.6 ติดตามประเมินผลการดําเนนิงานในจังหวดั

Page 49: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

3. โครงสรางศูนยอํานวยการปฏิบัติการปองกันและแกไขปญหาการระบาดใหญของโรคไขหวัดใหญ ระดับจังหวัด

3.1 โครงสราง 3.1.1 ฝายอํานวยการ 3.1.2 ฝายประสานการชวยเหลือ 3.1.3 ฝายรับบริจาคและบัญชี 3.1.4 ฝายฟนฟูบูรณะ 3.1.5 ฝายเฝาระวังและควบคุมโรค 3.1.6 ฝายประชาสัมพันธและการส่ือสาร 3.1.7 ฝายรักษาพยาบาล 3.1.8 ฝายรักษาความสงบเรียบรอย 3.1.9 สวนสนับสนนุ 3.1.10 คณะท่ีปรึกษา

3.2 บทบาทหนาท่ีของฝายตาง ๆ มีดังนี ้

3.2.1 ฝายอํานวยการ งบประมาณพสัดุและงานกําลังพล ติดตามขาวกรอง รายงานสถานการณ และรวบรวมขอมูลวิเคราะหสถานการณ

โรคระบาด และประเมินสถานการณการระบาดใหญของโรคไขหวัดใหญ ประสานการปฏิบัติงานกับหนวยงานตาง ๆ ภายในจังหวดั หนวยงานสนับสนุนและ

องคกรตาง ๆ เพื่อแกไขปญหาจากการดําเนนิงาน ประสานและติดตามผลการปฏิบัติงานของฝายตาง ๆ ตามภารกจิท่ีไดรับมอบหมาย

ใหเปนไปตามนโยบายและการส่ังการของผูอํานวยการศูนยปฏิบัติการ ฯ ของจงัหวดั รับมอบและถือปฏิบัติตามนโยบาย และคําส่ังของผูอํานวยการศูนยปฏิบัติการฯ

ของจังหวดั ตรวจสอบงานและเร่ืองราวของฝายตาง ๆ กอนนําเสนอผูบังคับบัญชาเพื่อพิจารณาอนุมัติ จัดประชุมตาง ๆ ในภารกิจท่ีเกี่ยวของของศูนย ฯ หรือตามท่ีผูอํานวยการศูนย ฯ มอบหมาย จัดต้ังทีมตาง ๆ เชน ทีมอํานวยการ ทีมปฏิบัติการฉุกเฉิน ทีมเฝาระวังโรคเคล่ือนท่ีเร็ว

ทีมรักษาพยาบาล ทีมประชาสัมพันธและส่ือสาร และทีมสนับสนุนการปฏิบัติการ งานจัดต้ังศูนยส่ังการและศูนยขอมูลดานตาง ๆ และการส่ังการปฏิบัติภารกิจของสวน

อ่ืน ๆ ท่ีเกี่ยวของ ใหขอมูลและคําแนะนําดานวิชาการ ในการเฝาระวังสอบสวน ควบคุม และปองกันการ

ระบาดใหญของโรคไขหวัดใหญ ปฏิบัติการควบคุมและปองกันโรครวมกบัสวนปฏิบัติการตาง ๆ

Page 50: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

ชวยเหลือเคล่ือนยายประชาชนและจดัสถานท่ีพักพิงท่ีมีความปลอดภยั เพื่อปองกันการ แพรระบาด

ปฏิบัติงานธุรการและงานบริการตาง ๆ รวมท้ังงานท่ีไมไดอยูในความรับผิดชอบของฝายใด 3.2.2. ฝายประสานการชวยเหลือ

ประสานเคร่ืองมือเคร่ืองใช จัดเตรียม และจัดหาเคร่ืองมือเคร่ืองใช ยานพาหนะและ ครุภณัฑการแพทย เพื่อใชในการรักษาพยาบาลและชวยชีวิตผูปวย

ประสานหนวยแพทยและพยาบาล เพื่อใหสามารถรักษาพยาบาลผูปวย และการ เคล่ือนยายผูปวย กรณีท่ีเกินขีดความสามารถของสถานพยาบาลในพ้ืนท่ี

ประสานงานดานการขนสง เพื่อขนสงส่ิงของตาง ๆ ท้ังเคร่ืองอุปโภคบริโภคจากศูนย ปฏิบัติการฯ ระดับจังหวดั ไปใหหนวยงานตาง ๆ หรือรับขนสงส่ิงของจากผูบริจาค มายังศูนยปฏิบัติการ ฯ

การระดมอาสาสมัครเพ่ือสนับสนุนการปฏิบัติภารกิจ จัดหาที่อยูอาศัย จัดระบบสุขาภิบาลและอนามัยส่ิงแวดลอม ในสถานพยาบาล

ใหมีประสิทธิภาพ เพื่อลดความเส่ียงในการแพรกระจายเช้ือโรคไขหวัดใหญไปสูชุมชน จัดเตรียมเคร่ืองอุปโภคบริโภคสําหรับการปฏิบัติภารกิจของฝายตาง ๆ ใหเพยีงพอ

3.2.3 ฝายรับบริจาคและบัญชี จัดต้ังศูนยบริจาคเงิน ส่ิงของ ท้ังเคร่ืองอุปโภคและบริโภค และจัดทําบัญชีควบคุมการรับ

จาย รวมท้ังจัดทํารายงานสรุปเพื่อรายงานผูอํานวยการศูนยปฏิบัติการ ฯ ทราบ จัดเก็บรักษาส่ิงของท่ีไดรับบริจาค และจัดสรรส่ิงของท่ีรับบริจาคตามท่ีผูอํานวยการศูนย

ปฏิบัติการฯ มอบหมาย 3.2.4 ฝายฟนฟูบูรณะ

เฝาระวังหลังเกิดโรคไขหวดัใหญระบาด โดยการเฝาระวัง ณ จุดเกิดโรค การเฝาระวงั ผูสัมผัสผูปวยและบุคคลในครอบครัว รวมท้ังการสํารวจหลังการระบาด

จัดการสงเคราะหผูประสบภยั หรือไดรับผลกระทบจากการระบาดใหญของโรคไขหวดัใหญ 3.2.5 ฝายเฝาระวังและควบคุมโรค

วิเคราะหขอมูลและรายงานสถานการณการระบาดใหญของโรคไขหวัดใหญ ในจังหวดั และจังหวัดใกลเคียง

สอบสวนและควบคุมโรค วิเคราะหและประเมินสถานการณการระบาดใหญของไขหวัดใหญ และแจงเตือนภยั

การระบาดของโรค ติดตามผูสัมผัสผูปวย ครอบครัว และเจาหนาท่ี

3.2.6 ฝายประชาสัมพันธและการส่ือสาร มีหนาท่ีดานการส่ือสารและประชาสัมพันธ ซ่ึงประกอบดวย 2 กลุมงาน คือ

Page 51: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

กลุมงานส่ือสาร ติดต้ัง ควบคุม กํากับ ดแูลเคร่ืองมืออุปกรณและระบบการส่ือสารท่ีทันสมัยในการ

ติดตอประสานงานตามเครือขายตาง ๆ รับสงขาวสารขอมูลในภารกจิตาง ๆท่ีเกี่ยวของกับศูนย ฯ กําหนดแนวทางและขอกําหนดสําหรับการประสานการปฏิบัติในการสงขอมูลและ

ขาวสารแกหนวยงานตาง ๆ ท่ีเกี่ยวของภายในจังหวัด ติดต้ัง ควบคุม กํากับ ดแูล ระบบไฟฟา เสียง และแสงสวางในบริเวณศูนย ฯ ของจังหวัด จัดต้ังศูนยฮ็อตไลนเพื่อใหบริการตอบขอซักถามของประชาชนตลอด 24 ช่ัวโมง

กลุมงานประชาสัมพันธ ประชาสัมพันธและจัดการดานขาวสารเพือ่ใหขอเท็จจริงแกสาธารณชนภายในจังหวดั ประสานความรวมมือกับส่ือมวลชน หนวยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และองคกร

ชุมชนภายในจังหวดั เพื่อสนับสนุนการเฝาระวังปองกนัและควบคุมโรคไขหวัดใหญ กําหนดผูทําหนาท่ีเปนโฆษกประจําศูนยฯ ของจังหวดั และผูทําหนาท่ีสํารองกรณีท่ี

ผูทําหนาท่ีหลักไมสามารถปฏิบัติงานได จัดระบบและจัดหาเคร่ืองมือส่ือสารท่ีจําเปนและทันสมัย

3.2.7 ฝายรักษาพยาบาล จัดระบบการคัดกรองผูปวยในสถานบริการพยาบาล จัดระบบการดแูลผูปวยฉุกเฉินในสถานบริการพยาบาล จัดระบบการรักษาผูปวยนอกในสถานบริการพยาบาล จัดระบบการดแูลรักษาผูปวยในสถานบริการพยาบาล จัดระบบการสงตอผูปวย

3.2.8 ฝายรักษาความสงบเรียบรอย ปองกันการโจรกรรม รักษาความปลอดภัย จัดระบบจราจร

3.2.9 สวนสนับสนุน มีหนาท่ีใหการสนับสนุนในดานกําลังพล ยานพาหนะ เคร่ืองอุปโภคบริโภค เคร่ืองมือทางการแพทย อากาศยาน และส่ิงของตาง ๆ ตลอดจนส่ิงจําเปนในการสอบสวน เฝาระวังควบคุมและปองกันโรคไขหวัดใหญ รวมท้ังการรักษาพยาบาลผูปวยดวยโรคไขหวัดใหญ ใหเปนไปอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

3.2.10 คณะท่ีปรึกษา มีหนาท่ีใหคําปรึกษาแนะนําในการเฝาระวัง สอบสวน ควบคุม และปองกันโรคไขหวัดใหญ รวมท้ังการชวยเหลือผูไดรับผลกระทบจากการระบาดใหญของโรคไขหวัดใหญ

Page 52: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

4. การเตรียมพรอมดานทรัพยากรอ่ืน ๆ 4.1 ระบบส่ือสาร ท่ีจําเปนตองเตรียม ไดแก

เคร่ืองขายการส่ือสาร อุปกรณการส่ือสาร แบตเตอร่ีสํารอง แผนท่ีจังหวัด แผนประเทศไทย และแผนท่ีโลก หมายเลขโทรศัพท โทรสาร และ อีเมล ของหนวยงานตาง ๆ รวมท้ังคณะทํางานฝายตาง ๆ

ประจําศูนย ฯ และหนวยสนับสนุน ตลอดจนหมายเลขโทรศัพทของรัฐมนตรีกระทรวงตาง ๆ ปลัดกระทรวง และอธิบดีกรมตาง ๆ ท่ีมีภารกิจเกี่ยวของ และหมายเลขโทรศัพทหนวยงาน และสถานท่ีสําหรับการติดตอสอบถามขอมูลตาง ๆ สําหรับประชาชนในกรณีเกิดเหตุฉุกเฉิน หรือหนวยงานท่ีกําหนดใหเปนสถานท่ีรับบริจาคส่ิงของ ฯลฯ

วิทยุมือถือ (Walkie-talkie) 4.2 วัสดุเวชภณัฑ ท่ีจําเปนตองเตรียม ไดแก

ยาและเวชภัณฑท่ีจําเปนตองใช แหลงท่ีจะสามารถใหการสนับสนุนเพิม่เติมเม่ือจําเปน วัสดุอุปกรณท่ีจําเปนตองใช เชน ชุดปองกนัตัวเจาหนาท่ี เส้ือผาผูปวย ถุงขยะติดเช้ือ ถุงขยะ

ท่ัวไป ไฟฉาย ถานไฟฉาย กระดาษ อุปกรณเคร่ืองเขียน สะพานไฟ เปนตน ชุดปฏิบัติการของเจาหนาท่ี พรอมเคร่ืองหมายท่ีชัดเจน ชุดปองกันตัวของเจาหนาท่ีผูปฏิบัติงาน

4.3 ครุภัณฑ ท่ีจําเปนตองเตรียม ไดแก ครุภัณฑการแพทยท่ีจําเปนในการชวยเหลือชีวิตผูปวย เชน เคร่ืองชวยหายใจ เคร่ืองวัดปริมาณ

ออกซิเจนในรางกาย เปนตน เตียงผูปวย เตียงสนาม เตียงผูปวยสํารอง รวมท้ังขอมูลปริมาณและจํานวนเตียงผูปวยของ

สถานบริการพยาบาลในพืน้ท่ีใกลเคียง ครุภัณฑสํานกังาน ไดแก เคร่ืองดับเพลิง เคร่ืองพิมพดีด เคร่ืองคอมพิวเตอร เคร่ืองถายเอกสาร

ไฟฟาสํารองฉุกเฉิน โทรทัศน โตะทํางานพรอมเกาอ้ี นาฬิกา 4.4 ยานพาหนะ ท่ีจําเปนตองเตรียม ไดแก

รถยนตพยาบาล สําหรับสงตอผูปวยกรณท่ีีจําเปน หรือจะตองเคล่ือนยายผูปวยไป พักรักษา ในโรงพยาบาลอ่ืน

รถยนตใชงานท่ัวไป รวมท้ังรถจักรยานยนต/จักรยาน เรือ (ถาจําเปน) เคร่ืองบินเฮลิคอปเตอร (ถาจําเปน)

4.5 สถานท่ี ท่ีจําเปนตองเตรียม ไดแก โรงพยาบาลสนาม โรงพยาบาลชุมชน โรงพยาบาลท่ัวไป และโรงพยาบาลศูนย ท้ังในพ้ืนท่ีและบริเวณใกลเคียง

Page 53: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

โรงพยาบาลกองทัพ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย และโรงพยาบาลมูลนิธิ โรงพยาบาลเอกชน หองแยก หอผูปวยภายในสถานพยาบาล โรงเรียนและสถานศึกษาของรัฐและเอกชน กรณีท่ีจําเปนอาจจะตองใชสถานศึกษาเปนสถานพยาบาลช่ัวคราว วัดและสุสาน เพื่อใชเปนสถานท่ีเก็บศพกรณีท่ีอาจมีผูเสียชีวิต สถานท่ีจอดยานพาหนะ สถานท่ีพักสําหรับเจาหนาท่ีผูปฏิบัติงาน สถานท่ีสําหรับการติดตอของญาติ สถานท่ีใหสัมภาษณผูส่ือขาว สถานท่ีรับบริจาคและรับการชวยเหลือตาง ๆ สถานท่ีศูนยกลางคลังยาและเวชภณัฑ

4.6 เสบียงอาหารและน้ํา จะตองมีการสํารองเสบียงอาหารแหงและอาหารสด สําหรับประกอบอาหาร ผูปวยและเจาหนาท่ีผูปฏิบัติงาน รวมท้ังน้าํดื่มและน้ําใชใหเพยีงพอ

4.7 การกําจัดของเสียและขยะติดเชื้อ จะตองมีการเตรียมการใหพรอม เชน ระบบบําบัดน้าํเสียในโรงพยาบาลหรือของจังหวดัมีความสมบูรณ คลอรีนท่ีจะตองใชมีเพียงพอ มีเตาเผาขยะติดเช้ือท่ีมีประสิทธิภาพ พรอมเช้ือเพลิงท่ีจําเปนอยางเพยีงพอ มีระบบการเกบ็รวบรวม และขนยายขยะตดิเช้ือท่ีปลอดภัย

4.8 มาตรการตาง ๆ สําหรับการปองกันและควบคุมการระบาด เชน การประกาศพืน้ท่ีเปนเขตติดโรค การประกาศพื้นท่ีเปนเขตภัยพิบัติ การใชมาตรการกักกันและควบคุมผูติดเช้ือ และผูสัมผัสโรคหรือผูตองสงสัยวาอาจสัมผัสโรค แผนรับมือกับเหตุฉุกเฉิน มาตรการการปองกันและควบคุมการระบาดของโรค ในสถานท่ีสาธารณะตาง ๆ และชุมชน

เชน โรงเรียน โรงงาน สํานักงาน แหลงมหรสพและสถานบันเทิง และชุมชนตาง ๆ รถประจํา ทางปรับอากาศ โรงนอนทหาร เรือนจํา เปนตน

การคัดกรองผูเดินทางไปตางประเทศ รวมท้ังผูเดินทางมาจากตางประเทศ คูมือคําแนะนําประชาชนในการดูแลสุขภาพและอนามัยของตัวเองและผูใกลชิด รวมท้ัง

คําแนะนําปองกันไมใหแพรเช้ือโรคไปสูผูอ่ืน คําแนะนําประชาชนเกี่ยวกับการใชเคร่ืองมือส่ือสารในภาวะฉุกเฉิน คูมือแนะนําประชาชนในการติดตอ หรือสอบถามกรณีเกดิเหตุฉุกเฉิน

Page 54: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

การบริหารจัดการเพื่อเตรียมความพรอม

1. ดานงบประมาณ ในภาวะปกติ (ไมมีการระบาดใหญ)

ทุกหนวยงานใชงบประมาณปกติท่ีไดรับ เพื่อดําเนินกิจกรรมท่ีจําเปนในการเตรียมความพรอม นอกจากนั้นหนวยงานตางๆต้ังของบประมาณท่ีจะตองใชเพื่อการเตรียมความพรอม

ในภาวะเกิดการระบาดใหญ เม่ือประกาศเปนพื้นท่ีติดโรค หรือพื้นท่ีระบาด (พื้นท่ีภัยพิบัติ)โดยผูวาราชการจังหวัด สามารถใช

งบประมาณจํานวน 50 ลานบาท งบประมาณจาก องคกรปกครองสวนทองถ่ิน สํานักงานปองกันควบคุมโรคท่ี 10 จังหวัดเชียงใหม

และงบกลางของรัฐบาล

2. ดานการประสานงาน ในภาวะปกติ (ไมมีการระบาดใหญ) ผูวาราชการจังหวัดไดมีคําส่ังแตงต้ังคณะตางๆ ลงวันท่ี 19

กุมภาพนัธ พ. ศ. 2550 เพื่อปฏิบัติการปองกันและแกไขปญหาการแพรระบาดโรคไขหวัดนก โดย มีคณะกรรมการตาง ๆ ดังนี้

คณะกรรมการศูนยปฏิบัติการปองกนัและแกไขปญหาการแพรระบาดโรคไขหวดันก ระดบัจังหวัด คณะกรรมการศูนยปฏิบัติการปองกนัและแกไขปญหาการแพรระบาดโรคไขหวดันก ระดบัอําเภอ คณะทํางานประชาสัมพนัธ คณะทํางานควบคุมการเคล่ือนยายสัตวภายในจังหวดัและนําเขาราชอาณาจักร

ในภาวะเกิดการระบาดใหญ ผูวาราชการจังหวดัจัดต้ังศูนยอํานวยการเฉพาะกิจดําเนินการตามแผนจังหวัด และส่ังการให

ทองท่ีดําเนินการเชนเดียวกนั ทุกหนวยงานดําเนนิการตามแผนจังหวดั

Page 55: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

แผนภูมิ ข้ันตอนการดําเนินการเมื่อเกิดการระบาดใหญของแผนภูมิ ข้ันตอนการดําเนินการเมื่อเกิดการระบาดใหญของโรคโรคไขหวัดใหญในไขหวัดใหญในจังหวัดจังหวัด

ผูวาราชการจังหวัดผูวาราชการจังหวัด กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข

นายแพทยนายแพทย สสจสสจ..

สครสคร..

กําหนดแผนการ ดําเนินการเฝาระวัง ปองกัน/ควบคุมโรค

คัดกรองผูปวย ซักประวัต ิแยกรักษาพยาบาล รายงานให สสจ.,สคร. ทราบ สอบสวนโรค ตรวจสอบประวัต ิคนหาผูปวยรายอื่น ใหสุขศึกษา ติดตามผูสัมผัสโรค สงตัวอยาง สอบสวนเฝาระวัง จนท. .ใน รพ. รายงานอธิบดี/ปลัด/รัฐมนตร ีแจงขอมูล WHO มอบหมายใหมีผูรับผิดชอบเฉพาะ ติดตอประสานงานหนวยงาน ประชาสัมพันธทองถิ่น หนังสือพิมพ ทีวี แจงขาวรายงานสถานการณ ใหทุกหนวยงานท้ังภาครฐั เอกชนทราบ รวมท้ังจังหวัด.ใกลเคียง

ใหสุขศึกษาประชาสัมพันธแก ประชาชน - บริการขอมูลประชาชน (ฮ็อตไลน)

1. การเตรียมบุคลากร 1.1 การควบคุมโรค งานเฝาระวัง-อสม. งานระบาดวทิยา งานรักษาพยาบาล - รพศ./รพท./รพช. - สถานีอนามัย 1.2 การเตรียมพรอม/ซักซอมความเขาใจ 1.3 การเตรียมแผนระดับจังหวดั 2. การเตรียมวัสดุอุปกรณ และยานพาหนะ - การสํารวจเตียง ฉุกเฉิน รพ.รัฐ/รพ.เอกชน - ยา เวชภัณฑ - ยานพาหนะสงตัว - หองแยก/Lab - ครุภัณฑการแพทย 3. มาตรการตาง ๆ - โรงเรียน - โรงงาน - โรงมหรสพ 4. คูมือแนะนําประชาชน

รับแจงขาวรับแจงขาว

สอบสวน

ไมใชไมใช ใชใช ยุติการสอบสวนยุติการสอบสวน แจงยืนยันเก็บตัวอยางแจงยืนยันเก็บตัวอยาง

หนวยสนับสนุนหนวยสนับสนุน ดําเนินการดําเนินการ เต็มรูปแบบเต็มรูปแบบ11.. รพรพ..ใกลเคียงใกลเคียง

22.. รพรพ..นอกสังกัดนอกสังกัด

33.. รพรพ..เอกชนเอกชน

44.. รพรพ..สนามสนาม

55.. LLaabb

66.. ดานดาน

77.. สครสคร..

88.. สํานักฯระบาดสํานักฯระบาด

11..ประกาศเขตประกาศเขต ติดโรคติดโรค 22..รายงานรายงาน //แยกรักษาแยกรักษา 33..ระดมทีมระดมทีม SSRRRRTTจากจาก สครสคร.. 44..ควบคุมการควบคุมการ ติดเช้ืติดเช้ือในคนอในคน

ควบคุมไดควบคุมได

การเฝาระวังหลังเกิดโรค 1. การเฝาระวัง ณ จุดเกิดโรค 2. การเฝาระวังผูสัมผัสผูปวย/คนในครอบครัว 3. ศึกษาสํารวจหลังการระบาด

Page 56: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

แนวทางการดําเนินการ 1. ภาวะปกติ

กําหนดแผนการดําเนินการเฝาระวังปองกันและควบคุมโรค เตรียมรางประกาศเขตพ้ืนท่ีติดโรค เตรียมรางประกาศจังหวัดเปนพื้นท่ีภัยพิบัติ เตรียมจัดต้ังศูนยปฏิบัติการปองกันและควบคุมการระบาดของโรค เตรียมบุคลากรดานตาง ๆ เตรียมเครือขายการส่ือสารและแผนท่ีพรอมท้ังอุปกรณการส่ือสาร เตรียมสํารองวัสดุ ยา/เวชภัณฑ ครุภัณฑ เชน เตียงผูปวย ครุภัณฑการแพทย ยานพาหนะ และสถานท่ี เตรียมคําแนะนําประชาชน เตรียมมาตรการปองกันและควบคุมโรคระบาด เม่ือไดรับการแจงขาวหรือรายงานจากสถานบริการพยาบาล นายแพทยสาธารณสุขจังหวัดจะตอง

ส่ังการใหทีมเฝาระวังสอบสวนโรคเคล่ือนท่ีเร็ว (SRRT) ประจําจังหวดัและของสํานักงานปองกัน ควบคุมโรคเขาปฏิบัติการสอบสวนโรคทันที ถาหากไมอยูในขายสงสัยก็ยติุการสอบสวน และถา อยูในขายนาสงสัยใหเก็บตัวอยางสงตรวจทางหองปฏิบัติการ

เตรียมซักซอมแผนปองกันและแกไขปญหาการระบาดของโรค บุคลากรฝายตาง ๆ จะตองสรุปรายงานผลการดําเนินงานสําหรับการเตรียมพรอมใหผูวาราชการจังหวัด

ทราบเปนประจําทุกเดือนหรือตามท่ีกําหนด

2. ขณะเกิดภาวะวิกฤต

เม่ือนายแพทยสาธารณสุขจังหวัดไดรับรายงานจากทีมเฝาระวังสอบสวนโรคเคล่ือนท่ีเร็ว (SRRT) หรือจากโรงพยาบาลวา มีการระบาดใหญของโรคไขหวัดใหญ จะตองรายงานใหผูวาราชการ จังหวดัทราบทันทีท้ังทางโทรศัพท และเปนลายลักษณอักษร พรอมท้ังลงนามในประกาศพ้ืนท่ี เปนพื้นท่ีติดโรค และประกาศเปนพื้นท่ีติดโรคทันที พรอมท้ังรายงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข และอธิบดีกรมควบคุมโรคทราบดวย

Page 57: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

เม่ือผูวาราชการจังหวัดไดรับรายงานจากนายแพทยสาธารณสุขจังหวัด จะตองดําเนินการรับมือกับ สถานการณ เชน

- ลงนามในประกาศพืน้ท่ีเกดิภัยพิบัติ - เปดศูนยปฏิบัติการปองกนัและแกไขปญหาการระบาดใหญ ฯ ทันที - ประสานงานแจงผูเกีย่วของรวมท้ังหนวยงานสนับสนุนทราบ เพื่อประจําหนาท่ีท่ีไดรับ มอบหมายทันที

ฝายตาง ๆ รวมท้ังผูเกี่ยวของและผูท่ีไดรับมอบหมาย เม่ือไดรับขาว หรือไดรับการประสานงาน จะตองรีบไปรายงานตัว ณ ศูนยปฏิบัติการ ฯ ของจังหวัด หรือเขาประจาํในสถานท่ีท่ีกําหนด และ พรอมท่ีจะปฏิบัติงานทันทีเม่ือไดรับการส่ังการ

การรายงานผลการดําเนินงาน - ฝายตาง ๆ จะตองสรุปรายงานผลการดําเนินงานประจําวันใหผูอํานวยการศูนยปฏิบัติการ ฯ

ทราบทุกวันภายในเวลาไมเกิน 20.00 น. - ศูนยปฏิบัติการ ฯ จะตองรายงานผลการดาํเนินงานใหสวนราชการท่ีเกี่ยวของหรือผูบังคับบัญชา ทราบทุกวัน ภายในเวลาไมเกิน 20.00 น.

3. เมื่อเหตุการณยุติ (กรณสีามารถควบคุมสถานการณได)

ผูวาราชการจังหวัดประกาศยติุเหตุการณ นายแพทยสาธารณสุขจังหวดัจะตองส่ังการใหเจาหนาท่ีท่ีเกี่ยวของ ดําเนินการเฝาระวัง หลังการเกดิ

โรคระบาด ดังนี ้ - เฝาระวัง ณ จดุเกิดโรค - เฝาระวังผูสัมผัสผูปวยและสมาชิกในครอบครัว - ศึกษาสํารวจหลังเกิดการระบาดของโรคและสรุปบทเรียนตาง ๆ

Page 58: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

บทบาทและหนาท่ีหลักบทบาทและหนาท่ีหลัก ขอของงแตละแตละหนวยงานหนวยงาน

Page 59: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6
Page 60: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

สํานักงานปองกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด

บทบาทและหนาท่ี 1. แจงเตือนภยัการระบาดของโรคไขหวัดใหญ 2. จัดระบบการรักษาความสงบเรียบรอย ใหเอื้ออํานวยตอการเตรียมพรอมรับการระบาดใหญ

ของโรคไขหวัดใหญ โดยใชอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน และชุดทีมกูชีพภัย รวมกับฝายทหารและตํารวจ

3. จัดระบบการบรรเทาทุกขใหเอ้ืออํานวยตอการเตรียมพรอมรับการระบาดใหญของโรคไขหวัดใหญ 4. จัดอบรมกําลังสํารองและอาสาสมัครเพ่ือบรรเทาทุกขฉุกเฉินใหแกประชาชน 5. ตรวจสอบความพรอมของแผน ในพื้นท่ีท่ีตองควบคุมการเคล่ือนยายเขา-ออก (Containment Zone)

และการอพยพ สวนราชการและประชาชนกลุมท่ีอาศัยอยูรวมกันแออัด 6. ตรวจสอบความพรอมของแผนการเตรียมสถานท่ีพักพิงช่ัวคราว สําหรับผูท่ีตองอพยพ 7. ประสานงานกับองคกรการกุศลอาสาสมัคร เพื่อเปนกําลังสํารองในการบรรเทาทุกขฉุกเฉินใหแกประชาชน 8. ชวยเหลือประชาชนดานเคร่ืองอุปโภคบริโภค 9. จัดหางบประมาณสําหรับกรณีเกิดภัยพิบัติ รวมท้ังบริหารจัดการเงินบริจาค เพื่อชวยเหลือและบรรเทาภัย

ในชวงเกิดการระบาดใหญ

ประชาสมัพันธจังหวัด

บทบาทและหนาท่ี 1. เผยแพรประชาสัมพันธสรางความรูความเขาใจกับประชาชนและส่ือมวลชน ภายในและภายนอกจังหวัด 2. ช้ีแจงเผยแพรขอมูลขาวสาร ท่ีถูกตองและเปนประโยชนตอการแกไขปญหาโรคไขหวัดนก 3. กําหนดผูทําหนาท่ีโฆษกเหตุการณประจําจังหวัด สําหรับงานตอบโตขาวของจังหวัด แถลงขาวประจําวัน

และการรายงานขาว ตลอดจนผูทําหนาท่ีสํารอง

สํานักงานปศุสัตวจังหวัดเชียงรายและสํานักงานปศุสัตวอําเภอ

บทบาทและหนาท่ี 1. ควบคุมการเคล่ือนยายและกักกันสัตว

- หามเคล่ือนยายสัตวปกและซากสัตวในพืน้ท่ีรัศมี 10 กม. รอบจุดเกิดโรค 2. ทําลายสัตว

- ทําลายสัตวปกในฝูงท่ีเปนโรคและฝูงอ่ืน ๆท่ีมีเหตุอันเช่ือไดวาสัตวไดรับเช้ือโรค

Page 61: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

3. ทําลายเช้ือโรค - ดําเนินการทําลายเช้ือโรคในวงกวาง - ติดตามแนะนําการทําลายเช้ือโรคของเกษตรกร / ผูประกอบการสัตวปก

4. จัดระบบการแลกเปล่ียนและการเผยแพรขอมูลขาวสาร ตลอดจนการเตือนภัยการระบาดของโรคไขหวัดนกแกหนวยงานที่เกีย่วของ - เม่ือมีสัตวปกตองสงสัยวาเปนโรคไขหวดันกใหแจงผูวาราชการจังหวดัและสาธารณสุข จังหวดั เพื่อเฝาระวังโรคในคนทันที - แลกเปล่ียนขอมูลเกี่ยวกับโรคในนกธรรมชาติ และนกอพยพกับกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดลอม - ประชาสัมพันธใหเกษตรกรที่เล้ียงสัตวปกทราบเกี่ยวกับโรคไขหวัดนก

5. เฝาระวังการเกิดโรคไขหวัดนกในสัตวปกและสัตวเล้ียง รวมท้ังการเปล่ียนแปลงของเช้ือไวรัสไขหวัดนก ตลอดจนการเกิดเช้ือสายพันธุใหม โดยดําเนินการเฝาระวังโรคในพื้นท่ีรัศมี 10 กิโลเมตร รอบพื้นท่ีจุดเกิดโรค ดังนี้

- เฝาระวังอาการทางคลินิก - สุมเก็บตัวอยางอุจจาระของสัตวปกสงหองปฏิบัติการโดย

เก็บตัวอยางฟารมสัตวปกทุกฟารม โรงเรือนละ 60 ตัว เก็บตัวอยาง สัตวปกรายยอย หมูบานละ 20 ตัว

องคกรปกครองสวนทองถ่ิน บทบาทและหนาท่ี

1. แจงการระบาดของโรคไขหวดันกหรือไขหวัดใหญตอผูบริหาร และหนวยงานที่เกีย่วของทราบ เชน สํานักงานสาธารณสุขจังหวัด สํานักงานสาธารณสุขอําเภอ สถานีอนามัย โรงพยาบาล ปศุสัตวอําเภอ

2. ประสานและสนับสนุนการปองกันและแกไขปญหาโรคไขหวัดนกและโรคไขหวัดใหญ โดยการบริหารจัดการแบบบูรณาการ

3. ประชุมผูบริหารในหนวยงานที่เกี่ยวของเพ่ือวางแผนและเตรียมความพรอมรับมือการระบาดของโรคและกําหนดมาตรการในการดําเนินงาน เชน การทําลายสัตวปก ฯลฯ

4. รวมปฏิบัติการสอบสวน / ควบคุมโรค รวมกับหนวยงานท่ีเกี่ยวของ 5. จัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ และงบประมาณในการปองกันและควบคุมโรค 6. จัดใหมีแหลงท้ิงขยะติดเช้ือในชุมชน เชนหนากากอนามัยเพื่อความสะดวกในการจัดการทําลาย 7. แจงขอมูลการระบาดของโรคกับแกนนําชุมชน / โรงเรียน ฯลฯ เพื่อรวมปองกันและควบคุมโรค

รวมท้ังเปนเครือขายในการแจงขอมูลการระบาดในพ้ืนท่ีเพิ่มเติม 8. ประชาสัมพันธขอมูลขาวสารที่ถูกตอง เกี่ยวกับโรคระบาดโดยผานส่ือตาง ๆ

Page 62: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

9. ติดตามเฝาระวงั การเกิดโรคอยางตอเนื่องและสมํ่าเสมอ 10. สรุปรายงานสถานการณ และผลการดําเนนิงาน ควบคุมโรคใหผูบริหารทราบ 11. จัดต้ังศูนยเฉพาะกิจในหนวยงานของแตละองคกรปกครองสวนทองถ่ิน 12. สงเสริมใหมีการกําจัดขยะเองภายในครัวเรือน 13. พนักงานเก็บขยะตองมีอุปกรณปองกันท่ีครบถวน 14. จัดทําแหลงทําลายขยะใหมีมาตรฐาน 15. จัดทําอัตรากําลังเสริม หรืออาสาสมัคร เพื่อทดแทนในกรณีเจ็บปวย 16. กําหนดวดัหรือสถานท่ีบําเพ็ญศพท่ีชัดเจน

ดานควบคุมโรคติดตอระหวางประเทศ

บทบาทและหนาท่ี • ตรวจคัดกรองสุขภาพเบ้ืองตน เม่ือเกิดการระบาดใหญของโรคไขหวัดใหญ

1. ต้ังกลองอินฟาเรด ตรวจวัดอุณหภูมิรางกายของผูเดินทางเขา- ออกประเทศ 2. ถาอุณหภูมิรางกายมากกวาหรือเทากับ 38 องศาเซลเซียส ทําการตรวจซํ้าดวย ปรอทวัดไข 3. ถาผลการตรวจดวยปรอทวดัไข ปรากฏวาอุณหภูมิรางกายของผูเดินทางเขา- ออกประเทศ มากกวาหรือเทากับ 38 องศาเซลเซียส จะตรวจวนิิจฉัยอาการวาเปนโรคไขหวัดใหญ หรืออาการ

คลายโรคไขหวัดใหญหรือไม 4. ถาผลการวินิจฉัยวาเปนกลุมอาการโรคไขหวัดใหญ จะประสานงานกบั โรงพยาบาลแมสาย และสํานักงานสาธารณสุขอําเภอเพื่อสงตอ 5. หากไมใชกลุมอาการโรคไขหวัดใหญ ผูเดนิทางเขา-ออก สามารถเดินทางไดตามปกติ

• กําหนดแนวทางและดําเนินการเฝาระวัง ปองกัน ควบคุมการแพรเช้ือโรคไขหวัดใหญในกลุมผูเดินทางออกนอกประเทศ หรือผูท่ีมาจากตางประเทศ

ดานศุลกากร อําเภอแมสาย บทบาทและหนาท่ี

1. ตรวจสัมภาระของผูเดินทางเขา – ออก ราชอาณาจักร 2. ตรวจสอบรถบรรทุกสินคาเขา - ออก ราชอาณาจักรดวยเคร่ืองฉายรังสี (x-ray) 3. ปองกันและปราบปรามการกระทําความผิดทางศุลกากร และกฎหมายอ่ืนท่ีเกี่ยวของ โดยเฉพาะ

การเคล่ือนยายสัตวท่ีอยูระหวางการเฝาระวัง

Page 63: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

กองบังคบัการตํารวจภูธรจังหวัดเชียงรายและสถานีตํารวจภูธร

บทบาทและหนาท่ี 1. จัดเตรียมแผนและปฏิบัติหนาท่ีรักษาความสงบสุขของบานเมืองในชวงเกิดการระบาดใหญของ

โรคไขหวัดใหญ 2. ดําเนินการรักษาความสงบเรียบรอย คุมครองความปลอดภยั ปองกันและระงับการแตกต่ืน เสียขวัญของประชาชน 3. ชวยเหลือและรักษาความปลอดภัยแกผูประสบภัยในพ้ืนท่ี 4. จัดระบบการจราจร เพื่อสงตอผูปวยไปสถานพยาบาลดวยความรวดเร็ว 5. รวมมือกับเจาหนาท่ีท่ีเกีย่วของ ตรวจหาผูตองสงสัยท่ีติดเช้ือไขหวัดใหญสายพันธุใหม เม่ือพบ

ตัวผูตองสงสัยจะสงตอใหกบัหนวยงานท่ีเกี่ยวของตอไป 6. ประสานหนวยงานท่ีเกีย่วของในการควบคุมการเขา - ออกของประชาชน ตามแนวบริเวณชายแดน 7. สํารองและจัดหาเคร่ืองปองกันการติดเช้ือ เชน หนากากอนามัยใหกับเจาหนาท่ี และจัดอบรม

วิธีการใชท่ีถูกตอง

หนวยเฉพาะกิจกรมทหารมาที่ 3 กองกําลังผาเมือง

บทบาทและหนาท่ี 1. ควบคุมมวลชนใหอยูในพื้นท่ีท่ีกําหนด เพื่อปองกันการระบาดของโรคตามแนวชายแดนของ 7

อําเภอชายแดนในจังหวัดเชียงราย ไดแก อ.แมจัน อ.แมฟาหลวง อ. แมสาย อ.เชียงของ อ. เชียงแสน อ.เวียงแกน อ.เทิง และบางสวนของจังหวัดพะเยา

2. ดําเนินการรักษาความสงบเรียบรอย คุมครองความปลอดภัย ปองกันและระงับการแตกต่ืน เสียขวัญของประชาชน

3. อํานวยความสะดวกใหกับเจาหนาที่ของหนวยงานตาง ๆ ตามแนวชายแดนโดยการประสาน ใหเกิดการบูรณาการรวมกัน

4. จัดสถานท่ีพักพิงใหกับผูอพยพตามแนวชายแดนตามหลักมนุษยธรรม เปนศูนยผูอพยพโดยจํากัดการเขา – ออก เปนมาตรการควบคุม

5. ใหคําแนะนําข้ันตนในการปองกันตนเองใหกับผูอพยพไดรับทราบ กอนสงใหกับเจาหนาท่ีท่ีมีหนาท่ีดูแลรับผิดชอบโดยตรง

6. ใหความชวยเหลือเร่ืองการประชาสัมพันธ เชน โปรยใบปลิวในทองถ่ินตาง ๆ โดยใชเฮลิปคอรเตอรและติดเคร่ืองขยายเสียงประชาสัมพันธ รวมกับประชาสัมพันธจังหวัด

7. ปองกนัการเดินทางของประชาชนหรือผูท่ีไมมีสวนเกี่ยวของเขาและออกจากพื้นท่ีกักกัน 8. สนับสนุนโรงพยาบาลสนามและสถานท่ีพักพิงช่ัวคราว

Page 64: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

9. จัดเตรียมแผนและปฏิบัติหนาท่ีชวยเหลือประชาชนและรักษาความม่ันคงของประเทศในชวงเกิดภาวะวิกฤต

10. ใหการสนับสนุนแกหนวยงานพลเรือนตามท่ีรองขอในการแกไขปญหาโรคไขหวัดนกและโรคไขหวัดใหญ

11. สํารองและจัดหาเคร่ืองปองกันการติดเช้ือ เชน หนากากอนามัยใหกับเจาหนาท่ี และจัดอบรมวิธีการใชท่ีถูกตอง

สํานักงานขนสงจงัหวัดเชียงราย บทบาทและหนาท่ี

1. ควบคุมดูแลรถโดยสารประจําทางใหปฏิบัติตามเง่ือนไขประกอบการขนสง 2. ดูแลผูโดยสารใหไดรับความสะดวกในการเดินทาง 3. จัดเตรียมรถโดยสารเพ่ือเตรียมความพรอมในเหตุการณตาง ๆ ไดตามความเหมาะสม 4. ดูแลความสะอาดดานสุขอนามัยในอาคาร สถานท่ี และยานพาหนะ รวมท้ังควบคุมการบริการอาหาร

และเคร่ืองดื่มใหถูกสุขอนามัย 5. จัดอบรมพนักงานขับรถโดยสารประจําทางและเจาหนาท่ีท่ีเกี่ยวของใหมีความรู ในการดูแล

ตนเองและการปองกันโรคไขหวัดใหญอยางถูกตอง 6. สํารองและจัดหาเคร่ืองปองกันการติดเช้ือ เชน หนากากอนามัยใหกับเจาหนาท่ี และจัดอบรม

วิธีการใชท่ีถูกตอง

สํานักงานประปาเชียงราย

บทบาทและหนาท่ี 1. เม่ือกระแสไฟฟาดับ จัดเตรียมเคร่ืองกําเนิดไฟฟาในการผลิตน้ําประปา 2. จัดอัตรากําลังเสริมหรืออาสาสมัคร เพื่อทดแทนในกรณีเจ็บปวย 3. เม่ือเกิดการระบาดของโรค หามบุคคลภายนอกเขาบริเวณสถานีผลิตน้ําประปา 4. สํารองและจัดหาเคร่ืองปองกันการติดเช้ือ เชน หนากากอนามัยใหกับเจาหนาท่ี และจัดอบรม

วิธีการใชท่ีถูกตอง

Page 65: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

บริษัททีโอที จํากัด (มหาชน)

บทบาทและหนาท่ี 1. ใหการสนับสนุนดานเครือขายการส่ือสารและโทรคมนาคมในชวงเกิดภาวะวิกฤตจาก การระบาดใหญ

ของโรคไขหวัดใหญ 2. ประสานงานกับผูเกี่ยวของ เพื่อไมใหการติดตอส่ือสารทางโทรศัพทเกิดความขัดของเม่ือเกิด

เหตุการณวิกฤต 3. ใหขอมูล ขาวสาร เกี่ยวกับการระบาดของโรคไขหวัดใหญกับพนักงาน หรือประชาชนผูมาติดตอ 4. จัดทําอัตรากําลังเสริมหรืออาสาสมัคร เพื่อทดแทนในกรณีเจ็บปวย 5. สํารองและจัดหาเคร่ืองปองกันการติดเช้ือ เชน หนากากอนามัยใหกับเจาหนาท่ี และจัดอบรม

วิธีการใชท่ีถูกตอง

สํานักงานการไฟฟาสวนภูมิภาค

บทบาทและหนาท่ี 1. อบรมใหความรูแกพนักงานในการปองกันโรคไขหวัดใหญ 2. จัดทําแผนผูรับผิดชอบในการสงงานในกรณีไฟฟาดับ 3. จัดเตรียมเคร่ืองสํารองไฟกรณีไมสามารถจายไฟฟาตามระบบปกติได 4. จัดทําแผนกําลังสํารองในกรณีท่ีมีบุคลากรของหนวยงานเจ็บปวยและตองลาหยุด 5. สํารองและจัดหาเคร่ืองปองกันการติดเช้ือ เชน หนากากอนามัยใหกับเจาหนาท่ี และจัดอบรม

วิธีการใชที่ถูกตอง

จุดปฏิบัติการเตรียมความพรอมวิทยุชุมชน

บทบาทและหนาท่ี 1. ประสานงานกับฝายประชาสัมพันธจังหวัด เพื่อรับขาวสารโดยตรง 2. ส่ือสารและประชาสัมพันธการปองกันและควบคุมการแพรระบาดของโรคไขหวัดนกและโรค

ไขหวัดใหญตอประชาชนและชุมชน 3. ดําเนินการเสนอขาวดวยความระมัดระวัง ไมใหเกิดความตื่นตระหนกตอประชาชนจนเกินไป โดย

ยึดหลักการใหขอมูลขาวสารเกี่ยวกับเหตุการณท่ีเกิดข้ึนตามขอเท็จจริงอยางรวดเร็ว และ ตรงไปตรงมา

4. เตรียมความพรอมจัดทําอัตรากําลังเสริม หรืออาสาสมัคร เพื่อทดแทนในกรณีเจ็บปวย

Page 66: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

5. ประชาสัมพันธขอมูลขาวสารการระบาดใหญของโรคไขหวัดใหญใหประชาชนไดรับทราบอยางตอเนื่อง เพื่อสรางความตระหนักใหประชาชนระมัดระวังตนเองและครอบครัวในการปองกันโรค

6. ในกรณีของการตั้งจุดตรวจตามพื้นที่ตางๆของเจาหนาที่ที่รับผิดชอบ ทางสถานีวิทยุชุมชนจะประชาสัมพันธ ชี้แจง และทําความเขาใจกับประชาชนผานทางสถานีวิทยุ ใหทราบถึงความจําเปนในการปฏิบัติราชการและขอความรวมมือ รวมท้ังแจงใหทราบถึงกําหนดส้ินสุดของระยะเวลาดําเนินการในการตั้งจุดตรวจ

สถานศึกษา (โรงเรยีน)

บทบาทและหนาท่ี 1. จัดใหมีและสงเสริมการปฏิบัติตามสุขอนามัย เชนการลางมือ ในโรงเรียน 2. ใหความรูความเขาใจแกนักเรียนและชุมชนเร่ืองโรคไขหวัดนกและโรคไขหวัดใหญ 3. หัวหนาอนามัยโรงเรียนมีหนาท่ีประสานงานกับ สาธารณสุขอําเภอ โรงพยาบาล ปศุสัตวอําเภอ

เพื่อรับทราบขอมูลการเกิดโรคไขหวัดใหญพรอมแจงใหนักเรียน และผูปกครองทราบ 4. จัดคําส่ังแตงต้ังครูผูรับผิดชอบในการคัดกรองนักเรียนทุกเชาเพื่อใหมีการแยกผูปวยออกโดยเร็ว 5. ในกรณีท่ีมีผูปวยในโรงเรียน ตองทําการแยกผูปวย และติดตามผูสัมผัสใกลชิด โดยการจัดทํา

ทะเบียน และแจงใหสถานีอนามัยหรือโรงพยาบาลทราบ 6. สถานศึกษารวมกับสํานักงานสาธารณสุขอําเภอจัดอบรมนักเรียนในการปองกันการติดเช้ือโรค

ไขหวัดใหญพรอมท้ังแจกหนากากอนามัย 7. จัดทําแผนกําลังสํารองในกรณีท่ีมีบุคลากรทางการศึกษาของหนวยงานเจ็บปวยและตองลางาน 8. เตรียมความพรอมใหผูปกครองในการดูแลบุตรหลาน และการแนะนําหรือทบทวนบทเรียน

ใหแกนักเรียนในขณะท่ีมีคําส่ังปดโรงเรียน ท้ังนี้ ผูปกครองจะตองเตรียมเคร่ืองอุปโภคและบริโภคใหเพียงพอตอสมาชิกในครอบครัว

9. ผูอํานวยการโรงเรียนส่ังปดโรงเรียนมากกวา 7 วัน และแจงใหเขต พื้นท่ีการศึกษาทราบ ขณะเดียวกันเนนใหนักเรียนพักอาศัยอยูในเคหะสถานของตนเอง

10. สนับสนุนสถานท่ีในการจัดโรงพยาบาลสนามและสถานท่ีพักพิงช่ัวคราวหากจําเปน

Page 67: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

โรงพยาบาล

บทบาทและหนาท่ี 1. เตรียมความพรอมดานสถานท่ี เชน จดุคัดกรองพิเศษ หองตรวจโรคพิเศษท่ีแผนกผูปวยนอก

หองแยกโรคผูปวยสําหรับผูปวยใน เปนตน 2. เตรียมบุคลากร เชน พยาบาลประจําหองตรวจ เจาหนาท่ีเวชระเบียน แพทย เจาหนาท่ีหองปฏิบัติการ

เจาหนาท่ีหองฉายรังสี เจาหนาท่ีเวรเปล ทีม SRRT พยาบาลหอผูปวย พนักงานทําความสะอาด พนักงานเก็บศพ เปนตน

3. เตรียมอุปกรณปองกันโรคและ เวชภัณฑยาท่ีใชในการรักษาโรค เภสัชกรสํารวจจํานวนยา หากไมเพียงพอใหประสานงานไปยังสํานักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงราย และกระทรวงสาธารณสุข รวมท้ังส่ังซ้ือจากบริษัทเอกชนหรือองคการเภสัชกรรม

4. เตรียมทีมประชาสัมพันธ ทีมงานเวชกรรมสังคม สุขศึกษา และกลุมงานการพยาบาล ออกใหความรูประชาชน ญาติผูปวย และชุมชน เร่ืองโรคไขหวัดใหญ และการปองกันโรค เชน การลางมือ การใชหนากากอนามัย เปนตน

5. รวบรวมขอมูลจํานวนผูปวยและสถานการณโรค เพื่อใหผูอํานวยการโรงพยาบาลใชแถลงขาวตอส่ือมวลชน

6. สงขอมูลเพื่อรายงานตอฝายงานระบาดวิทยาของสํานักงานสาธารณสุขจังหวัด 7. หากมีผูปวยจํานวนมาก อาจพิจารณาเปดโรงพยาบาลสนามตามท่ีไดกําหนดสถานท่ีไวแลว

เชน โรงเรียนบานสันโคง สําหรับเขตอําเภอเมือง โรงเรียนแมสายประสิทธ์ิศาสตร สําหรับเขตอําเภอแมสาย โรงเรียนเชียงแสนวิทยาคม สําหรับเขตอําเภอเชียงแสน และโรงเรียนบานเทอดไทย สําหรับเขตอําเภอแมฟาหลวง เปนตน

8. จัดทําแผนกําลังสํารองในกรณีท่ีมีบุคลากรของหนวยงานเจ็บปวยและตองลางาน

ทีมเฝาระวังสอบสวนเคล่ือนที่เร็ว (SRRT)

บทบาทและหนาท่ี 1. วิเคราะหและประเมินสถานการณการระบาดของโรคท่ีเกิดข้ึน และแจงเตือนภัยการ ระบาดของโรค 2. เฝาระวังและสอบสวนโรค พรอมกับแจงเตือนเครือขาย 3. ควบคุมการระบาด รวมท้ังติดตามผูสัมผัสกับผูปวย ครอบครัว และเจาหนาท่ี 4. กําหนดแนวทางและดําเนินการเฝาระวัง ปองกัน และควบคุมการแพรเช้ือโรคไขหวัดใหญในกลุมผูเดินทาง

ในพื้นท่ีเส่ียง 5. รับแจงและตรวจสอบยืนยัน การระบาดและการเกิดของโรคตลอด 24 ช่ัวโมง

Page 68: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

6. สอบสวนและควบคุมโรครวมกับฝายระบาดวิทยาของสํานักงานสาธารณสุขจังหวัด 7. รวบรวมและรายงานผลการดําเนินงานดานระบาดวิทยาใหกับผูบังคับบัญชาทราบตามลําดับข้ัน และ

สําเนาแจงหนวยงานที่เกีย่วของ 8. เตรียมความพรอมดานทีม เคร่ืองมือ วัสดุอุปกรณ ท่ีใชในการสอบสวนควบคุมโรค

อาสาสมัครสาธารณสุขและพนักงานสาธารณสุขตางดาว

บทบาทและหนาท่ี 1. ส่ือสารและประชาสัมพันธสรางความรูความเขาใจแกประชาชนเกี่ยวกับการรักษาสุขอนามัยสวนบุคคล

และชุมชน การปองกันการติดเช้ือไขหวัดใหญ และการดูแลชวยเหลือตนเองและครอบครัวเม่ือเจ็บปวย 2. เฝาระวังโรคไขหวัดนกในสัตวปกในชุมชน 3. เฝาระวังโรคไขหวัดใหญในคนและชุมชน 4. รวมสอบสวนโรคไขหวัดนกในสัตวปกกบัเจาหนาท่ีปศุสัตวอําเภอ 5. รวมสอบสวนโรคไขหวัดใหญในคนและชุมชนกับทีมเฝาระวังสอบสวนเคล่ือนท่ีเร็ว (SRRT)

Page 69: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6
Page 70: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

ตารางตารางสรปุบทบาทหนาที ่

ของหนวยงานในการเตรียมพรอมรับการระบาดใหญของโรคไขหวัดนก และโรคไขหวัดใหญของอําเภอเมือง อําเภอแมสาย อําเภอเชียงแสน

และอําเภอแมฟาหลวง จังหวัดเชียงราย

Page 71: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6
Page 72: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

ตารางสรุปตารางสรุปบทบาทหนาที่ของหนวยงานในการเตรียมพรอมรับการระบาดใหญของบทบาทหนาที่ของหนวยงานในการเตรียมพรอมรับการระบาดใหญของ โรคไขหวัดนกและโรคไขหวัดใหญของอําเภอเมือง อําเภอแมสายโรคไขหวัดนกและโรคไขหวัดใหญของอําเภอเมือง อําเภอแมสาย อําเภอเชียงแสน อําเภอเชียงแสน

และอาํเภอแมฟาหลวง จังหวัดเชียงรายและอาํเภอแมฟาหลวง จังหวัดเชียงราย

กิจกรรมหลัก / บทบาทหนาที่

หนวยงานรับผิดชอบ หนวยงานหลัก

1. การประสานสั่งการ

1. 1 แจงเตือนภัยการระบาดของโรคไขหวัดใหญ

1. สํานักงานปองกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวดั

2. สํานักงานสาธารณสุขจังหวัด

- สํานักงานปองกันและบรรเทาสาธารณภยัจังหวดั

- ผูวาราชการจงัหวัด 1.2 เปดศูนยปฏิบัติการ (War Room) เพื่อตอบสนองตอสถานการณไดอยางรวดเร็ว

1. สํานักงานปองกันและบรรเทา สาธารณภัยจงัหวัด 2. สํานักงานสาธารณสุขจังหวัด 3. สํานักงานปศุสัตวจังหวัด 4.โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห 5. องคกรปกครองสวนทองถ่ิน

สํานักงานปองกันและบรรเทาสาธารณภยัจังหวดั และผูวาราชการจังหวดั

1.3 พิจารณาประกาศเขตภัยพิบัติ 1. สํานักงานปองกันและบรรเทาสา ธารณภัยจังหวัด 2. สํานักงานสาธารณสุขจังหวัด 3.สํานักงานปศุสัตวจังหวัด

สํานักงานปองกันและบรรเทาสาธารณภยัจังหวดัและผูวาราชการจังหวดั

1.4 จัดเตรียมงบประมาณ

1. สํานักงานปองกันและบรรเทาสา ธารณภัยจังหวัด 2. สํานักงานสาธารณสุขจังหวัด 3. องคกรปกครองสวนทองถ่ิน

สํานักงานปองกันและบรรเทาสาธารณภยัจังหวดั และผูวาราชการจังหวดั

2. การเตรียมพรอมดานปศุสัตว 2.1 ควบคุมการเคล่ือนยายสัตวปกและซากสัตว พรอมท้ังต้ังจุดตรวจ

1. สํานักงานปศุสัตวจังหวัด 2. สํานักงานปศุสัตวอําเภอ 3. ดานกกักันสัตวเชียงราย 4. ทหารและตํารวจ

สํานักงานปศุสัตวจังหวัด ดานกกักันสัตวเชียงราย

Page 73: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

กิจกรรมหลัก / บทบาทหนาที่

หนวยงานรับผิดชอบ หนวยงานหลัก

2.2 ประชาสัมพันธใหความรูแกเกษตรกรและผูประกอบการดานปศุสัตว ในการปองกันและควบคุมโรคไขหวัดนก

1. สํานักงานปศุสัตวจังหวัด 2. สํานักงานปศุสัตวอําเภอ 3. สํานักงานประชาสัมพันธจังหวดั

สํานักงานปศุสัตวอําเภอ สถานีวิทยุชุมชน

2.3 เฝาระวังโรคไขหวัดนกโดยสุมเก็บตัวอยางอุจจาระของสัตวปกสงหองปฏิบัติการ

1. สํานักงานปศุสัตวจังหวัด 2. สํานักงานปศุสัตวอําเภอ 3. อาสาสมัครสาธารณสุข 4. อาสาปศุสัตว

สํานักงานปศุสัตวอําเภอ

2.4 ควบคุมโรคโดยการทําลายสัตวปก พนน้ํายาฆาเช้ือในจดุเกดิเหตุ

1. สํานักงานปศุสัตวจังหวัด 2. สํานักงานปศุสัตวอําเภอ 3. องคกรปกครองสวนทองถ่ิน 4. อาสาสมัครสาธารณสุข 5. อาสาปศุสัตว

สํานักงานปศุสัตวอําเภอ อาสาปศุสัตว

2.5 ส่ือสารและประชาสัมพนัธในการปองกันและควบคุมการแพรระบาดของโรคไขหวัดนกแกประชาชน

1. สํานักงานปศุสัตวจังหวัด 2. สํานักงานปศุสัตวอําเภอ 3. องคกรปกครองสวนทองถ่ิน 4. ประชาสัมพันธจังหวดั 5. จุดปฏิบัติการเตรียมความพรอม วิทยุชุมชน 6. สถานศึกษา 7. อาสาสมัครสาธารณสุขและ พนักงานสาธารณสุขตางดาว

สํานักงานปศุสัตวอําเภอ เครือขายเฝาระวังโรคไขหวัดนก

2.6 เฝาระวังโรคในนกธรรมชาติและนกอพยพ

1. สํานักบริหารพื้นท่ีอนุรักษท่ี 15 (เชียงราย) 2. สํานักงานปศุสัตวจังหวัด 3. สํานักงานปศุสัตวอําเภอ

.สํานักบริหารพื้นท่ีอนุรักษท่ี 15 (เชียงราย)

2.7 จัดเตรียมวสัดุอุปกรณ ปองกันและควบคุมโรคไขหวัดนก เชน น้ํายาฆาเช้ือ ชุดปฏิบัติงาน

1. สํานักงานปศุสัตวจังหวัด 2. สํานักงานปศุสัตวอําเภอ 3. องคกรปกครองสวนทองถ่ิน

สํานักงานปศุสัตวจังหวัด องคกรปกครองสวนทองถ่ิน

Page 74: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

กิจกรรมหลัก / บทบาทหนาที่

หนวยงานรับผิดชอบ หนวยงานหลัก

3. การเตรียมพรอมดานสาธารณสุข

3.1 เตรียมพรอมดานสถานท่ีและบุคลากร ในการเฝาระวัง ปองกัน และควบคุมโรค

1. โรงพยาบาล 2. สํานักงานสาธารณสุขอําเภอ 3. อาสาสมัครสาธารณสุข และ พนักงานสาธารณสุขตางดาว 4.องคกรปกครองสวนทองถ่ิน

โรงพยาบาล

3.2 เตรียมพรอมดานวัสดุ และอุปกรณ ในการเฝาระวัง ปองกัน และควบคุมโรค

1. สํานักงานสาธารณสุขจังหวัด 2. โรงพยาบาล 3. สํานักงานสาธารณสุขอําเภอ 4.องคกรปกครองสวนทองถ่ิน

โรงพยาบาล

3.3 ฉีดวคัซีนปองกนัโรคไขหวัดใหญสายพันธุใหมใหบุคลากรสาธารณสุข และบุคลากรกลุมเส่ียง

1. สํานักงานสาธารณสุขจังหวัด 2. โรงพยาบาล

โรงพยาบาล

3.4 เฝาระวังและควบคุมโรคในคน โดยเฝาระวังผูปวยโรคติดเช้ือทางเดินหายใจ ในสถานบริการสาธารณสุข

1. โรงพยาบาลทุกแหง 2. สถานีอนามัยทุกแหง

โรงพยาบาล

3.5 เฝาระวังและควบคุมโรคในคน โดยเฝาระวังผูปวยโรคติดเช้ือทางเดินหายใจ นอกสถานบริการสาธารณสุข

1. โรงพยาบาล 2. สํานักงานสาธารณสุขอําเภอ 3. อาสาสมัครสาธารณสุข และ พนักงานสาธารณสุขตางดาว

ทีมเฝาระวังสอบสวนเคล่ือนท่ีเร็ว (SRRT)

3.6 ดําเนินการประชาสัมพันธสถานการณการแพรระบาดของโรคใหสอดคลองกับเหตุการณปจจุบัน

1. สํานักงานสาธารณสุขจังหวัด 2. โรงพยาบาล 3. สํานักงานปองกันและบรรเทาสา ธารณภัยจังหวัด 4. ประชาสัมพันธจังหวดั 5. จุดปฏิบัติการเตรียมความพรอม วิทยุชุมชน

สํานักงานสาธารณสุขจังหวดั

Page 75: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

กิจกรรมหลัก / บทบาทหนาที่

หนวยงานรับผิดชอบ หนวยงานหลัก

3.7 รณรงค และประชาสัมพันธใหประชาชนทราบมาตรการปองกัน ควบคุม และเฝาระวงัโรค

1. สํานักงานสาธารณสุขจังหวัด 2. สํานักงานปศุสัตวจังหวัด 3. โรงพยาบาล 4. สํานักงานสาธารณสุขอําเภอ 5. สํานักงานปศุสัตวอําเภอ 6. องคกรปกครองสวนทองถ่ิน 7. อาสาสมัครสาธารณสุข และ พนักงานสาธารณสุขตางดาว

องคกรปกครองสวนทองถ่ิน

3.8 จัดเตรียมพื้นท่ีทําโรงพยาบาลสนามในอาคารโรงเรียนและความพรอมในการชวยเหลือบรรเทาทุกขในชุมชน

1. สํานักงานสาธารณสุขจังหวัด 2. โรงพยาบาล 3. สํานักงานสาธารณสุขอําเภอ 4. องคกรปกครองสวนทองถ่ิน 5. สํานักงานปองกันและบรรเทาสา ธารณภัยจังหวัด 6. สถานศึกษา 7. ทหาร และตํารวจ 8. อาสาสมัครสาธารณสุข และ พนักงานสาธารณสุขตางดาว 9. สํานักงานประปาสวนภูมิภาค 10. บริษัททีโอที จํากัด (มหาชน) 11. สํานักงานการไฟฟาสวนภูมิภาค

โรงพยาบาล และสถานศึกษา

3.9 ตรวจคัดกรองผูเดินทางเขา-ออกประเทศ

1. ดานควบคุมโรคติดตอระหวางประเทศ 2. ดานตรวจคนเขาเมือง 3. ดานศุลกากร 4. โรงพยาบาล 5. สํานักงานสาธารณสุขอําเภอ 6. ตํารวจ

ดานควบคุมโรคติดตอระหวางประเทศ

3.10 รวบรวมขอมูล วิเคราะหสรุปผล อัตราการลาปวย และปวยตายดวยโรคไขหวัดใหญของเจาหนาท่ีดานสาธารณสุข เพื่อจัดกําลังสํารอง

1. สํานักงานสาธารณสุขจังหวัด 2. โรงพยาบาล 3. สํานักงานสาธารณสุขอําเภอ

โรงพยาบาล

Page 76: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

กิจกรรมหลัก / บทบาทหนาที่

หนวยงานรับผิดชอบ หนวยงานหลัก

3.11 พิจารณาการกักกนัผูสัมผัสใกลชิดกับผูปวยในชุมชน

1. สํานักงานสาธารณสุขจังหวัด 2. โรงพยาบาล 3. สํานักงานสาธารณสุขอําเภอ 4. องคกรปกครองสวนทองถ่ิน 5. สํานักงานปองกันและบรรเทาสา ธารณภัยจังหวัด 6. อาสาสมัครสาธารณสุข และ พนักงานสาธารณสุขตางดาว 7. ทหาร และตํารวจ

โรงพยาบาล

3.12 พิจารณาการปดสถานศึกษา 1. สถานศึกษา 2. พื้นท่ีเขตการศึกษา 3. สํานักงานสาธารณสุขอําเภอ 4. โรงพยาบาล 5.องคกรปกครองสวนทองถ่ิน

สถานศึกษา

3.13 สงเสริมการใชหนากากอนามัย ผาเช็ดหนาปดปากเม่ือไอหรือจาม

1. สํานักงานสาธารณสุขจังหวัด 2. โรงพยาบาล 3. สํานักงานสาธารณสุขอําเภอ 4. สถานีอนามัยทุกแหง 5. องคกรปกครองสวนทองถ่ิน 6. ประชาสัมพันธจังหวดั 7. จุดปฏิบัติการเตรียมความพรอม วิทยุชุมชน 8. อาสาสมัครสาธารณสุข และ พนักงานสาธารณสุขตางดาว 9. สถานศึกษา

องคกรปกครองสวนทองถ่ิน

3.14 จัดหนวยใหคําปรึกษาดานจิตเวชกับผูปวยและญาติผูเสียชีวิต ท้ังในโรงพยาบาลและในชุมชน

1. โรงพยาบาล 2. สํานักงานสาธารณสุขอําเภอ 3. อาสาสมัครสาธารณสุข และ พนักงานสาธารณสุขตางดาว

โรงพยาบาล

Page 77: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

กิจกรรมหลัก / บทบาทหนาที่

หนวยงานรับผิดชอบ หนวยงานหลัก

4. การส่ือสารประชาสัมพันธ 4.1 ส่ือสารและประชาสัมพนัธดานขอมูลการระบาดโดยเพ่ิมชองทางการประชาสัมพันธ

1. ประชาสัมพันธจังหวดั 2. จุดปฏิบัติการเตรียมความพรอม วิทยุชุมชน 3. สํานักงานสาธารณสุขจังหวัด 4. สํานักงานปศุสัตวจังหวัด 5. โรงพยาบาล 6. องคกรปกครองสวนทองถ่ิน 7. อาสาสมัครสาธารณสุข และ พนักงานสาธารณสุขตางดาว

ประชาสัมพันธจังหวัด

4.2 ส่ือสารและประชาสัมพันธแกประชาชน เพื่อลดความตื่นตระหนกและใหประชาชนปฏิบัติตัวไดอยางถูกตอง

1. ประชาสัมพันธจังหวดั 2. จุดปฏิบัติการเตรียมความพรอม วิทยุชุมชน 3. สํานักงานสาธารณสุขจังหวัด 4. สํานักงานปศุสัตวจังหวัด 5. โรงพยาบาล 6. องคกรปกครองสวนทองถ่ิน 7. อาสาสมัครสาธารณสุข และ พนักงานสาธารณสุขตางดาว

ประชาสัมพันธจังหวัด

4.3 เปดสายดวนสําหรับบุคลากรดานสาธารณสุข และประชาชน

1. ประชาสัมพันธจังหวดั 2. จุดปฏิบัติการเตรียมความพรอม วิทยุชุมชน 3. สํานักงานสาธารณสุขจังหวัด 4. สํานักงานปศุสัตวจังหวัด 5. โรงพยาบาล 6. องคกรปกครองสวนทองถ่ิน

สํานักงานสาธารณสุขจังหวดั

5. การเตรียมพรอมดานการคมนาคม ขนสง และดานสาธารณูปโภค

5.1 จัดระบบขนสงสาธารณะเพื่อปองกันการแพรกระจายเช้ือในพาหนะสาธารณะ

1. สํานักงานขนสงจังหวดัเชียงราย 2. ตํารวจ

สํานักงานขนสงจังหวัดเชียงราย

Page 78: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

กิจกรรมหลัก / บทบาทหนาที่

หนวยงานรับผิดชอบ หนวยงานหลัก

5.2 เตรียมพรอมในการจดักาํลังสํารอง และอุปกรณเคร่ืองมือตางๆ เพื่อใหระบบบริการสาธารณะสามารถดําเนินการไดขณะเกิดการระบาดของโรค

1. สํานักงานขนสงจังหวดัเชียงราย 2. สํานักงานประปาเชียงราย 3. บริษัททีโอที จํากัด (มหาชน) 4. สํานักงานการไฟฟาสวนภูมิภาค

1. สํานักงานขนสงจังหวดัเชียงราย 2. สํานักงานประปาเชียงราย 3. บริษัททีโอที จํากดั (มหาชน) 4. สํานักงานการไฟฟาสวนภูมิภาค

5.3 เสริมสรางความรูใหพนกังานดานการขนสง และดานสาธารณูปโภค มีความรู ความเขาใจในการปองกันตนเองและครอบครัว

1. สํานักงานขนสงจังหวดัเชียงราย 2. สํานักงานประปาเชียงราย 3. บริษัททีโอที จํากัด (มหาชน) 4. สํานักงานการไฟฟาสวนภูมิภาค 5. สํานักงานสาธารณสุขจังหวัด 6. โรงพยาบาล

สํานักงานสาธารณสุขจังหวดั

6. การรักษาความสงบเรียบรอยและการบรรเทาทุกข 6.1 ดําเนินการรักษาความสงบเรียบรอย และระงับการแตกตื่น เสียขวัญของประชาชน

1. สํานักงานปองกันและบรรเทา สาธารณภัยจังหวัด 2. สํานักงานสาธารณสุขจังหวัด 3. ทหาร และตํารวจ

สํานักงานปองกันและบรรเทาสาธารณภยัจังหวดั

6.2 จัดแผนการเตรียมสถานท่ีพักพิงช่ัวคราว สําหรับผูท่ีตองอพยพ

1. สํานักงานปองกันและบรรเทา สาธารณภัยจังหวัด 2. สํานักงานสาธารณสุขจังหวัด 3. องคกรปกครองสวนทองถ่ิน

สํานักงานปองกันและบรรเทาสาธารณภยัจังหวดั

6.3 จัดแผนการอพยพ สวนราชการและประชาชนกลุมท่ีอาศัยอยูรวมกนัแออัด

1. สํานักงานปองกันและบรรเทา สาธารณภัยจังหวัด 2. สํานักงานสาธารณสุขจังหวัด 3. องคกรปกครองสวนทองถ่ิน 4. ทหาร และตํารวจ

สํานักงานปองกันและบรรเทาสาธารณภยัจังหวดั

6.4 จัดระบบการบรรเทาทุกขใหเอ้ืออํานวยตอการเตรียมพรอมรับการระบาดใหญของโรคไขหวัดใหญ

1. สํานักงานปองกันและบรรเทา สาธารณภัยจงัหวัด 2. สํานักงานสาธารณสุขจังหวัด 3. องคกรปกครองสวนทองถ่ิน 4. ทหาร และตํารวจ

สํานักงานปองกันและบรรเทาสาธารณภยัจังหวดั

Page 79: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

กิจกรรมหลัก / บทบาทหนาที่

หนวยงานรับผิดชอบ หนวยงานหลัก

6.5 จัดอบรมกาํลังสํารองและอาสาสมัครเพ่ือบรรเทาทุกขฉุกเฉินใหแกประชาชน

1. สํานักงานปองกันและบรรเทาสา ธารณภัยจังหวัด 2. สํานักงานสาธารณสุขจังหวัด 3. องคกรปกครองสวนทองถ่ิน

สํานักงานปองกันและบรรเทาสาธารณภยัจังหวดั

6.6 ประสานงานกับองคกรการกุศลอาสาสมัคร เพื่อเปนกําลังสํารองในการบรรเทาทุกขฉุกเฉินใหแกประชาชน

1. สํานักงานปองกันและบรรเทาสา ธารณภัยจังหวัด 2. องคกรปกครองสวนทองถ่ิน

สํานักงานปองกันและบรรเทาสาธารณภยัจังหวดั

Page 80: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

ระเบียบปฏิบัติระเบียบปฏิบัติ

ของของ หนวยงานตางๆหนวยงานตางๆ

เพ่ือเตรียมพรอมรับการระบาดใหญเพ่ือเตรียมพรอมรับการระบาดใหญ

ของโรคไขหวัดนกและโรคไขหของโรคไขหวัดนกและโรคไขหวัดใหญวัดใหญ

สายพันธุใหม สายพันธุใหม

จังหวัดเชียงรายจังหวัดเชียงราย

Page 81: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6
Page 82: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

สํานักงานสํานักงานปองกันและบรรเทาสาธารณภัยปองกันและบรรเทาสาธารณภัย

จังหวัดเชียงรายจังหวัดเชียงราย

Page 83: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6
Page 84: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

ระเบียบปฏบิัติ (Procedure) หนวยงาน : สํานักงานปองกนัและบรรเทาสาธารณภัย จงัหวัดเชียงราย เร่ือง : แผนการเตรียมพรอมรับการระบาดใหญของโรคไขหวัดนกและโรคไขหวัดใหญสายพันธุใหม ใน 4 อําเภอนํารอง วันท่ี : 31 ตุลาคม พ.ศ. 2551

เครือขายอาสาสมัคร

หนวยงานระดับอําเภอ หนวยงานระดับจังหวัด

ไมประกาศ

ประกาศ

รับการประสานงานจาก สสจ./รพ. /ปศุสัตวจังหวัด

รับทราบขอมูลการระบาดใหญของ โรคไขหวัดนก /โรคไขหวัดใหญ โดย เจาหนาท่ีท่ีรับทราบขาว

รายงานหัวหนาสํานักงานปองกันและบรรเทาสาธารณภัย โดย หัวหนาฝายปองกันและปฏิบัติการ

รายงานผูวาราชการจังหวัดเพ่ือพิจารณาประกาศพ้ืนที่ภัยพิบัติ โดย หัวหนาสํานักงานปองกันและบรรเทาสาธารณภัย

พิจารณา โดย ผูวาราชการจังหวัด

รับทราบการประกาศเปนพ้ืนที่ภัยพิบัติ

โดย หัวหนาสํานักงานปองกันและบรรเทาสาธารณภัย

ประชุมเตรียมปฏิบัติการ

โดย หัวหนาสํานักงานปองกันและบรรเทาสาธารณภัย

อํานวยการและปฏิบัติการใหความชวยเหลือ

โดย กลุมยุทธศาสตรและการจัดการ

ดําเนินการปองกันและปฏิบัติการ

โดย ฝายปองกันและปฏิบัติการ

ดําเนินการชวยเหลือผูประสบภัย โดย ฝายสงเคราะหผูประสบภัย

ติดตามสถานการณอยางใกลชิด โดย ฝายปองกันและปฏิบัติการ

เฝาระวัง/รับแจงเหตุ โดย ฝายปองกันและปฏิบัติการ

รายงานและติดตามสถานการณ โดย ฝายปองกันและปฏิบัติการ

เผยแพรประชาสัมพันธ เพ่ือสรางความเขาใจ

โดย กลุมงานยุทธศาสตรและ

การจัดการ

ประสานงานการปฏิบัติงาน

โดย กลุมงานยุทธศาสตรและการจัดการ

ควบคุมดูแลพ้ืนที่การเคล่ือนยายเขา-ออก โดย ฝายสงเคราะหผูประสบภัย

จัดระบบการชวยเหลือ

โดย ฝายสงเคราะหผูประสบภัย

รับบริจาคเงินและสิ่งของชวยเหลือผูประสบภัย

โดย ฝายสงเคราะหผูประสบภัย

Page 85: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6
Page 86: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

สํานักงานสํานักงานประประชาสัมพันธชาสัมพันธ

จังหวัดเชียงรายจังหวัดเชียงราย

Page 87: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6
Page 88: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

ระเบียบปฏิบัติ (Procedure) หนวยงาน : สํานักงานประชาสัมพันธ จังหวัดเชียงราย เร่ือง : แผนการเตรียมพรอมรับการระบาดใหญของโรคไขหวัดนกและโรคไขหวัดใหญสายพันธุใหม ใน 4 อําเภอนํารอง วันท่ี : 31 ตุลาคม พ.ศ. 2551

รับทราบขอมูลการระบาดของ โรคไขหวัดนก /โรคไขหวัดใหญ

ผูรับผิดชอบ ประชาสัมพันธจังหวัด

ประชุมคณะทํางานประชาสัมพันธ ผูรับผิดชอบ ประชาสัมพันธจังหวัด

กระจายเสียงตามสายในชุมชน ผูรับผิดชอบ ผูนําชุมชน

วิทยุชุมชน 86 สถานี

ผูรับผิดชอบ

หัวหนาสถานีวิทยุ

สถานีวิทยุกระจายเสียงแหงประเทศไทย จังหวัดเชียงราย

ผูรับผิดชอบ หัวหนาสถานีวิทยุ

ศูนยขอมูลของจังหวัดโดยมีคณะกรรมการศูนยปฏิบัติการปองกันและแกไขปญหาการแพรระบาดโรคไขหวัดนก

ระดับจังหวัด โดย ผูวาราชการจังหวัด

เผยแพรขาวทางสถานีโทรทัศน ผูรับผิดชอบ

ผูสื่อขาวโทรทัศน

เผยแพรขาวทางหนังสือพิมพ ผูรับผิดชอบ

บรรณาธิการหนังสือพิมพ

เผยแพรขาวทางวิทยุหลัก/วิทยุชุมชน ผูรับผิดชอบ

หัวหนาสถานีวิทยุ

จัดต้ังศูนยแถลงขาว ผูรับผิดชอบ

ประชาสัมพันธจังหวัด

สถานีวิทยุหลัก

ผูรับผิดชอบ

หัวหนาสถานีวิทยุ

Page 89: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6
Page 90: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

สํานักงานปศุสัตวสํานักงานปศุสัตว

Page 91: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6
Page 92: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

ระเบียบปฏิบัติ (Procedure) หนวยงาน : สํานักงานปศุสัตว จังหวัด อําเภอเมือง แมสาย เชียงแสน และแมฟาหลวง จังหวัดเชียงราย, ดานกักกันสัตวเชียงราย เรื่อง : แผนการเตรียมพรอมรับการระบาดใหญของโรคไขหวัดนกและโรคไขหวัดใหญสายพันธุใหม ใน 4 อําเภอนํารอง วันที่ : 31 ตุลาคม พ.ศ. 2551

ไมใช H5N1

ใช H5N1

แจงสาธารณสุขจังหวัดทันที

ภาวะเกิดโรคระบาด

สอบสวนโรคเบื้องตน

สงสัย

เก็บตัวอยางสง Lab ใช

H5N1 เก็บตัวอยาง สง Lab ยืนยัน

ไมใช H5N1

ตรวจสอบหาสาเหตุอื่น

ประชาสัมพันธ

รายงานเบื้องตน

สอบสวนโรคโดยละเอียด

ประกาศเขตโรคระบาด

ระดมกําลังหนวยควบคุมโรคเฉพาะกิจ

หนวยงานอื่นๆ เชน กระทรวงกลาโหม กระทรวงมหาดไทย

กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

ควบคุมเคลื่อนยาย และกักกัน

ทําลายสัตว ประชาสัมพันธและประสานงาน กับหนวยงานที่เกี่ยวของ

การเฝาระวังโรค ทําลายเชื้อโรค

- หามเคลื่อนยายสัตว ปกและซากในพื้นที่ รัศมี 10 กิโลเมตร รอบจุดเกิดโรคอยางนอย 30 วัน

- สัตวปกในฝูงที่เปนโรคและฝูงอื่นๆ ที่มีเหตุอันเชื่อไดวาสัตวไดรับเชื้อโรค

- ดําเนินการทําลายเชื้อโรคในวงกวาง - ติดตามแนะนําการทําลายเชื้อโรคของเกษตรกร / ผูประกอบการ

- เมื่อสัตวปกสงสัยวาเปนโรคไขหวัดนกใหแจงผูวาราชการจังหวัดและสาธารณสุขจังหวัดเพื่อเฝาระวังโรคในคนทันที - แลกเปลี่ยนขอมูลการเกิดโรคในนกกับกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม - ประชาสัมพันธเกษตรกร

ดําเนินการเฝาระวังโรคในพื้นที่รัศมี 10 กิโลเมตร รอบจุดเกิดโรค ดังนี้ - เฝาระวังอาการทางคลินิก - สุมเก็บตัวอยางอุจจาระสงหองปฏิบัติการที่ความเชื่อมั่น 99 % - ฟารมทุกฟารมโรงเรือนละ 60 ตัว - สัตวปกปลอยเลี้ยงหมูบานละ 20 ตัว

ปวย/ตาย

ปกต ิ

ดําเนินการเฝาระวัง สัตวปกในพื้นที่

อาการ

จัด ประชาสัมพนัธ

ทําลายเชื้อโรค/ ทําความสะอาดพื้นที่

ควบคุมสัตวปก ในพื้นที่ รัศมี 10 กม. เปนเวลา 30 วัน

เก็บซากสัตวปก ตรวจหาเชื้อ H5N1

ใหความรูชาวบานวิธี

ทําลายซากสัตวปก ที่ถูกสุขลักษณะ สั่งหามเคลื่อนยาย

รอผลการตรวจ

ผลการตรวจ ภายใน 10

ประสานงานกับ

สสอ./สอ./รพ./ปศุสัตวจังหวัด

ใหความรูกับประชาชน ผานสื่อตางๆ

จัดแถลงขาวรวมกับ หนวยงานอําเภอ/สสอ.

ตรวจสอบหาสาเหตุ

ประชาสัมพันธ

ศูนยปฏิบัติการไขหวัดนก จังหวัด/อําเภอ

ปวย/ตาย เขานิยามโรคไขหวัดนกในสัตว

Page 93: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6
Page 94: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

องคกรปกครองสวนทองถิ่นองคกรปกครองสวนทองถิ่น

Page 95: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6
Page 96: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

ระเบียบปฏิบัติ (Procedure) หนวยงาน : องคกรปกครองสวนทองถ่ิน- อําเภอเมือง แมสาย เชียงแสนและแมฟาหลวง จังหวัดเชียงราย เร่ือง : แผนการเตรียมพรอมรับการระบาดใหญของโรคไขหวัดนกและโรคไขหวัดใหญสายพันธุใหมใน 4 อําเภอนํารอง วันท่ี : 31 ตุลาคม พ.ศ. 2551

พอ

ไมพอ

พอ

ไมพอ

รับแจงการระบาดของโรคไขหวัดนก จาก สอ. /รพ. หัวหนากองสาธารณสุข ผูรับผิดชอบ

ประชุมผูบริหาร

ประชุมทีมเฉพาะกิจ โดยกองสาธารณสุข จัดสรรงบประมาณโดยกองสาธารณสุข

พิจารณา

เสนอของบพิเศษ

เก็บรวบรวมขอมูล ประชุมแกนนําชุมชน อสม./สอ. /ปศุสัตวอําเภอ

เตรียมอุปกรณ

เขาเตรียมพ้ืนที่ ที่จะทําลายซากสัตวปก

เครื่องพนยา + นํ้ายาฆาเช้ือ

อุปกรณ/ชุดปองกันฯลฯ

จํานวน

เสนอขอสั่งซื้อ

เสนอรายงานตอผูบริหาร(นายก อปท./อบต.)

ประชาสัมพันธสถานการณ

วิทยุชุมชน สถานีโทรทัศน หนังสือพิมพ

จํานวนฟารม จํานวนโรงชําแหละสัตวปก

สถานที่จําหนายสัตวปก

จํานวน สัตวปก

สถานที่รับสัตว ปกมาเล้ียง

รับการประสานงานจาก สสอ./รพ. /สอ./ปศุสัตวอําเภอ

สํารวจจุดเสี่ยงที่ทิ้งซากสัตวไมถูก

สุขลักษณะ

จํานวน บอนไก

จํานวนสัตวปกจากเกษตรกรรายยอยและชาวบานทั่วไป

แจงประชาสัมพันธจังหวัด

ประสานงานกับเครือขาย สสอ./สอ./รพ./ปศุสัตวอําเภอ

Page 97: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6
Page 98: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

ดานควบคุมโรคดานควบคุมโรคติดตอระหวางประเทศติดตอระหวางประเทศ

Page 99: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6
Page 100: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

ระเบียบปฏิบัติ (Procedure) หนวยงาน : ดานควบคุมโรคติดตอระหวางประเทศ อําเภอแมสาย จังหวัดเชียงราย เร่ือง : แผนการเตรียมพรอมรับการระบาดใหญของโรคไขหวัดนกและโรคไขหวัดใหญสายพันธุใหม ใน 4 อําเภอนํารอง วันท่ี : 31 ตุลาคม พ.ศ. 2551 มาตราการ : การตรวจคัดกรองคนไทย/ตางชาติขาเขาประเทศ

อนุญาต

ไมอนุญาต

ใชกลุมอาการไขหวัดใหญ

ไมใชกลุมอาการไขหวัดใหญ

ไมผาน ผาน

≥ 38 องศาเซลเซียส < 38 องศาเซลเซียส

คัดกรองสุขภาพเบื้องตน โดยเจาหนาท่ี

ดานควบคุมโรคติดตอระหวางประเทศ

พิจารณาการผานเขาประเทศ โดย เจาหนาท่ีดานควบคุมโรคฯ

หามเขาประเทศไทย โดยเจาหนาท่ีดานควบคุมโรคฯ

เขาสูกระบวนการของดานตรวจคนเขาเมือง

เดินทางเขา ประเทศไทย

ผลตรวจวัดอุณหภูมิรางกาย

ผูประสงคเดินทางเขาประเทศ

วินิจฉัยอาการเบื้องตน

โดย เจาหนาท่ีดาน

ควบคุมโรคฯ

ผล

ผล นําตัวเขาสูกระบวนการของดาน

ตรวจคนเขาเมือง

นําตัวสง รพ. โดย จนท.ดานฯ

หรือเจาหนาท่ี รพ. มารับเพ่ือรักษา

แจงทีมสอบสวนโรค (SRRT) โดยเจาหนาท่ีดานควบคุมโรคฯ

Page 101: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

ระเบียบปฏิบัติ (Procedure) หนวยงาน : ดานควบคุมโรคติดตอระหวางประเทศ อําเภอแมสาย จังหวัดเชียงราย เร่ือง : แผนการเตรียมพรอมรับการระบาดใหญของโรคไขหวัดนกและโรคไขหวัดใหญสายพันธุใหม ใน 4 อําเภอนํารอง วันท่ี : 31 ตุลาคม พ.ศ. 2551 มาตราการ : การตรวจคัดกรองคนไทย/ตางชาติขาออกนอกประเทศ

คัดกรองสุขภาพเบื้องตน โดยเจาหนาท่ี

ดานควบคุมโรคติดตอระหวางประเทศ

อนุญาต

ไมอนุญาต

ใชกลุมอาการไขหวัดใหญ

ไมใชกลุมอาการไขหวัดใหญ

ไมผาน

ผาน

≥ 38 องศาเซลเซียส < 38 องศาเซลเซียส

พิจารณาการผาน ออกนอกประเทศ โดย เจาหนาท่ีดานควบคุมโรคฯ

เขาสูกระบวนการของดานตรวจคนเขาเมือง

เดินทางออกนอกประเทศไทย

ผลตรวจวัดอุณหภูมิรางกาย

ผูประสงคเดินทางออกนอกประเทศ

วินิจฉัยอาการเบื้องตน

โดย เจาหนาท่ีดาน

ควบคุมโรคฯ

ผล

ผล

นําตัวสง รพ. โดย จนท.ดานฯ

หรือเจาหนาท่ี รพ. มารับเพ่ือรักษา

แจงทีมสอบสวนโรค (SRRT) โดยเจาหนาท่ีดานควบคุมโรคฯ

นําตัวเขาสูกระบวนการของดานตรวจคนเขาเมือง

เดินทางออกนอกประเทศ

Page 102: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

กองบังคับการตํารวจภูธรจังหวัดกองบังคับการตํารวจภูธรจังหวัด

และสถานีตํารวจภูธรและสถานีตํารวจภูธร

Page 103: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6
Page 104: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

ระเบียบปฏิบัติ(Procedure) หนวยงาน : ตํารวจภูธรจังหวัดเชียงราย เร่ือง : แผนการเตรียมพรอมรับการระบาดใหญของโรคไขหวัดนกและโรคไขหวัดใหญสายพันธุใหม ใน 4 อําเภอนํารอง วันท่ี : 31 ตุลาคม พ.ศ. 2551

สสอ.

ปศุสัตวอําเภอ

ทหาร

รับการประสานงานจาก สสจ./รพ./ปศุสัตวจังหวัด

รับขอมูลการระบาด โรคไขหวัดนก /ไขหวัดใหญสายพันธุใหม

จาก สสจ./รพ./สสอ./ปศุสัตวจังหวัด ผูรับผิดชอบ เจาหนาท่ีธุรการ

รายงานผูบังคับบัญชา: ผบก.ภ.จว.เชียงราย ผูรับผิดชอบ เจาหนาท่ีธุรการ

ประชุมเจาหนาที่-กําลังพล ผูรับผิดชอบ รอง ผบก. ท่ี ผบก. มอบหมาย

สรุป/ประเมินผลและรายงานผูบังคับบัญชา ผูรับผิดชอบ

รอง ผบก. ท่ี ผบก.

แจงสถานีตํารวจภูธรในปกครองทราบ ผูรับผิดชอบ

สว.กพ.

เตรียมบุคลากร/กําลังพล ผูรับผิดชอบ สว.กพ.

เตรียมชุดอุปกรณปองกันโรค

ผูรับผิดชอบ สว.

กบ.

จัดต้ังศูนยเฉพาะกิจ ผูรับผิดชอบ

รอง ผบก. ท่ี ผบก. มอบหมาย

ต้ังดานผาน เขา-ออก ในพ้ืนที่ ผูรับผิดชอบ

หน.สภ.

สนับสนุนการประชาสัมพันธ ผูรับผิดชอบ

หัวหนา สถานีวิทยุ ภ.5 จว.เชียงราย

ขอรับการสนับสนุน จาก สสจ./รพ./ปศุสัตวจังหวัด

ผูรับผิดชอบ

รอง ผบก. ท่ี ผบก. มอบหมาย

แจงสถานีตํารวจภูธรในพ้ืนที่ที่มีการระบาด ผูรับผิดชอบ

สว.กพ.

จัดต้ังชุดเฉพาะกิจในพ้ืนที่ที่มีการระบาด ผูรับผิดชอบ หน.สว.

ประสานงานกับหนวยงานที่เก่ียวของ

ผูรับผิดชอบ

หน.สภ.

เตรียมพรอมรับการระบาดของโรคไขหวัดนกและไขหวัดใหญ

อบรมใหความรูกําลังพลและครอบครัว ผูรับผิดชอบ สว.นผ.

Page 105: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6
Page 106: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

หนวยเฉพาะกิจกรมทหารมาท่ี หนวยเฉพาะกิจกรมทหารมาท่ี 3 3

กองกําลังผาเมืองกองกําลังผาเมือง

Page 107: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6
Page 108: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

ระเบียบปฏิบัติ (Procedure) หนวยงาน : หนวยเฉพาะกิจกรมทหารมาท่ี 3 เร่ือง : แผนการเตรียมพรอมรับการระบาดใหญของโรคไขหวัดนกและโรคไขหวัดใหญสายพันธุใหม ใน 4 อําเภอนํารอง วันท่ี : 31 ตุลาคม พ.ศ. 2551

รับการประสานงานจาก สสอ./รพ. /สอ./ปศุสัตวอําเภอ

รับขอมูลการระบาดของ โรคไขหวัดนก /ไขหวัดใหญสายพันธุใหม

จากสสอ./รพ./สอ./ปศุสัตวอําเภอ

ผูรับผิดชอบ หัวหนาฝายประสานงาน ชายแดนไทย-พมา (หัวหนาTBC)

รายงานผูบังคับบัญชา

ผูรับผิดชอบ หัวหนาฝายประสานงาน ชายแดนไทย-พมา(หัวหนาTBC)

ประชุมเจาหนาที่-กําลังพล

ผูรับผิดชอบ หัวหนาฝายประสานงาน ชายแดนไทย-พมา(หัวหนาTBC)

เตรียมยุทโธปกรณ ผูรับผิดชอบ (ฝายการพยาบาล)

นายสิบพยาบาล ฉก.ม.3

ประสานงาน-ติดตอสสอ./รพ./สอ./ปศุสัตวอําเภอ

ผูรับผิดชอบ (ฝายการพยาบาล)

นายสิบพยาบาล ฉก.ม.3

เตรียมบุคลากร/กําลังพล ผูรับผิดชอบ (ฝายการพยาบาล)

นายสิบพยาบาล ฉก.ม.3

เตรียมชุดอุปกรณปองกัน ผูรับผิดชอบ

(ฝายการพยาบาล)

นายสิบพยาบาล ฉก.ม.3

จัดหนวย เฉพาะกิจ

ผูรับผิดชอบ

(หัวหนาTBC)

ต้ังดานผาน เขา-ออก ในพ้ืนที่ ผูรับผิดชอบ

(หัวหนาTBC)

สนับสนุนการประชาสัมพันธ ผูรับผิดชอบ

(หัวหนาTBC) ขอรับการสนับสนุน จาก สสอ./

รพ./ปศุสัตวอําเภอ

ผูรับผิดชอบ (หัวหนาTBC)

เตรียมพรอมรับการระบาดของโรคไขหวัดนกและไขหวัดใหญ

อบรมใหความรูกําลังพลและครอบครัว

ผูรับผิดชอบ (หัวหนาTBC)

Page 109: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6
Page 110: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

สํานักงานสํานักงานการไฟฟาการไฟฟาสวนภูมิภาคสวนภูมิภาค

Page 111: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6
Page 112: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

ระเบียบปฏิบัติ (Procedure) หนวยงาน : สํานักงานการไฟฟาสวนภูมิภาค จังหวดัเชียงราย เรื่อง : แผนการเตรียมพรอมรับการระบาดใหญของโรคไขหวัดนกและโรคไขหวัดใหญสายพันธุใหม ใน 4 อําเภอนํารอง วันที่ : 31 ตุลาคม พ.ศ. 2551

ปกติ

ปวย/ตาย

ปกติ

ปวย/ตาย

ไมพอ

พอ

ไมพอ ไมพอ

พอ พอ

รับแจงการเกิดโรคระบาดไขหวัดนกในพื้นที่ โดยหัวหนาสํานักงานการไฟฟา

เชิญประชุมเจาหนาที่ในสํานักงาน โดยหัวหนาสํานักงานการไฟฟา

เตรียมอุปกรณ เตรียมบุคลากร

เครื่องสํารองไฟ ถุงมือ/ผาปดจมูก

จํานวน จํานวน

ติดตอขอจากสอ./ สสอ./อบต./ ปศุสัตวอําเภอ

เสนอขอสั่งซื้อ

อบรม/ใหความรูพนักงาน ชวยเฝาระวัง

ขณะปฏิบัติงานในชุมชน

อาการสัตว

ขอมูล AHI

ติดตอเจาหนาที่ สถานีอนามัย/ปศุสัตว

แจงผูเกี่ยวของ อสม./พสต./ เจาหนาที่ สอ./ปศุสัตว

รับการประสานงานจาก สสอ./รพ. /สอ./ปศุสัตวอําเภอ

พิจารณา

ขอยืมจากหนวยงานที่เกี่ยวของ เชน สํานักงานการไฟฟาเชียงใหม

ตรวจเช็คจํานวนเจาหนาที่

ผล

ขอความชวยเหลือจากหนวยงานที่เกี่ยวของ

AHI : ไขหวัดนกและไขหวัดใหญสายพันธุใหม

Page 113: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6
Page 114: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

สถานีวิทยุชุมชนสถานีวิทยุชุมชน

Page 115: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6
Page 116: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

ระเบียบปฏิบัติ (Procedure) หนวยงาน : จุดปฏิบัติการเตรียมความพรอมวิทยุชุมชน อําเภอเมือง แมสาย และเชียงแสน จังหวัดเชียงราย เร่ือง : แผนการเตรียมพรอมรับการระบาดใหญของโรคไขหวัดนกและโรคไขหวัดใหญสายพันธุใหม ใน 4 อําเภอนํารอง วันท่ี : 31 ตุลาคม พ.ศ. 2551

ไมเพียงพอ

เพียงพอ

รับขอมูลการเกิด โรคไขหวัดนก /ไขหวัดใหญสายพันธุใหม

จากสสอ./รพ./สอ./ปศุสัตวอําเภอ ผูรับผิดชอบ หัวหนาสถานีวิทยุ

ประชุมทีมงานในแตละสถานีวิทยุชุมชน ผูรับผิดชอบ หัวหนา

สถานีวิทยุ

ขอมูล AHI

จัดตารางการประชาสัมพันธทางวิทยุชุมชน

โดยหัวหนาสถานีวิทยุ

รับการประสานงานจาก สสอ./รพ. /สอ./ปศุสัตวอําเภอ

รับขอมูลและการประสานงานจากประชาสัมพันธจังหวัด

ผูรับผิดชอบ หัวหนาสถานีวิทยุ

ประกาศขาวและขอมูล AHI ที่ไดรับจากหนวยงานสาธารณสุข/ ปศุสัตวอําเภอ

ทางวิทยุชุมชน AHI : ไขหวัดนกและไขหวัดใหญสายพันธุ

Page 117: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6
Page 118: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

โรงเรียนโรงเรียน//สถานศึกษาสถานศึกษา

Page 119: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6
Page 120: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

ระเบียบปฏิบัติ (Procedure) หนวยงาน : โรงเรียนในเขต อําเภอเมือง แมสาย เชียงแสน และแมฟาหลวง จังหวัดเชียงราย เรื่อง : แผนการเตรียมพรอมรับการระบาดใหญของโรคไขหวัดนกและโรคไขหวัดใหญสายพันธุใหม ใน 4 อําเภอนํารอง วันที่ : 31 ตุลาคม พ.ศ. 2551

ไมดีขึ้น

ดีขึ้น

พอ

ไมพอ

ไมใชกลุมโรคไขหวัดใหญ

กลุมโรคไขหวัดใหญ

โรงเรียนเปดการเรียน/การสอน

เตรียมพรอมรับการระบาดของโรคไขหวัดนกและไขหวัดใหญสายพันธใหม

จัดทําหลักสูตรแบบบูรณาการ โดยหัวหนาฝายวิชาการ

วิชา ภาษาไทย

วิชา ศิลปะ

วิชา วิทยาศาสตร

วิชา สุขศึกษา

ใหความรูนักเรียน/ผูปกครอง/ชุมชน แมคาโรงอาหารในโรงเรียน

โดยหัวหนาฝายอนามัยโรงเรียน

ปรับปรุงหองเรียน/ หองพยาบาล โดยฝาย

อาคารสถานที่

กระจายเสียงตามสาย

จัดมุม ความรู

ทําปาย ประกาศ

จัดการ รณรงค

จัดการอบรม/ ประชุม

ความสะอาด

แบงเปน สัดสวน

การระบาย อากาศ

คนปวย คนปกติ

อาการ สง สอ./รพ.

นอนพักหองพยาบาลของโรงเรียน

ขอมูล AHI

ติดตอ ประสานงาน สสอ./รพ./ ปศุสัตว

จัดเตรียมอุปกรณ ปองกันโรค

ติดตอ ประสานงาน สสอ./รพ./ปศุ

สัตว AHI : ไขหวัดนกและไขหวัดใหญสายพันธุใหม

กลุมอาการไขหวัดใหญ

ชวยงาน

จาง

ไมพอ

พอ

มี

ไมมี ไมใชกลุมอาการไข หวัดใหญ

ไมได

ได

> 7 วัน

≤ 7 วัน

ประชุมคณะผูบริหาร/ครู

ปดโรงเรียน ตรวจเช็คจํานวน นักเรียนที่ปวย

ตรวจเช็คจํานวนครู/บุคลากรทางการศึกษาอื่นๆ ที่ปวย

ระยะ เวลา

รับแจงการเกิดโรคระบาดไขหวัดนก/ไขหวัดใหญ โดยผูอํานวยการโรงเรียนหรือผูรับผิดชอบ

รับการประสานงานจาก สสอ. รพ./สอ./ปศุสัตวอําเภอ

นอนพักหองพยาบาลของโรงเรียน

อาการ

อาการ ปวย/

เสียชีวิต

แจงสํานักงาน เขตพื้นที่การศึกษา

อนุมัติ

ปดโรงเรียน > 7 วัน

ประสานงานกับ สถานีอนามัย/โรงพยาบาล

ครูสอน เพียงพอ

แจงสํานักงาน เขตพื้นที่การศึกษา

อนุมัติ เสริมครูชั่วคราว จากโรงเรียนอื่น

จางครูชั่วคราว

Page 121: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6
Page 122: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

โรงพยาบาลโรงพยาบาล

Page 123: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6
Page 124: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

ระเบียบปฏิบัติ (Procedure) หนวยงาน : โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห และโรงพยาบาลแมฟาหลวง จังหวดัเชียงราย เรื่อง : แผนการเตรียมพรอมรับการระบาดใหญของโรคไขหวัดนกและโรคไขหวัดใหญสายพันธุใหม ใน 4 อําเภอนํารอง วันที่ : 31 ตุลาคม พ.ศ. 2551

ไมพอ

พอ

เสียชีวิต

รับทราบขอมูลสถานการณโรคไขหวัดนก จากเจาหนาที่ สอ. /รพ.

เตรียมอุปกรณ /เวชภัณฑยา

เตรียมทีมประชาสัมพันธ ฝายงานสงเสริมสุขภาพ

เตรียมบุคลากร โดยฝายงาน

สงเสริมสุขภาพ

ชุดทดสอบหอง

ปฏิบัติการ โดย จนท.งาน

ชันสูตร

ยา Oseltamivirและอื่นๆ

โดยเภสัชกร/ หองยา

ชุดเจาหนาที่ ฝายงาน

ระบาดฯ

จํานวน

เสนอสั่งซื้อ

ใหการอบรม ดานความรู

รับการฉีดวัคซีน ปองกันไขหวัดใหญ

ใหความรูประชาชนทั่วไป จัดแถลงขาว เปนทางการ

โดยฝาย ผอ.รพ.และผูที่เกี่ยวของให

ขอมูล

จัดนิทรรศการ ใหสุขศึกษา

เตรียมสถานที่ รับผิดชอบ โดยกลุมงาน

การพยาบาล

รับการประสานงานจาก สสอ./รพ. /สอ./ปศุสัตวอําเภอ

หองแยกโรค

โรงพยาบาลสนาม แตละอําเภอ 1.อําเภอเมือง รร.บานสันโคง (จรูญราษฎร) 2.อําเภอแมสาย รร.แมสายประสิทธิ์ศาสตร 3.อําเภอเชียงแสน รร.เชียงแสนวิทยาคม 4.อําเภอแมฟาหลวง รร.บานเทอดไทย ผูรับผิดชอบ ทีมงาน โรงพยาบาล/สสอ./

ทหาร/ตํารวจ/อปท./โรงเรียน/สนง.ไฟฟา/

สนง.ประปา

ประสานงานผูที่เกีย่วของ - ทีมงาน ร.พ. - อปท. - โรงเรียน

- สนง.ประปา - สนง.ไฟฟา - ทหาร/ตํารวจ

หายปวย

พบ H5N1 ไมใช

ไมใชกลุมอาการ

ไขหวัดใหญ

สงสัยอาการ

รับผูปวยนอก (O.P.D.)

จุดคัดกรองพิเศษ

สงหองตรวจโรคพิเศษสําหรับ H5N1

วินิจฉัย

ติดตามเฝาระวัง

จายยาโดยเภสัชกรและกลับบาน

รับการรักษาและตรวจผลทางหอง Lab

ผล

ติดตามอาการและใหการรักษา

ผูปวยหาย กลับบาน

ใหการรักษา

ผล ผูปวยกลับบาน

ติดตามเฝาระวัง

แจงญาติรับศพ ใหความรูกับญาติเกี่ยวกับการจัดการศพเพื่อปองกัน

การแพรเชื้อ

ใหความรูเรื่องไขหวัดนก

Page 125: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6
Page 126: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

ทีมเฝาระวังสอบสวนเคล่ือนท่ีเร็วทีมเฝาระวังสอบสวนเคล่ือนท่ีเร็ว((SSRRRRTT))

Page 127: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6
Page 128: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

ระเบียบปฏิบัติ (Procedure) หนวยงาน : ทีมเฝาระวังสอบสวนเคล่ือนท่ีเร็ว (SRRT) สสอ.เมือง สสอ.แมสาย สสอ.เชียงแสน

และสสอ.แมฟาหลวง จังหวัดเชียงราย เร่ือง : แผนการเตรียมพรอมรับการระบาดใหญของโรคไขหวัดนกและโรคไขหวัดใหญสายพันธุใหม ใน 4 อําเภอนํารอง วันท่ี : 31 ตุลาคม พ.ศ. 2551

พอ

ไมพอ

ไมพอ

พอ

ปกติ

ผิดปกติ

ติดตามการเกิดโรค ไขหวัดนกในพ้ืนที ่

สถานการณ

เตรียมอุปกรณ /เวชภัณฑ /ยา เตรียมบุคลากร

จํานวน/ปริมาณ

เสนอการสั่งซื้อ

ประชุมทีม SRRT

แจง อสม. /พสต. เฝาระวังในชุมชน

แจง /ประสานงาน เครือขาย /องคกร ทองถ่ิน /ปศุสัตว

รายงานนายอําเภอ สาธารณสุขอําเภอ /สสจ.

พิจารณาขอมูล / สถานการณ

ขอมูล

เก็บขอมูล /สอบสวนโรค ในพ้ืนที่

ใหความรูแกประชาชน

ทีม SRRT ประกอบดวย 1. โรงพยาบาล 2. สาธารณสุขอําเภอ 3. สถานีอนามัย 4. ปศุสัตวอําเภอ 5. ดานควบคุมโรค 6. อสม./อสต./พสต.

ประชาสัมพันธสถานการณในอําเภอ

วิทยุชุมชน สถานีโทรทัศ หนังสือพิมพ

Page 129: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6
Page 130: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

อาสาสมัครสาธารณสุข อาสาสมัครสาธารณสุข ((อสมอสม.).)

และและ

พนักงานสพนักงานสาธารณสุขาธารณสุขตางดาวตางดาว((พสตพสต.).)

Page 131: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6
Page 132: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

ระเบียบปฏิบัติ (Procedure) หนวยงาน : อาสาสมัครสาธารณสุข และพนักงานสาธารณสุขตางดาว อําเภอเมือง แมสาย เชียงแสน

และแมฟาหลวง จังหวัดเชียงราย เร่ือง : แผนการเตรียมพรอมรับการระบาดใหญของโรคไขหวัดนกและโรคไขหวัดใหญสายพันธุใหม ใน 4 อําเภอนํารอง วันท่ี : 31 ตุลาคม พ.ศ. 2551

เก่ียวของ

ไมเก่ียวของ

ผิดปกติ ผิดปกติ

ผิดปกติ

ปกติ ปกติ ปกติ

รับทราบขอมูลการเกิดโรคไขหวัดนกจากเจาหนาที่ สอ. /รพ. ผูรับผิดชอบ อสม./พสต. ในพ้ืนท่ี

เฝาระวังสัตวปก เฝาระวังสิ่งแวดลอม เฝาระวังคน

อาการ สถานการณ จํานวน

พบสัตวปกปวยตาย พบผูปวยที่ตองสงสัย

สอบสวนโรคเบื้องตน และการสัมผัสสตัวปก

อาการและการสัมผัสสัตวปก

ใหความรูชาวบาน

แจงเจาหนาที่ สอ. /ปศุสัตว/อบต./รพ.

พบผูปวยที่ตองสงสัย เก่ียวกับระบบทางเดินหายใจ มีสัตวปกปวย /ตาย

ใหความรูชาวบาน แจงเจาหนาที่ สอ. /ปศุสัตว

แจงผูนําชุมชน

นําพาเจาหนาที่ ปศุสัตว /สอ./อบต. เขาพ้ืนที่เกิดเหตุ

รับการประสานงานจาก สสอ./รพ. /สอ./ปศุสัตวอําเภอ

ขอรับการสนับสนุนอุปกรณปองกันโรคจาก สอ./ปศุสัตวอําเภอ/อบต.

เตรียมอุปกรณ

Page 133: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6
Page 134: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

สรุปภาพรวมการประสานงานของหนวยสรุปภาพรวมการประสานงานของหนวยงานที่เกี่ยวของงานที่เกี่ยวของ

ในการเตรียมพรอมรับการระบาดใหญของโรคไขหวัดนกในการเตรียมพรอมรับการระบาดใหญของโรคไขหวัดนก

และโรคไขหวัดใหญในเขตอําเภอเมือง อําเภอเชียงแสนและโรคไขหวัดใหญในเขตอําเภอเมือง อําเภอเชียงแสน

อําเภอแมสาย และอําเภอแมฟาหลวง จังหวัดเชียงรายอําเภอแมสาย และอําเภอแมฟาหลวง จังหวัดเชียงราย

Page 135: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6
Page 136: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

สรุปภาพรวมของการเตรียมพรอมรับการระบาดของไขหวัดนกหรือไขหวัดใหญในเขตอําเภอเมือง เชียงแสน แมสาย และแมฟาหลวง จังหวัดเชียงราย http://www.maxnettv.tv/module_tvonlines/include_play_tvonline.php?action=add&id=1392

โรงพยาบาล

รับทราบขอมูลการเกิดโรคระบาดไขหวัดนกหรือไขหวัดใหญในอําเภอที่รับผิดชอบ

ปศุสัตวอําเภอ สสอ. /สอ.

รายงานสถานการณการเกิดโรคระบาดกับหนวยงาน

ใหองคความรูเกี่ยวกับโรคไขหวัดนกหรือไขหวัดใหญ

กับหนวยงาน

นายอําเภอ

สสจ.

ปศุสัตวจังหวัด

สรุปรายงาน

ผูวาราชการจังหวัด

ทีม SRRT

โรงเรียน อปท. ภาคธุรกิจและรัฐวิสาหกิจ

อสม./พสต./อสต. วิทยุชุมชน ดานควบคุมโรคระหวางประเทศ

พัฒนาเครือขายภาคประชาชนในการปองกันควบคุมและเฝาระวังโรคไขหวัดนกและไขหวัดใหญ ชุมชน

ประชากรตางดาว

คนไทย

องคกรพัฒนาเอกชน (NGOs)

ดําเนินการเตรียมพรอมรับการระบาดของ ไขหวัดนก หรือไขหวัดใหญตามระเบียบปฏิบัติ

(Procedure) และวิธีปฏิบัติงาน (Work Instructions) ของแตละหนวยงาน

ผูประกอบการ

เจาของ

ลูกจางคนไทย/แรงงาน

ไฟฟา ประปา

โทรศัพท

ขนสง

อื่นๆ

อื่นๆ

ศูนยอํานวยการปฏิบัติการ

(War Room)

ทหาร ตํารวจ

ประชาสัมพันธจังหวัด สนง.ปองกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด

Page 137: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6
Page 138: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

ท่ีอยูและหมายเลขท่ีอยูและหมายเลขโทรศัพทโทรศัพท

หนวยงานและเจหนวยงานและเจาหนาท่ีาหนาท่ีท่ีเกี่ยวของท่ีเกี่ยวของ

Page 139: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6
Page 140: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

หนวยงานที่รับผิดชอบกรณีเกดิการระบาดใหญของโรคไขหวัดนกและโรคไขหวัดใหญสายพันธุใหม

เขตอําเภอเมือง จังหวัดเชียงราย

หนวยงาน หมายเลขโทรศัพท

สํานักงาน หมายเลขโทรสาร

สํานักงาน เจาหนาที่ผูรับผิดชอบ

หมายเลขโทรศัพทติดตอ

สํานักงานสาธารณสุขจังหวดัเชียงราย 053-910308 053-910309

053-918345 น.พ.สุรินทร สุมนาพันธุ นางรัชนี บูรณะกิจไพบูลย

08-1783-3001 08-1473-3077

น.ส.กรวินทร วิริยะประสพโชค 08-6912-8656 งานระบาดวิทยา 053-718193 053-718193

นายหณุสิทธิ์ เหมืองหมอ 08-1030-2577 สํานักงานปองกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวดัเชียงราย

053-711406 053-717463 นายณรงค อินโส

08-6910-7165

องคการบริหารสวนจังหวัดเชียงราย (กองสงเสริมคุณภาพชีวิต)

053-601758 053-601758 นางนัธทยภรณ เจีย่งเพ็ชร

08-1231-0432

นางพรทิพย จนัทรตระกูล 08-6658-1426 เทศบาลนครเชียงราย 053-711338 053-713272

นายณรงค พัวศิริ 08-1531-5723 เทศบาลตําบลบานดู 053-703653 ตอ 5 053-703262*110 วาที่ร. ต. เสมือน เทียมสา 08-4175-6537

พ.ต.ท.เนาวรัตน กลิ่นนอย 053-718118 ตอ 402 พ.ต.ท.พจน พรบวิชัย 08-1882-3491

สถานีตํารวจภธูรเมืองเชียงราย

053-718118

053-711437

พ.ต.ท.ขวัญชาติ ชุมมงคล 08-1681-0281 หนวยเฉพาะกิจกรมทหารมาที่ 3 กองกําลัง 053-758589 053-758589 ร.อ สุภาพ ออนอุดม 08-1740-8442

Page 141: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

หนวยงาน หมายเลขโทรศัพท

สํานักงาน หมายเลขโทรสาร

สํานักงาน เจาหนาที่ผูรับผิดชอบ

หมายเลขโทรศัพทติดตอ

ผาเมือง จ.ส.อ อภิชาต กองว ี 08-4488-6513 นายถาวร เหรียญตระกูลชัย 08-9203-1182 นายวิเชียร เรือนศรี 08-9756-6464

สํานักงานขนสงจังหวัดเชียงราย

053-152034

053-152073

นายนรินทร เสารคง 08-1960-3874 นายนพ ราชตา 08-9853-8123 นายชัยณรงค วงคจักร 08-1765-9798

สํานักงานประปาเชียงราย 053-713007 053-713008

นายจรัญ วังสมบัติ 08-7191-4837 บ.ทีโอที จํากดั (มหาชน) 053-711888 053-714021 นายชูชัย วิไล 08-9954-9353

นพ.ศุภเลิศ เนตรสุวรรณ 08-6911-0445 น.ส. มณีวรรณ เมฆขลา 08-1885-9335

โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห

053-711300 ตอ 1884, 1115

053-713044 นพ. สุทัศน ศรีวิไล ( ผอ. ) 053-711300 นายวิทยา จนิตนาวัฒน 08-1724-2424 นายพืชผล นอยนาฝาย 08-4172-0396

สํานักงานปศุสัตวจังหวัดเชียงราย

053-711604

053-711604 นายเกียรติชัย อุนกาศ 08-3473-3733

สํานักงานปศุสัตวอําเภอเมือง 053-719527 053-719527 นายนิคม ดอกสลิด 08-9553-6823 นายประพันธ ทรรศนียากร 053-750020 โรงเรียนสหศาสตรศึกษา

053-750020

053-150119 นางสุรียภรณ ทรรศนียากร 053-750020 นางปรัชยานภรณ สงครอด 08-1724-9609

สํานักงานประชาสัมพันธจังหวัดเชียงราย

053-711870

053-600600 นายราษ ีณ ลําปาง 08-9851-3994

Page 142: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

หนวยงาน หมายเลขโทรศัพท

สํานักงาน หมายเลขโทรสาร

สํานักงาน เจาหนาที่ผูรับผิดชอบ

หมายเลขโทรศัพทติดตอ

นายสุธรรม เกือ้บุญสง 08-1594-9873 นางอุไร คุยเพยีภูมิ 08-1595-2091 นางทัศนภรณ ลิ้มวณิชยกุล 08-6659-7735

สํานักงานสาธารณสุขอําเภอเมือง

053-713031

053-746960

นางเรณู ขัติยะ 08-1952-3244 นายบุญหวง ภทัรเชาว 08-9433-3092 โรงเรียนบานสันโคง

(เชียงรายจรูญราษฎร) 053-711017 053-716690

นางสําเนียง วรรณศรี 08-6923-5574 อาสาสมัครสาธารณสุขตําบลนางแล นางคํานอย กนัทะสุข 08-6913-7063 อาสาสมัครสาธารณสุขตําบลแมยาว นายบุญเติง เทพสมรส 08-5867-0366

Page 143: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

หนวยงานที่รับผิดชอบกรณีเกดิการระบาดใหญของโรคไขหวัดนกและโรคไขหวัดใหญสายพันธุใหม

เขตอําเภอแมสาย จังหวัดเชยีงราย

หนวยงาน หมายเลขโทรศัพท

สํานักงาน หมายเลขโทรสาร

สํานักงาน เจาหนาที่ผูรับผิดชอบ

หมายเลขโทรศัพทติดตอ

นายอิทธิพล แกวรัตนชวง 08-7303-9177 เทศบาลตําบลแมสาย (กองสาธารณสุขและสิ่งแวดลอม)

053-731288 ตอ 205 053-731288 ตอ 5 นางปภาวรินทร ลาพิงค 08-6420-2844 นายชูชัย อุดมโภชน 053-731715 ตอ 12 ดานศุลกากรแมสาย

053-731715 053-733669 น.ส.รัมภรดา กันหา 08-9461-1299

นายอมร เพ็ญไชยา 08-4616-7159, 08-5124-5421

น.ส ฟอง ใจวงค 08-6728-5506

จุดปฏิบัติการเตรียมความพรอมวิทยุชุมชนวัดศาลาเชิงดอย ความถี่ 103.25 Mhz.

053-730142

053-763142

นายสงา กลาหาญ 08-1910-6467 นายพินจิ นิมิตรภาคภูมิ 08-6924-2715 จุดปฏิบัติการเตรียมความพรอมวิทยุชุมชน

แมสาย F.M 89.25 MHZ 053-732917 053-640429

นายจรูญ สรอยสงิม 08-6141-5781 สํานักงานปศุสัตวอําเภอแมสาย 053-642504 053-733122 นายไพรสน พรมเมือง 08-4848-6944

นายสุทัศน ไชยศรี 08-6192-5766 ดานควบคุมโรคติดตอระหวางประเทศ อําเภอแมสาย

053-734171

053-734171 นางกมลวรรณ บุญโปรง 08-5665-0095 สํานักงานตรวจคนเขาเมืองอําเภอแมสาย 053-731008-9 ตอ 24-25 053-731008 รตอ.หญิงชนัฐนันท แสงอาทิตย 08-1952-2747 โรงเรียนบานปายาง 053-731759 053-731759 นายจกัรพงษ ปงกันคํา 08-1885-3357

Page 144: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

หนวยงาน หมายเลขโทรศัพท

สํานักงาน หมายเลขโทรสาร

สํานักงาน เจาหนาที่ผูรับผิดชอบ

หมายเลขโทรศัพทติดตอ

นายคมกริช ยอดสุวรรณ 053-731759 นายนฤพนธ มาลา 08-5041-2592 โรงเรียนแมสายประสิทธิ์ศาสตร

053-731007 053-733287 นางกชามาส เทพอุดม 08-6729-3474 นายนอม ปจมิตร 053-731503 สํานักงานสาธารณสุขอําเภอแมสาย

053-731503 053-733603 นางศิริพร มูลตะ 08-1980-0741

อาสาสมัครสาธารณสุขตําบลแมสาย นายบุญเกยีรติ มณีรัตน 08-9553-3250

Page 145: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

หนวยงานที่รับผิดชอบกรณีเกดิการระบาดใหญของโรคไขหวัดนกและโรคไขหวัดใหญสายพันธุใหม

เขตอําเภอเชียงแสน จังหวัดเชยีงราย

หนวยงาน หมายเลขโทรศัพท

สํานักงาน หมายเลขโทรสาร

สํานักงาน เจาหนาที่ผูรับผิดชอบ หมายเลขโทรศัพทติดตอ

นายวีระพงษ สุวรรณพงษ 08-1884-9121 สํานักงานปศุสัตวอําเภอเชียงแสน 053-777110 053-777115

นายโสภณ แกวศิริ 08-1884-6455 นางเพ็ญศรี กนัแกว 08-1386-8786 โรงเรียนเชียงแสนวิทยาคม

053-777104 053-650754 นางกฤษณา จนัตะคาด 08-5107-6606

องคการบริหารสวนตําบลบานแซว 053-181241 053-181251 นายสมควร สุตะวงค 08-6181-9534 องคการบริหารสวนตําบลศรีดอนมูล 053-730208 053-955809 นางสาวสุภาวดี สันธิ 08-4365-0390

นายวิเชียร สุวรรณรัตน 053-777093 สํานักงานสาธารณสุขอําเภอเชียงแสน 053-777093 053-777093

นายบรรจบ ใจระวัง 08-4611-4511 อาสาสมัครสาธารณสุขตําบลแมเงิน นายสมพร ศรีวิชัย 08-6074-1614 อาสาสมัครสาธารณสุขตําบลบานแซว นายยนืยง แสงสุวรรณ 08-9757-9065 พนักงานสาธารณสุขตางดาว สถานีอนามัยแมเงิน

นางรัตติกาล แกวมา

08-3566-7756

Page 146: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6
Page 147: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

หนวยงานที่รับผิดชอบกรณีเกดิการระบาดใหญของโรคไขหวัดนกและโรคไขหวัดใหญสายพันธุใหม

เขตอําเภอแมฟาหลวง จังหวัดเชียงราย

หนวยงาน หมายเลขโทรศัพท

สํานักงาน หมายเลขโทรสาร

สํานักงาน เจาหนาที่ผูรับผิดชอบ หมายเลขโทรศัพทติดตอ

การไฟฟาสวนภูมิภาคสาขายอยเทอดไทย 053-730282 053-772337 นายเสรี สุขเกษม 08-1764-2578 สํานักงานปศุสัตวอําเภอแมฟาหลวง 053-767038 053-767038 นายไชยนิรันดร สุนันตะ 08-9999-9971

นายอินชัย อุนหนอย 08-1884-7600 นายณรงค ลือชา 08-6193-7052 นายวิชัย ภิระบรรณ 08-9852-1304

สํานักงานสาธารณสุขอําเภอแมฟาหลวง

053-767152-3

053-767153

นางสาวยวุดี ดวงเทพ 08-4916-0900 นางมาลี สวนบาลี 08-7181-5233 นายวันชัย ปญญาแกว 08-1595-0969

โรงเรียนบานเทอดไทย

053-730264

053-730264 นายปรีชา คําแสน 08-1366-9837

องคการบริหารสวนตําบลเทอดไทย 053-730208 053-730205 นางสาวศิริวารินทร อุนเรือน 08-9835-6855/08-4378-9093 นายวสันต ทวเีกีรติไพศาล 053-918541 พนักงานสาธารณสุขตางดาว สอ.เลาลิ่ว

053-918541 053-918541 นายแสงสุริยา แสนชื่น 08-9264-0898

พนักงานสาธารณสุขตางดาว สอ.หวยมุ 053-918547 053-918547 นายอาซอง มาเยอะ 08-5706-8874 นายเพชร สุระวงค 08-0501-0514 พนักงานสาธารณสุขตางดาว สอ.เทอดไทย

053-730320 053-730321 นายวีรพงษ มาเยอ 08-6118-3634

Page 148: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6
Page 149: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

แบบรายงานโรคแบบรายงานโรค ของของ

งงานฝายระบาดวิทยาานฝายระบาดวิทยา

Page 150: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6
Page 151: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6
Page 152: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6
Page 153: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6
Page 154: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6
Page 155: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6
Page 156: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6
Page 157: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6
Page 158: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6
Page 159: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

แบบรายงานโรคแบบรายงานโรค ของของ

สํานักงานปศุสํานักงานปศุสัตวสัตว

Page 160: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6
Page 161: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

สร.1

แบบรายงานการสอบสวนกรณีสงสัยโรคไขหวัดนกเบื้องตน

ท่ี ชร ๐๐๐๗/ สํานักงานปศุสัตวจังหวัดเชียงราย

วันท่ี เดือน พ.ศ. ๒๕๕๐

เรียน ปศุสัตวจังหวดัเชียงราย

สํานักงานปศุสัตวจังหวัดเชียงราย ขอรายงานการสอบสวนกรณีมีสัตวปกปวยตายผิดปกติ ซ่ึงมีลักษณะอาการตามนิยามโรคไขหวัดนกเบ้ืองตน ดังนี้ ๑. จุดท่ีมีสัตวปกปวยตาย ช่ือเจาของ................................. หมูท่ี…....... ช่ือบาน.................................. ตําบล ...................... อําเภอ…………….…………...จังหวัดเชียงราย ๒. สัตวปกชนดิ ................................ จํานวนสัตวปกในฝูงท้ังหมด(กอนปวยตาย)........................ ตัว ๓. วันท่ี/จํานวนสัตวปกปวยตาย ๓.๑ วัน/เดือน/ป(ปวยวนัแรก) ..................... จํานวนปวย .....................ตัว ตาย.................ตัว ๓.๒ วัน/เดือน/ป ..........................................จํานวนปวย .....................ตัว ตาย ................ตัว ๓.๓ วัน/เดือน/ป ...........................................จํานวนปวย ....................ตัว ตาย ................ตัว ๔. อาการของสัตวปก ( ) ตายกะทันหัน ( ) หงอน เหนยีงสีคลํ้า ( ) อาการทางระบบทางเดินหายใจ เชน หายใจลําบาก ( ) หนาบวม ( ) อาการทางระบบประสาท เชน ชัก คอบิด ( ) ทองเสีย ( ) หนาแขงมีจุดเลือดออก ( ) อ่ืนๆ ...........................

๕. สภาพการเล้ียง ( ) ฟารมระบบปด ( ) ฟารมไมใชระบบปด ( ) เล้ียงในเลา/โรงเรือนตลอดเวลา ( ) เล้ียงในเลา/โรงเรือนบางเวลา

( ) ปลอยหากนิอิสระตลอดเวลา ( ) อ่ืน ๆ ......................... ๕. สาเหตุเกดิโรคเบ้ืองตน .................................................................................................................. ๖. การเก็บตัวอยางสงตรวจ ในวนัท่ี ................................................................

( ) Cloacal swab ( ) ซาก ( ) อ่ืน ๆ ...............................

(................................................) ปศุสัตวอําเภอ...................

Page 162: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

หมายเหต ุใหรายงานในวันท่ีพบสัตวปกปวยตาย

แบบรายงานสรุปผลการปฏิบัติงาน การเฝาระวัง ปองกัน ควบคุม และประชาสัมพันธเกี่ยวกับโรคไขหวัดนก

ช่ือบาน…………………………หมูท่ี……..ตําบล………………อําเภอ……………….…..จังหวดัเชียงราย

ระหวางวันท่ี……….…………เดือน………………………..………พ.ศ…………….…………

๑. การตรวจสอบเฝาระวังสัตวปกปวย-ตาย ภายในหมูบาน จํานวน…………...…ครัวเรือน ๒. การพนทําลายเช้ือโรค จํานวน…………...…ครัวเรือน ๓. ประชาสัมพันธ/คําแนะนาํ จํานวน………...……ครัวเรือน ๔. แจกเอกสาร/แผนพับ จํานวน………...……ชุด ๕. อ่ืน ๆ (ระบุ) จํานวน………….……

ลายมือช่ือ………………………ผูปฏิบัติงาน (………………………..……….)

Page 163: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6
Page 164: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

คําช้ีแจง การลงขอมูลในแบบฟอรม

2 ช่ือ - สกุล หรือ ช่ือฟารม ใหระบุช่ือ-สกุล หรือช่ือฟารม พรอมท้ังหมายเลขประจําตัวบัตร

ประชาชนของเจาของสัตว

3 สถานท่ีเล้ียง ใหระบุสถานท่ีเล้ียงสัตว

4 พิกัดพื้นท่ี พิกัดฟารม/ครัวเรือนเล้ียงสัตวปก โดยใหใสท้ัง x และ y

5 กิจกรรมเฝาระวังโรค 1 -สุมตรวจกอนเคล่ือนยายสําหรับฟารมในคอมพารทเมนต 2 - สุมตรวจเปนประจํา สําหรับฟารม/ครัวเรือน ในเขตกนัชนรอบคอมพารทเมนต 3 - สุมตรวจเปนประจํา สําหรับฟารม/ครัวเรือน กรณีอ่ืนๆ 4 - สุมตรวจรอบจุดเกดิโรค 5 - สุมตรวจกอนเคล่ือนยายสําหรับฟารมอ่ืนๆ 6 - ตรวจสุขภาพ เพื่อทําสมุดประจําตัว (เชน ไกชน) 7 - เฝาระวังทางอาการ (โดยเจาของแจง) 8 - เฝาระวังทางอาการ (เจาหนาท่ีปศุสัตว/อาสาสมัคร คนหา) 9 - การสํารวจจํานวนประชากรสัตวปก

6 ชนิดตัวอยาง 1 Swab 2 ซีร่ัม 3 ซาก

7 วันท่ีเร่ิมปวย วันท่ีสัตวปกเร่ิมแสดงอาการปวย

8 วันท่ีตรวจสอบ วันท่ีเขาไปสํารวจ ตรวจสอบอาการ หรือเขาไปสุมตรวจ

9 อาการ 1. ตายกะทันหนั 2. อาการระบบทางเดินหายใจ 3. อาการระบบประสาท 4. ทองเสีย 5. เปดตาขุน 6. หงอนเหนียงมีสีคลํ้า 7. หนาบวม 8. ไซนัสบวม 9. มีจุดเลือดออกบริเวณผิวของหนาแขง 10. ปกติ (ไมแสดงอาการ) 11. อ่ืน ๆ

Page 165: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

10 การดําเนินการ 1. เก็บตัวอยางสงตรวจ 2.ทําบันทึกส่ังกัก 3.ควบคุมการเคล่ือนยายรอบจุดเกดิโรค 4.ทําลายเช้ือโรค 5.แจงสาธารณสุข 6.สอบสวนโรค 7.เฝาระวังรอบจุดเกดิโรค 8.ดําเนินการเสร็จเรียบรอย

11 ชนิดสัตว 1.ไกพื้นเมือง 2. ไกชน ไดแก ไกท่ีมีกิจกรรมการชน 3. ไกเนื้อ 4. ไกไข 5. ไกแจ 6. ไกงวง 7. ไกตอก 8. เปดเนื้อ 9. เปดไข 10. หาน 11. นกกระทา 12. นกกระจอกเทศ 13. นกเขา 14. นกนางแอน 15. นกพิราบ 16.อ่ืน ๆ

12 ระบบการเล้ียง 1. เล้ียงสัตวปกเปนระบบอุตสาหกรรม ท่ีมีระบบการปองกันโรคสูง และสัตวปกและผลิตภัณฑ

ออกสูตลาดเพ่ือการคา (ตัวอยางเชน ฟารมท่ีอยูในอุตสาหกรรมไกกระทง และมีระบุมาตรฐาน SOP สําหรับระบบการปองกันโรค)

2. เล้ียงสัตวปกในระบบการผลิตเพื่อการคา ซ่ึงมีระบบการปองกันโรคเขาสูฟารมในระดับปานกลางถึงสูง และสัตวปกและผลิตภัณฑออกสูตลาดเพ่ือการคา (ตัวอยางเชน ฟารมท่ีมีสัตวปกอยูในฟารมตลอดเวลา มีการปองกันการติดตอกับสัตวปกหรือสัตวปาอยางเขมงวด ซ่ึงรวมถึงนกเล้ียงในกรง)

3. เล้ียงสัตวปกในระบบเพ่ือการคา ซ่ึงมีระบบการปองกันโรคเขาสูฟารมในระดับตํ่าถึงตํ่ามาก และสัตวปกและผลิตภัณฑออกสูตลาดสัตวปกมีชีวิต (ตัวอยางเชน ฟารมสัตวปกท่ีมีสัตวปกอยูภายนอกโรงเรือน ฟารมท่ีมีระบบการผลิตแบบผสม มีเล้ียงไกและเปดรวมกัน)

4. สัตวปกในหมูบานหรือเล้ียงสัตวปกแบบหลังบาน แทบไมมีระบบการปองกันโรค สัตวปกและผลิตภัณฑบริโภคในทองถ่ิน

5. สัตวปกท่ีเล้ียงหรืออาศัยอยูในธรรมชาติ เชน เปดไลทุง นกธรรมชาติ

13 จํานวนสัตวท่ีเล้ียง จํานวนสัตวเล้ียงท้ังหมดในฝูงแยกตามชนิดสัตว

14 ปวยสะสมรวมตาย จํานวนสัตวปกปวยและตายต้ังแตวนัเร่ิมปวย

Page 166: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

15 ตายสะสม (ตัว) จํานวนสัตวปกตายต้ังแตวนัเร่ิมปวย

16 การทําลายสะสม จํานวนสัตวปกท่ีถูกทําลายท้ังหมด

17 คงเหลือ จํานวนสัตวปกคงเหลือ

18 หมายเลขตัวอยาง หมายเลขตัวอยางท่ีกําหนดโดยสํานักงานปศุสัตวจังหวัด

19 หมายเหตุ ใหระบุหมายเลขฟารมในคอมพารทเมนต กรณีท่ีพบสัตวปกปวยตายในเขตกันชน และในเขตเฝาระวังรอบจุดเกิดโรค 10 กิโลเมตร

Page 167: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6
Page 168: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

รายงานการสอบสวนสาเหตุและระบาดวิทยาของโรคระบาดสัตวปก สํานักงานปศุสัตวจังหวัด………………………วันท่ี………/………/……..

๑. สถานท่ีเกิดโรค ช่ือฟารม................................................ช่ือเจาของ…………………................................................... บานเลขท่ี……….…หมู ……….ตําบล…………..........อําเภอ.…….............จังหวดั….......................โทร…………………………

๒. ชนิดของฟารมท่ีมีสัตวปวย ( ) ไกไข ( ) ไกเนื้อ ( ) เปดไข ( ) เปดเนื้อ ( ) หาน ( ) นก(ระบุ) ............... ( ) อ่ืนๆ ......................................….

๓. ลักษณะฟารม ท่ีมีสัตวปวย ( ) ฟารมในเครือบริษัท (ระบุช่ือบริษัท)……..……............................................................................. ( ) ฟารมอิสระในเครือเอเยนต (ระบุช่ือเอเยนต)………………………………......................………. ( ) เกษตรกรรายยอย ( ) อ่ืนๆ………………………………………….………........…..

๔. ลักษณะพ้ืนท่ีของบริเวณท่ีพบโรค ( ) ทุงนา ( ) สวนผลไม ( ) ปา ( ) พื้นท่ีรกราง ( ) ไร(ระบุ) ........ ( ) ชุมชนเมือง ( ) อ่ืนๆ ......................................…

๕. ลักษณะภูมิประเทศของบริเวณท่ีพบโรค ( ) มีแหลงน้ําธรรมชาติ ระบุชนิดและช่ือของแหลงน้ํา........................................................ ( ) ติดถนนสายหลัก ระบุช่ือถนน......................... ( ) ติดถนนทองถ่ิน ( ) ติดถนนสายรอง

๖. จํานวนสัตวปกท้ังหมด จาํนวนตัวปวยและจํานวนตัวตาย ในฟารม / บาน ( ) ไกไข .....................……ตัว ปวย.....................…ตัว ตาย …….………….ตัว ( ) ไกเนื้อ .................……..ตัว ปวย.....................…ตัว ตาย …….………….ตัว ( ) ไกพื้นเมือง ...........….....ตัว ปวย.....................…ตัว ตาย …….………….ตัว ( ) ไกชน…….............…....ตัว ปวย.....................…ตัว ตาย …….………….ตัว ( ) เปดไข ...................…....ตัว ปวย.....................…ตัว ตาย …….………….ตัว ( ) เปดเนื้อ ................….....ตัว ปวย.....................…ตัว ตาย …….………….ตัว ( ) หาน ..............................ตัว ปวย.....................…ตัว ตาย …….………….ตัว ( ) นก (ระบุ) ..............…....ตัว ปวย.....................…ตัว ตาย …….………….ตัว

Page 169: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

๗. จํานวนฟารมหรือบานท่ีเล้ียงสัตวปก ในรัศมี 1 กิโลเมตร รอบพื้นท่ีเกิดโรค ( ) ฟารมเล้ียงสัตวปกเชิงพาณิชย จาํนวน .........ฟารม จํานวนสัตวปกโดยประมาณ.................ตัว ( ) เกษตรกรรายยอย ................ราย จํานวนสัตวปกโดยประมาณ....................ตัว

๘. วิธีการเล้ียง (เลือกไดมากกวา ๑ ขอ) ( ) เล้ียงบนบอปลา ( ) เล้ียงปลอยท่ัวไป ( ) เล้ียงในโรงเรือนพื้นดนิ ( ) เล้ียงในกรงตับ ( ) เล้ียงใตถุนบาน ( ) เล้ียงในโรงเรือนมี……………รองพื้น ( ) หลังคากระเบ้ือง ( ) หลังคาสังกะสี ( ) หลังคามุงจาก ( ) มีพัดลม ( ) Evaporation ( ) อ่ืนๆ …………………..………….….

๙. อาหารที่ใช ( ) อาหารสําเร็จรูป ( ) บริษัทนําสง(ระบุบริษัท)..........................................……...............………………………………. ( ) รานคายอยนําสง(ระบุราน)…………………………....................................…………………….. ( ) ขนสงเองจากราน.............................................................................……………………………… ( ) อ่ืนๆ....................................................................................……………………………………….

( ) อาหารผสมเอง แหลงท่ีมา.......................................................................................................................................

สวนประกอบ................................................................................................................................... ( ) อ่ืนๆ (ระบุ)......................................................................................................................................

๑๐. ระบบการทําลายเช้ือโรคคน ยานพาหนะและวัสดุ อุปกรณกอนเขา-ออกฟารม ( ) ไมมี ( ) มี ดวยวิธีการ ( ) พน ( ) จุม ( ) อ่ืน ๆ ชนิดยาฆาเช้ือ........................

ความถ่ี ( ) ทุกคร้ัง ( ) ไมทุกคร้ัง

๑๑. ประวติัการทําวัคซีน วันท่ี ชนิดของวัคซีน อายุสัตวท่ีทําวัคซีน แหลงท่ีมาของวัคซีน

Page 170: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

๑๒. ประวัติอาการสัตวปวย ( ) ตายโดยไมแสดงอาการปวย ( ) หนาบวม ( ) หงอนและเหนียงมีสีมวงคลํ้า ( ) น้ําตาไหล ( ) มีจุดเลือดออกบริเวณผิวของหนาแขง ( ) ไซนัสบวม ( ) หายใจลําบาก ( ) อาการระบบประสาท เชนชัก คอบิด ( ) ทองเสีย ( ) อ่ืนๆ …………………..…………………………………………….

๑๓. เจาหนาท่ีทราบการเกิดโรค วันท่ี……………/……..………/........................ ๑๔. บันทึกสัตวปวย (แยกรายวนันับแตวนัท่ีเร่ิมปวยวันแรก)

ชวงอายุสัตวท่ีปวย วันท่ีเร่ิมปวย จํานวนปวย จํานวนตาย การจัดการ ฆา ฝง เผา ขาย อ่ืนๆ (ระบุ)

หมายเหตุ; - กรณีสัตวปวยเปนไกพ้ืนเมืองของเกษตรกรรายยอย ใหบันทึกขอมูลรวมทั้งหมูบาน

- กรณีสัตวปวยเปนไกฟารม ใหบันทึกขอมูลเฉพาะฟารมน้ัน

๑๕. ประวติัการนําสัตว ซากสัตว (รวมถึงไขและผลิตภณัฑสัตวและวสัดุท่ีใชในฟารมอ่ืน) เขามาในฟารมในชวง ๒๑ วนั นับจากวันท่ีพบสัตวปวยในขอ ๑๔

ชนิดสิ่งท่ีรับเขา (ระบุ) วิธีการขนสง วันท่ี รับเขา สัต

ซาก ไข

อาหา

อื่นๆ จํานวน แหลงท่ีมา

รถบรรทุกบริษัทหรือ เอเยนตตัวแทน

(ระบุบริษัท)

รถบรรทุก สวนตัว (ระบุเจาของ)

Page 171: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

๑๖. มีการใชน้าํยาฆาเช้ือทําลายเช้ือโรคบนยานพาหนะขนสงหรือไม

( ) ไมมี ( ) มี (ระบุชนดิยาฆาเช้ือ)……………………………………………………………….

๑๗. ประวัติการนําสัตว ซากสัตว (รวมถึงไขและผลิตภัณฑสัตว และวัสดุท่ีใชในฟารม) ออกจากฟารม ใน ชวง ๒๑ วนั นับจากวันท่ีพบสัตวปวยในขอ ๑๔

ชนิดสิ่งท่ีสงออก (ระบุ) วิธีการขนสง วันท่ี สงออก สัต

ซาก ไข

อาหา

อื่นๆ จํานวน แหลงท่ีไป

รถบรรทุกบริษัทหรือ เอเยนตตัวแทน

(ระบุบริษัท)

รถบรรทุก สวนตัว (ระบุเจาของ)

๑๘. ในระยะ 5 กิโลเมตร เคยมีสัตวปกเปนโรคไขหวัดนกมากอนหรือไม ( ) ไมเคย ( ) เคยเกิดโรคมากอน

ระบุสถานท่ีเกดิโรค ……………………………..………………………………………………………………………………… ……………………………..………………………………………………………………………………… ……………………………..………………………………………………………………………………… วัน/เดือน/ป ท่ีเกิดโรค…….……….………ชนิดสัตวปวย…….……..…..….จํานวนสัตวปวย……………ตัว ผลการตรวจวนิิจฉัยทางหองปฏิบัติการ (ถามี) ………………...………………………...…………………… ๑๙. ในระยะ 5 กิโลเมตรรอบจุดเกดิโรคมีโรงฆาสัตวปกหรือไม?

( ) ไมมี ( ) มี ระยะทางจากโรงฆาสัตวถึงจุดเกิดโรค………กิโลเมตร ชนิดของโรงฆาสัตวปก ( ) โรงฆาเพื่อการสงออก ( ) โรงฆาเพื่อการบริโภคภายในประเทศ ( ) แหลงฆาเพือ่การบริโภคภายในทองท่ี

๒๐. ในระยะ 5 กิโลเมตรรอบจุดเกดิโรคมีรานคาสัตวปกเชน นก ลูกเปด ลูกไกหรือไม ( ) ไมมี ( ) มี ระยะทางจากรานคาสัตวปกถึงจุดเกิดโรค…………..กิโลเมตร

Page 172: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

๒๑. แหลงน้ําท่ีใชเล้ียงสัตวในพื้นท่ีเกิดโรค

( ) น้ําฝน ( ) แมน้ําลําคลอง ( ) น้ําบาดาล ( ) น้ําประปา ( ) อ่ืน ๆ ระบุ…………………………………………………..

๒๒. บริเวณท่ีเล้ียงสัตวปก (โรงเรือน, ใตถุนบาน, กรง หรือท่ีสัตวปกอาศัยอยู) มีนกเขาไปไดหรือไม ( ) ได ระบุชนิดของนก......................................... ( ) ไมได

๒๓. สัตวปกในขอท่ี ๒๒ ปวยและตายใหเห็นหรือไม ( ) มี ระบุจํานวนประมาณ ............ตัว

( ) ไมมี ๒๔. บริเวณรอบ ๆท่ีเล้ียงสัตวปก (ในรัศมี ๑ กิโลเมตร) ,มีแหลงอาศัยหรือแหลงหากินของนกหรือไม ( ) มีนกอพยพ เชน นกปากหาง นกเปดน้ํา ระบุชนิด............................................................................

( ) มีนกประจําถ่ิน เชนนกพิราบ นกกระจอก ระบุชนิด........................................................................ ( ) มีนกปา เชน ระบุชนิด...................................................................................................................... ( ) มีนกน้ําหรือนกกินปลา เชน นกยาง ระบุชนิด................................................................................. ( ) ไมมี

๒๕. ในบริเวณท่ีพบสัตวปวย พบมีสัตวตอไปนี้หรือไม ( ) หมู ( ) แมว ( ) สุนัข ( ) มา ( ) อ่ืนๆ ……………...……… ๒๖.ในระยะ 1 สัปดาหกอนเกิดโรค พบสัตวปวยสัมผัสกับสัตวในขอ 22 และขอ 23 หรือไม

( ) ไม ( ) สัมผัส ระบุชนิดสัตว............................................................................................. ๒๗. เคยพบคนปวยในบริเวณท่ีเกิดโรคหรือไม ( ) ไมพบ ( ) พบเม่ือ วันท่ี………เดือน……….…….พ.ศ………….. จํานวน………….ราย ดวยอาการ………………………….....…………………………….…........... ๒๘. ขอสันนิษฐานสาเหตุของการติดโรค(ระบุเหตุผล)……………..…………………………………….….. ………………………………………………………………………………………………………………... ………………………………………………………………………………………………………………... ………………………………………………………………………………………………………………... ๒๙. ขอเสนอแนะ/ขอคิดเหน็…………………………………………………………………….…………… ………………………………………………………………………………………………………………... ………………………………………………………………………………………………………………... ………………………………………………………………………………………………………………... ………………………………………………………………………………………………………………... ………………………………………………………………………………………………………………...

Page 173: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

ลงช่ือ………..………………………………ผูรายงาน (……………….…………………………) ตําแหนง………………………………………

หมายเหตุ ๑. ใหดําเนินการสอบสวนโรคทุกรายใหเร็วที่สุด เพ่ือประโยชนในการควบคุมโรค ๒. ใหรีบประสานไปยังพ้ืนที่ที่เก่ียวของ เชน พ้ืนที่ที่เปนที่มาของโรค หรือพ้ืนที่ทีโ่รคอาจจะแพรตอไปได เพ่ือประโยชนในการควบคุมโรคโดยเร็ว ๓. ใหสงรายงานสอบสวนไปยังสํานักควบคุม ปองกันและบําบัดโรคสัตว ขอมูลการสอบสวนโรคประกอบดวย

๑. สวนขอมูลพ้ืนฐานของฟารม ต้ังแตขอ ๑-๙ ๒. สวนขอมูลระบบการปองกันโรค ต้ังแตขอ ๑๐ - ๑๑ ๓. ขอมูลการเกิดโรคระบาดและปจจัย ต้ังแตขอ ๑๒-๒๘

1.1.1.1.1 แผนท่ีแสดงจุดเกิดโรค

Page 174: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

รายละเอียด ผลการปฏิบติังานการเฝาระวัง ปองกัน ควบคุมโรคไขหวัดนก

ช่ือหมูบาน……………………………ตําบล…………………..อําเภอ………………………จังหวัดเชียงราย

กิจกรรม ตรวจสอบ เฝาระวัง

พนน้ํายาฆาเช้ือโรค

ประชาสัมพันธ/แนะนํา

ลายมือชื่อ…………………………………ผูปฏิบัตงิาน

(………………………………………)

จํานวนสัตวปก ท่ี วัน/ เดือน/ ป บานเลขท่ี

ไก เปด อ่ืน ๆ (ระบุ)

ลายมือชื่อเกษตรกร เจาของสัตวปก

Page 175: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

แบบรายงานโรคแบบรายงานโรค ของของ

ดานควบคุมโรคติดตอดานควบคุมโรคติดตอ ระหวางประเทศระหวางประเทศ

Page 176: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6
Page 177: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6
Page 178: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6
Page 179: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

เอกสารอางอิง

กระทรวงสาธารณสุข. คูมือการฝกซอมแผนชนิดบนโตะเพื่อเตรียมความพรอมรับการระบาดใหญของโรค ไขหวดัใหญระดับจังหวดั สําหรับผูจัดการฝกซอมและวทิยากร. พิมพคร้ังท่ี 1 : โรงพิมพชุมนุม สหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย, 2549.

กระทรวงสาธารณสุข. แผนเตรียมความพรอมปองกันและแกไขปญหาการระบาดใหญของไขหวัดใหญ พ.ศ.2549. พิมพคร้ังท่ี 1 : โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย, 2549.

กระทรวงสาธารณสุข. แผนยุทธศาสตร ปองกัน แกไข และเตรียมความพรอมรับปญหาโรคไขหวดันกและ การระบาดใหญ ฉบับท่ี 2 (พ.ศ.2551-2553). พิมพคร้ังท่ี 1 : สํานักงานกจิการโรงพิมพการ สงเคราะหทหารผานศึก, 2550.

สํานักงานปศุสัตวจังหวัดเชียงราย, กลุมพฒันาสุขภาพสัตว. ระเบียบวาระการประชุม คณะกรรมการปองกัน และแกไขปญหาการแพรระบาดของโรคไขหวัดนก จังหวัดเชียงราย. วนัพุธ ท่ี 6 กุมภาพันธ 2551.

สํานักโรคติดตออุบัติใหม, กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. แผนปฏิบัติการแมบทการเตรียม ความพรอม สําหรับการระบาดใหญของโรคไขหวัดใหญ พ.ศ. 2551 ราง 3 (ณ วันท่ี 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2551)

Page 180: รวมเนื้อหา AHI-PPP IOM...หน า 6 ส าน กงานการไฟฟ าส วนภ ม ภาค 99 6 สถาน ว ทย ช มชน 103 6

โครงการสุขภาพประชากรตางดาว จังหวัดเชียงราย องคการระหวางประเทศเพื่อการโยกยายถิ่นฐาน (IOM) จังหวัดเชียงราย อาคารความรวมมือไทย-สหรัฐ ดานสาธารณสุข สํานักงานสาธารณสุขจังหวัด เชียงราย(หลังเกา) ถนนสิงหไคล อําเภอเมือง จังหวัดเชียงราย 57000 โทรศัพท 053-744561-2 โทรสาร 053-744560

องคการระหวางประเทศเพื่อการโยกยายถ่ินฐาน (IOM- International Organization for Migration) เลขท่ี 183 อาคารรัจนาการ ชั้น 18 ถนนสาธรใต เขตสาธร กรุงเทพมหานคร 10120 โทรศัพท 0-2343-9300 โทรสาร 0-2343-9399 เว็บไซต www.iom.int , www.iom-seasia.org

ขอขอบคุณ With Sincere Thanks To