เอกสารแนบ 3 ถอดบทเรียนการด าเนินงาน...

8
เอกสารแนบ 3 ถอดบทเรียนการดาเนินงาน สานักงานเกษตรอาเภอ Smart Office ที่เป็นต้นแบบที่ดี (Best Practice) สานักงานเกษตรจังหวัดลพบุรี ******************** 1. ชื่ออาเภอเมืองลพบุรี 2. พิกัดสานักงานเกษตรอาเภอ Latitude 14.797767 Longitude 100.654159 X 678017 Y 1636621 (Zone 47) 3. ความเป็นมา กรมส่งเสริมการเกษตรได้ให้ความสาคัญกับการให้บริการของสานักงานเกษตรอาเภอในลักษณะ Smart Office โดยเริ่มดาเนินงานมาตั้งแต่ปี 2557 ซึ่งกรมส่งเสริมการเกษตรได้ให้การสนับสนุนงบประมาณอาเภออาเภอละ 500,000 บาท ในการปรับปรุงอาคารตามแบบ จานวน 135 อาเภอ และสนับสนุนอุปกรณ์ให้สานักงานเกษตรอาเภอที่เหลือ จานวน 747 อาเภอ รวมทั้งสิ้น 882 อาเภอ เพื่อให้ครอบคลุมทั้งประเทศ โดยให้ปรับปรุงสานักงานให้สะอาด สะดวก มีสภาพ เหมาะสมต่อการให้บริการเกษตรกรและประชาชนที่มาติดต่อราชการ วางรูปแบบสานักงานที่อานวยความสะดวกต่อการ ปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ ปรับการให้บริการแก่เกษตรกรทั้งการให้บริการที่สานักงานและการส่งเสริมการเกษตรในพื้นที่ให้ดี เพื่อตอบสนองความต้องการของชุมชนและเกษตรกรได้อย่างรวดเร็วและทันกับสถานการณ์ สานักงานเกษตรอาเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี ได้รับงบประมาณในการปรับปรุงสานักงานจากกรมส่งเสริม การเกษตร ในปี พ.ศ. 2558 จานวน 500,000 บาท โดยนายชูชีพ อุทะโก เกษตรอาเภอเมืองลพบุรี ได้ขับเคลื่อนการ ดาเนินงานสานักงานเกษตรอาเภอ Smart Office ทั้งในด้านสถานที่ อุปกรณ์ ระบบงาน และผู้ให้บริการ เพื่ออานวยความ สะดวกให้กับเกษตรกรและผู้มาติดต่อราชการ ในการช่วยเหลือด้านการเกษตร การรับเรื่องร้องเรียน และแก้ไขปัญหาด้าน การเกษตรให้อย่างรวดเร็ว ทันต่อสถานการณ์ พร้อมทั้งเป็นจุดเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารด้านการเกษตรในพื้นทีอีกด้วย 4. การพัฒนาสานักงานเกษตรอาเภอ Smart Office สานักงานเกษตรอาเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี ได้มีการปรับปรุงสานักงานเกษตรอาเภอให้เป็นสานักงานเกษตร อาเภอ Smart Office เพื่อให้มีความพร้อมในการให้บริการด้านการเกษตร แก่เกษตรกรและประชาชนผู้มาติดต่อราชการ โดยมีการปรับปรุงองค์ประกอบของสานักงานใน 4 มิติ ดังนี1. สถานที่ ได้จัดส่วนการให้บริการเคาน์เตอร์เซอร์วิส เพื่อความสะดวกต่อการปฏิบัติงาน สะอาด สวยงาม เป็นระเบียบ มีกระบวนการในการบริการ 4 ขั้นตอน ได้แก่ 1) รับบัตรคิว 2) รอรับบริการ 3) ให้บริการ 4) ประเมินความ พึงพอใจ ส่วนภายนอกสานักงานจัดให้มีต้นไม้ เพื่อให้ความร่มรื่น 2. อุปกรณ์ ประกอบด้วย อุปกรณ์เครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องพิมพ์ เครื่องพิมพ์ Passbook เครื่องอ่านการ์ด เครื่องอ่านบาร์โค๊ต ฯลฯ ซึ่งมีการเชื่อมต่อกับระบบเครือข่ายเพื่อให้สามารถใช้ประโยชน์ได้ 3. ระบบงาน มีการใช้งานระบบ www.thaismartfarmer.net โดยใช้บัตรประชาชน Smart Card ในการ เข้าถึงบริการ ได้แก่ ระบบเกษตรกรต้นแบบ/เจ้าหน้าที่ต้นแบบ (e-Contact) และระบบข้อมูลองค์ความรู้ (e-Knowledge) ส่วนการปฏิบัติงานในพื้นที่มีการนาระบบงานข้อมูลองค์ความรู้ ( Knowledge base) ด้านการเกษตร ในการส่งเสริมและให้ ข้อมูลเพิ่มเติมแก่เกษตรกร รวมทั้งมีการนาระบบส่งเสริมการเกษตรมิติใหม่ MRCF มาใช้ในการขับเคลื่อนการดาเนินงาน ต่างๆ ของสานักงานเกษตรอาเภอเมืองลพบุรี ไม่ว่าจะเป็นการวิเคราะห์ข้อมูลพื้นที่ เพื่อนาไปสู่การส่งเสริม การสนับสนุน และการดาเนินโครงการต่างๆ ในพื้นที่ การใช้การติดต่อสื่อสารระยะไกล ในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ รวมทั้งการ ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารต่างๆ ให้แก่ผู้นาชุมชน และเกษตรกร การปฏิบัติงานในพื้นที่มีการใช้เวทีชุมชนในการเผยแพรข่าวสาร โครงการ หรือกิจกรรมต่างๆ ให้ชุมชนได้รับทราบ รวมถึงการวิเคราะห์ปัญหาและความต้องการของชุมชน เพื่อ นาไปสู่โครงการ/กิจกรรมที่มาจากความต้องการของคนในชุมชน เพื่อให้เกิดการพัฒนาในพื้นที4. ผู้ให้บริการ สานักงานเกษตรอาเภอเมืองลพบุรี จัดให้มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ มีเวรให้บริการ ประชาชนประจาสานักงาน และมีการมอบหมายเจ้าหน้าที่รับผิดชอบพื้นที่ตาบล

Upload: others

Post on 08-Sep-2019

5 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: เอกสารแนบ 3 ถอดบทเรียนการด าเนินงาน ส านักงานเกษตรอ าเภอ ...new.research.doae.go.th/wp-content/uploads/3.แบบฟอร์มการถอด... ·

เอกสารแนบ 3 ถอดบทเรียนการด าเนินงาน

ส านักงานเกษตรอ าเภอ Smart Office ที่เป็นต้นแบบท่ีดี (Best Practice) ส านักงานเกษตรจังหวัดลพบุรี

******************** 1. ชื่ออ าเภอเมืองลพบุรี 2. พิกัดส านักงานเกษตรอ าเภอ Latitude 14.797767 Longitude 100.654159

X 678017 Y 1636621 (Zone 47) 3. ความเป็นมา กรมส่งเสริมการเกษตรได้ให้ความส าคัญกับการให้บริการของส านักงานเกษตรอ าเภอในลักษณะ Smart Office โดยเริ่มด าเนินงานมาตั้งแต่ปี 2557 ซึ่งกรมส่งเสริมการเกษตรได้ให้การสนับสนุนงบประมาณอ าเภออ าเภอละ 500,000 บาท ในการปรับปรุงอาคารตามแบบ จ านวน 135 อ าเภอ และสนับสนุนอุปกรณ์ให้ส านักงานเกษตรอ าเภอที่เหลือ จ านวน 747 อ าเภอ รวมทั้งสิ้น 882 อ าเภอ เพ่ือให้ครอบคลุมทั้งประเทศ โดยให้ปรับปรุงส านักงานให้สะอาด สะดวก มีสภาพเหมาะสมต่อการให้บริการเกษตรกรและประชาชนที่มาติดต่อราชการ วางรูปแบบส านักงานที่อ านวยความสะดวกต่อการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ ปรับการให้บริการแก่เกษตรกรทั้งการให้บริการที่ส านักงานและการส่งเสริมการเกษตรในพ้ืนที่ให้ดี เพ่ือตอบสนองความต้องการของชุมชนและเกษตรกรได้อย่างรวดเร็วและทันกับสถานการณ์ ส านักงานเกษตรอ าเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี ได้รับงบประมาณในการปรับปรุงส านักงานจากกรมส่งเสริมการเกษตร ในปี พ.ศ. 2558 จ านวน 500,000 บาท โดยนายชูชีพ อุทะโก เกษตรอ าเภอเมืองลพบุรี ได้ขับเคลื่อนการด าเนินงานส านักงานเกษตรอ าเภอ Smart Office ทั้งในด้านสถานที่ อุปกรณ์ ระบบงาน และผู้ให้บริการ เพ่ืออ านวยความสะดวกให้กับเกษตรกรและผู้มาติดต่อราชการ ในการช่วยเหลือด้านการเกษตร การรับเรื่องร้องเรียน และแก้ไขปัญหาด้านการเกษตรให้อย่างรวดเร็ว ทันต่อสถานการณ์ พร้อมทั้งเป็นจุดเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารด้านการเกษตรในพ้ืนที่อีกด้วย 4. การพัฒนาส านักงานเกษตรอ าเภอ Smart Office ส านักงานเกษตรอ าเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี ได้มีการปรับปรุงส านักงานเกษตรอ าเภอให้เป็นส านักงานเกษตรอ าเภอ Smart Office เพ่ือให้มีความพร้อมในการให้บริการด้านการเกษตร แก่เกษตรกรและประชาชนผู้มาติดต่อราชการ โดยมีการปรับปรุงองค์ประกอบของส านักงานใน 4 มิติ ดังนี้ 1. สถานที่ ได้จัดส่วนการให้บริการเคาน์เตอร์เซอร์วิส เพ่ือความสะดวกต่อการปฏิบัติงาน สะอาด สวยงาม เป็นระเบียบ มีกระบวนการในการบริการ 4 ขั้นตอน ได้แก่ 1) รับบัตรคิว 2) รอรับบริการ 3) ให้บริการ 4) ประเมินความพึงพอใจ ส่วนภายนอกส านักงานจัดให้มีต้นไม้ เพ่ือให้ความร่มรื่น 2. อุปกรณ์ ประกอบด้วย อุปกรณ์เครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องพิมพ์ เครื่องพิมพ์ Passbook เครื่องอ่านการ์ด เครื่องอ่านบาร์โค๊ต ฯลฯ ซึ่งมีการเชื่อมต่อกับระบบเครือข่ายเพ่ือให้สามารถใช้ประโยชน์ได้ 3. ระบบงาน มีการใช้งานระบบ www.thaismartfarmer.net โดยใช้บัตรประชาชน Smart Card ในการเข้าถึงบริการ ได้แก่ ระบบเกษตรกรต้นแบบ/เจ้าหน้าที่ต้นแบบ (e-Contact) และระบบข้อมูลองค์ความรู้ (e-Knowledge) ส่วนการปฏิบัติงานในพ้ืนที่มีการน าระบบงานข้อมูลองค์ความรู้ (Knowledge base) ด้านการเกษตร ในการส่งเสริมและให้ข้อมูลเพ่ิมเติมแก่เกษตรกร รวมทั้งมีการน าระบบส่งเสริมการเกษตรมิติใหม่ MRCF มาใช้ในการขับเคลื่อนการด าเนินงานต่างๆ ของส านักงานเกษตรอ าเภอเมืองลพบุรี ไม่ว่าจะเป็นการวิเคราะห์ข้อมูลพ้ืนที่ เพ่ือน าไปสู่การส่งเสริม การสนับสนุน และการด าเนินโครงการต่างๆ ในพ้ืนที่ การใช้การติดต่อสื่อสารระยะไกล ในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ รวมทั้งการประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารต่างๆ ให้แก่ผู้น าชุมชน และเกษตรกร การปฏิบัติงานในพื้นที่มีการใช้เวทีชุมชนในการเผยแพร่ข่าวสาร โครงการ หรือกิจกรรมต่างๆ ให้ชุมชนได้รับทราบ รวมถึงการวิเคราะห์ปัญหาและความต้องการของชุมชน เพ่ือน าไปสู่โครงการ/กิจกรรมที่มาจากความต้องการของคนในชุมชน เพ่ือให้เกิดการพัฒนาในพ้ืนที่ 4. ผู้ให้บริการ ส านักงานเกษตรอ าเภอเมืองลพบุรี จัดให้มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ มีเวรให้บริการประชาชนประจ าส านักงาน และมีการมอบหมายเจ้าหน้าที่รับผิดชอบพื้นท่ีต าบล

Page 2: เอกสารแนบ 3 ถอดบทเรียนการด าเนินงาน ส านักงานเกษตรอ าเภอ ...new.research.doae.go.th/wp-content/uploads/3.แบบฟอร์มการถอด... ·

- 2 -

5. Best Practices ส านักงานเกษตรอ าเภอเมืองลพบุรี มีการขับเคลื่อนการด าเนินงานส านักงานเกษตรอ าเภอ Smart Office ตามนโยบายของกรมส่งเสริมการเกษตร โดยมีวิธีการปฏิบัติ ดังนี้ 1. การพัฒนาสถานที่และบุคลากร จัดให้มีกิจกรรม 5ส เพ่ือให้มีสถานที่ปฏิบัติงานที่รื่นรมย์ บรรยากาศน่าท างาน ซ่ึงในส่วนของบุคลากรนั้น เจ้าหน้าที่ของส านักงานเกษตรอ าเภอเมืองลพบุรี ยึดระบบการบริหารตามบทบาทหน้าที่ที่ความรับผิดชอบ ให้เกียรติซึ่งกันและกัน เคารพผู้อาวุโส อยู่ร่วมกันเหมือนพี่น้อง มีการท างานเป็นทีม เพ่ือให้งานบรรลุเป้าหมายและประสบผลส าเร็จ 2. ด้านวัสดุอุปกรณ์ มีการจัดหาอุปกรณ์ที่ทันสมัย เพ่ือเตรียมให้บริการแก่เกษตรกรและผู้มาติดต่อราชการ รวมทั้งจัดเตรียมสิ่งอ านวยความสะดวกต่างๆ ให้แก่ผู้มาขอใช้บริการที่ส านักงานเกษตรอ าเภอเมืองลพบุรี 3. ระบบงาน ส านักงานเกษตรอ าเภอเมืองลพบุรี ได้พัฒนาระบบการท างานด้านการส่งเสริมการเกษตร โดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ในการบริหารงาน บริหารโครงการ ก าหนดให้เจ้าหน้าที่ทุกระดับในสังกัดปฏิบัติตนในการครองตน ครองคน และครองงานตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง และท างานแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ของงานเป็นส าคัญตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง ให้ทุกคนท าความเข้าใจหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในเรื่องต่างๆ เกี่ยวกับกรอบแนวคิด ค่านิยมของความพอประมาณ ความมีเหตุผล การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัวเอง และเงื่อนไขในด้านความรู้และยึดหลักคุณธรรม ให้มีความเข้าใจ เพ่ือใช้ประกอบการตัดสินใจและยึดถือปฏิบัติในทางเดียวกัน 4. ผู้ให้บริการ ส านักงานเกษตรอ าเภอเมืองลพบุรี มีจ านวน 23 ต าบล ในด้านการปฏิบัติงานเพ่ือให้บรรลุเป้าหมายและประสบผลส าเร็จ จึงมีการแบ่งการปฏิบัติงานเป็น 3 กลุ่มต าบล ในแต่ละกลุ่มต าบลจะมีหัวหน้ากลุ่ม และเพ่ือให้การบริหารงานเกิดประสิทธิภาพสูงสุดและบรรลุวัตถุประสงค์ของงาน จึงใช้การประชุมเป็นเครื่องมือ โดยมีการประชุมทุกวันจันทร์ประจ าสัปดาห์ ประชุมส านักงานเกษตรอ าเภอประจ าเดือน และจะมีมติที่ประชุมสั่งการมอบหมายงานให้ไปด าเนินการต่อ และมีการนิเทศงานเพ่ือทราบความก้าวหน้าและปัญหา อุปสรรคต่างๆ เพ่ือให้ค าแนะน าและวิธีการแก้ไขต่อไป พร้อมรายงานผลการด าเนินงานต่างๆ ให้เจ้าหน้าที่ทุกคนทราบ การให้บริการของเจ้าหน้าที่ในส านักงาน จะมีการจัดเวรให้บริการประชาชนประจ าส านักงาน และในส่วนการให้บริการในพ้ืนที่ เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบต าบลแต่ละต าบล เจ้าหน้าที่จะเข้าไปให้บริการในพ้ืนที่ ตามแผนการปฏิบัติง านของเจ้าหน้าที่แต่ละคน 6. ผลการด าเนินการ 1. กิจกรรม 5ส ด าเนินงานโดยมีค าสั่งแต่งตั้งคณะท างาน คณะต่างๆ รับผิดชอบและจัดท าแผนด าเนินกิจกรรม 5ส แผนปฏิบัติงาน แผนการควบคุมก ากับดูแลรับผิดชอบ และแผนการตรวจสอบการด าเนินกิจกรรม ด าเนินการตรวจสอบกิจกรรม ตามแผนที่ก าหนด ประเมินผลการตรวจสอบ ส่งผลท าให้ส านักงานเกษตรอ าเภอเมืองลพบุรี มีบรรยากาศรื่นรมย์ ทั้งในและนอกส านักงาน เป็นที่ชื่นชมของผู้ที่มาท างานและติดต่องาน เกิดความประทับใจ 2. สถานที่รื่นรมย์ บรรยากาศน่าท างาน อาคารส านักงาน และห้องประชุม มีการปรับปรุงให้อยู่ในสภาพใช้งานได้ดี โดยมีระบบไฟฟ้า ประปา พัดลม เครื่องปรับอากาศ เครื่องเสียง และเครื่องมือเครื่องใช้ต่างๆ เพ่ืออ านวยความสะดวกในการท างาน 3. มีการจัดท าป้ ายประชาสัมพันธ์ ขนาดใหญ่ บริเวณหน้าส านักงานเกษตรอ าเภอเมืองลพบุรี บอร์ดประชาสัมพันธ์ข่าวสารต่าง ๆ และมีตู้เก็บเอกสารแผ่นพับความรู้ต่างๆ เพ่ือใช้ประชาสัมพันธ์งาน/โครงการต่างๆ ตามนโยบายรัฐบาล กรมส่งเสริมการเกษตร และจังหวัด

4. ระบบข้อมูลครอบคลุม จัดเก็บดี ข้อมูลสมบูรณ์ครบถ้วน และจัดส่งภายในเวลาที่ก าหนด ส านักงานเกษตรอ าเภอเมืองลพบุรี มีการบริหารจัดการส านักงานออกเป็น 3 กลุ่มต าบล จ านวน 23 ต าบล โดยมีการจัดระบบบริหารงานตามสายบังคับบัญชา ในแต่ละกลุ่มต าบล ได้มีค าสั่งแต่งตั้งหัวหน้ากลุ่มต าบลไว้ชัดเจน เพื่อท าหน้าที่ประสานงานในการท างานในหน้าที่อย่างต่อเนื่อง และส านักงานเกษตรอ าเภอเมืองลพบุรี ให้ความส าคัญด้านงาน

Page 3: เอกสารแนบ 3 ถอดบทเรียนการด าเนินงาน ส านักงานเกษตรอ าเภอ ...new.research.doae.go.th/wp-content/uploads/3.แบบฟอร์มการถอด... ·

- 3 -

ข้อมูลต่างๆ ส่งผลให้การจัดเก็บข้อมูล การรายงานข้อมูลด้านต่างๆ ส่งรายงานจงหวัด มีความสมบูรณ์ครบถ้วนเรียบร้อย ทันก าหนดทุกเดือน เช่น การรายงานข้อมูลของศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจ าต าบล (ศ.02) การรายงานข้อมูลภาวการณ์ผลิตพืชรายเดือน (รต. 01 - 02) เป็นต้น ส านักงานเกษตรอ าเภอเมืองลพบุรี ได้น ากิจกรรมต่างๆ มาบริหารจัดการ เพ่ือสร้างสภาพแวดล้อมที่ดีในการท างาน ดังนี้ 1) การบริหารจัดการภาครัฐ PMQA 2) การด าเนินงานระบบควบคุมภายใน 3) การจัดท าตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงานราชการ การวัดผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติงาน และให้ค่าตอบแทนในการเลื่อนเงินเดือนแก่บุคลากร 4) กิจกรรม 5ส ใช้ในการพัฒนาส านักงาน 5) กิจกรรมที่ท างานน่าอยู่ น่าท างาน เพ่ือความสมดุลของการใช้ชีวิต และการท างานในยุคปัจจุบัน

5. ส านักงานเกษตรอ าเภอเมืองลพบุรี ได้จัดห้องท างานเป็นสัดส่วน มีเก้าอ้ีไว้ส าหรับผู้มาติดต่อ มีความเหมาะสมสะดวกต่อการปฏิบัติงาน และมีเจ้าหน้าที่พร้อมให้บริการในทุกต าบล ระบบสื่อสารมีความพร้อมใช้งาน เช่น โทรศัพท์ โทรสาร E-mail Website และมอบหมายเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบ เป็นผู้ประสานและรับเรื่องต่าง ๆ ของผู้ที่มาติดต่อหรือรับหนังสือที่ส่งถึงต าบล ส่วนเครื่องมือ อุปกรณ์สนับสนุนในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ มีการจัดหมวดหมู่แต่ละประเภท พร้อมมีการตรวจเช็คความพร้อมของอุปกรณ์ในการใช้งานอย่างสม่ าเสมอ มีคอมพิวเตอร์พร้อมที่จะใช้งานด้ านระบบสารสนเทศ การรับ-ส่ง อีเมล์ โทรสาร เป็นระบบส ารองการติดต่อสื่อสารรวมถึงโทรศัพท์มือถือไว้ติดต่อ เป็นต้น 7. ปัจจัยความส าเร็จ 1. มีการน าหลักเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ในการบริหารงาน บริหารโครงการ ก าหนดให้เจ้าหน้าที่ทุกระดับในสังกัดปฏิบัติตนในการครองตน ครองคน และครองงานตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง และท างานแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ของงานเป็นส าคัญตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง 2. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ตามระบบส่งเสริมการเกษตรในการก าหนดแผนยุทธศาสตร์และทิศทางการท างานโดยเจ้าหน้าที่ทุกคนมีส่วนร่วมในการก าหนดทิศทางหรือแนวทางในการด าเนินงานของการพัฒนาการเกษตร 3. การให้ความส าคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ทั้งเจ้าหน้าที่จากหน่วยงานราชการที่มาติดต่อราชการ และเกษตรกรที่มารับบริการเกี่ยวกับการเกษตรต่างๆ

4. การประชุมเจ้าหน้าที่ในส านักงาน เพ่ือสรุปการด าเนินงานแต่ละสัปดาห์ และแลกเปลี่ยนความรู้และปัญหาในการท างานที่แต่ละคนรับผิดชอบ และร่วมกันหาแนวทางในการท างาน

5. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 6. การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล มีการสร้างขวัญก าลังใจและความพึงพอใจแก่บุคลากรอย่างทั่วถึงและเป็นธรรม

8. บทเรียนที่ได้รับ การด าเนินงานของส านักงานเกษตรอ าเภอ Smart Office เป็นแนวทางหนึ่งที่จะช่วยให้เกษตรกรและผู้ขอรับบริการ จะได้รับการบริการที่สะดวก สบาย รวดเร็ว ทันต่อสถานการณ์ และสามรารถให้บริการแบบเบ็ดเสร็จ (One Stop Service) สามารถแก้ไขปัญหา และให้ความช่วยเหลือแก่เกษตรกรได้ทันท่วงที นอกจากนี้ส านักงานเกษตรอ าเภอยังมีการปรับปรุงให้เป็นสถานที่ที่เหมาะแก่การท างาน มีอุปกรณ์ที่ทันสมัยไว้คอยให้บริการ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ระบบเครือข่าย เข้ามาใช้ในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ ซึ่งเจ้าหน้าที่จะต้องเรียนรู้เทคโนโลยี และระบบสารสนเทศต่างๆ เพ่ือให้สามารถใช้งานและใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีอันทันสมัย ในการให้บริการแก่เกษตรกรและผู้ขอรับบริการ ให้สมกับการเป็น Smart Officer ที่พร้อมให้บริการทั้งในส านักงานและในพ้ืนที่ 8. ข้อเสนอแนะ ควรมีการสนับสนุนบุคลากร และงบประมาณในการด าเนินการให้สอดคล้องกับจ านวนเกษตรากรในพ้ืนที่รับผิดชอบ

Page 4: เอกสารแนบ 3 ถอดบทเรียนการด าเนินงาน ส านักงานเกษตรอ าเภอ ...new.research.doae.go.th/wp-content/uploads/3.แบบฟอร์มการถอด... ·

- 4 -

9. รูปภาพประกอบ ภาพที่ 1 จุดรับบัตรคิว

ภาพที่ 2 จุดนั่งรอรับบริการ

Page 5: เอกสารแนบ 3 ถอดบทเรียนการด าเนินงาน ส านักงานเกษตรอ าเภอ ...new.research.doae.go.th/wp-content/uploads/3.แบบฟอร์มการถอด... ·

- 5 -

ภาพที่ 3 จุดให้บริการ

ภาพที่ 4 ประเมินความพึงพอใจ

Page 6: เอกสารแนบ 3 ถอดบทเรียนการด าเนินงาน ส านักงานเกษตรอ าเภอ ...new.research.doae.go.th/wp-content/uploads/3.แบบฟอร์มการถอด... ·

- 6 -

ภาพที่ 5 บริเวณรอบส านักงานเกษตรอ าเภอเมืองลพบุรี

ภาพที่ 6 วัสดุอุปกรณ์ในการให้บริการ

Page 7: เอกสารแนบ 3 ถอดบทเรียนการด าเนินงาน ส านักงานเกษตรอ าเภอ ...new.research.doae.go.th/wp-content/uploads/3.แบบฟอร์มการถอด... ·

- 7 -

ภาพที่ 7 การแบ่งพ้ืนที่ความรับผิดชอบ

กลุ่มต าบลที่ 1 นายสุนันท์ นอ้ยสระ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรช านาญการพิเศษ เป็นหัวหน้ากลุ่มต าบล ประกอบด้วยเจ้าหน้าที่รับผิดชอบดังนี้

กลุ่มต าบลที่ 2 นางวันดี พรหมมา เจ้าพนักงานส่งเสริมการเกษตรช านาญงาน เป็นหัวหน้ากลุ่มต าบล ประกอบด้วยเจ้าหน้าที่รับผิดชอบดังนี้

นายสุนันท์ น้อยสระ รับผิดชอบต าบลเขาพระงาม

นายเลิศศักดิ์ ทวีเกียรติก าธร รับผิดชอบต าบลท่าแค เขาสามยอด ต าบลเขาพระงาม

นางมัลลิกา กว๊ะ รับผิดชอบต าบลนิคมสร้างตนเอง ต าบลท่าศาลา ต าบลเขาพระงาม

นางสาวเพ็ญฑติา เอ่ียมชม รับผดิชอบต าบลโคกตูม ต าบลเขาพระงาม

นางปิยาภรณ์ ทองอินทร์ รับผิดชอบต าบลถนนใหญ่ ต าบลกกโก ต าบลเขาพระงาม

นางวันดี พรหมมา รับผิดชอบต าบลโพธิ์เก้าต้น ต าบลโคกล าพาน

นางสาวธนิษฐา ปานนก รับผดิชอบต าบลโคกกะเทียม ต าบลพรหมมาสตร ์ต าบลเขาพระงาม

นางกันตนา มูลนี รับผิดชอบต าบลท้ายตลาด ต าบลโพธิ์ตรุ ต าบลเขาพระงาม

นายสิทธดา พวงสุวรรณ รับผิดชอบต าบลบางขันหมาก ต าบลเขาพระงาม

Page 8: เอกสารแนบ 3 ถอดบทเรียนการด าเนินงาน ส านักงานเกษตรอ าเภอ ...new.research.doae.go.th/wp-content/uploads/3.แบบฟอร์มการถอด... ·

กลุ่มต าบลที่ 3 นางสาวฌามา รื่นรมย์ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรช านาญการ เป็นหัวหน้ากลุ่มต าบล ประกอบด้วยเจ้าหน้าที่รับผิดชอบดังนี้

10. ชื่อผู้ถอดบทเรียน นางน้ าทิพย์ เกียรติวินัยสกุล เบอร์โทร 084-5722819

**********************

กลุ่มพัฒนาการมีส่วนร่วมของภาคแีละเครือข่าย กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสรมิการเกษตร 1 เมษายน 2559

นางสาวฌามา รื่นรมย์ รับผิดชอบต าบลตะลุง ต าบลป่าตาล

นายสิทธดา พวงสุวรรณ รับผิดชอบต าบลทะเลชุบศร ต าบลเขาพระงาม

นางกุลชญา วงษ์เนตร รับผิดชอบต าบลดอนโพธิ์ ต าบลงิ้วราย ต าบลเขาพระงาม

นายวรพงษ์ ก าบังภัย รับผดิชอบต าบลโก่งธนู ต าบลบ้านข่อย และต าบลสี่คลอง