เพิ่มประส ิทธิภาพการให aบริการเคร...

5
เพิ่มประสิทธิภาพการใหšบริการเครื่อง Franz Diffusion Cell ดšวยระบบ Lean นางสุปรีดี สังฆรักษŤ 1 และ นายวิฑูรยŤ สังฆรักษŤ 2 บทนํา Franz Diffusion Cell เปŨนเครื่องมือที่ใชšในการ ทดสอบการซึมผŠาน หรือการปลดปลŠอยของสารสําคัญ ทางยา เครื่องสําอางผŠานเมมเบรน ผิวหนังสิ่งมีชีวิต หรือ ผิวหนังสังเคราะหŤ ซึ่งภาควิชาเทคโนโลยีเภสัชกรรม คณะ เภสัชศาสตรŤ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทรŤ มีไวšใหšบริการ เพื่อการเรียนการสอน การวิจัยและบริการวิชาการ แกŠ อาจารยŤ นักวิจัย นักศึกษาทั้งระดับปริญญาตรี และบัณฑิต ศึกษา ของภาควิชาตŠางๆ และหนŠวยงานอื่น ภายในคณะฯ จากขšอมูลตั้งแตŠปŘ .. 2551 – 2559 พบวŠามีการใหšบริการ สัปดาหŤละ 3-4 ครั้ง และมีผูšขอใชšบริการจํานวนมากขึ้น ทุกปŘ การใชšเครื่อง Franz Diffusion cell ผู šขอรับบริการ ตšองเบิกอุปกรณŤตŠางๆ ที่ใชšประกอบจากนักวิทยาศาสตรŤ หลายชิ้น แตŠละชิ้นตšองมีการดูแลรักษาอยŠางดี เนื่องจากมี ราคาแพง แตกหักงŠาย หาซื้อยาก ผูšขอบริการตšองปฏิบัติ ตามระเบียบและขšอปฏิบัติในการใชšบริการเครื่องมือ เพื่อ ปŜองกันความผิดพลาดที่อาจจะเกิดขึ้นไดš อีกทั้งตšองไดšรับ การสอนหรือแนะนําการใชšงานจากนักวิทยาศาสตรŤผูšดูแล รับผิดชอบในกรณีที่มีการใชšงานครั้งแรกหรือรšองขอ จากการใหšบริการเครื่องมือที่ผŠานมาพบวŠาผูšรับ บริการตšองใชšเวลาในการติดตŠอหลายขั้นตอน หลายวัน ขั้น ตอนการขอรับบริการยุŠงยาก ทําใหšเกิดปŦญหาตŠาง เชŠน การจองเวลาการใชšเครื่องซํ้าซšอน ผูšขอรับบริการไดšรับการ บริการลŠาชšา เครื่องมือไมŠพรšอมใชšงานในวันที่ตšองการใชš อุปกรณŤเครื่องมือเกิดความเสียหายโดยไมŠมีผูšรับผิดชอบ เนื่องจากผูšขอรับบริการกŠอนหนšาไมŠสามารถติดตŠอคืน อุปกรณŤแกŠนักวิทยาสาสตรŤหลังจากการใชšงานแลšวเสร็จไดš เปŨนตšน คณะผูšจัดทําโครงการจึงไดšนําแนวคิดของระบบ Lean หลักการ ECRS (Eliminate, Combine, Rearrange, Simplify) IT System และ Kaizen [1,2] มาใชšเพื่อแกšไข ปŦญหาตŠางๆ และพัฒนาระบบการใหšบริการเครื่อง Franz Diffusion cell ใหšมีประสิทธิภาพสูงขึ้น วัตถุประสงคŤ 2.1 เพื่อลดระยะเวลา และขั้นตอนการใหšบริการ 2.2 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใหšบริการ 2.3 เพื่อแกšปŦญหาการซํ้าซšอนในการขอใชšบริการ ขั้นตอนการดําเนินงาน คณะผู šจัดทําโครงการไดšนําหลักการ การกําหนด สายธารแหŠงคุณคŠา (Value Stream Mapping, VSM) ของ ระบบ Lean มาปรับปรุงกระบวนการทํางาน เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพการใหšบริการ เครื่อง Franz Diffusion Cell ซึ่งประกอบดšวย 6 ขั้นตอน คือ 3.1 การเขียนขั้นตอนปŦจจุบัน (Current Value Stream หรือ Current State Map) โดยเขียนแยกแยะการ ทํางานทั้งหมดตามลําดับตั้งแตŠเริ่มตšน จนเสร็จสิ้น กระบวนการ 3.2 การระบุ เวลา ระยะทาง ที่ใชšในแตŠละขั้น ตอน (Time and Step Specifying) รวมทั้งชŠวงที่ตšองรอ คอยอยŠางครบถšวน 3.3 การระบุวŠาขั้นตอนใดเปŨน “Waste” หรือ “Value” หรือ “Non Value but Necessary” (Classi- cation) 3.4 การคํานวณหาประสิทธิภาพของกระบวนการ ทั้งหมด (Estimated Capacity) โดยใชšเวลาที่เปŨน Value หารดšวยเวลาทั้งหมด % ประสิทธิภาพ = Value/(Value + Waste + Non Value) x 100 1 คณะเภสัชศาสตรŤ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทรŤ 2 คณะพยาบาลศาสตรŤ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทรŤ

Upload: others

Post on 03-Oct-2020

2 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: เพิ่มประส ิทธิภาพการให aบริการเคร ื่อง Franz Diffusion ...¸§ารสารปี 58/006 สุ... · Simplify)

เพ่ิมประสิทธิภาพการใหบริการเครื่อง Franz Diffusion Cell ดวยระบบ Lean

นางสุปรีดี สังฆรักษ1 และ นายวิฑูรย สังฆรักษ2

บทนํา Franz Diffusion Cell เปนเครื่องมือที่ใชในการทดสอบการซึมผาน หรือการปลดปลอยของสารสําคัญทางยา เคร่ืองสําอางผานเมมเบรน ผิวหนังสิ่งมีชีวิต หรือผิวหนังสังเคราะห ซึ่งภาควิชาเทคโนโลยีเภสัชกรรม คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร มีไวใหบริการเพื่อการเรียนการสอน การวิจัยและบริการวิชาการ แกอาจารย นกัวจิยั นกัศกึษาทัง้ระดบัปรญิญาตร ีและบณัฑติศึกษา ของภาควิชาตางๆ และหนวยงานอื่น ภายในคณะฯ จากขอมลูตัง้แตป พ.ศ. 2551 – 2559 พบวามกีารใหบรกิารสัปดาหละ 3-4 ครั้ง และมีผูขอใชบริการจํานวนมากข้ึนทุกป การใชเครือ่ง Franz Diffusion cellผขูอรบับรกิารตองเบิกอุปกรณตางๆ ที่ใชประกอบจากนักวิทยาศาสตรหลายชิ้น แตละชิ้นตองมีการดูแลรักษาอยางดี เนื่องจากมีราคาแพง แตกหักงาย หาซ้ือยาก ผูขอบริการตองปฏิบัติตามระเบียบและขอปฏิบัติในการใชบริการเครื่องมือ เพื่อปองกันความผิดพลาดท่ีอาจจะเกิดขึ้นได อีกท้ังตองไดรับการสอนหรือแนะนําการใชงานจากนักวิทยาศาสตรผูดูแลรับผิดชอบในกรณีที่มีการใชงานครั้งแรกหรือรองขอ จากการใหบริการเคร่ืองมือที่ผานมาพบวาผูรับบรกิารตองใชเวลาในการตดิตอหลายขัน้ตอน หลายวนั ขัน้ตอนการขอรับบริการยุงยาก ทําใหเกิดปญหาตาง ๆ เชน การจองเวลาการใชเคร่ืองซํ้าซอน ผูขอรับบริการไดรับการบริการลาชา เคร่ืองมือไมพรอมใชงานในวันที่ตองการใช อุปกรณเคร่ืองมือเกิดความเสียหายโดยไมมีผูรับผิดชอบ เน่ืองจากผูขอรับบริการกอนหนาไมสามารถติดตอคืนอุปกรณแกนักวิทยาสาสตรหลังจากการใชงานแลวเสร็จได เปนตน คณะผูจัดทําโครงการจึงไดนําแนวคิดของระบบ Lean หลกัการ ECRS (Eliminate, Combine, Rearrange,

Simplify) IT System และ Kaizen [1,2] มาใชเพื่อแกไขปญหาตางๆ และพัฒนาระบบการใหบริการเคร่ือง Franz Diffusion cell ใหมีประสิทธิภาพสูงขึ้น

วัตถุประสงค 2.1 เพือ่ลดระยะเวลา และขัน้ตอนการใหบรกิาร 2.2 เพ่ือเพิ่มประสิทธิภาพการใหบริการ 2.3 เพือ่แกปญหาการซ้ําซอนในการขอใชบรกิาร

ขั้นตอนการดําเนินงาน คณะผจูดัทาํโครงการไดนาํหลกัการ การกาํหนดสายธารแหงคณุคา (Value Stream Mapping, VSM) ของระบบ Lean มาปรับปรุงกระบวนการทํางาน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใหบริการ เครื่อง Franz Diffusion Cell ซึ่งประกอบดวย 6 ขั้นตอน คือ 3.1 การเขียนขั้นตอนปจจุบัน (Current Value Stream หรอื Current State Map) โดยเขยีนแยกแยะการทํางานทั้งหมดตามลําดับตั้ งแต เริ่มต น จนเสร็จสิ้นกระบวนการ 3.2 การระบุ เวลา ระยะทาง ที่ใชในแตละขั้นตอน (Time and Step Specifying) รวมทั้งชวงที่ตองรอคอยอยางครบถวน 3.3 การระบุวาขั้นตอนใดเปน “Waste” หรือ “Value” หรือ “Non Value but Necessary” (Classifi-cation) 3.4 การคํานวณหาประสิทธิภาพของกระบวนการทั้งหมด (Estimated Capacity) โดยใชเวลาท่ีเปน Value หารดวยเวลาท้ังหมด % ประสิทธิภาพ = Value/(Value + Waste + Non Value) x 100

1 คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร2 คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร

Page 2: เพิ่มประส ิทธิภาพการให aบริการเคร ื่อง Franz Diffusion ...¸§ารสารปี 58/006 สุ... · Simplify)

เพิ่มประสิทธิภาพการใหบริการเครื่อง Franz Diffusion Cell ดวยระบบ Lean 29

วารสารวิชาการ ปขมท. ปที่ 5 ฉบับที่ 3 (กันยายน - ธันวาคม 2559)

3.5 การวิเคราะหสาเหตุ หาแนวทางแกปญหา โดยใชเครื่องมือตางๆที่เหมาะสม เชน Kaizen, ECRS และ IT System 3.5 ดาํเนนิการตามวธิใีหม คาํนวณประสทิธภิาพ และวิเคราะหผล

ผลการดําเนินงาน จากการเขียนขัน้ตอนการใหบรกิารเคร่ือง Franz Diffusion Cell โดยการระบุเวลา ระยะทาง ตลอดจนการระบุวาขั้นตอนใดเปน Waste หรือ Value หรือ Non Value but Necessary ตั้งแต เริ่มตน จนเสร็จส้ินกระบวนการรวมท้ังการหาประสิทธิภาพของกระบวนการทัง้หมด พบวากอนการนําระบบ Lean มาใช มขีัน้ตอนการใหบริการ 13 ขั้นตอน ใชเวลา 195 นาที ระยะทาง 160 เมตร ตองรอคอยเปนเวลา 11 วัน และประสิทธิภาพของกระบวนการเทากับ 41% (รูปที่ 1) เมื่อมีการวิเคราะหสาเหตุ และหาแนวทางแกปญหาในแตละขั้นตอน โดยใชเครื่องมือตาง ๆ ที่เหมาะสม เชน Kaizen, ECRS และ IT System และคํานวณประสิทธิภาพใหม พบวา สามารถลดขั้นตอนการใหบริการลงเหลือ 8 ขั้นตอน ใชเวลา 130 นาที ระยะทาง 30 เมตร ระยะเวลารอคอยเหลือ 1 วัน และมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นเปน 62% (รูปที่ 2)

สรุปผลการดําเนินงาน จากการวิเคราะหสาเหตุ การหาแนวทางแกปญหา โดยใชหลักการของ Lean และการใชเครือ่งมือตาง ๆ เชน Kaizen, ECRS และ IT System มาปรับปรุง เปลีย่นแปลงขัน้ตอนการใหบรกิารเคร่ือง Franz Diffusion Cell พบวาการนําโปรแกรมปฏิทิน (Calendar Applica-tion) มาใชในการจองเครือ่งทดแทนการใชสมุดบนัทกึ การใชส่ือ VOD คูมือการใชเคร่ืองบนหนาเว็บไซต และการสง E-mail ในการขออนมุตั ิและนัดวนัรบัอปุกรณ ทดแทนการสอนหนาเครื่อง และการติดตอเจาหนาที่ เพื่อกรอกแบบฟอรม ทําใหผูขอรับบริการสามารถตรวจสอบตารางการจองไดทันที เพิ่มความสะดวก รวดเร็ว ในการวางแผนการทาํงาน ผใูหบริการสามารถเตรยีมการลวงหนา จดัการเวลาการทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพมากข้ึน สามารถลดปญหาการจองเครือ่งซํา้ซอน โดยสามารถลดขัน้ตอน ระยะเวลา เวลาทีร่อคอย และระยะทางในการตดิตอขอรบับรกิารได 36%, 33%, 91% และ 81% ตามลําดับ(ตารางที่ 1) นอกจากนี้การเปลี่ยนแปลงวิธีการคืนอุปกรณ จากการติดตอเพื่อขอคืนกับนักวิทยาศาสตร เปนใหผูขอใชบริการจัดเก็บในตูที่เตรียมไว แลวนํากุญแจไปฝากไวที่หองสํานกังานภาควิชาฯ ยงัสามารถลดปญหาเร่ืองเคร่ืองมือไมพรอมใชงานในวนัทีต่องการใช อปุกรณเครือ่งมอืเกดิความเสยีหายโดยไมมีผรูบัผดิชอบไดเปนอยางด ีนอกจากนีข้อมลูการขอใชบริการในโปรแกรมปฏิทินยังสามารถนํามาประมวลผลเพ่ือประกอบ การตัดสินใจในเชิงบริหาร เชน การขอซ้ือ การขออนุมัติซอมเคร่ืองมือไดสะดวกรวดเร็วอีกดวย

ตารางท่ี 1 ผลการนําระบบ Lean มาใชแกปญหาใหบริการเคร่ือง Franz Diffusion Cell

ปญหา Pre Lean Post Lean ผลที่ได (ลดลง) ลดลง (รอยละ)ขั้นตอน (จํานวน) 13 8 5 ขั้นตอน 36ระยะเวลา (นาที) 195 130 65นาที 33ระยะเวลารอคอย (วัน) 11 1 10 วัน 91ระยะทาง (เมตร) 160 เมตร 30 130 เมตร 81

Page 3: เพิ่มประส ิทธิภาพการให aบริการเคร ื่อง Franz Diffusion ...¸§ารสารปี 58/006 สุ... · Simplify)

เพิ่มประสิทธิภาพการใหบริการเคร่ือง Franz Diffusion Cell ดวยระบบ Lean30

วารสารวิชาการ ปขมท. ปที่ 5 ฉบับที่ 3 (กันยายน - ธันวาคม 2559)

1 Franz Diffusion Cell (Pre Lean)

13 195 160 11

Waste

Non Value

Value

% = Value /(Value + Waste + Non Value) x 100

= (80/195) x 100= 41%

รูป 1 ขั้นตอนการใหบริการเครื่อง Franz Diffusion Cell แบบเดิม (Pre Lean)

Page 4: เพิ่มประส ิทธิภาพการให aบริการเคร ื่อง Franz Diffusion ...¸§ารสารปี 58/006 สุ... · Simplify)

เพิ่มประสิทธิภาพการใหบริการเครื่อง Franz Diffusion Cell ดวยระบบ Lean 31

วารสารวิชาการ ปขมท. ปที่ 5 ฉบับที่ 3 (กันยายน - ธันวาคม 2559)

2 Franz Diffusion Cell (Post Lean)

8 130 30 1

Non Value

Value

% = Value/(Value + Waste + Non Value) x 100

= (80/130) x 100 = 62%

รูป 2 ขั้นตอนการใหบริการเครื่อง Franz Diffusion Cell แบบใหม (Post Lean)

Page 5: เพิ่มประส ิทธิภาพการให aบริการเคร ื่อง Franz Diffusion ...¸§ารสารปี 58/006 สุ... · Simplify)

เพิ่มประสิทธิภาพการใหบริการเคร่ือง Franz Diffusion Cell ดวยระบบ Lean32

วารสารวิชาการ ปขมท. ปที่ 5 ฉบับที่ 3 (กันยายน - ธันวาคม 2559)

กิตติกรรมประกาศ คณะผู จัดทําโครงการขอขอบคุณภาควิชาเทคโนโลยีเภสัชกรรม คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ที่ใหทุนสนับสนุนการนําเสนอผลงานในครั้งนี้ และขอขอบคุณ คุณศิริพงษ ศิริวรรณ นักวิชาการคอมพิวเตอร ชาํนาญการสําหรับการพัฒนาโปรแกรมปฏิทนิเพื่อใชในการใหบริการเครื่องมือวิทยาศาสตร

เอกสารอางอิง1. เอกสารประกอบการบรรยายเรื่อง “Lean สูการ

ปฏิบัติ” รศ. ดร. ธวัช ชาญชญานนท ผูชวยอธิการบดีฝายประกนัคณุภาพ มหาวทิยาลยัสงขลานครนิทร 4-5 กรกฎาคม 2559 ณ คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร

2. เอกสารประกอบการบรรยายเร่ือง “LeanTool” ยพุา แกวมณี หัวหนาหอผูปวยพิเศษเฉลิมพระบารมี 7 คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 4-5 กรกฎาคม 2559 ณ คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร

ประวัติผูเขียน 1. นางสุปรดี ีสังฆรักษ ตาํแหนง นกัวทิยาศาสตร ชํานาญการพิเศษ สังกัด ภาควิชาเทคโนโลยีเภสัชกรรม คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ประวัตกิารศึกษา: วทิยาศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวิทยาศาสตรชีวภาพ (ชีวเคมี) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร

ผลงานทางวิชาการที่ยอมรับ: รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 จากการนําเสนอผลงานแบบวาจา เร่ือง สื่อวิดีโอชวยสอน เรื่อง “เทคนิคการเตรยีมยาเคมบีาํบัด”ในงานประชมุวิชาการศนูยประสานงานเครือขายบุคลากรสายสนับสนุนคณะเภสัชศาสตรแหงประเทศไทย ประจําป 2555 ระหวางวันท่ี 22 - 23 พฤศจิกายน 2555 ณ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี รางวัลชมเชยอันดับ 1 จากการนําเสนอผลงาน

แบบวาจา เรื่อง “PSU Bioclave Bioindicator” ในงานประชุมวิชาการศูนยประสานงานเครือขายบุคลากรสายสนบัสนนุคณะเภสัชศาสตรแหงประเทศไทย ประจําป 2556 ระหวางวันที่2-4 ธันวาคม 2556 ณ คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร ผลงานวิจัยตีพิมพ: Sungkharak, S., Supasit, N., Choopan, S., and Ungphaiboon, S. Antibacte-rial activity against acne involved bacteria of chi-tosan in a soluble state and as nanoparticles. Chiang Mai J. Sci. 2016, 43(5), 1150-1159. 2. นายวิฑูรย สังฆรักษ ตําแหนง นักวิชาการโสตทัศนศึกษา ชํานาญการพิเศษ สังกัด คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร ประวัติการศึกษา: ศึกษาศาสตรบัณฑิต (เทคโนโลยีการศึกษา) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ สงขลา

ผลงานทางวิชาการที่ยอมรับ: วิดิทัศน เรื่อง “การชวยแพทยใสทอชวยหายใจในผูปวยผูใหญ” โสตทัศนวัสดุที่ไดแจงขอมูลลิขสิทธิ์ คอมพิวเตอรชวยสอนเร่ือง “การสวนปสสาวะสําหรับนักศึกษาพยาบาล” คอมพิวเตอรชวยสอนเร่ือง “การพยาบาลผูปวยระบบหัวใจและหลอดเลือด”