รายวิยนชาพื้นฐาน ภาษาไทย ๓ เล ม...

9
หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ๓ เลม ๒ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ไดผานการตรวจสอบจากสํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษาใหความเห็นชอบเรียบรอยแลว ผูเรียบเรียง รศ.ผกาศรี เย็นบุตร ค.บ.(ภาษาไทย-ฝรั่งเศส), ค.ม.(การสอนภาษาไทย) ดร.สุภัค มหาวรากร ศศ.บ.(ภาษาไทย) เกียรตินิยม, อ.ม.(ภาษาไทย), อ.ด.(ภาษาไทย) นางสาวนิธิอร พรอําไพสกุล กศ.บ.(ภาษาไทย), ศศ.ม.(ภาษาไทย) 3ผูตรวจ รศ.ประไพ เชิงฉลาด ค.บ.(ภาษาไทย-ฝรั่งเศส), ค.ม.(การสอนภาษาไทย) ผศ.ชวนพิศ อิฐรัตน อ.บ.(ภาษาไทย), อ.ม.(ภาษาไทย) ผศ.วิมลศิริ รวมสุข กศ.บ.(ภาษาและวรรณคดีไทย), กศ.ม.(ภาษาและวรรณคดีไทย) 7บรรณาธิการ นางสาวสุชาดา วราหพันธ กศ.บ.(สังคมศึกษา), ค.ม.(พื้นฐานการศึกษา) รศ.สุกัญญา สุจฉายา อ.บ.(ภาษาไทย), อ.ม.(ภาษาไทย) ปที่พิมพ ๒๕๕๕ พิมพครั้งที่ ๑ ISBN 978-616-07-0427-9 จัดจําหนายโดย บริษัท สํานักพิมพเอมพันธ จํากัด ฝายการตลาด, ฝายการเงินและบัญชี, ฝายผลิตและจัดสง : ๖๙/๑๐๙ หมู ๑ ซ.พระแมการุณย ต.บานใหม อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี ๑๑๑๒๐ โทร. ๐-๒๕๘๔-๕๘๘๙, ๐-๒๕๘๔-๕๙๙๓, ๐-๒๙๖๑-๔๕๘๐-๒ โทรสาร ๐-๒๙๖๑-๕๕๗๓ ฝายวิชาการ : ๘๗/๑๒๒ ถ.เทศบาลสงเคราะห แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ ๑๐๙๐๐ โทร. ๐-๒๙๕๔-๔๘๑๘-๒๐, ๐-๒๙๕๓-๘๑๖๘-๙ โทรสาร ๐-๒๕๘๐-๒๙๒๓ สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ ลิขสิทธิ์เปนของบริษัท สํานักพิมพเอมพันธ จํากัด

Upload: others

Post on 19-Jan-2020

8 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: รายวิยนชาพื้นฐาน ภาษาไทย ๓ เล ม ๒academic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1002942...หน งส อเร รายว

หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน

ภาษาไทย ๓ เลม ๒ ช้ันมัธยมศึกษาปที่ ๓

กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศกัราช ๒๕๕๑

ไดผานการตรวจสอบจากสํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษาใหความเห็นชอบเรียบรอยแลว

ผูเรียบเรียง รศ.ผกาศรี เย็นบุตร ค.บ.(ภาษาไทย-ฝรั่งเศส), ค.ม.(การสอนภาษาไทย) ดร.สุภัค มหาวรากร ศศ.บ.(ภาษาไทย) เกียรตินิยม, อ.ม.(ภาษาไทย), อ.ด.(ภาษาไทย) นางสาวนิธิอร พรอําไพสกุล กศ.บ.(ภาษาไทย), ศศ.ม.(ภาษาไทย)

3ผูตรวจ รศ.ประไพ เชิงฉลาด ค.บ.(ภาษาไทย-ฝรั่งเศส), ค.ม.(การสอนภาษาไทย) ผศ.ชวนพิศ อิฐรัตน อ.บ.(ภาษาไทย), อ.ม.(ภาษาไทย) ผศ.วิมลศิริ รวมสุข กศ.บ.(ภาษาและวรรณคดีไทย), กศ.ม.(ภาษาและวรรณคดีไทย)

7บรรณาธิการ นางสาวสุชาดา วราหพันธ กศ.บ.(สังคมศึกษา), ค.ม.(พ้ืนฐานการศึกษา) รศ.สุกัญญา สุจฉายา อ.บ.(ภาษาไทย), อ.ม.(ภาษาไทย) ปท่ีพิมพ ๒๕๕๕ พิมพคร้ังท่ี ๑ ISBN 978-616-07-0427-9

จัดจําหนายโดย บริษัท สํานักพิมพเอมพันธ จํากัด ๏ ฝายการตลาด, ฝายการเงินและบัญชี, ฝายผลิตและจัดสง :

๖๙/๑๐๙ หมู ๑ ซ.พระแมการุณย ต.บานใหม อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี ๑๑๑๒๐ โทร. ๐-๒๕๘๔-๕๘๘๙, ๐-๒๕๘๔-๕๙๙๓, ๐-๒๙๖๑-๔๕๘๐-๒ โทรสาร ๐-๒๙๖๑-๕๕๗๓

๏ ฝายวิชาการ : ๘๗/๑๒๒ ถ.เทศบาลสงเคราะห แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ ๑๐๙๐๐

โทร. ๐-๒๙๕๔-๔๘๑๘-๒๐, ๐-๒๙๕๓-๘๑๖๘-๙ โทรสาร ๐-๒๕๘๐-๒๙๒๓

สงวนลิขสิทธ์ิตามพระราชบัญญัติ ลิขสิทธ์ิเปนของบริษัท สํานักพิมพเอมพันธ จํากัด

Page 2: รายวิยนชาพื้นฐาน ภาษาไทย ๓ เล ม ๒academic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1002942...หน งส อเร รายว

หนังสือเรียน รายวิชาพ้ืนฐาน ภาษาไทย ๓ เลม ๒ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ เรียบเรียง ตามมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

เนื้อหาในหนังสือเลมนี้แบงออกเปน ๑๒ หนวยการเรียนรู ประกอบดวย ระดับภาษา คําทับศัพทและศัพทบัญญัติ การใชศัพททางวิชาการและวิชาชีพ การฟงและการดู เพื่อสงเสริมจินตนาการและความคิดสรางสรรค การพูด ประเภทของการเขียน การเขียนรายงานและการกรอกแบบสมัครงาน การอานบทรอยกรอง การศึกษาวิเคราะหวรรณกรรมทองถิ่น บทละครพูดเรื่องเห็นแกลูก บทพากยเอราวัณ และอิศรญาณภาษิต

หวังเปนอย างยิ่ งว า หนังสือเรียน รายวิชาพ้ืนฐาน ภาษาไทย ๓ เลม ๒ เลมนี้ จะอํานวยประโยชนตอผูสอนที่จะนําไปประยุกตใชในการจัดการเรียนรูเพ่ือใหผูเรียนไดพัฒนา เต็มตามศักยภาพและบรรลุตามเปาหมายของหลักสูตร

ฝายวิชาการ บริษัท สาํนักพิมพเอมพันธ จํากัด มีนาคม ๒๕๕๕

Page 3: รายวิยนชาพื้นฐาน ภาษาไทย ๓ เล ม ๒academic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1002942...หน งส อเร รายว

หนวยการเรียนรูที่ ๑ ระดับภาษา ๑

ระดับของภาษาทั้ง ๕ ระดับ ๒ ขอควรคํานึงในการใชภาษาในสังคม ๖ กิจกรรมสงเสริมการเรียนรู ๘ หนวยการเรียนรูที่ ๒ คําทับศัพทและศัพทบัญญัติ ๑๐

วิธีการยืมคําภาษาตางประเทศมาใช ๑๑ วิธีสรางศัพทบัญญัต ิ ๑๕ การใชคําทบัศัพทและศัพทบัญญตั ิ ๑๗ กิจกรรมสงเสริมการเรียนรู ๑๙ หนวยการเรียนรูที่ ๓ การใชศัพททางวิชาการ และวิชาชีพ ๒๐

คําศัพททางวชิาการและวิชาชีพสาขาตางๆ ๒๒ กิจกรรมสงเสริมการเรียนรู ๒๘

Page 4: รายวิยนชาพื้นฐาน ภาษาไทย ๓ เล ม ๒academic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1002942...หน งส อเร รายว

หนวยการเรียนรูที่ ๘ การอานบทรอยกรอง ๙๑

ความหมายของบทรอยกรอง ๙๒ แนวทางการพิจารณาบทรอยกรอง ๙๒ การอานและพิจารณาบทรอยกรองเรื่อง “เด็กนอยในเมืองใหญ” ๙๔ กิจกรรมสงเสริมการเรียนรู ๙๘ หนวยการเรียนรูที่ ๙ การศึกษาวิเคราะหวรรณกรรมทองถิ่น ๙๙

ความหมายของวรรณกรรมทองถิ่น ๑๐๑ ประเภทของวรรณกรรมทองถิ่น ๑๐๑ ลักษณะของวรรณกรรมทองถิ่น ๑๐๒ ประโยชนในการศึกษาวรรณกรรมทองถิ่น ๑๐๓ กิจกรรมสงเสริมการเรียนรู ๑๐๙ หนวยการเรียนรูที่ ๑๐ บทละครพูดเร่ืองเห็นแกลูก ๑๑๐

ความรูทัว่ไปเกี่ยวกับบทละครพูดเรื่องเห็นแกลูก ๑๑๑ ลักษณะคําประพันธ ๑๑๒ เน้ือหา ๑๑๓ วิเคราะหคุณคาบทละครพดูเรื่องเห็นแกลูก ๑๒๗ กิจกรรมสงเสริมการเรียนรู ๑๓๓

หนวยการเรียนรูที่ ๔ การฟงและการดูเพื่อสงเสริมจินตนาการ ๓๐ และความคิดสรางสรรค

จินตนาการและความคิดสรางสรรค ๓๑ หลักการฟงและการดูเพ่ือสงเสริมจินตนาการและความคิดสรางสรรค ๓๓ กิจกรรมสงเสริมการเรียนรู ๓๕ หนวยการเรียนรูที่ ๕ การพูด ๓๗

การพูดโตวาที ๓๘ การพูดอภิปราย ๔๐ การพูดโนมนาวใจ ๔๑ มารยาทในการพูด ๔๔ กิจกรรมสงเสริมการเรียนรู ๔๕ หนวยการเรียนรูที่ ๖ ประเภทของการเขียน ๔๖

การเขียนอธิบาย ชี้แจง แสดงความคิดเห็น และโตแยงในเรื่องตางๆ ๔๗ การเขียนวเิคราะห วิจารณ ๖๐ กิจกรรมสงเสริมการเรียนรู ๖๓ หนวยการเรียนรูที่ ๗ การเขียนรายงานและการกรอกแบบสมัครงาน ๖๔

การเขียนรายงานจากการศึกษาคนควา ๖๕ การเขียนรายงานโครงงาน ๖๘ การกรอกแบบสมัครงาน ๘๕ มารยาทในการเขียน ๘๙ กิจกรรมสงเสริมการเรียนรู ๙๐

Page 5: รายวิยนชาพื้นฐาน ภาษาไทย ๓ เล ม ๒academic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1002942...หน งส อเร รายว

สาระที่ ๔ หลักการใชภาษาไทย

มาตรฐาน ท ๔.๑ เขาใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลีย่นแปลงของภาษา และพลังของภาษา ภูมิปญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเปน สมบัติของชาต ิตัวชี้วัด : สิ่งที่นักเรียนพงึรูและปฏิบตัิได

๓. วิเคราะหระดับภาษา

แนวคิด

การส่ือสารอยางสัมฤทธิผล ผูสงสารจะตองรูวาเขียนหรือพูดอยูกับใคร โอกาส สถานที่ใด เพ่ือจะไดพิจารณาถึงเนื้อความที่จะสง และวิธีสงสารวาจะเลือกภาษาระดับใด จึงจะบรรลุ ตามวัตถุประสงคในการสื่อสาร

สาระการเรียนรู

ระดับของภาษา

หนวยการเรียนรูที่ ๑๑ บทพากยเอราวัณ ๑๓๔

ความรูทัว่ไปเกี่ยวกับบทพากยเอราวัณ ๑๓๖ ลักษณะคําประพันธ ๑๓๘ เน้ือหา ๑๓๙ วิเคราะหคุณคาบทพากยเอราวัณ ๑๔๘ บทอาขยานจากเร่ือง ๑๕๒ กิจกรรมสงเสริมการเรียนรู ๑๕๓

หนวยการเรียนรูที่ ๑๒ อิศรญาณภาษิต ๑๕๕

ความรูทัว่ไปเกี่ยวกับอิศรญาณภาษิต ๑๕๖ ลักษณะคําประพันธ ๑๕๖ เน้ือหา ๑๕๗ วิเคราะหคุณคาอิศรญาณภาษิต ๑๖๑ บทอาขยานจากเร่ือง ๑๖๕ กิจกรรมสงเสริมการเรียนรู ๑๖๖ บรรณานุกรม ๑๖๗

Page 6: รายวิยนชาพื้นฐาน ภาษาไทย ๓ เล ม ๒academic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1002942...หน งส อเร รายว

ในการส่ือสารกันทั้งในการพูดและการเขียน จะมีทั้งผูสงสารและผูรับสาร ผูสงสารจะตองรูจักผูรับสารวาเปนใคร มีความสัมพันธกันอยางไร มีความสนิทสนมเพียงใด เพ่ือจะไดเลือกใชภาษาใหถูกระดับ สวนผูรับสารก็จะสามารถบอกไดวาผูสงสารใชภาษาไดถูกระดับหรือไม หากไมถูกระดับการสื่อสารอาจไมเกิดประสิทธิผล นําไปสูความเสียหายได เชน พนักงานในบริษัทใชถอยคําไมสุภาพกับหัวหนางาน พนักงานขายใชถอยคําไมเหมาะสมกับลูกคา นักเรียนเขียนจดหมายลาปวยโดยใชภาษาที่ไมเหมาะสมกับครู เปนตน ดังน้ัน เม่ือจะสื่อสารจึงตองใชภาษา ใหเหมาะกับกาลเทศะ และบุคคล การสื่อสารจึงจะประสบผลสําเร็จ ระดับภาษาที่ใชสื่อสารกัน แบงตามสถานการณการใช ดังนี้ ภาษาระดับพิธีการ

ภาษาระดับพิธีการ เปนภาษาที่สมบูรณแบบ มีรูปประโยคเปนประโยคซอนที่ มี ขอความขยายคอนขางมาก ถอยคําที่ใชเปนภาษาระดับสูง อลังการ งดงาม ไพเราะ และประณีต ผูใชภาษาระดับนี้จะตองระมัดระวังอยางมาก ภาษาระดับพิธีการมักใชในงานพระราชพิธี ใชกลาวสดุดี ไวอาลัย กลาวปราศรัย แนะนําบุคคลสําคัญๆ รวมทั้งวรรณกรรมช้ันสูง

ตัวอยาง

ขอพระบรมเดชานุภาพมหึมาแหงสมเด็จพระบูรพมหากษัตริยาธิราช จงคุมครองประเทศชาติและประชาชนชาวไทย ใหผานพนสรรพอุปทวพิบัติทั้งปวง อริราชศัตรูภายนอกอยาลวงเขาทําอันตรายได ศัตรูหมูพาลภายในใหวอดวายพายแพภัย บันดาลความสุขความมั่นคงใหบังเกิดทั้งภูมิมณฑล บันดาลความรมเย็นแกอเนกนิกรชนครบคามเขตขอบขัณฑสีมา

ภาวาส บุนนาค : ราชภิสดุดี จากตัวอยาง จะเห็นการใชภาษาที่อลังการงดงาม มีการใชคําในระดับสูง ใชคําภาษาบาลี สันสฤต ทั้งในรูปคําสมาสและสนธิ เชน เดชานุภาพ มหากษัตริยาธิราช อุปทวพิบัติ เนื่องจาก เปนเรื่องของการสดุดีพระมหากษัตริย

ภาษาระดับมาตรฐานราชการ

ภาษาระดับมาตรฐานราชการ เปนภาษาที่สมบูรณแบบ ถูกหลักไวยากรณ ชัดเจน สละสลวย สุภาพ ผูใชภาษาจะตองระมัดระวังอยางมาก มีการราง แกไข และเรียบเรียงไวลวงหนา ที่เรียกวาเปนภาษาเขียน ภาษาระดับนี้จะใชในโอกาสสําคัญที่เปนทางการ ทั้งในการเขียน และการพูด ไดแก งานเขียนทางวิชาการสาขาตางๆ จดหมายราชการ รายงานการประชุม คําสั่ง ประกาศ การประชุมปรึกษาในวาระสําคัญ การเขียนขอสอบอัตนัย การเปนพิธีกรรายการ ที่เปนทางการ ตัวอยาง

คํานํา ๘๐ วันรวมกันทําความด ี

...ตลอดระยะเวลาอันยาวนานที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวไดปฏิบัติพระราช กรณียกิจนานัปการ เพื่อประโยชนสุขของประชาชน ไดเสด็จฯ ไปทุกแหงทุกหนทั่วประเทศ เพ่ือทรงรับทราบปญหาดวยพระองคเอง ทําใหทรงทราบถึงความเส่ือมโทรมของธรรมชาติ ทั้งปา น้ํา และดิน ความยากจน ความไมรู วิถีชีวิต วัฒนธรรม ประเพณี จนถึงวิธีคิดและจิตสํานึกของคนทั้งประเทศ เหลานี้ จึงเปนที่มาของโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริมากมาย ที่เนนเรื่องการบูรณาการในเรื่องของปา น้ํา ดิน คน ไปพรอมๆ กัน ...และเนื่องในปมหามงคล ที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวจะทรงเจริญพระชนมพรรษา ๘๐ พรรษา ในวันที่ ๕ ธันวาคม ปนี้ การทองเที่ยวแหงประเทศไทย จึงไดจัดทําหนังสือ “๘๐ วันรวมกันทําความดี” ขึ้นเพื่อใชเปนแนวทางปฏิบัติในการทําความดีแบบงายๆ และ ทําไดจริงในชีวิตประจําวัน และชักชวนใหคนไทยรวมทําความดีไปพรอมๆ กัน เพื่อเปน การแสดงความกตัญูกตเวที และแสดงความจงรักภักดีที่มีตอพระองค โดยจะเริ่มกิจกรรมความดีตั้งแตวันที่ ๑๗ กันยายน ๒๕๕๐ จนถึงวันที่ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๐...

การทองเที่ยวแหงประเทศไทย : ๘๐ วันรวมกันทําความดีตามรอยพระราชดํารัสสําหรับคนไทยทุกคน

จากตัวอยาง จะเห็นภาษาท่ีมีความชัดเจน ถูกหลักไวยากรณใชในการเขียน คํานําหนังสือเปนภาษาเขียนที่มีการใชคําราชาศัพทสําหรับบุคคลที่มีฐานะสูง คือ พระมหากษัตริย

Page 7: รายวิยนชาพื้นฐาน ภาษาไทย ๓ เล ม ๒academic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1002942...หน งส อเร รายว

ภาษาระดับกึ่งทางการ

ภาษาระดับก่ึงทางการ เปนภาษาที่ยังมีความสุภาพ แตผูใชภาษาไทยไมตองระมัดระวังมากเทาการใชภาษาแบบมาตรฐานราชการ มีรูปประโยคงายๆ ไมซับซอน อาจละคําไดบาง เชน ละประธานของประโยค เปนระดับที่ใชมากในชีวิตประจําวันทั้งการพูดและการเขียน อาจใชในการติดตอธุรกิจการงาน สื่อสารกับบุคคลที่ไมคอยคุนเคยกัน ใชเขียนเรื่องที่ผูเขียนตองการ ใหผูอานรูสึกเหมือนกําลังฟงผูเขียนเลาเรื่องอยางไมเครงเครียด เชน การเขียนสารคดีทองเที่ยว บทความแสดงความคิดเห็น

ตัวอยาง

น้ําสะอาดหายากเขาทุกที น้ําเปนทรัพยากรที่มีคุณคา เปนสิ่งจําเปนที่ทุกชีวิตบนโลกนี้ตองการ ประมาณ ๙๘% ของปริมาณน้ําในโลกเราเปนน้ําทะเล น้ําจืดมีอยูนอย และปจจุบันน้ําจืดเริ่มขาดแคลน ปกติที่มาของนํ้าจืดคือ ฝนและหิมะ แตเนื่องจากประชากรเพิ่มขึ้นและเศรษฐกิจขยายตัว ปริมาณการใชน้ําจึงเพิ่มขึ้น น้ํามีนอยอยูแลว ยังมามีมลพิษเสียอีก ปลายังตายเลย บางแหลงน้ําถึงกับสงกลิ่น เนาเหม็น เราจึงตองเผชิญหนากับปญหาสําคัญอีกอยางหนึ่งคือปญหาน้ําเสีย น้ําเสียนั้นเปนอยางไร น้ําเสียเปนน้ําที่มีสิ่งตางๆ ที่ไมพึงประสงคปะปนอยู อันทําใหคุณภาพน้ําเสื่อมลง น้ําเปนตัวทําละลายที่ดี และยังเปนตัวกลางใหอนุภาคของแข็งแขวนลอย น้ําจึงเปนแหลงรับสารไวไดมาก ไมวาจะโดยบังเอิญหรือจงใจ จํานวนผูคนมากขึ้นทุกที และการพัฒนาทางเทคโนโลยี ซึ่งชวยใหชีวิตสะดวกสบายขึ้นกลายเปนสาเหตุใหญทําให น้ําที่เคยสะอาดกลายเปนนํ้าเสีย

ช. กฤษณา : เพื่อนรูไหม จากตัวอยาง จะเห็นวาผูสงสารใชรูปประโยคไมซับซอน ไมตองระมัดระวังมากเทากับภาษาเขียน เชน “น้ํามีนอยอยูแลว ยังมามีมลพิษเสียอีก ปลายังตายเลย” อานแลวเหมือนฟงเรื่องที่ผูเขียนเลาอยางไมเครงเครียด

ภาษาระดับสนทนา

ภาษาระดับสนทนา เปนภาษาที่ใชในโอกาสที่ไมเปนทางการ มีการกรอนคํา ซ้ําคํา ตัดคํา ใชคําสแลง คําลงทาย รูปประโยคสั้นๆ งายๆ มีการละประธาน ตามปกติไมใชคําหยาบ ใชทั้งในการพูดและการเขียน เชน การเขียนนวนิยาย บทละคร บทภาพยนตร การรายงานขาว ตัวอยาง

คิดอยางไรกับแวดวงวรรณกรรม? เคยมีคนถามวา คิดอยางไรที่เด็กไทยอานแตนิยายเกาหลี นิยายเพอฝน ตอบไปวา ไมเห็นเปนไรเลย ก็เปนหนังสือเหมือนกัน อาจจะเปนหนังสือคนละประเภท แตไมไดหมายความวาไมมีคุณคา อยางนอยคนอานก็จะไดเรื่องของภาษา มันเปนการเติบโตของแวดวงวรรณกรรมเหมือนกัน แตเปนอีกทางหนึ่ง กับแวดวงนี้ ไมไดรูสึกวา “วรรณกรรมตายแลว” อยางที่บางคนวา ก็ยังเห็นคนเดินตามมาอีกเยอะแยะ เพียงแตวาอาจจะฉีกแนวออกไปบาง เพราะเดี๋ยวนี้สื่อก็ไมไดมีแค แบบเดียวยังมีพ้ืนที่บนอินเทอรเน็ต ซึ่งก็เปนการเขียนเหมือนกัน แตสําหรับวรรณกรรมบานเราตองยอมรับวาไมใชอะไรที่กวาง เพราะโดยลักษณะของตัวงานเอง ไมไดเขียน เพ่ือตามใจทุกคนอยูแลว แตอยางไรซะก็ยังมีคนเขาใจ ยังมีคนที่ชอบมันอยู ยังมีคน เดินตามมาเรื่อยๆ วรรณกรรมไมตายหรอก

เชตะวัน เจือประโคน : บทสัมภาษณศศิวรรณ โมกขะเสน เจาของรางวัล ‘ยังไรเตอร’ ความหวังใหมวงวรรณกรรม มติชน ฉบับวันอาทิตย ท่ี ๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๑

จากตัวอยาง มีการใชภาษาในลักษณะของภาษาพูด ใชในการสนทนากัน เชน ก็ยังเห็นคนเดินตามมาอีกเยอะแยะ เพียงแตวาอาจจะฉีกแนวออกไปบาง ...แตอยางไรซะก็ยังมีคนเขาใจ

Page 8: รายวิยนชาพื้นฐาน ภาษาไทย ๓ เล ม ๒academic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1002942...หน งส อเร รายว

ภาษาระดับกันเอง หรือภาษาปาก

ภาษาระดับกันเอง หรือภาษาปาก เปนภาษาที่ไมเปนทางการ ใชทั้งในการพูดและ การเขียนเพื่อแสดงความสนิทสนมคุนเคยกัน เชน เพื่อนฝูง คนในครอบครัว หากเปนการพูด มักใชพูดกันในสถานที่ที่เปนสวนตัว รูปประโยคยนยอมาก มีการตัดคํา ใชคําสแลง คําต่ํา คําหยาบ คําสบถสาบาน คําภาษาถิ่น สวนใหญเปนการพูดมากกวาการเขียน ที่เปนการเขียน เชน นวนิยาย เรื่องสั้น บทละคร ขาวกีฬา จดหมายถึงเพื่อนสนิท การเขียนพาดหัวขาวหนังสือพิมพ ตัวอยาง

“ไมได ทีหลังอยาไปยอม อีพวกคนงานมันก็แบบน้ีแหละ ของที่นี่ก็เหมือนกัน ตอนยังโสดๆ ไมมีผัวละก็ทํางานกันดี ขยันขันแข็ง พอมีผัวแลว หน็อยชักหยิ่ง ทําเชิดวามีผัวเลี้ยง ไอพวกผูชายนั่นแหละตัวดี พอมีเมียทําเปนจะเลี้ยงเอง ไมใหทํางาน ไมรูจะเก็บเอาไวทําอะไร ไมไดเจียมกะลาหัวเลยวาคนเรามันตองทํางานหาเงิน อีกหนอยมีลูกจะเอาอะไรกิน อีพวกผูหญิงเลยหลงคารมสิเธอ มีผัวแลวก็จะออกไปปรนนิบัติผัว แลวไง รายไหนรายนั้น สุดทายตองซมซานมาของานทํา”

เข็มพลอย : รานหัวมุม ใน สกุลไทย ฉบับวันท่ี ๒ ธันวาคม ๒๕๕๑ หนา ๑๒๓. จากตัวอยาง จะเห็นภาษาปากอยางชัดเจนมีการใชคําไมสุภาพ เชน ใชคําหยาบ คําแสลง เชน อีพวกคนงาน ผัว ทําเชิด ไอพวกผูชาย เจียมกะลาหัว ฯลฯ

ผู ใ ช ภ าษา ในสัง คมจะแบง ออก เปนหลายกลุ ม บุคคล ในแตล ะกลุ มก ็จ ะ มีความสัมพันธในระดับตางๆ กัน เชน พระเจาแผนดิน พระบรมวงศานุวงศ ชนชั้นผูนําของประเทศ ขาราชการ พอคา ประชาชน จนถึงผูใชแรงงาน ความสัมพันธในระดับตางๆ

ดังกลาวจะนําไปสูการใชภาษาที่มีถอยคําในระดับตางๆ กันดวย ผูใชภาษาทั้งผูสงสารและผูรับสารจึงควรคํานึงถึงปจจัยที่ กําหนดการใชภาษาในสังคมดังตอไปน้ี

๑. ฐานะทางสังคม หมายถึง ความสัมพันธของผูสงสารและผูรับสาร เชน นักเรียนกับอาจารย หัวหนากับพนักงานในบริษัท นายกรัฐมนตรีกับประชาชน เปนตน ผูสงสาร ตองพิจารณาวาผูรับสารเปนใคร เพื่อจะไดเลือกสรรถอยคํามาใชใหเหมาะสมไมผิดกับระดับภาษา

๒. กาลเทศะ หมายถึง เวลา หรือโอกาส สถานที่ ในขณะที่กําลังใชภาษาอยู เชน ในหองประชุมโรงเรียน อาจารยใหญกําลังใหโอวาทนักเรียน ภาษาที่ใชตองเปนภาษาระดับกึ่งทางการ ซึ่งมีลักษณะประโยคงายๆ ไมซับซอน และสุภาพ

๓. เน้ือเรื่อง หมายถึง สารที่ตองการพูดหรือเขียน ผูสงสารจะเลือกใชระดับภาษาแตกตางกันไป เชน เนื้อเรื่องเกี่ยวกับการประกาศทางราชการก็จะใชภาษาระดับมาตรฐานราชการ ซึ่งเปนภาษาเขียนท่ีจะตองระมัดระวัง

๔. วิธีการส่ือสาร ในกรณีการเขียนจะมีทั้งลักษณะปกปด และเปดเผย ลักษณะปกปด จะขึ้นอยูกับฐานะทางสังคม กาลเทศะ และเนื้อหาของผูสงสารกับผูรับสาร เชน การเขียนจดหมาย สวนลักษณะเปดเผย ตองระมัดระวังเพราะจะมีผูอ่ืนรูเห็นดวย ซึ่งอาจกอใหเกิดความรูสึกที่ไมดี ตอผูสงสารได เชน การเขียนไปรษณียบัตรถึงเพื่อนสนิท ถาใชคําในระดับภาษาปาก อาจจะทําใหมีผูรูวาผูสงสารเปนคนอยางไร สงผลใหอาจจะไมเปนที่ยอมรับในสังคม ถาเปนการสื่อสารผานสื่อ เชน หนังสือพิมพ วิทยุ โทรทัศน ก็ควรระมัดระวังใหมาก ไมควรใชภาษาที่ไมสุภาพ มิฉะนั้นจะมี ผลสะทอนกลับในดานลบมายังผูสงสารได

การส่ือสารจะตองใชภาษาใหถูกระดับของภาษา ซึ่งแบงเปน ๕ ระดับคือ ระดับพิธีการ ระดับมาตรฐานราชการ ระดับกึ่งทางการ ระดับสนทนา และระดับกันเอง นอกจากใชภาษา ใหถูกกับแบบของภาษาแลว ยังตองพิจารณาถึงฐานะทางสังคมของผูรับสาร เวลา โอกาส เน้ือเรื่อง และวิธีการสื่อสาร ใหสัมพันธกับระดับของภาษาดวย

Page 9: รายวิยนชาพื้นฐาน ภาษาไทย ๓ เล ม ๒academic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1002942...หน งส อเร รายว

๑. ใหนักเรียนรวมกันอภิปรายเก่ียวกับความสําคัญของการใชภาษาในระดับตางๆ โดยยกตัวอยางสถานการณการสื่อสารท่ีแตกตางกันในดาน

ฐานะทางสังคม กาลเทศะ เน้ือเรื่อง วิธีการสื่อสาร

๒. ใหนักเรียนแบงกลุมกันรวบรวมตัวอยางภาษาระดับตางๆ จากสื่อมวลชนและ สื่อสิ่งพิมพ นํามาวิเคราะหในชั้นเรียน แลวบันทึกไวในสมุดรวบรวมความรูของหอง

๓. ใหนักเรียนแบงกลุมกันบันทึกเสียงของพิธีกร ผูดําเนินการอภิปราย จากส่ือโทรทัศน วิทยุ แลวนํามาวิเคราะหในชั้นเรียนวาถูกตองตามระดับภาษาหรือไม

๔. ใหนักเรียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการใชภาษาของพิธีกรที่ตนชื่นชอบวา ใชภาษาถูกตองกับระดับภาษาอยางไร

๕. ขอความที่ยกมานี้จัดอยูในระดับภาษาใด เพราะเหตุใด ตัวอยาง

จําไดวาสมัยผมยังเด็กๆ ก็พบเห็นทานอยูหลายหน ที่ไดเจอะเจอก็เพราะถูกพอห้ิวไปสถานีไทยโทรทัศนชอง ๔ บางขุนพรหม สมัยที่ยังแพรภาพเปนขาว – ดํา ตอนนั้นพอไปทําเพลงละครใหทีวีชองนี้อยูหลายเรื่อง

บูรพา อารัมภีร ฟงพอเลาในสกุลไทย ฉบับท่ี ๒๙๗๐ ๒๐ กันยายน ๒๕๕๔ ขอความนี้จัดอยูในภาษาระดับภาษาสนทนา เพราะมีการใชภาษาพูด เชน

หลายหน เจอะเจอ ถูกห้ิว

ผมชอบวาดรูปมาแตเด็กและคลุกคลีกับตําราเรียนที่มีรูปภาพประกอบมาแตเด็กเชนกัน

วินทร เลียววาริณ : เดินไปใหสุดฝน

เนื้อคูตามพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน อธิบายไววา “ชายและหญิง ที่เชื่อกันวาไดเคยครองคูกันมาแตปางกอน ชายและหญิงที่เหมาะสมเปนคูครองกัน”

พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน

ด่ืมชาวันละ ๓-๔ แกว อาจลดความเสี่ยงของการเกิดโรคหัวใจและมะเร็งบางชนิด เพราะในชามีสารฟลาโวนอยด อันเปนสารท่ีดีตอสุขภาพ

คอลัมนโฟกัสสุขภาพ : มติชน ฉบับวันท่ี ๑๐ กันยายน ๒๕๕๑

บางคนเจ็บไขไดปวยหนักหนาสาหัส ไมยอมปลอยวาง คิดอยูนั่นแหละทําไม ตองเปนเรา ทําไมคนอื่นเขาไมปวย ไมยอมรับความจริง เม่ือไมยอมรับความจริง ทั้งยังคิดไมเปน กายปวยอยูแลวใจจึงปวยซ้ําหนักเขาไปอีกเปนทวีคูณ คนปวยที่ไมรูทันความปวยอยางนี้ สุดทายจะตายอยางทุกขทรมานทั้งกายใจ

ว.วชิรเมธี : สบตากับความตาย

ภาษาไทยเปนสมบัติของชาติไทย เปนวัฒนธรรม เปนเครื่องแสดงความเปนชาติ และเปนสิ่งที่เชื่อมใจคนไทยทุกคนใหรวมกันเปนชาติ จึงหวังวาคนไทยทุกคนจะสนใจและใสใจเรียนรูภาษาไทยใหถองแท และชวยกันรักษภาษาไทยไวใหเปนสมบัติที่มีคาของตนและของชาติตลอดไป

กระทรวงศึกษาธิการ : วิวิธภาษา ม.๓

ทําไมเธอเปนคนอ๊ิกนอแรนซอยางน้ี ทุกอยางปลอยใหนังขี้ขาบงการชีวิต โดยไมรับรูอะไรสักอยาง ฉันไมเคยไวใจอีผูหญิงคนนี้ ฉันจะสืบเรือ่งนี้ดวยตัวฉันเอง

วราภา : แคนเสนหา สกุลไทย ฉบับวันท่ี ๒ ธันวาคม ๒๕๕๑ หนา ๑๒๐

แหลงสารกอมะเร็งอ่ืนๆ เชน มลพิษในอากาศจากรถยนต และโรงงานอุตสาหกรรมจากอาหารที่เรากินทุกวัน เชน สารกอมะเร็งในอาหารหมักดอง หรืออาหารปงๆ ยางๆ ที่ไหมเกรียม ทั้งหมดนี้รวมกันแลวยังมีสารกอมะเร็งนอยกวาในควันบุหรี่

ศ.นพ.ประกิต วาทีสาธกกิจ : คนไทย ไกลทุกข

๖. นักเรียนควรพูดอยางไรตามสถานการณตอไปนี้ นักเรียนแจงอาจารยที่ปรึกษาเรื่อง ไมสบาย ปวดหัว ขอลาหยุดเรียน ๑ วัน นักเรียนโทรศัพทถึงเพื่อนเรื่อง ไมสบาย ปวดหัว จะไมไปโรงเรียน นักเรียนพูดกับเพื่อนใหมวันเปดภาคเรียน เร่ืองเกี่ยวกับการเรียน ลูกนองพูดกับหัวหนางาน เรื่อง ลูกไมสบายขอกลับบานกอนเวลาเลิกงาน เพ่ือนพูดกับเพ่ือน เรื่องไมอยากไปตางจังหวัดเพราะไมมีเงิน