แนวทางการบริหารงานวิชาการ...

14
329 แนวทางการบริหารงานวิชาการการศึกษาปฐมวัยของโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต 3 * รัตนา อินทะชัย สายทิตย์ ยะฟู บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาปัญหาการบริหารงานวิชาการการศึกษาของโรงเรียนขนาด เล็ก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต 3 2) เพื่อนาเสนอแนวทางการบริหารงาน วิชาการการศึกษาปฐมวัยของโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครสวรรค์ เขต 3 การดาเนินการวิจัยแบ่งออกเป็น 2 ขั้นตอน คือ 1) ศึกษาปัญหาการบริหารงานวิชาการการศึกษาของโรงเรียน ขนาดเล็ก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครสวรรค์ เขต 3 ประชากรในการวิจัย คือ ผู้บริหาร สถานศึกษาและครูผู้สอนระดับปฐมวัยของโรงเรียนขนาดเล็ก สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครสวรรค์ เขต 3 จานวน 274 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เป็นแบบสอบถามประมาณค่า 5 ระดับ มีความเที่ยง .97 สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ 2) นาเสนอแนวทางในการบริหารงานวิชาการ การศึกษาปฐมวัยของโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต 3 ตาม ความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญโดยการสนทนากลุ่ม สถิติที่ใช้ คือ การวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1. ปัญหางานวิชาการการศึกษาปฐมวัยของโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษานครสวรรค์ เขต 3 ทั้ง 5 ด้าน มีปัญหาโดยรวมอยู่ในระดับ ปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่มีปัญหาสูงสุด คือ ด้านการนิเทศภายใน รองลงมาคือ ด้านหลักสูตรและการนาหลักสูตรไปใช้ ด้าน การจัดประสบการณ์การเรียนรูด้านสื่อการเรียนการสอน และงานที่มีปัญหาต่าสุดคือ ด้านการวัดและประเมิน พัฒนาการ 2. แนวทางการบริหารงานวิชาการการศึกษาปฐมวัยของโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสานักงานเขตพื้นทีการศึกษานครสวรรค์ เขต 3 ประกอบด้วย แนวทางการบริหารงานวิชาการการศึกษาปฐมวัยของ โรงเรียนขนาดเล็ก 1) ด้านหลักสูตรและการนาหลักสูตรไปใช้ 2) ด้านการจัดประสบการณ์การเรียนรู3) ด้านสื่อการเรียนการสอน 4) ด้านการวัดและประเมินพัฒนาการ และ5) ด้านการนิเทศภายใน คาสาคัญ: แนวทางการบริหารงานวิชาการการศึกษาปฐมวัย, โรงเรียนขนาดเล็ก, * วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ พ.ศ. 2559 นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ อาจารย์ , คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

Upload: others

Post on 22-Oct-2020

11 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

  • 329

    แนวทางการบริหารงานวิชาการการศึกษาปฐมวัยของโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต 3*

    รัตนา อินทะชัย สายทิตย์ ยะฟู

    บทคัดย่อ

    การวจิัยครั้งนี้มวีัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาปัญหาการบริหารงานวิชาการการศึกษาของโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต 3 2) เพื่อน าเสนอแนวทางการบริหารงานวิชาการการศกึษาปฐมวัยของโรงเรียนขนาดเล็ก สังกดัส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครสวรรค์ เขต 3 การด าเนินการวิจัยแบง่ออกเป็น 2 ขั้นตอน คือ 1) ศึกษาปัญหาการบริหารงานวิชาการการศึกษาของโรงเรียนขนาดเล็ก สงักดัส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครสวรรค์ เขต 3 ประชากรในการวจิัย คือ ผูบ้ริหารสถานศึกษาและครูผู้สอนระดับปฐมวัยของโรงเรียนขนาดเล็ก ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครสวรรค์ เขต 3 จ านวน 274 คน เครื่องมือที่ใชใ้นการวิจัย เป็นแบบสอบถามประมาณค่า 5 ระดับ มีความเที่ยง .97 สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ 2) น าเสนอแนวทางในการบริหารงานวิชาการการศึกษาปฐมวยัของโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดส านักงานเขตพืน้ที่การศึกษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต 3 ตามความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญโดยการสนทนากลุ่ม สถิติที่ใช้ คือ การวเิคราะห์เนือ้หา ผลการวิจัยพบวา่ 1. ปัญหางานวชิาการการศึกษาปฐมวัยของโรงเรยีนขนาดเล็ก สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต 3 ทั้ง 5 ด้าน มีปัญหาโดยรวมอยู่ในระดับ ปานกลาง เมื่อพจิารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านที่มีปัญหาสูงสุด คอื ด้านการนิเทศภายใน รองลงมาคือ ด้านหลักสูตรและการน าหลักสูตรไปใช้ ด้านการจดัประสบการณ์การเรียนรู ้ ด้านสื่อการเรียนการสอน และงานที่มีปัญหาต่ าสุดคือ ด้านการวัดและประเมินพัฒนาการ 2. แนวทางการบริหารงานวิชาการการศึกษาปฐมวัยของโรงเรยีนขนาดเลก็ สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษานครสวรรค์ เขต 3 ประกอบดว้ย แนวทางการบริหารงานวิชาการการศึกษาปฐมวัยของ โรงเรียนขนาดเล็ก 1) ด้านหลกัสูตรและการน าหลักสูตรไปใช้ 2) ด้านการจดัประสบการณ์การเรียนรู ้ 3) ด้านสื่อการเรียนการสอน 4) ด้านการวัดและประเมินพัฒนาการ และ5) ด้านการนิเทศภายใน

    ค าส าคัญ: แนวทางการบริหารงานวิชาการการศึกษาปฐมวัย, โรงเรียนขนาดเล็ก,

    *วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ พ.ศ. 2559 นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ อาจารย์, คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

  • 330

    Guidelines for Academic Administration for Early Childhood Education of Smaller Schools under the Office of Nakhon Sawan Primary Educational Service Area 3*

    Rattana Intachai Saitit Yaful

    Abatract

    The purposes of this research were 1) to study the academic administration for early childnood education of smaller schools under the Office of Nakhon Sawan Primary Educational Service Area 3, and 2) to find the academic administration guidelines for early childhood education of smaller schools under the Office of Nakhon Sawan Primary Educational Service Area 3. The research was divided into 2 steps. 1) Studying the academic administration problems for early childhood education of smaller schools under the Office of Nakhon Sawan Primary Educational Service Area 3. The population in this research comprised 274 administrators and preschool teachers of smaller schools under the Office of Nakhon Sawan Primary Educational Service Area 3. The research tool was a 5-point rating scale questionnaire with reliability coefficient of 0.97. The statistics used were mean and standard deviation. 2) Presenting the academic administration guidelines for early childhood education of smaller schools under the Office of Nakhon Sawan Primary Educational Service Area 3 by deriving from the focus group discussion of experts using content analysis technique. The tool used is a group discussion recording form. The research results are as follows: 1. The problems of academic administration for early childhood education of smaller schools under the Office of Nakhon Sawan Primary Educational Service Area 3 in overall 5 aspects were at the medium level. Considering aspect by aspect, it was found that the most problematic one was internal supervision. Next to that were curriculum and curriculum implementation, learning experience, and instruction media, while the least problematic one was assessment of development. 2. Guidelines for academic administration for early childhood education of smaller schools under the Office of Nakhon Sawan Primary Educational Service Area 3 composed of the following : 1) Guidelines for curriculum and curriculum implementation. 2) Guidelines for learning experience. 3) Guidelines for instruction media. 4) Guidelines for assessment of development. 5) Guidelines for internal supervision.

    Keywords: Guidelines for Academic Administration for Early Childhood Education, of Smaller Schools

    * Research Article from the Requirements for the Master of Education Degree in Educational Administration Nakhon Sawan Rajabhat University 2016 Student in master of Education dedree program Educational Administration, Nakhon Sawan Rajabhat University, E-mail: [email protected] Lecturer, Faculty of Education, Nakhon Sawan Rajabhat University

  • 331

    บทน า เด็กปฐมวัยเป็นวัยที่ส าคัญที่สุดในการพัฒนาบคุคล เพราะทั้งร่างกาย จิตใจ สมองและนิสัยของบุคคลจะ

    สร้างและหล่อหลอมได้ดีในเด็กวัยนี้ เดก็ปฐมวยัจะมีธรรมชาตแิละลักษณะเฉพาะที่แตกต่างไปจากบุคคลวัยอื่นๆ ซึ่งหากผูท้ี่เกี่ยวข้องสามารถสรา้งแบบแผนทางพฤตกิรรมและเจตคติที่ดใีห้แกเ่ด็กปฐมวัยได้แล้ว เด็กปฐมวัยจะสามารถเติบโตและมีชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างเป็นสุข ดังนั้น ผู้ที่เกี่ยวข้องจงึควรจะต้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับธรรมชาติ และลักษณะของเดก็ปฐมวัยเพื่อที่จะได้ส่งเสริมและสนับสนุนให้เด็กมีพัฒนาการไปในทิศทางทีถู่กต้อง อันจะเป็นประโยชน์ทั้งต่อตัวเดก็เอง สังคมและประเทศชาติตอ่ไป (พัชรี สวนแก้ว, 2549, น. 3)

    หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยต่างจากหลักสูตรการศึกษาระดับอื่นๆ ตรงที่ไมใ่ช่หลักสูตรเน้นเนือ้หาวิชา ไม่ใช่หลักสูตรเน้นประสบการณ์ ไม่ใช่หลักสตูรเน้นการแก้ปญัหา หรือสมรรถนะ แต่เป็นหลักสูตรที่เน้นพัฒนาการ โดยมีอายุและพัฒนาการตามวยัของผู้เรียนเปน็กรอบการพัฒนาสาระและประสบการณ์ทีต่้องเป็น ทัง้การเรยีนรู้ที่สร้างเสริมพัฒนาการ ส่งเสริมความเป็นมนุษย์ให้อยู่ในสังคมได้อย่างปกติสุข และพร้อมที่จะเข้าสู่ระบบโรงเรียนได้ (กุลยา ตันติผลาผล, 2548, น. 18) คุณภาพทางการศึกษาจึงสะท้อนถงึคุณภาพของคนที่เป็นผลิตผล ของการจัดการศึกษาอย่างไรก็ตาม ในสถานการณ์ปัจจุบนัสถานศึกษาสว่นใหญ่ยังมีความเหลื่อมล้ าและแตกต่างกัน ทั้งในงบประมาณ คณุภาพ บุคลากร หรือแม้แต่ปัจจัยด้านผู้เรียน รวมทั้งปัจจัยเอื้ออื่นๆ เช่น ความร่วมมือของสถานศึกษา การสนับสนุนจากชุมชน หน่วยงานหรอืองคก์รที่อยูใ่กล้เคียงสถานศึกษา และการติดตามช่วยเหลืออย่างใกล้ชิดจากส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา หรือหน่วยงานต้นสังกัด สิง่เหล่านี้ล้วนส่งผลกระทบต่อคุณภาพการจัดการศึกษา อีกทัง้ปัจจุบันสถานศึกษามอีิสระในการบริหารจัดการศึกษาด้วยตนเองมีการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาเอง คุณภาพผู้เรียน และคุณภาพผู้บริหารจดัการจึงมีความแตกตา่งกันซึง่การศึกษาปฐมวัยนั้นเป็นการศึกษาที่ส าคญัต่อการปลูกฝงัและพัฒนาความเป็นมนุษยท์ี่สมบูรณ์ เด็กวัย 0-6 ปี เป็นวัยที่มกีารเจริญเติบโต มีการเรียนรู้อยา่งรวดเรว็ เดก็ที่ไดร้ับการตอบสนองความตอ้งการด้านต่าง ๆ ทั้งทางร่างกาย อารมณ์-จิตใจ สังคมและสติปัญญา อย่างเหมาะสมตามวัย ด้วยวิธีการจัดประสบการณก์ารเรียนรู้ที่ถูกต้องย่อมเป็น ผู้มีโอกาสที่ดี

    นอกจากนี้สถาบันแห่งชาติเพือ่การศึกษาส าหรบัเด็กปฐมวัย พบว่าขาดการบูรณาการที่มีประสิทธิภาพ ทั้งด้านสขุภาพ การศึกษา การพัฒนาชุมชนและการประสานกับครอบครวั ขาดคุณภาพทั้งในด้านการบริหารจัดการ ขาดคณุภาพในด้านวธิีการเรียนรู้ของเด็ก ขาดการให้ความรู้กับพ่อแม่ ผู้ปกครองอย่างทัว่ถึง ขาดการฝึกอบรมบุคลากรที่เกี่ยวข้อง ขาดความเข้าใจเรื่องปรัชญาการพัฒนาเด็กปฐมวัย ขาดการก าหนดมาตรฐาน ขาดวิธกีารบริหารจัดการที่มีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ ขาดการวิจัยความรู้เชิงสงัเคราะหท์ี่เอื้อต่อการเรียนรู้ของเด็ก ขาดการมีส่วนร่วมของชุมชน ประชาชน และขาดการน าแผนไปสู่การปฏิบัติ (ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ, 2544, น. 7) และจากผลการประเมินภายนอกของส านักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) และจากนิเทศภายใน 100 %พบว่าปัญหาการจัดการศกึษาระดับปฐมวัยของโรงเรียนขนาดเล็ก ส านกังานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต 3 มี 5 ประการ คือ 1) โรงเรียนขนาดเล็กมีครูไม่ครบชั้นท าใหก้ารจดัการศึกษาปฐมวัยถกูละเลย เพราะครูจะเน้นการสอนระดับประถมศึกษามากกว่า 2) ครูไม่มีวุฒิด้านการศึกษาปฐมวยัและมีอายมุาก ท าใหข้าดความรู้ความเข้าใจและขาดความกระตอืรือร้นในการพัฒนาตนเอง 3) ผู้บริหารโรงเรียนขาดความรู้ ความเขา้ใจในการจัดครูเข้าสอน 4) คุณภาพเด็กปฐมวัยด้านการคิดวเิคราะห์ คิดสังเคราะห์ อยู่ในระดับพอใช้ 5) ขาดการนิเทศการเรียนการสอนภายในโรงเรียนและการนเิทศจากหนว่ยศึกษานิเทศก์ (ส านกังานเขตพื้นที่การศึกษานครสวรรค์ เขต 3, 2548, น. 2)

    จากปัญหาคุณภาพการจดัการศึกษาปฐมวัย ดงัทีก่ล่าวมาข้างต้น แสดงใหเ้ห็นว่ามีที่มาจากการจัดการศึกษาการบริหารงานวิชาการระดับปฐมวัยของโรงเรียนขนาดเล็กส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต 3 ซึ่งมีปัญหาอยู่มาก ท าใหผู้้วิจัยสนใจศึกษาปัญหาการบริหารงานวิชาการของโรงเรยีนขนาดเล็ก สังกดัส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต 3 และน าเสนอแนวทางการบริหารงาน

  • 332

    วิชาการให้มีประสิทธิภาพ การศึกษา ปฐมวัยมคีุณภาพ สร้างรากฐานคุณภาพชีวิตให้เดก็ได้พัฒนาสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ เกิดคุณค่าต่อตนเองและสังคม และเป็นรากฐานส าคัญของการพฒันาทรัพยากรมนุษย์ต่อไป

    วัตถุประสงค์การวิจัย 1. เพื่อศึกษาปัญหาการบริหารงานวิชาการการศึกษาปฐมวัยของโรงเรียนขนาดเล็ก

    สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครสวรรค ์เขต 3 2. เพื่อน าเสนอแนวทางการบริหารงานวิชาการการศึกษาปฐมวัยของโรงเรยีนขนาดเล็ก

    สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึษานครสวรรค์ เขต 3

    แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวขอ้ง/กรอบแนวคิดการวิจัย จากการศึกษาแนวคิดและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการบริหารงานวิชาการและการบริหารงานวชิาการ

    การศึกษาปฐมวยัของนักวิชาการหลายท่านผู้วิจยัจึงก าหนดกรอบความคิดในการวิจัย ส าหรับการศึกษาปัญหาและสร้างรูปแบบการบริหารงานวิชาการปฐมวัยไว้ 5 ประการ คือ ด้านหลักสูตรและการบริหารหลักสูตร ด้านการจัดประสบการณก์ารเรียนรู้ ด้านสื่อการเรียนการสอน ด้านการวัดและประเมินพัฒนาการ และด้านการนเิทศภายใน ดังแสดงไวใ้นภาพ

    วิธีด าเนินการวิจัย การวจิัยครั้งนี้เป็นการวจิัยเชิงพรรณนา (Descriptive) โดยมุ่งหวงัที่จะศึกษาปัญหาการบริหารงานวิชาการการศกึษาปฐมวัย เพือ่น าเสนอแนวทางการบริหารงานวิชาการการศกึษาปฐมวัยของโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึษานครสวรรค์ เขต 3 ประชากร

    ในการวิจัยครั้งนี้ศึกษาจากประชากรทั้งหมด ซึ่งได้แก่ โรงเรียนขนาดเล็กสังกัดส านกังานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต 3 ปีการศึกษา 2558 ทั้งหมด 137 โรงเรียน โดยเก็บข้อมูลจาก ผู้บริหารสถานศกึษาหรือผู้รกัษาการในต าแหน่งซึ่งด ารงต าแหน่ง และปฏิบัติงานของโรงเรียน โรงเรียนละ 1 คน และครูผู้สอนระดับปฐมวัยโรงเรยีนละ 1 คน รวมทัง้สิ้น 274 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการวจิัยครั้งนีม้ี 2 ชนิด คือ แบบสอบถามและแบบบันทึกการสนทนากลุม่ 1. แบบสอบถาม แบ่งออกเปน็ 2 ตอน ดังนี ้ ตอนที ่ 1 สถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม เป็นแบบตรวจสอบรายการ (check list) จ านวน 5 ข้อ ประกอบดว้ย เพศ อายุ ระดบัการศึกษา ประสบการณใ์นการปฏิบัติงาน ด้านการบริหารหรือด้านการสอน

    ปัญหาการบริหารงานวิชาการศึกษาปฐมวัย 1.ด้านหลักสูตรและการน าหลักสูตรไปใช้ 2.ด้านการจัดประสบการณ์การเรียนรู ้3.ด้านสื่อการเรียนการสอน 4.ด้านการวัดและประเมินพัฒนาการ 5.ด้านการนเิทศภายใน

    แนวทางการบริหารงาน วิชาการศกึษาปฐมวัย ของโรงเรียนขนาดเล็ก

  • 333

    ตอนที่ 2 ปัญหาการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนขนาดเลก็ สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต 3 โดยพิจารณาทั้ง 5 ด้าน ได้แก่ ด้านหลักสูตรและการน าหลักสูตรไปใช้ ด้านการจัดประสบการณก์ารเรยีนรู้ ด้านสื่อการเรียนการสอน ด้านการวัดและประเมินพัฒนาการ และด้านการนิเทศภายใน ลักษณะแบบสอบถามเป็นมาตราส่วนประมาณค่า (Rating scale) แบ่งออกเป็น 5 ระดับ ได้แก่ มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย และน้อยที่สุด (บุญชม ศรีสะอาด, 2545, น. 102) โดยมีค่าคะแนนดังนี ้ 5 หมายถงึ การบริหารงานวิชาการมีปญัหาในระดับมากที่สุด 4 หมายถงึ การบริหารงานวิชาการมีปญัหาในระดับมาก 3 หมายถงึ การบริหารงานวิชาการมีปญัหาในระดับปานกลาง 2 หมายถงึ การบริหารงานวิชาการมีปัญหาในระดับน้อย 1 หมายถงึ การบริหารงานวิชาการมีปญัหาในระดับน้อยที่สุด การเก็บและรวบรวมข้อมูล 1. ขอหนงัสือจากบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์ ถงึผู้บริหารสถานศึกษา เพื่อขอความอนุเคราะห์ในการเก็บรวบรวมขอ้มูลจากผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอนระดับปฐมวัย 2. น าแบบสอบถามพรอ้มหนังสือขอความอนเุคราะห์จากมหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์ถงึประชากรด้วยตนเอง ระหว่างวันที่ 12-30 ตุลาคม 2558 และท าการเก็บแบบสอบถามคืนโดยวิธีเดียวกัน 3. น าแบบสอบถามที่ไดร้ับมาตรวจความถูกตอ้งเพื่อน าไปวิเคราะห์ทางสถิติต่อไป 4. ขอหนงัสือจากบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลยัราชภัฎนครสวรรค์เชิญผู้เชี่ยวชาญ จ านวน 7 ท่าน ร่วมประชุมการสนทนากลุ่มโดยก าหนดเกณฑ์การเลือกผู้เชี่ยวชาญไว้ดงันี้ 4.1 ผู้บริหารส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต 3 มีวุฒิการศกึษาระดับปริญญาโทขึ้นไป มีประสบการณ์ด้านการบรหิารอย่างน้อย 5 ปี 4.2 นักวิชาการ วุฒิการศกึษาระดับปริญญาโทขึ้นไป มีประสบการณ์ด้านการศึกษาปฐมวัยอย่างน้อย 10 ปี

    4.3 ผู้บริหารโรงเรยีนสังกดัส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต 3 มีวุฒิการศึกษาระดับปริญญาโทขึ้นไป มีประสบการณ์ด้านการบรหิารโรงเรียนอยา่งน้อย 5 ป ี

    4.4 ศึกษานิเทศก์ ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต 3 มีประสบการณก์ารนิเทศการศึกษาอย่างน้อย 5 ปี มีวุฒิการศึกษาระดับปริญญาโทขึ้นไป

    4.5 ครูผู้สอนระดับปฐมวัยสังกดัส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต 3 มีประสบการณก์ารสอนระดับปฐมวัยอย่างน้อย 5 ป ี

    5. จัดประชุมและบันทึกการสนทนากลุ่ม ณ ห้องประชุมศูนย์วิทยบริการอ าเภอตาคลี ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต 3 การวิเคราะห์ขอ้มูลและสถิติทีใ่ช้ 1. วิเคราะห์ข้อมูลสถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถามด้วยสถติิพื้นฐาน ได้แก ่การแจกแจงความถี่ และค่าร้อยละ(%) 2. วิเคราะห์ข้อมูลปัญหาการบริหารงานวิชาการปฐมวัย ด้วยสถิติพื้นฐาน ได้แก่ ค่าเฉลี่ย (µ) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (σ)แล้วน าไปแปลผลตามเกณฑ์ ดังนี้

    ค่าเฉลี่ย 4.51-5.00 หมายถงึ มีปัญหาการบรหิารงานวิชาการในระดับมากทีสุ่ด ค่าเฉลี่ย 3.51-4.50 หมายถงึ มีปัญหาการบรหิารงานวิชาการในระดับมาก

    ค่าเฉลี่ย 2.51-3.50 หมายถงึ มีปัญหาการบรหิารงานวิชาการในระดับปานกลาง ค่าเฉลี่ย 1.51-2.50 หมายถงึ มีปัญหาการบรหิารงานวิชาการในระดับน้อย

  • 334

    ค่าเฉลี่ย 1.00-1.50 หมายถึง มีปัญหาการบริหารงานวิชาการในระดับน้อยที่สุด 3. วิเคราะห์ความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญเพื่อสร้างรูปแบบการบริหารงานวิชาการการศึกษาปฐมวัยของโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต 3 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล 1. สถิติที่ใช้ในการตรวจคุณภาพของเครื่องมือ 1.1 หาค่าดัชนีความสอดคล้องของข้อค าถามกับโครงสร้างหลักของเนื้อหา (IOC) 1.2 หาค่าความเที่ยงของแบบสอบถาม 2. สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล

    2.1 ค่าร้อยละ (Percentage) 2.2 ค่าเฉลี่ย (Mean) 2.3 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)

    สรุปผลการวิจัย จากการศึกษาปัญหาการบริหารงานวิชาการการศึกษาปฐมวัยของโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึษานครสวรรค์ เขต 3 สรุปผลการวิจัย ได้ดังนี ้ 1. ปัญหาการบริหารงานวิชาการการศึกษาปฐมวัยของโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดส านกังานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต 3 ในภาพรวมอยูใ่นระดับปานกลาง และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านที่มีการบริหารงานวิชาการการศึกษาปฐมวัยของโรงเรยีนขนาดเล็กสงูสุด คือ ด้านการนิเทศภายใน รองลงมาคือ ด้านหลักสูตรและการน าหลักสูตรไปใช้ ดา้นการจดัประสบการณก์ารเรียนรู้ ด้านสื่อการเรียนการสอน และงานที่มกีารบริหารงานวิชาการการศึกษาปฐมวยัของโรงเรียนขนาดเล็กต่ าสุดคอื ด้านการวัดและประเมินพัฒนาการ 1.1 ด้านหลักสตูรและการน าหลักสูตรไปใช้ มีปัญหาตามล าดบัดังนี้ 1) โรงเรียนมีการก ากับ ติดตามและประเมินผลการใชห้ลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยเพือ่น าไปปรับปรงุพัฒนา 2) โรงเรียนมีการจัดท าหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยและกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ และ 3) โรงเรียนมีการสนับสนุน ช่วยเหลือและนิเทศติดตามการบริหารหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยอย่างต่อเนือ่ง 1.2 ด้านการจัดประสบการณ์การเรยีนรู้ มีปัญหาตามล าดับดังนี้ 1) โรงเรียนสามารถจัดครูปฐมวัยที่มีวุฒิตรงสาขาเข้าสอนได้ 2) ครูน าผลการประเมินไปใช้ปรับปรุงพัฒนาเด็ก และ 3) รายงานผลการประเมนิเด็กให้ผู้ปกครองทราบ 1.3 ด้านสื่อการเรียนการสอน มีปัญหาตามล าดับดังนี้ 1) ครูมีการสร้าง และจัดหาสื่อ แหลง่เรียนรู้มาใชใ้นการจัดประสบการณ ์2) โรงเรยีนมีการประเมินผลการการใช้สื่อการเรียนการสอนจากการประเมินผลการจดัการเรยีนการสอน และ 3) ครูมีการพฒันานวัตกรรมในการจดัประสบการณ์ 1.4 ด้านการวัดและประเมินพัฒนาการ มีปัญหาตามล าดับดังนี้ 1) โรงเรียนมีการวางแผนและก าหนดระยะเวลาในการวัด และประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวยัครบทกุด้านตามสภาพ จริงโดยวิธกีารและเครื่องมืออย่างหลากหลาย 2) รายงานการวัดผลและประเมินผลแก่ผู้ปกครองและผู้ที่เกี่ยวข้อง และ 3) ครูปฐมวัยมีความรู้ความเข้าใจในการวัดและประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวยั 1.5 ด้านการนิเทศภายใน มีปัญหาตามล าดับดังนี้ 1) มีการประเมินผลการพัฒนางานตามสภาพจริง 2) การวางแผนและระยะเวลาในการนิเทศภายในสถานศึกษา และ 3) การนิเทศภายในโรงเรียนด าเนินการด้วยวิธกีารที่หลากหลาย 2. แนวทางการบริหารงานวิชาการการศึกษาปฐมวัยของโรงเรยีนขนาดเลก็ สังกัดส านกังานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต 3 ทั้ง 5 ด้าน คือ 2.1 ด้านหลักสูตรและการน าหลักสูตรไปใช้

  • 335

    2.1.1 โรงเรียนมีการก ากับ ตดิตามและประเมินผลการใช้หลกัสูตรสถานศึกษาปฐมวัยเพื่อน าไปปรับปรงุพัฒนา มีแนวทาง ดงันี ้ 1. ผู้บริหารสถานศึกษาประชมุครูเพื่อวางแผน ก ากับ ตดิตาม แต่งตั้งคณะกรรมการ 2. ผู้บริหารสถานศึกษาสนับสนุน ส่งเสริมใหค้รูเข้าร่วมรับการอบรม สัมมนาที่เขตพื้นที่การศึกษาจัดให ้ 3. คณะกรรมการก ากับติดตามหลักสูตร ประเมินผลการใช้หลกัสูตร 4. ผู้บริหารสถานศึกษาและครูน าผลการปรับปรุงหลกัสูตรไปใช้และปรับปรุง อย่างเป็นระบบ 2.1.2 โรงเรียนมีการจดัท าหลกัสูตรสถานศกึษาปฐมวัยและกระบวนการเรยีนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ มีแนวทาง ดังนี ้ 1. ผู้บริหารสถานศึกษา ครู และผู้ปกครอง ร่วมกันวางแผน การจดัท าหลักสูตรสถานศกึษาปฐมวัย โดยเนน้ผู้เรียนเป็นส าคัญ 2. ผู้บริหารสถานศึกษาส่งเสริมให้ครูเข้ารับการอบรมการจัดท าคู่มือการใช้หลักสูตร 3. คณะกรรมการนิเทศ ติดตาม การจดักระบวนการเรียนการสอน ที่เน้นผู้เรียนเปน็ส าคัญ 4. ผู้บริหารสถานศึกษาคัดเลือก ยกย่องเชิดชูเกียรติครูผู้สอนครูต้นแบบ เพื่อส่งเสริมขวญัและก าลังใจ 2.1.3 โรงเรียนมีการสนับสนุน ช่วยเหลือและนิเทศติดตามการบริหารหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยอย่างต่อเนื่อง มีแนวทาง ดังนี ้ 1. ผู้บริหารสถานศึกษาประชมุครูเพื่อส ารวจปัญหาและหาข้อมูล การบริหารหลักสูตร 2. ผู้บริหารสถานศึกษาแต่งตั้งคณะกรรมการด าเนินการช่วยเหลือ สนับสนุน การบริหารหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยอย่างต่อเนื่อง 3. ผู้บริหารสถานศึกษาประสานความร่วมมือกับกลุ่มเครือข่าย เพื่อด าเนินการสนับสนุนช่วยเหลือตอ่ไป 4. ผู้บริหารสถานศึกษาส่งเสริมสนับสนุนการบริหารหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยอย่างต่อเนือ่ง 2.2 ด้านการจัดประสบการณ์การเรยีนรู้ 2.2.1 โรงเรียนสามารถจัดครูปฐมวัยที่มีคุณวุฒิตรงสาขาเข้าสอนได้ มีแนวทาง ดังนี ้ 1. ผู้บริหารสถานศึกษาประสานกับชุมชนเพื่อของบประมาณในการจ้างครูทีม่ีวุฒิการศกึษาปฐมวัย 2. ผู้บริหารสถานศึกษาการจัดครูเข้าสอนระดบัปฐมวัย ควรจัดครูที่มีความรบัผิดชอบ มีจิตใจอ่อนโยน 3. ผู้บริหารสถานศึกษาจัดหลักสูตรระยะสั้น ในการอบรบให้ความรู้ ครูผูส้อนระดับปฐมวัย ตามสภาพความต้องการ 4. ผู้บริหารสถานศึกษาสร้างเครือข่ายการเรยีนรู้ร่วมกันของครูผู้สอนระดับปฐมวัย 2.2.2 ครูน าผลการประเมินไปใช้ปรับปรุงพัฒนาเด็ก มีแนวทาง ดังนี ้ 1. ครูผู้สอนระดับปฐมวัยสรุปผลการประเมินเด็กเป็นรายบุคคลและภาพรวม 2. ผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอนระดับปฐมวัยวิเคราะหป์ัญหาที่ไดจ้ากการประเมิน เพื่อหาแนวทางปรับปรุงเด็ก เป็นรายกรณีและสรุปเป็นห้องเรียน

  • 336

    3. ผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอนระดับปฐมวัยหาแนวทางในการแก้ปญัหา เพื่อพัฒนาเด็กต่อไป 4. ครูผู้สอนระดับปฐมวัยรายงานผลการแก้ปญัหาท าเอกสารประชาสัมพันธ์ผู้ปกครอง ประชุมจัดนิทรรศการรายงานผลพัฒนาการ 2.2.3 รายงานผลการประเมินเด็กให้ผู้ปกครองทราบ มีแนวทาง ดังนี ้ 1. สถานศึกษาจัดประชุมผู้ปกครอง เพื่อชี้แจงประสบการณ์การเรียนรู้แก่ผูป้กครอง และให้ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการจัดประสบการณ์การเรยีนรู้และรายงานผลการประเมินเด็กให้ผู้ปกครองทราบ 2. จัดท าเอกสารแผ่นพับ ประชาสัมพันธ์ผู้ปกครอง 3. จัดนิทรรศการผลงานเดก็ใหแ้ก่โรงเรียนและผู้ปกครองทราบ 4. รายงานผลการประเมินเปน็เอกสารหรือสมุดรายงานให้ผูป้กครองทราบ 2.3 ด้านสื่อการเรียนการสอน 2.3.1 ครูมีการสร้างและจัดหาสื่อแหล่งเรียนรู้มาใช้ในการจดัประสบการณ์ มีแนวทาง ดงันี ้ 1. โรงเรียนส่งเสริมให้ครูมีความรู้ จัดอบรมพัฒนาครูปฐมวัย ในการสร้างสื่อและใช้อย่างต่อเนื่องและเน้นการใช้ประโยชน์ได้จรงิ 2. ครูผู้สอนระดับปฐมวัยจดัท าข้อมูลทะเบียนแหล่งเรียนรู้ทีจ่ะน าไปจัดประสบการณ์ให้แก่เดก็ทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรยีน 3. โรงเรียนส่งเสริมให้ครูปฐมวยัศึกษาดงูาน 4. ผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอนระดับปฐมวัยร่วมกันสร้างศูนย์สื่อการเรียนรู้โรงเรียนขนาดเล็ก 2.3.2 โรงเรียนมีการประเมินผลการใช้สื่อการเรียนการสอนจากการประเมินผลการจัดการเรียนการสอน มีแนวทาง ดังนี ้ 1. ครูผู้สอนระดับปฐมวัยจัดท าส่ือการเรียนการสอน 2. ครูผู้สอนระดับปฐมวัยน าสือ่ไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน 3. ผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอนระดับปฐมวัยศึกษาผลการใช้สื่อการเรยีนการสอน 4. ผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอนระดับปฐมวัยประเมินผลการใช้สื่อการเรียนการสอน 2.3.3 ครูมีการพัฒนานวัตกรรมในการจัดประสบการณ์ มีแนวทาง ดังนี้ 1. ผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอนระดับปฐมวัยศึกษาปัญหาของเดก็ หรอืเข้ารับการอบรม ประชุม สัมมนา เกี่ยวกับนวัตกรรมในการจดัประสบการณ์ 2. ครูผู้สอนระดับปฐมวัยสร้างนวัตกรรมในการจัดประสบการณ์ 3. ครูผู้สอนระดับปฐมวัยน านวัตกรรมไปใช้ในการจดัประสบการณ์ 4. ผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอนระดับปฐมวัย เผยแพร่นวัตกรรมและรายงานผล 2.4 ด้านการวัดและประเมินพัฒนาการ 2.4.1 โรงเรียนมีการวางแผนและก าหนดระยะเวลาในการวัด และประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัยครบทุกด้านตามสภาพ จริงโดยวิธกีารและเครื่องมืออยา่งหลากหลาย มีแนวทาง ดงันี้ 1. โรงเรียนมีการวางแผนและก าหนดระยะเวลาในการวัดและประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวยัครบทุกด้านตามสภาพจริง โดยวิธีการและเครื่องมอือย่างหลากหลาย 2. โรงเรียนจัดหาคู่มือหรือเอกสารเกี่ยวกับการวัดแประเมินพัฒนาการ 3. ผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอนระดับปฐมวัยจัดท าเครือ่งมือให้สอดคลอ้งกับการประเมินแต่ละด้าน

  • 337

    4. โรงเรียนสนบัสนุนให้ครูมีความรู้ และส่งอบรมใหใ้ช้เครือ่งมือและสรุปผลการใช้อย่างถูกตอ้งและสรุปผลรายงาน 2.4.2 รายงานการวัดผลและประเมินผลแก่ผู้ปกครองและผู้ที่เกี่ยวข้อง มีแนวทาง ดังนี้ 1. ผู้บริหารสถานศึกษาจัดประชุมผู้ปกครองเพื่อรายงานผลการวัดและประเมินผลเด็กเป็นรายข้อและเยี่ยมชมห้องเรียน 2. ผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอนระดับปฐมวัยจัดท าเอกสารการวัดผลและประเมินผล 3. ผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอนระดับปฐมวัยตรวจสอบรายงานการวัดผลและประเมินผล 4. ผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอนระดับปฐมวัยพัฒนารายงานการวัดผลและประเมินผลอย่างตอ่เนื่อง 2.4.3 ครูปฐมวัยมีความรู้ความเข้าใจในการวดัและประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย มีแนวทาง ดังนี ้ 1. ผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอนระดับปฐมวัยจัดอบรมประชุมเชิงปฏิบตัิการวัดผลและประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย 2. ผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอนระดับปฐมวัยด าเนินการวัดผลและประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัยอย่างต่อเนื่อง 3. ผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอนระดับปฐมวัยสร้างเครือข่ายในการวัดและประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย 4. ผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอนระดับปฐมวัยศึกษาดูงานโรงเรียนต้นแบบเพื่อน าความรู้ไปสู่การพัฒนาต่อไป 2.5 ด้านการนิเทศภายใน 2.5.1 มีการประเมินผลการพฒันางานตามสภาพจริง มีแนวทาง ดังนี้ 1. ผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอนระดับปฐมวัยวางแผนการประเมินผลการพัฒนางานนิเทศภายใน 2. ผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอนระดับปฐมวัยก าหนดปฏิทินการปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบ 3. ผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอนระดับปฐมวัยมีเครื่องมือ สื่อ เพื่อใช้ในการนิเทศอย่างเพียงพอ 4. ผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอนระดับปฐมวัยสรุปผลการนิเทศ เพื่อน าผลไปปรับปรุงกระบวนการท างานต่อไป 2.5.2 การวางแผนและระยะเวลาในการนเิทศภายในสถานศึกษา มีแนวทาง ดังนี ้ 1. ผู้บริหารสถานศึกษา ครูปฐมวัย ผู้ปกครอง ครูวิชาการ มีส่วนร่วมในการวางแผนและด าเนินการนิเทศภายใน 2. ผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอนระดับปฐมวัยจัดเครือขา่ยการนเิทศภายในกลุ่มโรงเรียนขนาดเล็ก 3. ผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอนระดับปฐมวัยจัดท าเครือ่งมือการนิเทศภายใน 4. ผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอนระดับปฐมวัยพัฒนาระบบการนิเทศภายในอย่างต่อเนือ่ง 2.5.3 การนิเทศภายในโรงเรียนด าเนินการด้วยวิธีการที่หลากหลาย มีแนวทาง ดังนี ้ 1. ผู้บริหารสถานศึกษาวางแผน ศึกษาการด าเนินการนเิทศภายในด้วยวิธีหลากหลาย 2. ผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอนระดับปฐมวัยจัดท าปฏทิินการนิเทศใหค้รอบคลุม 3. ผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอนระดับปฐมวัยด าเนินการนิเทศให้ถูกต้องตามขั้นตอน 4. ผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอนระดับปฐมวัยสรุปผลและรายงานผลการนิเทศภายใน

  • 338

    อภิปรายผล จากผลการวิจัย ผู้วิจัยขอน าประเด็นที่น่าสนใจมาอภิปรายเพิ่มเติม ดังนี้ 1. จากการศึกษาปัญหาการบริหารงานวิชาการการศึกษาปฐมวัยของโรงเรยีนขนาดเล็กสงักดัส านักงานเ

    เขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึษานครสวรรค์ เขต 3 ปัญหาในขั้นตอนการปฏบิัติงานสูงสุดของงานวิชาการการศึกษาปฐมวัยของโรงเรียนขนาดเล็ก ทั้ง 5 ด้าน สามารถอภิปรายผล ได้ดังนี้

    1.1 ด้านหลักสูตรและการน าหลักสูตรไปใช้ คือ โรงเรียนมกีารก ากับ ติดตามและประเมินผลการใช้ หลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยเพือ่น าไปปรับปรงุพัฒนา พบว่า มีปัญหาอยู่ในระดับมาก ทัง้นี้อาจเป็นเพราะ ขาดการประชุมครูเพื่อวางแผน ก ากับ ติดตาม แต่งตัง้คณะกรรมการ ขาดการส่งเสริมให้ครูเข้ารว่มรับการอบรม สัมมนา ที่ส านักงานเขตพื้นทีก่ารศึกษาจัดให ้ผู้บริหารสถานศึกษาและครูไม่น าผลการปรับปรุงหลักสูตรไปใช้และปรับปรงุอย่างเป็นระบบ สอดคล้องกับงานวิจัยของ สุภา เศวตวนัส (2557) ที่พบว่า ครูไม่มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับงานด้านหลักสูตร หรือหลังจากสรุปผลการใช้หลักสูตรแล้วไม่ได้น าผลการสรุปที่ได้มาวิเคราะห์ปัญหาต่อ เพื่อจะน าไปสู่การวางแผนการสอนในปีถัดไป

    1.2 ด้านการจัดประสบการณ์การเรยีนรู้ คือ โรงเรียนสามารถจดัครูปฐมวัยที่มคีุณวุฒิตรงสาขาเข้า สอนได้ พบว่า มีปัญหาอยู่ในระดับปานกลาง ทั้งนี้อาจเป็นเพราะ โรงเรียนขาดครูที่มีวุฒิการศึกษาปฐมวัย การพัฒนาครูปฐมวยัไม่ต่อเนื่อง โรงเรยีนขาดงบประมาณในการสนับสนุนเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมการเรียน การสอน ครูมีภาระงานอื่นมากส่งผลให้ไม่สามารถจดักิจกรรมได้ครบตามตารางกิจกรรมประจ าวัน ขาดการท าวิจัยในชั้นเรยีนเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ สอดคล้องกบังานวิจัยของ เดชะ ธีระตระกูล (2548) ที่พบว่า ปัญหาด้านการจัดการเรียนการสอน คือ ครูยงัมีไม่เพียงพอตอ่ชั้นเรียน และมีภาระงานอื่นอกีหลายด้าน สอดคล้องกับงานวิจัยของ สมยศ กาญจนะ (2557) ทีพ่บว่า ครูผู้สอนได้รับมอบหมายให้ท างานอื่นมาก ท าให้ไม่มีเวลาในการท าวจิัยในชั้นเรียน ครูไม่ให้ความส าคัญของการท าวิจัยในชัน้เรียน ครูไม่ไดน้ าผลการวิจัยไปพัฒนาจัดการเรียนการสอน

    1.3 ด้านสื่อการเรียนการสอน คือ ครูมีการสร้างและจัดหาสื่อแหล่งเรียนรู้มาใช้ในการจัด ประสบการณ์ พบว่า มีปัญหาอยู่ในระดับปานกลาง ทัง้นี้อาจเป็นเพราะ ผู้บรหิารไม่มีการส่งเสริมให้ครูมีความรู้ ในการสร้างสื่อและใช้อย่างต่อเนื่องและเน้นการใช้ประโยชน์ได้จรงิ ไม่มีการจดัท าข้อมูลทะเบียนแหล่งเรียนรู้ที่จะน าไปจัดประสบการณใ์ห้แกเ่ด็กทั้งในห้องเรยีนและนอกห้องเรยีน สอดคล้องกับงานวิจัยของ แอน สุขะจิระ (2558) ที่พบว่า ครูปฐมวัยจัดหาสื่อ อุปกรณ์และแหล่งการเรียนรู้ในการจัดประสบการณ์ไม่สอดคล้อง กับความสนใจ และวัยของเดก็ปฐมวัย รองลงมา ผู้บริหารขาดการส ารวจความต้องการใช้สื่อการเรียนการสอน และครูปฐมวัยผลิตสื่อไม่เพียงพอกับความต้องการของเด็กปฐมวยั

    1.4 ด้านการวัดและประเมินพัฒนาการ คือ โรงเรยีนมีการวางแผนและก าหนดระยะเวลาในการวัด และประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัยครบทกุด้านตามสภาพ จริงโดยวิธีการและเครื่องมืออย่างหลากหลาย พบว่า มีปัญหาอยูใ่นระดับปานกลาง ทั้งนี้อาจเป็นเพราะ โรงเรียนไมม่ีการวางแผนและก าหนดระยะเวลาในการวัดและประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัยครบทุกด้านตามสภาพจริง โดยวิธีการและเครื่องมอือย่างหลากหลาย ไม่มีการจัดหาคู่มือหรือเอกสารเกี่ยวกับการวดัแประเมินพัฒนาการ ขาดการจัดท าเครื่องมือให้สอดคล้องกบัการประเมินแต่ละด้าน สอดคล้องกับงานวิจัยของ ธญัญาภรณ์ นุชเฉย (2551) ที่พบว่า ครูไม่น าผลการวัดประเมินพัฒนาการมาใช้ปรับปรุงการจดัประสบการณ์ ครูขาดเครื่องมือและวิธีการในการวดัและประเมินผลพัฒนาการ ครูไมต่ระหนักถึงความส าคัญของการวัดและประเมินผลพัฒนาการ

    1.5 ด้านการนิเทศภายใน คือ มีการประเมินผลการพัฒนางานตามสภาพจริง พบว่า มีปัญหาอยู่ใน ระดับมาก ทั้งนี้อาจเป็นเพราะ โรงเรียนขาดวางแผนการประเมินผลการพัฒนางานนิเทศภายใน การก าหนดปฏิทินการปฏิบัตงิานอย่างเป็นระบบ ขาดเครื่องมือ ส่ือ เพื่อใช้ในการนิเทศอย่างเพียงพอ ขาดการสรุปผลการนิเทศ เพื่อน าผลไปปรับปรุงกระบวนการท างานตอ่ไป สอดคล้องกับงานวิจัยของ ณิชกานต์ ทองม้วนวง (2553) ทีพ่บว่า การกระตุ้นให้ครูผู้สอนมีความกระตือรือร้นในการปฏิบัติงาน และเกิดความเชือ่มัน่ในตนเอง การปฏิบัติการนิเทศ

  • 339

    การศึกษาปฐมวยัตามแผนโครงการที่ก าหนดไว้ การใช้เครื่องมอืนิเทศติดตาม ควบคุม ก ากับได้ตรงตามทีก่ าหนดและสอดคล้องกับการจัดประชุมชี้แจงครูผู้สอนให้เข้าใจบทบาทหน้าที่ และรายละเอียดของโครงการนิเทศ ของผู้ท าการนิเทศการศึกษาปฐมวัยเพือ่ให้เข้าใจตรงกัน

    2. จากแนวทางการบริหารงานวิชาการการศกึษาปฐมวัยของโรงเรียนขนาดเล็กสังกัดส านักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต 3 ทั้ง 5 ด้าน มีรายละเอียด ดงันี้

    2.1 แนวทางการบริหารงานวิชาการของโรงเรยีนด้านหลักสูตรและการน าหลกัสูตรไปใช้ โรงเรียนควร มีการก ากับ ติดตามและประเมินผลการใช้หลกัสูตรสถานศึกษาปฐมวัยเพื่อน าไปปรับปรงุพัฒนา มีการประชุมครูเพื่อวางแผน ก ากับ ติดตาม แต่งตั้งคณะกรรมการ ส่งเสริมให้ครูเข้าร่วมรับการอบรม สัมมนา ที่ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาจัดให ้ผู้บริหารสถานศึกษาและครูควรน าผลการปรับปรุงหลกัสูตรไปใช้ และปรับปรุงอย่างเป็นระบบ สอดคล้องกับงานวิจัยของ สิทธินนท์ ห้อยพรมราช (2557) ที่พบว่า จดัประชุมเชิงปฏิบัติการ ร่วมกันน าเสนอหรือร่วมกันวิเคราะห์ ประเมินผลการใช้หลกัสูตร สอดคล้องกับงานวิจัยของ ณัชชา ศรีวิชัยรตัน์ (2549) ที่พบว่า การประเมินผลหลักสูตรเพื่อน ามาปรับปรงุพัฒนาการวัดประสบการณ์ การเรียนรู้ของครู การวิจัยเพื่อพัฒนาเกี่ยวกับการน าหลกัสูตรไปใช้ การมีส่วนร่วม ผู้ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาในการพฒันาหลักสูตรให้เหมาะสมกับแต่ละท้องถิ่น และการประชาสัมพันธ์หลักสูตรให้ผูท้ี่ีีเกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาปฐมวัยไดร้ับทราบ

    2.2 แนวทางการบริหารงานวิชาการของโรงเรยีนด้านการจัดประสบการณก์ารเรียนรู้ โรงเรยีนควร จัดครูปฐมวยัทีม่ีคุณวุฒิตรงสาขาเข้าสอน มีการพัฒนาครูปฐมวัยอย่างต่อเนื่อง โรงเรยีนจัดสรรงบประมาณในการสนับสนุนเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมการเรยีนการสอน ผู้บริหารมอบหมายภาระงานครูให้น้อยลงเพื่อที่ครูจะสามารถจัดกิจกรรมได้ครบตามตารางกิจกรรมประจ าวนั ครูได้มีการท าวิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ สอดคล้องกับงานวิจัยของ บุญเชิด ช านิศาสตร์ (2556) ที่พบว่า ควรมกีารตรวจสอบและประเมินผลการเรียนให้คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครองและชุมชนมีส่วนร่วมในการพัฒนา กระบวนการเรียนรู้ การนิเทศ ติดตามผลการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนอย่างสม่ าเสมอ มีการพัฒนาบุคลากรด้านการเรียนการสอนให้รู้จักเทคนิคและวิธีการสอนอย่าง หลากหลาย ส่งเสริมให้ครูจัดท าแผนการจดัประสบการณ์โดยเน้นผู้เรยีนเป็นส าคัญ และการก าหนดเป้าหมายวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคลก่อนวางแผนการจัดการเรียนการสอน

    2.3 แนวทางการบริหารงานวิชาการของโรงเรยีนด้านสื่อการเรียนการสอน ครูควรมกีารสร้างและ จัดหาสื่อแหล่งเรียนรู้มาใช้ในการจัดประสบการณ์ ผู้บริหารสง่เสริมให้ครูมีความรู้ ในการสร้างสื่อและใช้อย่างต่อเนื่องและเน้นการใช้ประโยชน์ได้จรงิ มีการจัดท าข้อมูลทะเบียนแหล่งเรียนรู้ที่จะน าไปจดัประสบการณใ์หแ้ก่เด็กทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรยีน สอดคล้องกับงานวิจัยของ นพรัตน์ สังข์ทอง ธนีนาฎ ณ สุนทร และกาญจนา ภัทราวิวัฒน์ (2554) การมีส่วนร่วม ในการจดัหาสื่อเพื่อพัฒนาการของเด็กทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ ด้านร่างกาย อารมณ์-จิตใจ สงัคม สติปัญญา ทัง้นี้เป็นเพราะเดก็ปฐมวัยเป็นวัยของการสร้างเสริมพฒันาการเด็กตอ้งการประสบการณ์การเรียนรู้ การฝึกหดั การค้นคว้าและทดลอง อุปกรณ์การเรียน ของเล่น และประสบการณ์ที่จัดให้แก่เด็กจะมี ความหมายต่อเด็กมาก ความแปลกของสี ลักษณะ ขนาด รูปรา่งประเภทของอุปกรณ์ต่างๆ ที่เดก็ สัมผัสเป็นสิ่งสร้างเสริมการเรียนรูแ้ละพัฒนาการให้แก่เด็กทั้งสิ้น ส่ือการเรียนรู้เป็นเครื่องมอืส าหรับช่วยสร้างเสริมการเรียนรู้ให้กับเดก็ รวมถงึช่วยให้การเรยีนรูข้องเดก็ขยายขอบเขตกว้างขวางมากขึ้น ในการจดัการเรยีนการสอนส าหรับเดก็ปฐมวัยสื่อการเรียนการสอนนับว่าเป็นสิ่งส าคัญที่เป็นตัวเร้าให้เด็กเกิดความสนใจในกระบวนการเรียนการสอน มีหน้าที่เป็นตัวน าความต้องการของครูไปสู่ นักเรยีนอย่างถกูต้องและรวดเร็วเป็นผลใหเ้ด็กเปลี่ยนแปลงพฤตกิรรมไปตามจุดมุ่งหมายของการสอนไดอ้ย่างถูกต้อง ทั้งนี้เพราะสื่อจะช่วยให้เด็กไดร้ับประสบการณ์ตรงโดยผ่านประสาทสัมผัส ทั้งห้า และยังชว่ยใหเ้กิดความสนุกสนานเพลิดเพลิน เปิดโอกาสให้เดก็ได้ฝึกความคิดสร้างสรรค์ตามจินตนาการ ของตน

  • 340

    2.4 แนวทางการบริหารงานวิชาการของโรงเรยีนด้านการวัดและประเมินพัฒนาการ โรงเรียนควรมี การวางแผนและก าหนดระยะเวลาในการวัด และประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัยครบทกุด้านตามสภาพ จริงโดยวิธีการและเครื่องมืออย่างหลากหลาย ควรมีการวางแผนและก าหนดระยะเวลาในการวัดและประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัยครบทุกด้านตามสภาพจริง โดยวิธกีารและเครื่องมืออย่างหลากหลาย มีการจัดหาคูม่ือหรือเอกสารเกี่ยวกับการวดัแประเมินพัฒนาการ จดัท าเครื่องมือให้สอดคล้องกับการประเมินแต่ละด้าน สอดคล้องกับงานวิจยัของ ธัญญาภรณ์ นุชเฉย (2551) คือ การจัดหาคู่มอืหรือเอกสารเกี่ยวกับการวัดและประเมินพัฒนาการ ส่งเสริมให้ครูผู้สอนระดับปฐมวัย สามารถใช้วธิีการวัดและประเมินพัฒนาการเด็กไดถู้กต้องและเหมาะสม จัดท าแหล่งข้อมูลในการศึกษา ค้นคว้า ด้านวัดและประเมินด้านพัฒนาการของส านักงานเขตพื้นที่ สร้างเครือข่ายด้านการวัดและประเมินพัฒนาการระดับกลุ่มโรงเรียน ก ากับ ติดตาม การน าผลการวัดและประเมินไปปรับปรุงการจัดประสบการณ์

    2.5 แนวทางการบริหารงานวิชาการของโรงเรยีนด้านการนิเทศภายใน ควรมีการประเมินผลการ พัฒนางานตามสภาพจริง มกีารวางแผนการประเมินผลการพัฒนางานนิเทศภายใน การก าหนดปฏิทินการปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบ มีเครื่องมือ สื่อ เพือ่ใช้ในการนเิทศอย่างเพยีงพอ มีการสรุปผลการนิเทศ เพื่อน าผลไปปรับปรงุกระบวนการท างานต่อไป สอดคล้องกบังานวิจัยของ นพรัตน์ สังข์ทอง (2553) ที่พบว่า การนเิทศการศึกษามีความจา เป็นต่อการพัฒนาคุณภาพการศกึษา มาก เพราะการนิเทศการศกึษาเปน็องค์ประกอบที่ส าคัญที่จะช่วยเหลือสนับสนุนให้ กระบวนการ เรียนการสอนให้มีคณุภาพและบรรลุเป้าหมาย เนื่องจากครูผู้สอนทีเ่ข้ามาท าการสอนอยูใ่นโรงเรียน แต่ละแห่งจะมีความแตกต่างกันทั้งในด้านความรู้ความสามารถในการปฏิบัติงาน เจตคติที่มีต่อ วิชาชีพ บุคลิกภาพ ความต้องการ ความรับผิดชอบ ความถนัด ความเข้าใจ ฯลฯ การนิเทศในระดับปฐมวยัมีส่วนช่วยให้ครูปฐมวัยได้เข้ามามีส่วนร่วมในการช่วยเหลือแนะน าเพื่อนครูให้มกีาร ปรับปรุงการจัดกิจกรรม การจัดท าสื่อการเรยีนการสอนให้เหมาะสมกับเด็ก โดยอาศัยความร่วมมือ จากเพื่อนครูและบุคคลที่เกี่ยวข้องกบัการศึกษาทกุฝ่าย และเมื่อครูมีการพัฒนาเป็นอย่างดี เด็กก็ไดรับความเจริญงอกงามทางพัฒนาการเต็มศักยภาพ การนิเทศจึงมีบทบาทส าคัญในการพัฒนางานบริหารและวิชาการให้ด าเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพทัง้ครูปฐมวัยและเด็ก

    ข้อเสนอแนะ จากการศึกษาปัญหาการบริหารงานวิชาการการศึกษาปฐมวัยของโรงเรียนขนาดเล็กสังกัดส านักงาน

    เขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึษานครสวรรค์ เขต 3 ได้ข้อเสนอแนะในการวิจัย ดังนี้ 1. ข้อเสนอแนะทั่วไป จากผลการศึกษาปัญหาการบริหารงานวิชาการการศึกษาปฐมวัยของโรงเรยีนขนาดเล็กสงักดัส านักงานเขตพืน้ที่การศึกษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต 3 ผู้วิจัยมีความคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม ดังนี้ 1. ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาควรจัดอบรมบุคลากร เรื่องงานวิชาการระดับปฐมวัยของโรงเรียนขนาดเล็กในสังกัด 2. ผู้บริหารสถานศึกษา ควรสนับสนุนส่งเสริมให้ครูและบุคลากรทางด้านปฐมวัยในโรงเรียนได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง 3. หน่วยงานที่เกี่ยวข้องมีการนิเทศติดตามประสิทธิภาพในการจัดการศึกษาระดับปฐมวัยอย่างต่อเนื่อง

    2. ข้อเสนอแนะในการวิจัยครัง้ต่อไป 1. ควรท าการวิจัยเกี่ยวกับแนวทางการใช้หลักสูตรระดับปฐมวัยของโรงเรียน สังกัดส านักงานเขตพื้นที่

    การศึกษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต 3 2. ควรมีการจัดท าวิจัยเรื่องการบริหารงานวิชาการระดับปฐมวัยของโรงเรียนขนาดเล็ก

    ในด้านการสร้างและจัดหาสื่อแหล่งเรียนรู้มาใช้ในการจัดปร�