รายงานสรุปสําหรับผู...

37
การสงเสริมและสาธิตการผลิตพลังงานจากขยะ (การติดตามประเมินผลระบบผลิตกาซชีวภาพจากขยะอินทรีย ) บริษัท เอสทีเอฟอี จํากัด ที่ปรึกษา รายงานสรุปสําหรับผูบริหาร มิถุนายน 2551

Upload: others

Post on 12-Mar-2020

2 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: รายงานสรุปสําหรับผู บริหารwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files...บทท 5 สร ปผลการด าเน นงานและข

การสงเสริมและสาธิตการผลิตพลังงานจากขยะ(การติดตามประเมินผลระบบผลติกาซชีวภาพจากขยะอินทรีย)

บริษัท เอสทเีอฟอี จํากดั

ที่ปรึกษา

รายงานสรุปสําหรับผูบริหาร

มิถุนายน 2551

Page 2: รายงานสรุปสําหรับผู บริหารwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files...บทท 5 สร ปผลการด าเน นงานและข

กิตติกรรมประกาศ

กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน (พพ.) กระทรวงพลังงาน ไดวาจางให บริษัท เอสทีเอฟอี จํากัด เปนที่ปรึกษาเพื่อดําเนินการสงเสริมและสาธิตการผลิตพลังงานจากขยะ (การติดตามประเมินผลระบบผลิตกาซชีวภาพจากขยะอินทรีย) โดยทําการแกไขปรับปรุงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพถังหมักกาซชีวภาพจากขยะอินทรียที่ติดตั้งไปแลว 100 แหงในปงบประมาณ 2549 พรอมติดตามผลและจัดประกวดการใชงานถังหมักฯ ดีเดน รวมทั้งขยายผลโดยคัดเลือกสถานที่เหมาะสมสําหรับติดตั้งถังหมักอีก 200 แหงในปงบประมาณ 2550 พรอมเริ่มเดินระบบ สาธิตและอบรมวิธีการใชงาน ตลอดจนเก็บขอมูล ติดตามผลการเดินระบบถังหมัก ซึ่งการดําเนินงานในครั้งนี้ไดสําเร็จลุลวงดวยดีตามวัตถุประสงค ดวยความรวมมืออยางดียิ่งจากทุกฝาย

ในการนี้ พพ. ใครขอขอบคุณองคกรปกครองสวนทองถิ่น สถานศึกษา หนวยงาน กองพลังงานทดแทน กรมการพลังงานทหาร และหนวยงานในสังกัดกระทรวงกลาโหมที่สนับสนุนการติดตั้งถังหมักกาซชีวภาพฯ และใหความรวมมือเปนอยางดียิ่งในการเดินระบบและติดตามผลการดําเนินงาน ซึ่ง พพ. ขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี้

Page 3: รายงานสรุปสําหรับผู บริหารwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files...บทท 5 สร ปผลการด าเน นงานและข

i

การสงเสริมและสาธิตการผลิตพลงังานจากขยะ (การติดตามประเมินผลระบบผลิตกาซชีวภาพจากขยะอินทรยี)

รายงานสรุปสําหรบัผูบรหิาร

สารบัญ

หนา บทที่ 1 บทนํา 1-1

1.1 คํานํา 1-1 1.2 วัตถุประสงคของการศึกษา 1-1

1.3 ขอบเขตการดําเนนิงาน 1-2 บทที่ 2 ผลการติดตามประเมินผลและปรับปรงุเพิ่มประสิทธภิาพถังหมักกาซชีวภาพฯ 2-1 ที่ติดต้ังในปงบประมาณ 2549 1.2 ผลการสํารวจปญหาและอุปสรรคการใชงานถังหมกักาซชีวภาพฯ 2-1 2.2 การแกไขปรับปรุงถังหมักกาซชีวภาพฯ 2-3 2.3 การแกไขปญหาอุปสรรคการใชงานถังหมกักาซชวีภาพฯ ในเชงิจัดการ 2-6 2.4 การตดิตามผลการใชงานถงัหมกัฯ ภายหลังการแกไขปรับปรุงเพื่อเพิม่ประสิทธิภาพ 2-9 2.5 ประสิทธิภาพของถังหมักกาซชีวภาพฯ 2-10 2.6 การประกวดใชงานถงัหมักกาซชวีภาพฯ 2-13 บทที่ 3 การขยายผลการใชงานถงัหมักกาซชีวภาพฯ 200 แหง ในภมูิภาคตางๆ ทั่วประเทศ 3-1 3.1 การออกแบบ จัดทําขอกาํหนดทางดานเทคนิคและเอกสารประกวดราคา 3-1 3.2 การคัดเลือกสถานที่เหมาะสมสําหรับติดตัง้ถังหมกักาซชวีภาพฯ 3-4 3-3 การดําเนินการสํารวจสถานที่ต้ังถงัหมกักาซชีวภาพฯ 3-5 3.4 การเริ่มเดินระบบ และสาธิต อบรมวิธกีารใชงานถงัหมักกาซชวีภาพฯ 3-5 3.5 การติดตามผลการใชงานถงัหมกักาซชีวภาพฯ 3-7 บทที่ 4 การวิเคราะหความเหมาะสมทางดานเศรษฐศาสตร 4-1 4.1 สมมติฐาน 4-1 4.2 ผลการวิเคราะห 4-2

Page 4: รายงานสรุปสําหรับผู บริหารwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files...บทท 5 สร ปผลการด าเน นงานและข

ii

สารบัญ (ตอ)

หนา บทที่ 5 สรุปผลการดาํเนินงานและขอเสนอแนะ 5-1 5.1 สรุปผลการติดตามประเมินผลและปรับปรุงเพิ่มประสทิธิภาพถงัหมักกาซชวีภาพฯ 5-1 ที่ติดตั้งในปงบประมาณ 2549 5.2 สรุปผลการขยายผลการใชงานถงัหมกักาซชีวภาพฯ 200 แหง ในภูมิภาคตางๆ ทัว่ประเทศ 5-3 5.3 สรุปผลการวิเคราะหความเหมาะสมทางดานเศรษฐศาสตรของโครงการ 5-4 5.4 ขอเสนอแนะ 5-5

Page 5: รายงานสรุปสําหรับผู บริหารwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files...บทท 5 สร ปผลการด าเน นงานและข

iii

สารบัญตาราง หนา ตารางที่ 2.5-1 ปริมาณกาซชวีภาพที่ผลิตไดจากถงัหมักกาซชวีภาพในรอบ 24 ชั่วโมง 2-11 ตารางที่ 2.5-2 องคประกอบกาซชวีภาพทีผ่ลิตจากถงัหมักกาซชีวภาพจากขยะอินทรีย 2-11 ตารางที่ 2.5-3 ผลการวิเคราะหคุณสมบัติกากตะกอนเหลวที่ไดถังหมกักาซชีวภาพจากขยะอินทรีย 2-12 ตารางที่ 2.5-4 ผลการวิเคราะหคุณสมบัติกากตะกอนแหงของถงัหมักกาซชีวภาพจากขยะอินทรีย 2-12 ตารางที่ 2.5-5 ประสิทธิภาพในการกาํจัดมลสารของถังหมักกาซชีวภาพจากขยะอินทรยี 2-13 ตารางที่ 2.6-1 ผลการประกวดและมอบรางวัลใหกับสถานศึกษา/หนวยงาน 2-14 ที่มีการใชงานถังหมักดีเดน ตารางที่ 3.2-1 สรุปผลการคัดเลือกหนวยงานที่เหมาะสมสําหรับติดตั้งถังหมักกาซชวีภาพฯ 3-5

Page 6: รายงานสรุปสําหรับผู บริหารwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files...บทท 5 สร ปผลการด าเน นงานและข

iv

สารบัญรูป หนา รูปที่ 2.2-1 แผนผังแสดงลักษณะถงัหมกักาซชวีภาพฯ ทีท่ําการแกไขปรับปรุง 2-4 รูปที่ 2.2-2 ลักษณะถังหมกักาซชีวภาพจากขยะอินทรีย กอนและหลังการแกไขปรับปรุง 2-5 รูปที่ 2.2-3 ตัวอยางการดําเนินการแกไขปรับปรุงถังหมักกาซชีวภาพฯ ที่ติดตั้งในสถานที่ตางๆ 2-5 รูปที่ 2.3-1 การประชุมเพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณในการใชถังหมกักาซชีวภาพจากขยะอินทรีย 2-7 รูปที่ 3.1-1 รูปดาน 1 ของถังหมักกาซชีวภาพจากขยะอินทรียสําเร็จรูปขนาดเล็กที่ทําการออกแบบ 3-2 เพื่อใชในการวาจางผลิตพรอมติดตั้งดวยวิธีการทางอิเลคทรอนิกส รูปที่ 3.1-2 รูปดาน 2 ของถังหมักกาซชีวภาพจากขยะอินทรียสําเร็จรูปขนาดเล็กที่ทําการออกแบบ 3-3 เพื่อใชในการวาจางผลิตพรอมติดตั้งดวยวิธีการทางอิเลคทรอนิกส รูปที่ 3.1-3 ลักษณะของถังหมักกาซชีวภาพฯ ที่ผลิตและติดตั้งโดยผูที่รับวาจางจาก พพ. 3-4 รูปที่ 3.2-1 ข้ันตอนการคัดเลือกสถานที่เหมาะสมสําหรับติดตั้งถังหมักกาซชีวภาพฯ 200 แหง 3.4 รูปที่ 3.4-1 ตัวอยางภาพการดําเนินงานเริ่มเดินระบบ และสาธิต อบรมวิธีการใชงานถังหมักกาซชีวภาพ 3-6

Page 7: รายงานสรุปสําหรับผู บริหารwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files...บทท 5 สร ปผลการด าเน นงานและข

การสงเสริมและสาธิตการผลิตพลังงานจากขยะ บทที่ 1 (การติดตามประเมินผลระบบผลิตกาซชีวภาพจากขยะอินทรีย) บทนํา

รายงานสรุปสําหรับผูบริหาร

กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน กระทรวงพลังงาน 1 - 1

บทที่ 1 บทนํา

1.1 คํานํา ยุทธศาสตรพลังงานทดแทนกําหนดเปาหมายใหมีการสงเสริมการผลิตพลังงานไฟฟาจากขยะ 100 เมกะวัตต ในป 2554 รวมทั้งการนําขยะมาผลิตพลังงานในรูปความรอน ในขณะที่ขยะชุมชนที่เกิดขึ้นทั่วประเทศปจจุบันมีมากกวา 40,000 ตันตอวัน แตการดําเนินการจัดเก็บและกําจัดยังประสบปญหา โดยขยะอินทรียที่เนาเสียงายซึ่งเปนองคประกอบของขยะชุมชนประมาณรอยละ 50 เปนสาเหตุสําคัญที่กอใหเกิดปญหาสิ่งแวดลอม เชน ปญหากลิ่นเหม็น การปนเปอนของน้ําชะขยะมูลฝอย การแพรกระจายของเชื้อโรค และการปลดปลอยกาซมีเทนซึ่งเปนสาเหตุหนึ่งของปญหาโลกรอน อยางไรก็ตาม หากครัวเรือนและชุมชนมีการคัดแยกขยะอินทรียมากําจัดในถังหมักแบบปดที่ใชเทคโนโลยีการยอยสลายแบบไมใชออกซิเจน (Anaerobic Digestion) ก็จะสามารถบําบัดขยะอินทรียไดอยางมีประสิทธิภาพ เปนมิตรตอส่ิงแวดลอม และมีผลพลอยไดเปนปุยอินทรียและกาซชีวภาพ ซึ่งจะชวยแกปญหาการจัดการขยะมูลฝอย และเปนการอนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอม

กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน (พพ.) จึงไดดําเนินโครงการพัฒนาและสาธิตถังหมักกาซชีวภาพจากขยะอินทรียสําเร็จรูปขนาดเล็ก ซึ่งไดทําการติดตั้งและสาธิตใชงานในสถานที่ตางๆ 100 แหง ในปงบประมาณ 2549 ซึ่งการดําเนินดังกลาวจําเปนตองมีการติดตามประเมินผลการใชงานและการเดินระบบ รวมทั้งปรับปรุงระบบใหใชงานไดสะดวกและมีประสิทธิภาพสูงขึ้น พรอมทําการขยายผลการใชงานถังหมักกาซชีวภาพอีก 200 แหงทั่วประเทศ เพื่อนําขยะมูลฝอยมาผลิตพลังงานในรูปกาซชีวภาพอยางเกิดประโยชนและมีความยั่งยืน 1.2 วัตถุประสงคของการศึกษา

1) เพื่อใหมีการใชงานถังหมักกาซชีวภาพจากขยะอินทรียสําเร็จรูปขนาดเล็กที่ไดติดตั้งไว

จํานวน 100 ถัง อยางตอเนื่อง 2) เพื่อปรับปรุงแบบถังหมักกาซชีวภาพจากขยะอินทรียสําเร็จรูปขนาดเล็กใหใชงานไดสะดวก

และมีประสิทธิภาพสูง 3) เพื่อขยายผลการใชงานถังหมักกาซชีวภาพจากขยะอินทรียสําเร็จรูปขนาดเล็กทั่วประเทศ

Page 8: รายงานสรุปสําหรับผู บริหารwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files...บทท 5 สร ปผลการด าเน นงานและข

การสงเสริมและสาธิตการผลิตพลังงานจากขยะ บทที่ 1 (การติดตามประเมินผลระบบผลิตกาซชีวภาพจากขยะอินทรีย) บทนํา

รายงานสรุปสําหรับผูบริหาร

กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน กระทรวงพลังงาน 1 - 2

1.3 ขอบเขตการดําเนินงาน 1) สํารวจปญหาและอุปสรรคในการใชงานถังหมักกาซชีวภาพจากขยะอินทรียสําเร็จรูปขนาดเล็ก ที่ติดตั้งไปแลว

2) ปรับปรุงระบบถังหมักกาซชีวภาพฯ ใหใชงานไดสะดวกและมีประสิทธิภาพสูง โดยรับขยะอินทรียไดไมตํ่ากวา 85 กิโลกรัมตอวัน (ที่อัตราสวนของแข็ง, Total Solid 10 เปอรเซ็นต) และสามารถผลิตกาซชีวภาพไดไมตํ่ากวา 2.5 ลูกบาศกเมตรตอวัน พรอมจัดทําแบบเชิงวิศวกรรม ลักษณะรายละเอียดอุปกรณ และเอกสารประกวดราคา

3) รายงานผลการติดตามการทํางานของถังหมักกาซชีวภาพจากขยะอินทรียสําเร็จรูปขนาดเล็กที่ติดตั้งแลว จํานวน 100 ถัง โดยพิจารณาสถานภาพการใชงาน ปริมาณสารอินทรียเขาระบบฯ ปริมาณและคุณภาพกาซชีวภาพที่ได ประสิทธิภาพของระบบฯ คุณสมบัติของกากตะกอน การนํากาซชีวภาพไปใชประโยชน ปญหาและอุปสรรคในการเดินระบบฯ ความพึงพอใจของผูใชงาน เปนตน

4) คัดเลือกสถานที่ติดตั้งถังหมักกาซชีวภาพจากขยะอินทรียสําเร็จรูปขนาดเล็ก จํานวน 200 แหงทั่วประเทศ

5) ดําเนินการแกไข ปรับปรุงระบบถังหมักกาซชีวภาพจากขยะอินทรียสําเร็จรูปขนาดเล็กที่ติดตั้งแลว จํานวน 100 ถังใหสามารถใชงานไดสะดวก 6) จัดประกวดและมอบรางวัลใหกับโรงเรียนและหนวยงานที่มีการใชงานถังหมักดีเดนอยางนอย 10 ลําดับ ซึ่งมีการใชงานสม่ําเสมอและมีการบํารุงรักษาระบบอยางตอเนื่อง มีความคิดริเร่ิมสรางสรรคที่กอใหเกิดการมีสวนรวมและสรางจิตสํานึกใหกับนักเรียนและบุคคลทั่วไป 7) เร่ิมตนเดินระบบ (Start-up) ถังหมักกาซชีวภาพจากขยะอินทรียสําเร็จรูปขนาดเล็กในพื้นที่ 200 แหงที่ไดคัดเลือก พรอมเก็บขอมูลและรายงานผลการเดินระบบฯ

8) จัดทําคูมือการเดินระบบ ทําการฝกอบรมการใชงานและการบํารุงรักษาระบบ 9) วิเคราะหความเหมาะสมทางดานเศรษฐศาสตรของโครงการ 10) จัดทําเอกสารเผยแพร โปสเตอร แผนผับ และจัดการประชุมเพื่อเผยแพรการผลิตกาซ

ชีวภาพดวยถังหมักขยะอินทรียใน 5 ภูมิภาค ไดแก ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันออก และภาคใต ภูมิภาคละ 1 คร้ัง โดยมีผูเขารวมสัมมนาไมนอยกวาครั้งละ 100 คน

Page 9: รายงานสรุปสําหรับผู บริหารwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files...บทท 5 สร ปผลการด าเน นงานและข

การสงเสริมและสาธิตการผลิตพลังงานจากขยะ บทที่ 2 (การติดตามประเมินผลระบบผลิตกาซชีวภาพจากขยะอินทรีย) ผลการติดตามประเมินผลและปรับปรุงเพิ่มประสิทธิภาพ

ถังหมักกาซชีวภาพฯ ที่ติดตั้งในปงบประมาณ 2549 รายงานสรุปสําหรับผูบริหาร

กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน กระทรวงพลังงาน 2 - 1

บทที่ 2 ผลการติดตามประเมินผลและปรับปรงุเพิ่มประสิทธภิาพ

ถังหมักกาซชวีภาพฯ ที่ติดต้ังในปงบประมาณ 2549

2.1 ผลการสํารวจปญหาและอุปสรรคการใชงานถังหมักกาซชีวภาพฯ การสํารวจปญหาอุปสรรคการใชงานถังหมักกาซชีวภาพฯ ซึ่งไดทําการติดตั้งในปงบประมาณ 2549 ในสถานศึกษาในสังกัด กทม. สังกัด สพฐ. สังกัดเอกชนและอุดมศึกษา รวม 94 แหง และหนวยงานอื่นๆ อีก 6 แหง ไดดําเนินการระหวางวันที่ 14 พฤษภาคม 2550 ถึง วันที่ 1 สิงหาคม 2550 สามารถสรุปผลได ดังนี้ 1) สถานภาพการใชงานถังหมักกาซชีวภาพฯ - มีการใชงานตอเนื่อง 42 แหง - ใชงานไมตอเนื่อง/หยุดดําเนินการชั่วคราว 32 แหง เนื่องจากขาดแคลนบุคลากร/มีภาระงานมาก/เปลี่ยนผูดูแลระบบคนใหมจึงไมทราบวิธีการใชงาน/เห็นวาการใชงานไมเกิดผล/ขยะมีนอย/อุปกรณเสียหาย/ยายที่ต้ังและระบายตะกอนออกจากถังหมัก เปนตน - หยุดใชงาน 6 เดือนขึ้นไป/ไมไดใชงานเลย 25 แหง เนื่องจากไมเขาใจวิธีใชงาน/เห็นวาการใชงานยุงยาก หรือใหเหตุผลเชนเดียวกับกลุมที่ใชงานไมตอเนื่อง 2) สภาพถังหมัก - สภาพดี บํารุงรักษาดี 3 แหง - สภาพปกติ แตตองซอมแซมบํารุงรักษาเล็กนอย 35 แหง - มีรอยร่ัวซึมหรือตองซอมแซมและทําการบํารุงรักษามาก 60 แหง - ถังหมักเสียหายมาก ไมสามารถซอมแซมแกไขได 1 แหง

Page 10: รายงานสรุปสําหรับผู บริหารwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files...บทท 5 สร ปผลการด าเน นงานและข

การสงเสริมและสาธิตการผลิตพลังงานจากขยะ บทที่ 2 (การติดตามประเมินผลระบบผลิตกาซชีวภาพจากขยะอินทรีย) ผลการติดตามประเมินผลและปรับปรุงเพิ่มประสิทธิภาพ

ถังหมักกาซชีวภาพฯ ที่ติดตั้งในปงบประมาณ 2549 รายงานสรุปสําหรับผูบริหาร

กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน กระทรวงพลังงาน 2 - 2

3) สภาพระบบ - สภาพเหมาะสม 74 แหง คาพีเอชอยูในชวง 6.8-7.6 ตะกอนมีกลิ่นปกติ กาซติดไฟ จุลินทรียยังทํางานไดดี - สภาพพอใชได 9 แหง คาพีเอชสูงหรือตํ่าเกินไปเล็กนอยแตยังแกไขได ตะกอนกลิ่นปกติ กาซติดไฟ/หรือไมติดไฟ จุลินทรียยังทํางานได - สภาพไมเหมาะสม/ไมมีตะกอนในถังหมัก 16 แหง ระบบลมเหลว/ไมมีตะกอนในถังหมัก 4) ความคิดเห็นของผูใชงานถังหมัก และปญหาอุปสรรคในการใชงานถังหมักกาซชีวภาพฯ (1) ดานอุปกรณ - ตองการใหแกไขปรับปรุงอุปกรณ 56 แหง ตองการใหปรับปรุงอุปกรณใหใชงานสะดวกและงายขึ้นในขั้นตอนการปอนขยะ การกวน การระบายตะกอน/เห็นวาควรลดขั้นตอนลง/ตองการใหถังเก็บกาซสามารถเก็บกาซไดมากขึ้น/อุปกรณคงทนแข็งแรงมากขึ้น/มีลักษณะสวยงามขึ้น - มีปญหาขาดแคลนอุปกรณเสริมตางๆ 6 แหง เชน pH Meter และเครื่องชั่ง

- พอใจ ไมมีปญหา 34 แหง - ไมแสดงความคิดเห็น 3 แหง

(2) ดานการจัดการ - มีปญหา 22 แหง เชน ขาดบุคลากร งบประมาณ มีภาระงานมาก ไมไดรับความรวมมือจากบุคลากรอื่นในหนวยงาน ผูบริหารไมสนับสนุน/มีขยะนอย เปนตน - ไมมีปญหา 74 แหง

- ไมแสดงความคิดเห็น 3 แหง

Page 11: รายงานสรุปสําหรับผู บริหารwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files...บทท 5 สร ปผลการด าเน นงานและข

การสงเสริมและสาธิตการผลิตพลังงานจากขยะ บทที่ 2 (การติดตามประเมินผลระบบผลิตกาซชีวภาพจากขยะอินทรีย) ผลการติดตามประเมินผลและปรับปรุงเพิ่มประสิทธิภาพ

ถังหมักกาซชีวภาพฯ ที่ติดตั้งในปงบประมาณ 2549 รายงานสรุปสําหรับผูบริหาร

กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน กระทรวงพลังงาน 2 - 3

(3) ความพึงพอใจ ในดานตางๆ ตอโครงการและถังหมักกาซชีวภาพ - พอใจ 25 แหง - พอใจ แตควรปรับปรุงอุปกรณ 72 แหง ตามระบุในขอ (1)

- ไมแสดงความคิดเห็น 2 แหง

หมายเหตุ: การสํารวจปญหาและอุปสรรคการใชงานถังหมักกาซชีวภาพฯ ดําเนินการทั้งหมด 99 แหง เนื่องจากไมรวมถังหมักกาซชีวภาพที่ติดตั้งที่มหาวิทยาลัยราชภัฎพระนครซึ่งถูกดัดแปลงไปเพื่อใชในการศึกษาวิจัย

2.2 การแกไขปรับปรุงถังหมักกาซชีวภาพฯ

การแกไขปรับปรุงถังหมักกาซชีวภาพเพื่อใหใชงานไดสะดวก มีประสิทธิภาพสูง และมีความ

สอดคลองกับความตองการของผูใชงาน ประกอบดวยการดําเนินงาน ดังนี้

1) การติดตั้งถังและเครื่องสูบสําหรับสูบขยะอินทรียและตะกอน สําหรับใชในการสูบขยะอินทรียที่เตรียมสภาพแลวเขาสูถังหมักและใชสูบหมุนเวียนตะกอนในถังหมักใหผสมคลุกเคลากันกับขยะอินทรียที่ปอนเขาไปใหมแทนการใชใบกวนแบบมือหมุน รวมทั้งสามารถใชสูบกากตะกอนที่ระบายออกมาจากถังหมักไปยังกระบะตากตะกอนหรือใชรดตนไมโดยตรง ซึ่งทําใหสะดวก ชวยลดการใชแรงงานและระยะเวลาในการเดินระบบถังหมักได 2) การปรับปรุงถังเก็บกาซ ใหสามารถกักเก็บกาซไดที่ความดันประมาณ 150 มิลลิบาร (เซนติเมตรน้ํา) ซึ่งจะทําใหกักเก็บกาซไดมากขึ้นกวาเดิมและใชกาซใหไดนานขึ้น (ถังเก็บกาซชุดเดิมเก็บกาซไดที่แรงดันประมาณ 40-42 มิลลิบาร) 3) การปรับเปลี่ยนทอปอนขยะอินทรียและทอระบายตะกอน ทอกาซชีวภาพและมานอมิเตอรใหมีความเหมาะสมตอการใชงานมากขึ้นและสอดคลองกับแกไขปรับปรุงในสวนที่ (1) และ (2) โดยแผนผังแสดงลักษณะถังหมักกาซชีวภาพฯ ที่ทําการแกไขปรับปรุง แสดงดังรูปที่ 2.2-1 สําหรับรูปที่ 2.2-2 แสดงลักษณะของถังหมักกาซชีวภาพฯ กอนและหลังการแกไขปรับปรุง สวนรูปที่ 2.2-3 แสดงตัวอยางการดําเนินงานแกไขปรับปรุงถังหมักกาซชีวภาพฯ ที่ติดตั้งในสถานที่ตางๆ ซึ่งไดดําเนินการระหวางวันที่ 11 กรกฎาคม-8 ตุลาคม 2550

Page 12: รายงานสรุปสําหรับผู บริหารwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files...บทท 5 สร ปผลการด าเน นงานและข
Page 13: รายงานสรุปสําหรับผู บริหารwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files...บทท 5 สร ปผลการด าเน นงานและข

การสงเสริมและสาธิตการผลิตพลังงานจากขยะ บทที่ 2 (การติดตามประเมินผลระบบผลิตกาซชีวภาพจากขยะอินทรีย) ผลการติดตามประเมินผลและปรับปรุงเพิ่มประสิทธิภาพ

ถังหมักกาซชีวภาพฯ ที่ติดตั้งในปงบประมาณ 2549 รายงานสรุปสําหรับผูบริหาร

กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน กระทรวงพลังงาน 2 - 5

(ก) กอนการแกไขปรับปรุง (ข) หลังการแกไขปรับปรุง

รูปที่ 2.2-2 ลักษณะถงัหมักกาซชวีภาพจากขยะอินทรีย กอนและหลังการแกไขปรับปรุง

รูปที่ 2.2-3 ตัวอยางการดําเนินงานแกไขปรับปรุงถังหมักกาซชวีภาพฯ ที่ติดตั้งในสถานที่ตางๆ

Page 14: รายงานสรุปสําหรับผู บริหารwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files...บทท 5 สร ปผลการด าเน นงานและข

การสงเสริมและสาธิตการผลิตพลังงานจากขยะ บทที่ 2 (การติดตามประเมินผลระบบผลิตกาซชีวภาพจากขยะอินทรีย) ผลการติดตามประเมินผลและปรับปรุงเพิ่มประสิทธิภาพ

ถังหมักกาซชีวภาพฯ ที่ติดตั้งในปงบประมาณ 2549 รายงานสรุปสําหรับผูบริหาร

กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน กระทรวงพลังงาน 2 - 6

2.3 การแกไขปญหาอุปสรรคการใชงานถังหมักกาซชีวภาพฯ ในเชิงจัดการ เนื่องจากผลสํารวจปญหาอุปสรรคในการใชงานถังหมักกาซชีวภาพฯ พบวานอกจากปญหาทางดานอุปกรณซึ่งมีบางสวนที่ผูใชงานตองการใหแกไขปรับปรุง และไดดําเนินการแกไขปรับปรุงไปแลวดังหัวขอ 2.2 ยังมีปญหาเชิงจัดการที่เปนอุปสรรคในการใชงานถังหมักกาซชีวภาพฯ ซึ่งสามารถสรุปเปนประเด็นได ดังนี้ - ขาดคนชวยดําเนินงานหรือไมไดรับความรวมมือจากบุคลากรอื่นในหนวยงาน - มีภาระงานมากจนไมสามารถเดินระบบถังหมักฯ ได - ผูบริหารไมเห็นความสําคัญและไมสนับสนุนเทาที่ควร - ขาดงบประมาณในการจัดซื้ออุปกรณปลีกยอย เชน pH Meter และตาชั่ง เปนตน เพื่อเปนการหาแนวทางในการแกปญหาในเชิงจัดการดังกลาวรวมกัน จึงไดจัดใหมี “การประชุมเพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณในการใชถังหมักกาซชีวภาพฯ จากขยะอินทรีย” สําหรับสถานศึกษาและหนวยงานที่ไดรับติดตั้งถังหมักกาซชีวภาพฯ เพื่อหาแนวทางแกไขปญหาการเดินระบบถังหมักในเชิงจัดการรวมกัน ซึ่งการประชุมดังกลาว จัดขึ้น ณ กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน ในวันที่ 21 และ 22 สิงหาคม 2550 (รปที่ 2.3-1) โดยมีผูแทนจากสถานศึกษา/หนวยงานที่เขารวมประชุม รวม 100 คน

Page 15: รายงานสรุปสําหรับผู บริหารwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files...บทท 5 สร ปผลการด าเน นงานและข

การสงเสริมและสาธิตการผลิตพลังงานจากขยะ บทที่ 2 (การติดตามประเมินผลระบบผลิตกาซชีวภาพจากขยะอินทรีย) ผลการติดตามประเมินผลและปรับปรุงเพิ่มประสิทธิภาพ

ถังหมักกาซชีวภาพฯ ที่ติดตั้งในปงบประมาณ 2549 รายงานสรุปสําหรับผูบริหาร

กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน กระทรวงพลังงาน 2 - 7

รูปที่ 2.3-1 การประชุมเพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณในการใชถังหมักกาซชีวภาพจากขยะอินทรีย

ผลจากการประชุมดังกลาวพบวา สถานศึกษาและหนวยงานตางมีสวนรวมในการแลกเปลี่ยนความเห็นเกี่ยวกับแนวทางการแกปญหาการใชงานถังหมักฯ ในเชิงจัดการกันเปนอยางดี พรอมทั้งไดเสนอแนวทางแกปญหา ซึ่งสรุปไดดังนี้

Page 16: รายงานสรุปสําหรับผู บริหารwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files...บทท 5 สร ปผลการด าเน นงานและข

การสงเสริมและสาธิตการผลิตพลังงานจากขยะ บทที่ 2 (การติดตามประเมินผลระบบผลิตกาซชีวภาพจากขยะอินทรีย) ผลการติดตามประเมินผลและปรับปรุงเพิ่มประสิทธิภาพ

ถังหมักกาซชีวภาพฯ ที่ติดตั้งในปงบประมาณ 2549 รายงานสรุปสําหรับผูบริหาร

กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน กระทรวงพลังงาน 2 - 8

ประเด็นปญหา: ขาดคนชวยดําเนินงานหรือไมไดรับความรวมมือจากบุคลากรอื่นในหนวยงาน แนวทางแกไข: - หารือกับผูบริหารเพื่อใหมอบหมาย หรือจัดสรรบุคลากรมารวมดําเนินการ - จัดตั้งคณะทํางาน โดยขอความรวมมือจากเพื่อนรวมงาน นักเรียน นักการภารโรง แมครัวหรืออาสาสมัครภายในสถานศึกษา หรือจัดตั้งชมรม/ชุมนุมและแบงหนาที่รับผิดชอบใหแกสมาชิก - ประชาสัมพันธภายในหนวยงานเกี่ยวกับความสําคัญ ประโยชนที่จะไดรับจากถังหมักฯ รวมทั้งข้ันตอนการทํางานใหทุกคนไดรับทราบ เพื่อเชิญชวนผูสนใจเขารวมดําเนินการ

ประเด็นปญหา: ผูดูแลระบบมีภาระงานมากจนไมสามารถใชงานถังหมักฯ ได แนวทางแกไข: - ใหผูชวยดูแลระบบรวมปฏิบัติงานดวยเสมอเพื่อใหสามารถดําเนินงานแทนไดเมื่อผูดูแลฯ ติดภารกิจ - ในกรณีของสถานศึกษา ใหบูรณาการกับสาระการเรียนรูอ่ืน เพื่อใหเกิดการมีสวนรวมของอาจารยและนักเรียน

ประเด็นปญหา: ผูบริหารไมเห็นความสําคัญและไมสนับสนุนเทาที่ควร แนวทางแกไขโดยสรุป: - ใหผูบริหารมีสวนรวม โดยผูดูแลระบบชี้แจงขั้นตอนการทํางาน และรายงานผลการดําเนินงานหรือปญหาอุปสรรคใหรับทราบ - ใหผูบริหารเห็นผลสําเร็จในการใชงานถังหมักฯ อยางเปนรูปธรรม หรือการสงโครงการเขาประกวด เพื่อจะไดใหการสนับสนุนและความรวมมือในการดําเนินงาน - หนวยงานตนสังกัดของหนวยงาน/สถานศึกษาควรชวยติดตามผลหรือสนับสนุนการใชงานถังหมักฯ

ประเด็นปญหา: ขาดงบประมาณในการจัดซื้ออุปกรณปลีกยอย เชน pH Meter และตาชั่ง แนวทางแกไขโดยสรุป: - จัดทําโครงการหรือประชาสัมพันธใหทราบถึงการดําเนินงานและประโยชนที่หนวยงาน/ชุมชนจะไดรับ เพื่อขอเงินสนับสนุนจากผูบริหาร ชุมชน ผูปกครอง ผูมีจิตศรัทธา หนวยงานตนสังกัด เทศบาล อบต. เปนตน - จัดทําเปนหลักสูตรการเรียนการสอนของสถานศึกษา หรือศูนยการเรียนรู/สาธิตเพื่อใหเสนอของบประมาณสนับสนุนได - หารายไดจากผลผลิตที่ไดจากถังหมักฯ เชน การจําหนายปุยอินทรีย หรือพืชผัก - แบงสรรรายไดสวนอื่น เชน ชมรมส่ิงแวดลอม ธนาคารขยะ เปนตน

Page 17: รายงานสรุปสําหรับผู บริหารwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files...บทท 5 สร ปผลการด าเน นงานและข

การสงเสริมและสาธิตการผลิตพลังงานจากขยะ บทที่ 2 (การติดตามประเมินผลระบบผลิตกาซชีวภาพจากขยะอินทรีย) ผลการติดตามประเมินผลและปรับปรุงเพิ่มประสิทธิภาพ

ถังหมักกาซชีวภาพฯ ที่ติดตั้งในปงบประมาณ 2549 รายงานสรุปสําหรับผูบริหาร

กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน กระทรวงพลังงาน 2 - 9

2.4 การติดตามผลการใชงานถังหมักฯ ภายหลังการแกไขปรับปรุงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ผลจากการลงพื้นที่เพื่อติดตามผลการใชงานถังหมักฯ ของสถานศึกษา/หนวยงานตางๆ 2 คร้ัง ระหวางวันที่ 14 พฤศจิกายน 2550 ถึงวันที่ 31 มกราคม 2551 สรุปไดดังนี้

1) การใชงานถังหมักกาซชีวภาพ - มีการใชงานตอเนื่อง สม่ําเสมออยูในระดับปานกลางถึงมาก 48 แหง - มีการใชงานคอนขางนอย 17 แหง - ยังไมไดใชงาน (เนื่องจากยังคงมีปญหาเชิงจัดการ) 22 แหง

2) ปริมาณขยะอินทรียที่ปอนเขาระบบ

- 20 กิโลกรัมตอวัน ข้ึนไป 15 แหง - นอยกวา 20 กิโลกรัมตอวัน 24 แหง - นอยกวา 10 กิโลกรัมตอวัน 26 แหง - ไมมีการปอนขยะ 22 แหง

3) การใชประโยชนจากกาซชีวภาพ

- มีการใชงานจริงจัง โดยใชประโยชนในการประกอบอาหาร 30 แหง ใชสอนวิชาคหกรรม ตมน้ําสําหรับลวกจานชอนสําหรับอาหารกลางวัน เปนตน - มีการใชบางเปนครั้งคราว/ทดลองใช 14 แหง - ยังไมใชงาน/กาซไมติดไฟเนื่องจากสภาพระบบไมเหมาะสม 43 แหง

4) การใชประโยชนจากกากตะกอน - ระบายออกมาใชในรูปของปุยแหงและปุยเหลว 41 แหง - ยังไมไดระบายตะกอนออกมาใชงานเนื่องจากของเหลวใน 45 แหง

ถังหมักยังไมถึงระดับที่กําหนด ไมมีตะกอนในถังหมัก หรือไมไดใชงานถังหมักฯ - ไมไดใชประโยชนเนื่องจากเห็นวาใชไมไดผล 1 แหง

Page 18: รายงานสรุปสําหรับผู บริหารwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files...บทท 5 สร ปผลการด าเน นงานและข

การสงเสริมและสาธิตการผลิตพลังงานจากขยะ บทที่ 2 (การติดตามประเมินผลระบบผลิตกาซชีวภาพจากขยะอินทรีย) ผลการติดตามประเมินผลและปรับปรุงเพิ่มประสิทธิภาพ

ถังหมักกาซชีวภาพฯ ที่ติดตั้งในปงบประมาณ 2549 รายงานสรุปสําหรับผูบริหาร

กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน กระทรวงพลังงาน 2 - 10

5) ปญหาและอุปสรรคในการเดินระบบถังหมัก - ไมมีปญหา 63 แหง - มีปญหา เชน มีภาระงานและกิจกรรมมากไมสามารถ 24 แหง

จัดการได ผูบริหารไมสนับสนุน ขาดความรวมมือจากผูรวมงาน ขาดพีเอชมิเตอร น้ําใช ไฟฟาและน้ําทวมที่ต้ังถังหมักฯ เปนตน 6) ความพึงพอใจของผูใชงานถังหมักฯ ภายหลังจากการแกไขปรับปรุง

- พึงพอใจ/พึงพอใจมาก 59 แหง เนื่องจากใชงานไดงายขึ้น สะดวกขึ้น เบาแรงขึ้น และกาซใชงานไดนานขึ้น - ยังไมแสดงความคิดเห็นในประเด็นนี้ 27 แหง

ดวยเหตุผลที่แตกตางกัน เชน เพิ่งมารับหนาที่ดูแลถังหมักฯ หรือการใชงานถังหมักฯ ยังไมประสบความสําเร็จ หรือยังไมมีการใชงาน

- ไมไดใชงานอุปกรณที่ติดตั้งเพิ่มเติม 1 แหง เนื่องจากกังวลเรื่องความปลอดภัยจากการใชไฟฟา ระบบไฟฟายังไมพรอมใชงาน จึงปฏิบัติงานแบบเดิมอยู หมายเหตุ: จํานวนสถานศึกษา/หนวยงานที่ทําการติดตามผลการใชงานถังหมักฯ รวม 87 แหง โดยไมนับรวมหนวยงานที่ขอคืนถังหมักฯ ให พพ. 7 แหง หนวยงานที่ยังไมพรอมใหทําการแกไขปรับปรุงถังหมักฯ 2 แหง หนวยงานที่ใชถังหมักฯ เพื่อการศึกษาวิจัย หนวยงานเอกชน และ พพ. (เจาของโครงการ) รวม 3 แหง 2.5 ประสิทธิภาพของถังหมักกาซชีวภาพฯ ประสิทธิภาพของถังหมักกาซชีวภาพฯ ภายหลังการแกไขปรับปรุง สรุปไดดังนี้

1) ปริมาณกาซชีวภาพ

ผลการทดสอบวัดปริมาณกาซชีวภาพที่ผลิตไดจากถังหมักกาซชีวภาพฯ ในรอบ 24 ชั่วโมง โดยมีปจจัยประกอบที่แตกตางกัน ไดแก วิธีการผสมคลุกเคลาตะกอนในถังหมัก ระยะเวลาการพักเก็บขยะอินทรียกอนปอนเขาสูถังหมัก และอุณหภูมิ แสดงดังตารางที่ 2.5-1

Page 19: รายงานสรุปสําหรับผู บริหารwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files...บทท 5 สร ปผลการด าเน นงานและข

การสงเสริมและสาธิตการผลิตพลังงานจากขยะ บทที่ 2 (การติดตามประเมินผลระบบผลิตกาซชีวภาพจากขยะอินทรีย) ผลการติดตามประเมินผลและปรับปรุงเพิ่มประสิทธิภาพ

ถังหมักกาซชีวภาพฯ ที่ติดตั้งในปงบประมาณ 2549 รายงานสรุปสําหรับผูบริหาร

กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน กระทรวงพลังงาน 2 - 11

ตารางที่ 2.5-1 ปริมาณกาซชีวภาพที่ผลิตไดจากถังหมักกาซชีวภาพในรอบ 24 ชั่วโมง ปริมาณกาซชีวภาพ

ปริมาณขยะอินทรีย วิธีการผสมคลุกเคลา อุณหภูมิเฉลี่ย ความแตกตางของ (ลิตร,แรงดัน(กก, TS 10%) ตะกอนในถังหมัก (ºC) อุณหภูมิ (ºC/ชม.) 150 mbar, 29 ºC)

ใชเครื่องสูบหมุนเวียน 1 ครั้ง 30 ไมมีขอมูล 2,303 ครั้งละ 25 นาทีใชเครื่องสูบหมุนเวียน 1 ครั้ง

20 กก. ครั้งละ 25 นาที รวมกับการ 29.86 0-3 2,076(เก็บไวกอนปอน กวนโดยใชใบกวน 2 ครั้ง ถังหมัก 21 ชม.) ครั้งละ 15 นาที หางกัน 4 ชม.

ใชเครื่องสูบหมุนเวียน 2 ครั้ง 31.37 0-2.5 2,579ครั้งละ 25 นาที หางกัน 8 ชม.

20 กก.(เก็บไวกอนปอน 28.75 0-4 1,819ถังหมัก 69 ชม.) ใชเครื่องสูบหมุนเวียน 1 ครั้ง

รร. วัดประดู 20 กก. ครั้งละ 25 นาทีธรรมาธิปตย กทม. (เก็บไวกอนปอน 26.67 0-4 1,980

ถังหมัก 1 ชม.)8-9/11/50

วันที่ สถานท่ีปจจัยประกอบ

พพ.10-17/8/50

พพ.5-6/11/50

2) องคประกอบกาซชีวภาพ

ผลการวิเคราะหองคประกอบกาซชีวภาพที่ผลิตจากถังหมักกาซชีวภาพซึ่งติดตั้งในสถานที่ตางๆ จากการเก็บตัวอยางกาซชีวภาพระหวางวันที่ 5 กุมภาพันธ ถึงวันที่ 4 มีนาคม 2551 แสดงดังตารางที่ 2.5-2 ตารางที่ 2.5-2 องคประกอบกาซชีวภาพที่ผลิตจากถังหมักกาซชีวภาพจากขยะอินทรีย

พารามิเตอรทีท่ําการวิเคราะห (%v/v) สถานทีต่ิดตั้งถังหมัก

CH4 CO2 กาซอื่นๆ รวม รร.ศรีบุญยานนท จ.นนทบุรี 60.85 37.48 1.67 100.00 รร.วัดมะเดื่อ จ.นนทบุรี 60.19 36.70 3.11 100.00 รร.วัดประดูธรรมาธิปตย กรุงเทพฯ 59.71 36.33 3.96 100.00 รร.วัดไทร (ถาวรพรหมานุกูล) กรุงเทพฯ 58.97 35.87 5.16 100.00

Page 20: รายงานสรุปสําหรับผู บริหารwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files...บทท 5 สร ปผลการด าเน นงานและข

การสงเสริมและสาธิตการผลิตพลังงานจากขยะ บทที่ 2 (การติดตามประเมินผลระบบผลิตกาซชีวภาพจากขยะอินทรีย) ผลการติดตามประเมินผลและปรับปรุงเพิ่มประสิทธิภาพ

ถังหมักกาซชีวภาพฯ ที่ติดตั้งในปงบประมาณ 2549 รายงานสรุปสําหรับผูบริหาร

กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน กระทรวงพลังงาน 2 - 12

3) คุณสมบัติกากตะกอน

ผลการศึกษาคุณสมบัติของกากตะกอนจากถังหมักกาซชีวภาพ โดยแบงออกเปน 2 ประเภทตามรูปแบบการใชงาน ไดแก (1) กากตะกอนเหลวซึ่งนําไปใชในรูปปุยเหลว และ (2) กากตะกอนที่นําไปตากแหงเพื่อนําไปใชในรูปปุยแหง สรุปไดดังตารางที่ 2.5-3 และตารางที่ 2.5-4 ตารางที่ 2.5-3 ผลการวิเคราะหคุณสมบัติกากตะกอนเหลวที่ไดถังหมักกาซชีวภาพจากขยะอินทรีย

สถานที่เก็บตวัอยางกากตะกอน รายการวิเคราะห หนวย

รร. วิชูทิศ กรุงเทพฯ รร. วัดประดูธรรมาธิปตย กรุงเทพฯ

N %w/w 0.21 0.2 P2O5 %w/w 0.03 0.03 K2O %w/w 0.02 0.03 pH - 7.6 7.8 EC dS/m 14.95 17.9 TS Content %w/w 1.0 1.1

ตารางที่ 2.5-4 ผลการวิเคราะหคุณสมบัติกากตะกอนแหงของถังหมักกาซชีวภาพจากขยะอินทรีย สถานที่เก็บตวัอยาง

รายการวิเคราะห หนวย พพ. รร.วัดมะเดื่อ จ.นนทบุร ี

คามาตรฐาน*

Organic Matter (OM) (%w/w) 24.39 28.69 ไมนอยกวา 30 C/N Ratio 5 5 ไมเกิน 30 N (%) 2.62 3.44 ไมนอยกวา 1 P2O5 (%) 1.35 2.26 ไมนอยกวา 0.5 K2O (%) 0.42 0.61 ไมนอยกวา 0.5 pH 8.89 6.22 5.5-8.5 EC (dS/m) 5.37 3.39 ไมเกิน 6 CaO (%) 2.27 2.27 ไมมีกําหนด MgO (%) 0.26 0.26 ไมมีกําหนด Moisture Content (%w/w) ไมมีขอมูล 35 หมายเหตุ: * คามาตรฐานตามประกาศกรมวิชาการเกษตร เรื่อง มาตรฐานปุยอินทรีย พ.ศ. 2548

Page 21: รายงานสรุปสําหรับผู บริหารwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files...บทท 5 สร ปผลการด าเน นงานและข

การสงเสริมและสาธิตการผลิตพลังงานจากขยะ บทที่ 2 (การติดตามประเมินผลระบบผลิตกาซชีวภาพจากขยะอินทรีย) ผลการติดตามประเมินผลและปรับปรุงเพิ่มประสิทธิภาพ

ถังหมักกาซชีวภาพฯ ที่ติดตั้งในปงบประมาณ 2549 รายงานสรุปสําหรับผูบริหาร

กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน กระทรวงพลังงาน 2 - 13

4) ประสิทธิภาพในการกําจัดมลสาร ผลจากวิเคราะหเพื่อหาประสิทธิภาพในการกําจัดมลสาร (Pollutant Removal Efficiency) ของ

ถังหมักกาซชีวภาพจากขยะอินทรียในรูปของ BOD, COD และ Total Kjeldahl Nitrogen (TKN) สรุปไดดังตารางที่ 2.5-5 ตารางที่ 2.5-5 ประสิทธิภาพในการกําจัดมลสารของถังหมักกาซชีวภาพจากขยะอินทรีย

สถานที่ติดตั้งถังหมัก พพ. รร. วัดประดูธรรมาธิปตย รร. วิชูทิศ

รายการวิเคราะห หนวย

Inf. Eff. % Rem. Inf. Eff. % Rem. Inf. Eff. % Rem.

BOD mg/l 104,700 1,824 98.26% 40,980 180 99.56% 91,500 589 99.36% COD mg/l 307,948 20,992 93.18% 109,591 7,424 93.23% 122,117 7,936 93.50% TKN mg/l 3,193 2,455 23.11% 1,648 2,054 - 2,187 2,005 8.32% หมายเหตุ: 1. คํายอ Inf. = Influent (ขยะอินทรียที่ปอนเขาสูถังหมัก) Eff. = Effluent (กากตะกอนที่ระบายออกจากถังหมัก) %Rem. = Pollutant Removal Efficiency (ประสิทธิภาพในการกําจัดมลสาร) 2. เครื่องหมาย (-) หมายถึง ไมสามารถหาคาได 2.6 การประกวดใชงานถังหมักกาซชีวภาพฯ เพื่อเปนการกระตุนใหเกิดการใชงานถังหมักฯ อยางตอเนื่อง ภายหลังจากการแกไขปรับปรุงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของถังหมักกาซชีวภาพฯ จึงไดจัดใหมีการประกวดและมอบรางวัลใหกับสถานศึกษา/หนวยงานที่ใชงานถังหมักกาซชีวภาพฯ ดีเดน ซึ่งมีการใชงานสม่ําเสมอและทําการบํารุงรักษาอยางตอเนื่อง รวมทั้งมีความคิดริเร่ิมสรางสรรคที่กอใหเกิดการมีสวนรวมและสรางจิตสํานึกใหกับนักเรียนและบุคคลทั่วไป ซึ่งผลการประกวดสรุปไดดังตารางที่ 2.6-1

Page 22: รายงานสรุปสําหรับผู บริหารwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files...บทท 5 สร ปผลการด าเน นงานและข

การสงเสริมและสาธิตการผลิตพลังงานจากขยะ บทที่ 2 (การติดตามประเมินผลระบบผลิตกาซชีวภาพจากขยะอินทรีย) ผลการติดตามประเมินผลและปรับปรุงเพิ่มประสิทธิภาพ

ถังหมักกาซชีวภาพฯ ที่ติดตั้งในปงบประมาณ 2549 รายงานสรุปสําหรับผูบริหาร

กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน กระทรวงพลังงาน 2 - 14

ตารางที่ 2.6-1 ผลการประกวดและมอบรางวัลใหกับสถานศึกษา/หนวยงานที่มีการใชงานถังหมักฯ ดีเดน

เงินรางวัล (บาท) ของรางวัล รางวัลท่ี 1 รร.วัดประดูธรรมาธิปตย กรุงเทพฯ 50,000 โลรางวัลรางวัลท่ี 2 รร.คลองหนองใหญ (ทองคํา ปานขําอนุสรณ) กรุงเทพฯ 15,000 โลรางวัล

รร.วัดบางนอย (แจมประชานุกูล) จ.สมุทรสงคราม 15,000 โลรางวัลรางวัลท่ี 3 รร.วัดมะเด่ือ จ.นนทบุรี 10,000 โลรางวัล

รร.วัดดอนหวาย (นครรัฐประสาท) จ.นครปฐม 10,000 โลรางวัลรางวัลชมเชย รร.วัดพลมานีย กรุงเทพฯ 4,000 ใบประกาศเกียรติคุณ

รร.วัดมวง กรุงเทพฯ 4,000 ใบประกาศเกียรติคุณรร.ชุมชนวัดบัวแกวเกษร (วรพงศอนุกูล) จ.ปทุมธานี 4,000 ใบประกาศเกียรติคุณรร.วัดลานบุญ กรุงเทพฯ 4,000 ใบประกาศเกียรติคุณอิสลามวิทยาลัยแหงประเทศไทย กรุงเทพฯ 4,000 ใบประกาศเกียรติคุณรร.ชุมชนวัดพิชิตปตยาราม จ.ปทุมธานี 4,000 ใบประกาศเกียรติคุณรร.วัดไทร (ถาวรพรหมานุกูล) กรุงเทพฯ 4,000 ใบประกาศเกียรติคุณรร.ศรีบุณยานนท จ.นนทบุรี 4,000 ใบประกาศเกียรติคุณรร.บางบอวิทยาคม จ.สมุทรปราการ 4,000 ใบประกาศเกียรติคุณ

รางวัลพิเศษ รร.วัดกําแพง (เหรียญลอมมานะนุกูล) กรุงเทพฯ 1,000 ใบประกาศเกียรติคุณรร.นาคดีอนุสรณ จ.สมุทรสาคร 1,000 ใบประกาศเกียรติคุณรร.จุฬาภรณราชวิทยาลัย บุรีรัมย จ.บุรีรัมย 1,000 ใบประกาศเกียรติคุณพิพิธภัณฑพ้ืนบานชุมชนพูนบําเพ็ญ กรุงเทพฯ 1,000 ใบประกาศเกียรติคุณ

รางวัลท่ีไดรับประเภทรางวัล หนวยงาน/สถานศึกษา

Page 23: รายงานสรุปสําหรับผู บริหารwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files...บทท 5 สร ปผลการด าเน นงานและข

การสงเสริมและสาธิตการผลิตพลังงานจากขยะ บทที่ 3 (การติดตามประเมินผลระบบผลิตกาซชีวภาพจากขยะอินทรีย) การขยายผลการใชงานถังหมักกาซชีวภาพฯ

200 แหง ในภูมิภาคตางๆ ทั่วประเทศ รายงานสรุปสําหรับผูบริหาร

กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน กระทรวงพลังงาน 3 - 1

บทที่ 3 การขยายผลการใชงานถงัหมักกาซชีวภาพฯ

200 แหง ในภูมิภาคตางๆ ทั่วประเทศ 3.1 การออกแบบ จัดทําขอกําหนดทางดานเทคนิคและเอกสารประกวดราคา

การออกแบบ จัดทําขอกําหนดทางดานเทคนิคและเอกสารประกวดราคาสําหรับใชในการวาจางผลติพรอมติดตั้งถังหมักกาซชีวภาพ จํานวน 200 ชุด ดวยวิธีการทางอิเลคทรอนิคส (e-Auction) ดําเนินการแลวเสร็จในวันที่ 1 เดือนสิงหาคม 2550 ทั้งนี้ พพ. ไดวาจางผลิตและติดตั้งถังหมักกาซชีวภาพฯ แยกจากโครงการนี้ โดยมีระยะเวลาดําเนินการตั้งแตวันที่ 27 เดือนกันยายน 2550 ถึงวันที่ 9 เดือนมกราคม 2551 ลักษณะของถังหมักกาซชีวภาพฯ ที่ทําการออกแบบมีขนาด 2.5 ลูกบาศกเมตร และมีลักษณะใกลเคียงกับถังหมักกาซชีวภาพฯ ที่ติดตั้งในปงบประมาณ 2549 ซึ่งไดทําการแกไขปรับปรุงแลว ดังแผนผังในรูปที่ 3.1-1 และรูปที่ 3.1-2 โดยลักษณะของถังหมักกาซชีวภาพฯ ที่ผลิตและติดตั้งโดยผูที่ไดรับวาจางจาก พพ. ซึ่งไดมีการปรับเปลี่ยนเพิ่มเติมรายละเอียดในบางสวน แสดงดังรูปที่ 3.1-3

Page 24: รายงานสรุปสําหรับผู บริหารwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files...บทท 5 สร ปผลการด าเน นงานและข
Page 25: รายงานสรุปสําหรับผู บริหารwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files...บทท 5 สร ปผลการด าเน นงานและข
Page 26: รายงานสรุปสําหรับผู บริหารwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files...บทท 5 สร ปผลการด าเน นงานและข

การสงเสริมและสาธิตการผลิตพลังงานจากขยะ บทที่ 3 (การติดตามประเมินผลระบบผลิตกาซชีวภาพจากขยะอินทรีย) การขยายผลการใชงานถังหมักกาซชีวภาพฯ

200 แหง ในภูมิภาคตางๆ ทั่วประเทศ รายงานสรุปสําหรับผูบริหาร

กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน กระทรวงพลังงาน 3 - 4

รูปที่ 3.1-3 ลักษณะของถงัหมักกาซชวีภาพฯ ที่ผลิตและติดตั้งโดยผูทีรั่บวาจางจาก พพ.

3.2 การคัดเลือกสถานที่เหมาะสมสําหรับติดต้ังถังหมักกาซชีวภาพฯ การคัดเลือกสถานที่เหมาะสมสําหรับติดตั้งถังหมักกาซชีวภาพฯ จํานวน 200 แหง มีกลุมเปาหมายซึ่งประกอบดวย องคกรปกครองสวนทองถิ่น โรงเรียน และหนวยงานของรัฐอ่ืนๆ ที่มีความสนใจเขารวมโครงการ มีพื้นที่ดําเนินการครอบคลุมทุกภูมิภาคของประเทศ โดยมีข้ันตอนการดําเนินงานดังรูปที่ 3.2-1 และผลการคัดเลือกฯ สรุปไดดังตารางที่ 3.2-1

รูปที่ 3.2-1 ข้ันตอนการคัดเลือกสถานทีเ่หมาะสมสําหรับติดตั้งถังหมักกาซชีวภาพฯ 200 แหง

จดหมายเชิญชวนกลุมเปาหมายเขารวมโครงการ (5 ภูมิภาค 1,445 หนวยงาน)

หนวยงานตอบรับแสดงความสนใจเขารวมโครงการ (5 ภูมิภาค 282 หนวยงาน)

การจัดประชุมเพื่อสรางความรูความเขาใจเกี่ยวกับ การผลิตกาซชีวภาพดวยถังหมักขยะอินทรีย

(5 ภูมิภาค 610 หนวยงาน)

ประเมินและคัดเลือกหนวยงานที่เหมาะสมเขารวมโครงการ (5 ภูมิภาค 200 หนวยงาน)

Page 27: รายงานสรุปสําหรับผู บริหารwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files...บทท 5 สร ปผลการด าเน นงานและข

การสงเสริมและสาธิตการผลิตพลังงานจากขยะ บทที่ 3 (การติดตามประเมินผลระบบผลิตกาซชีวภาพจากขยะอินทรีย) การขยายผลการใชงานถังหมักกาซชีวภาพฯ

200 แหง ในภูมิภาคตางๆ ทั่วประเทศ รายงานสรุปสําหรับผูบริหาร

กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน กระทรวงพลังงาน 3 - 5

ตารางที่ 3.2-1 สรุปผลการคัดเลือกหนวยงานที่เหมาะสมสําหรับติดตั้งถังหมักกาซชีวภาพฯ

เทศบาล อบต. สถานศึกษา อ่ืนๆ* รวมภาคกลาง 5 15 13 12 45ภาคเหนือ 5 11 19 4 39ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 6 19 14 3 42ภาคตะวันออก 13 13 21 2 49ภาคใต 5 4 16 - 25รวม (หนวยงาน) 34 62 83 21 200หมายเหตุ: * ประกอบดวย หนวยงานในสังกัดกระทรวงกลาโหม 20 แหง และโรงพยาบาล 1 แหง

หนวยงานที่ไดรับคัดเลือก (หนวยงาน)ภาค

3.3 การดําเนินการสํารวจสถานที่ต้ังถังหมักกาซชีวภาพฯ การสํารวจพรอมใหคําแนะนําเกี่ยวกับการจัดเตรียมสถานที่ติดตั้งถังหมักกาซชีวภาพฯ ของหนวยงานที่ไดรับคัดเลือกสําหรับติดตั้งถังหมักกาซชีวภาพฯ จาก พพ. จํานวน 200 แหง เร่ิมดําเนินการต้ังแตวันที่ 26 ตุลาคม 2550 และแลวเสร็จในวันที่ 14 ธันวาคม 2550 3.4 การเริ่มเดินระบบ และสาธิต อบรมวิธีการใชงานถังหมักกาซชีวภาพฯ การเริ่มเดินระบบ และสาธิต อบรมวิธีการใชงานถังหมักกาซชีวภาพฯ (รูปที่ 3.4-1) เร่ิมดําเนินงานต้ังแตวันที่ 30 พฤศจิกายน 2550 และแลวเสร็จในวันที่ 10 เมษายน 2551 โดยมีข้ันตอนการดําเนินงาน ดังนี้

- แจงนัดหมายหนวยงานลวงหนาอยางนอย 1 สัปดาห เพื่อจัดเตรียมความพรอมตางๆ ไดแก การ

จัดเตรียมกลาเชื้อจุลินทรียสําหรับการเร่ิมเดินระบบ (มูลสัตวจําพวกวัว ควาย สุกร) ประมาณ 200-600 กิโลกรัม พรอมกับเศษอาหาร 0.5 กิโลกรัม สําหรับปอนเขาสูถังหมัก รวมทั้งการจัดเตรียมบุคลากรสําหรับรับการสาธิต อบรมวิธีการใชงานถังหมักฯ

- เร่ิมเดินระบบ โดยการนํามูลสัตวที่หนวยงานจัดเตรียมไวมาผสมน้ําประมาณ 1 เทาตัว ทําการคัดแยกสิ่งปะปนออก จากนั้นสูบเขาถังหมักและเติมน้ําเขาสูถังหมักจนถึงระดับที่กําหนด พรอมปอนขยะที่

Page 28: รายงานสรุปสําหรับผู บริหารwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files...บทท 5 สร ปผลการด าเน นงานและข

การสงเสริมและสาธิตการผลิตพลังงานจากขยะ บทที่ 3 (การติดตามประเมินผลระบบผลิตกาซชีวภาพจากขยะอินทรีย) การขยายผลการใชงานถังหมักกาซชีวภาพฯ

200 แหง ในภูมิภาคตางๆ ทั่วประเทศ รายงานสรุปสําหรับผูบริหาร

กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน กระทรวงพลังงาน 3 - 6

บดยอยและผสมกับน้ําแลวประมาณ 1 กิโลกรัม (ดูรายละเอียดวิธีการเริ่มเดินระบบไดในคูมือการเดินระบบและใชงานถังหมักกาซชีวภาพจากขยะอินทรีย)

- สาธิต อบรมวิธีการใชงานถังหมักฯ และมอบคูมือการเดินระบบและใชงานถังหมักฯ ใหผูรับผิดชอบ พรอมใหลงลายมือชื่อไวเปนหลักฐาน

รูปที่ 3.4-1 ตัวอยางภาพการดําเนนิงานเริม่เดินระบบ และสาธิต อบรมวิธีการใชงานถงัหมกักาซชีวภาพฯ

Page 29: รายงานสรุปสําหรับผู บริหารwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files...บทท 5 สร ปผลการด าเน นงานและข

การสงเสริมและสาธิตการผลิตพลังงานจากขยะ บทที่ 3 (การติดตามประเมินผลระบบผลิตกาซชีวภาพจากขยะอินทรีย) การขยายผลการใชงานถังหมักกาซชีวภาพฯ

200 แหง ในภูมิภาคตางๆ ทั่วประเทศ รายงานสรุปสําหรับผูบริหาร

กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน กระทรวงพลังงาน 3 - 7

3.5 การติดตามผลการใชงานถังหมักกาซชีวภาพฯ การดําเนินงานติดตามผลการใชงานถังหมักกาซชีวภาพฯ ประกอบดวย - การโทรศัพทติดตามผลการปฏิบัติงานเริ่มเดินระบบของเจาหนาที่ภาคสนาม และสอบถามถึงความเขาใจและความชัดเจนในการสาธิต อบรมวิธีการใชงานถังหมักฯ รวมทั้งสอบถามความคืบหนาและปญหาอุปสรรค ตลอดจนใหคําแนะนําแกไขปญหาการใชงานถังหมักฯ ซึ่งดําเนินการในระหวางวันที่ 25 ธันวาคม 2550 ถึง 12 มีนาคม 2551

- การลงพื้นที่เพื่อติดตามผลการเดินระบบ ซึ่งเริ่มดําเนินการตั้งแตวันที่ 18 กุมภาพันธ 2551 และแลวเสร็จครบทั้ง 200 แหง ในวันที่ 2 พฤษภาคม 2551

- การติดตามผลจากแบบบันทึกการเดินระบบถังหมักฯ ซึ่งหนวยงานตางๆ ไดสงกลับมายังที่ปรึกษา โดยหากพบวาหนวยงานใดมีปญหาในการเดินระบบก็จะติดตอกลับไปเพื่อแนะนําวิธีการแกไขปญหา ซึ่งไดดําเนินการจนกระทั่งครบระยะเวลาตามสัญญาวาจางที่ปรึกษา ทั้งนี้จากติดตามผลการเดินระบบถังหมักฯ สรุปไดวา หนวยงานที่ไดรับติดตั้งถังหมักฯ ยังอยูในชวงเร่ิมตนของการเดินระบบ โดยสวนใหญมีผลการเดินระบบเปนที่นาพอใจ นั่นคือกาซติดไฟ และเริ่มมีการใช หรือทดลองใชกาซชีวภาพในการหุงตม รวมทั้งเริ่มนํากากตะกอนจากถังหมักไปใชประโยชนในรูปของปุยอินทรีย อยางไรก็ตามควรมีการติดตามผลและกระตุนใหเกิดการใชงานถังหมักฯ และนํากาซชีวภาพและปุยอินทรียไปใชประโยชนอยางตอเนื่อง

Page 30: รายงานสรุปสําหรับผู บริหารwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files...บทท 5 สร ปผลการด าเน นงานและข

การสงเสริมและสาธิตการผลิตพลังงานจากขยะ บทที่ 4 (การติดตามประเมินผลระบบผลิตกาซชีวภาพจากขยะอินทรีย) การวิเคราะหความเหมาะสมทางดานเศรษฐศาสตร

รายงานสรุปสําหรับผูบริหาร

กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน กระทรวงพลังงาน 4 - 1

บทที่ 4 การวิเคราะหความเหมาะสมทางดานเศรษฐศาสตร

การวิเคราะหความเหมาะสมทางดานเศรษฐศาสตรของโครงการ เปนการศึกษาความเหมาะสมของ

การลงทุนในการขยายผลการใชงานถังหมักกาซชีวภาพฯ ซึ่งกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน (พพ.) ไดทําการติดตั้งถังหมักฯ ใหแกหนวยงานในภูมิภาคตางๆ ทั่วประเทศ จํานวน 200 แหง ในปงบประมาณ 2550 โดยการวิเคราะหฯ ใชดัชนีชี้วัดดังตอไปนี้

- อัตราผลตอบแทนโครงการ (Internal Rate of Return: IRR) - มูลคาปจจุบันสุทธิ (Net Present Value: NPV) - ระยะเวลาคืนทุน (Payback Period) - อัตราสวนผลประโยชนตอทุน (Benefit/Cost Ratio)

4.1 สมมติฐาน 1) อัตราสวนลด หรือคาเสียโอกาสของเงินทุนเทากับรอยละ 10 2) อัตราเงินเฟอเฉลี่ย รอยละ 5 ตอป 3) ระยะเวลาในการกอสรางและติดตั้งถังหมักกาซชีวภาพฯ 200 แหง เทากับ 3.5 เดือน 4) อายุการใชงาน และระยะเวลาในการเดินระบบบํารุงรักษาถังหมัก เทากับ 5 ป โดยทําการเดินระบบและการผลิตกาซชีวภาพปละ 300 วัน 5) ความสามารถสูงสุดในการรับขยะอินทรียของถังหมักฯ เทากับ 40 กิโลกรัมตอวันตอชุด (ที่ปริมาณของแข็ง 20 เปอรเซ็นต) การปอนขยะอินทรียเขาสูถังหมักทั้ง 200 ชุด เฉลี่ยประมาณ 70 เปอรเซ็นตของความสามารถสูงสุดของระบบฯ หรือเทากับ 28 กิโลกรัมตอวันตอชุด (ที่ปริมาณของแข็ง 20 เปอรเซ็นต) ซึ่งเทากับ 1,680 ตันตอป เมื่อคิดจากถังหมัก 200 ชุด 6) คาใชจายลงทุนสําหรับการผลิต ขนสง และติดตั้งถังหมักกาซชีวภาพฯ 200 ชุด เทากับ 11,000,000 บาท หรือเฉลี่ยเทากับ 55,000 บาทตอชุด 7) คาใชจายในการเดินระบบและบํารุงรักษาถังหมักกาซชีวภาพฯ แบงเปน

Page 31: รายงานสรุปสําหรับผู บริหารwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files...บทท 5 สร ปผลการด าเน นงานและข

การสงเสริมและสาธิตการผลิตพลังงานจากขยะ บทที่ 4 (การติดตามประเมินผลระบบผลิตกาซชีวภาพจากขยะอินทรีย) การวิเคราะหความเหมาะสมทางดานเศรษฐศาสตร

รายงานสรุปสําหรับผูบริหาร

กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน กระทรวงพลังงาน 4 - 2

- คาใชจายในการเดินระบบ ซึ่งประกอบดวย คาแรงงาน คาไฟฟา และคาน้ําประปา รวมเทากับ 9,210 บาทตอปตอชุด หรือเทากับ 1,842,000 บาทตอป เมื่อคิดจากถังหมัก 200 ชุด - คาใชจายในการบํารุงรักษาถังหมักกาซชีวภาพฯ ซึ่งแบงเปน คาใชจายในการบํารุงรักษารายป เทากับ 2 เปอรเซ็นตของคาใชจายลงทุนตอป และคาใชจายในการเปลี่ยนเครื่องมืออุปกรณที่หมดอายุใชงานในปที่ 3 ของการใชงานถังหมัก เทากับ 4,000 บาทตอชุด หรือเทากับ 800,000 บาท เมื่อคิดจาก 200 ชุด 8) รายไดจากถังหมักกาซชีวภาพ คิดจากคาใชจายที่สามารถประหยัดไดจากการใชงานและการใชประโยชนจากผลผลิตที่ไดถังหมักกาซชีวภาพฯ ไดแก - คาใชจายที่ประหยัดไดจากการใชกาซชีวภาพเปนเชื้อเพลิงหุงตมแทนการใชกาซหุงตม เทากับ 6,840 บาทตอปตอชุด หรือเทากับ 1,368,000 บาทตอป เมื่อคิดจาก 200 ชุด - คาใชจายที่ประหยัดไดจากการนํากากตะกอนจากถังหมักกาซชีวภาพฯ มาใชในรูปปุยเหลวแทนการซื้อปุย เทากับ 16,200 บาทตอปตอชุด หรือเทากับ 3,240,000 บาทตอป เมื่อคิดจาก 200 ชุด - คาใชจายที่องคกรปกครองสวนทองถิ่นสามารถประหยัดไดจากการลดภาระการขนสงและกําจัดขยะอินทรีย เทากับ 8,400 บาทตอปตอชุด หรือเทากับ 1,680,000 บาทตอป เมื่อคิดจาก 200 ชุด 4.2 ผลการวิเคราะห

ผลการวิเคราะหความเหมาะสมทางดานเศรษฐศาสตรของโครงการ สรุปไดดังนี้

- อัตราผลตอบแทนโครงการ (Internal Rate of Return: IRR) เทากับ 28.94 เปอรเซ็นต ถือวาโครงการอยูในเกณฑคุมทุน เนื่องจากมีอัตราผลตอบแทนโครงการสูงกวาอัตราคิดลดที่ 10 เปอรเซ็นต - มูลคาปจจุบันสุทธิ (Net Present Value: NPV) เทากับ 6,019,945.56 บาท ถือวาโครงการเหมาะสมตอการลงทุน เนื่องจากมีคาสูงกวาเกณฑซึ่งเทากับ 0 - ระยะเวลาคืนทุน (Payback Period) เทากับ 2.60 ป ถือวาคืนทุนในระยะสั้น มีความเสี่ยงตอการลงทุนต่ํา - อัตราสวนผลประโยชนตอทุน (Benefit/Cost Ratio) เทากับ 1.55 ถือวาโครงการมีความคุมทุนเนื่องจากมีคาสูงกวาเกณฑซึ่งเทากับ 1

Page 32: รายงานสรุปสําหรับผู บริหารwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files...บทท 5 สร ปผลการด าเน นงานและข

การสงเสริมและสาธิตการผลิตพลังงานจากขยะ บทที่ 5 (การติดตามประเมินผลระบบผลิตกาซชีวภาพจากขยะอินทรีย) สรุปผลการดําเนินงานและขอเสนอแนะ

รายงานสรุปสําหรับผูบริหาร

กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน กระทรวงพลังงาน 5 - 1

บทที่ 5 สรุปผลการดาํเนินงานและขอเสนอแนะ

5.1 สรุปผลการติดตามประเมินผลและปรับปรุงเพิ่มประสิทธิภาพถังหมักกาซชีวภาพฯ ที่ติดต้ังในปงบประมาณ 2549

5.1.1 ผลการสํารวจปญหาและอุปสรรคการใชงานถังหมักกาซชีวภาพจากขยะอินทรียสําเร็จรูปขนาดเล็ก ที่ติดตั้งในปงบประมาณ 2549 สรุปไดดังนี้

- สถานศึกษา/หนวยงานที่ไดรับติดตั้งถังหมักฯ มีการใชงานอยางตอเนื่อง 42 แหง (42.42 เปอรเซ็นต) ใชงานไมตอเนื่อง/หยุดดําเนินการชั่วคราว 32 แหง (32.32 เปอรเซ็นต) หยุดใชงาน 6 เดือนขึ้นไป/ไมไดใชงานเลย 25 แหง (25.26 เปอรเซ็นต) (จํานวนหนวยงาน/สถานศึกษาที่ทําการสํารวจเทากับ 99 แหง เนื่องจากไมรวมหนวยงาน 1 แหง ที่ไดดัดแปลงถังหมักเพื่อนําไปใชในการศึกษาวิจัย)

- ปญหาที่ทําใหสถานศึกษา/หนวยงานหยุดใชงานถังหมักฯ แบงออกเปน • ปญหาดานอุปกรณ โดยผูใชงานเห็นวามีปญหาขั้นตอนการทํางานยุงยาก ตองใช

แรงงานมาก ผลผลิตที่ไดไมคุมกับแรงงานที่เสียไป การปอนขยะ การผสมคลุกเคลาตะกอนและการระบายกากตะกอนทําไดไมสะดวก และถังเก็บกาซสามารถเก็บกาซไดนอย ใชงานกาซไดนอย

• ปญหาในเชิงจัดการ ไดแก การขาดบุคลากรที่ รับผิดชอบการเดินระบบถังหมักโดยตรง ผูรับผิดชอบฯ มีภาระงานมากไมมีเวลาสําหรับการเดินระบบ ไมไดรับความรวมมือจากบุคลากรอ่ืนในหนวยงานและการสนับสนุนจากผูบริหารยังมีนอย ขาดงบประมาณสําหรับการจัดซื้อพีเอชมิเตอร เครื่องชั่ง และมีขยะอินทรียสําหรับปอนถังหมักนอย เปนตน

5.1.2 การแกไขปญหาอุปสรรคในการใชงานถังหมักกาซชีวภาพฯ แบงการดําเนินการออกเปน 2 สวน ไดแก

- การแกไขปรับปรุงถังหมักกาซชีวภาพฯ โดยดําเนินการ ดังนี้ • ติดตั้งถังและเครื่องสูบสําหรับสูบขยะอินทรียและตะกอน สําหรับใชสูบขยะอินทรีย

เขาสูถังหมักและใชสูบหมุนเวียนตะกอนในถังหมักใหผสมคลุกเคลากันแทนการใชใบกวนแบบมือหมุน

Page 33: รายงานสรุปสําหรับผู บริหารwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files...บทท 5 สร ปผลการด าเน นงานและข

การสงเสริมและสาธิตการผลิตพลังงานจากขยะ บทที่ 5 (การติดตามประเมินผลระบบผลิตกาซชีวภาพจากขยะอินทรีย) สรุปผลการดําเนินงานและขอเสนอแนะ

รายงานสรุปสําหรับผูบริหาร

กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน กระทรวงพลังงาน 5 - 2

รวมทั้งสูบกากตะกอนที่ระบายจากถังหมักไปยังกระบะตากตะกอน หรือใชรดตนพืชโดยตรง ซึ่งทําใหสะดวก ชวยลดการใชแรงงานและระยะเวลาในการเดินระบบถังหมักได

• ปรับปรุงถังเก็บกาซ โดยทําใหสามารถกักเก็บกาซไดที่ความดันประมาณ 150 มิลลิบาร ซึ่งจะทําใหกักเก็บกาซไดมากขึ้นกวาเดิมและใชงานกาซไดนานขึ้น (ถังเก็บกาซชุดเดิมเก็บกาซไดที่แรงดันประมาณ 40 มิลลิบาร)

• ปรับเปลี่ยนวาลว ทอปอนขยะอินทรียและทอระบายตะกอน ทอกาซชีวภาพและมานอมิเตอรใหมีความเหมาะสมกับการใชงานมากขึ้นและมีความสอดคลองกับแกไขปรับปรุงถังหมักฯ

- การจัดประชุมหนวยงาน/สถานศึกษาที่ไดรับติดตั้งถังหมักฯ เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและหาแนวทางในการแกปญหาเชิงจัดการรวมกัน ซึ่งผูเขาประชุมไดรวมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและไดขอสรุปที่เปนประโยชนสําหรับการแกปญหาในเชิงจัดการสําหรับใชงานถังหมักกาซชีวภาพฯ หลายประการ 5.1.3 ผลจากการลงพื้นที่เพื่อติดตามการใชงานถังหมักกาซชีวภาพฯ ของสถานศึกษา/หนวยงานตางๆ ภายหลังการแกไขปรับปรุง สรุปไดวามีสถานศึกษา/หนวยงานที่ใชงานถังหมักอยางตอเนื่องสม่ําเสมอมากขึ้น (55 เปอรเซ็นต) แตยังมีบางสวนที่มีการใชงานคอนขางนอย (19.54 เปอรเซ็นต) และยังไมมีการใชงานเลย (25.25 เปอรเซ็นต) ทั้งนี้เนื่องจากมีปญหาในเชิงจัดการเปนหลัก สําหรบัในกลุมทีม่กีารใชงานถงัหมกั พบวาแทบทั้งหมด (90.76 เปอรเซ็นต) พอใจกับลักษณะถังหมักภายหลังการแกไขปรับปรุง โดยใหเหตุผลวาใชงานไดงายขึ้น สะดวก เบาแรงและใชงานกาซไดนานขึ้น 5.1.4 ผลการทดสอบประสิทธิภาพของถังหมักกาซชีวภาพฯ ภายหลังการแกไขปรับปรุง สรุปไดวา - ปริมาณกาซชีวภาพที่ผลิตไดจากถังหมักกาซชีวภาพฯ ในรอบ 24 ชั่วโมง เมื่อปอนขยะอินทรียเขาสูถังหมัก 10 กิโลกรัม (ปริมาณของแข็งเทากับ 20 เปอรเซ็นต) หรือประมาณหนึ่งในสี่ของความสามารถในการรับขยะอินทรียของถังหมัก เทากับ 1.81-2.58 ลูกบาศกเมตร เมื่อมีปจจัยประกอบ ไดแก วิธีการผสมคลุกเคลาตะกอนในถังหมัก ระยะเวลาการพักเก็บขยะอินทรียกอนปอนเขาสูถังหมักและอุณหภูมิแตกตางกัน - กาซชีวภาพที่ผลิตไดจากถังหมักมีองคประกอบ ไดแก กาซมีเทน 58.97-60.85 เปอรเซ็นต กาซคารบอนไดออกไซด 35.87-36.33 เปอรเซ็นต และกาซอื่นๆ อีก 1.67-5.16 เปอรเซ็นต

Page 34: รายงานสรุปสําหรับผู บริหารwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files...บทท 5 สร ปผลการด าเน นงานและข

การสงเสริมและสาธิตการผลิตพลังงานจากขยะ บทที่ 5 (การติดตามประเมินผลระบบผลิตกาซชีวภาพจากขยะอินทรีย) สรุปผลการดําเนินงานและขอเสนอแนะ

รายงานสรุปสําหรับผูบริหาร

กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน กระทรวงพลังงาน 5 - 3

- กากตะกอนจากถังหมักที่นําไปใชในรูปปุยเหลว มีธาตุอาหารพืช ไดแก ไนโตรเจน 0.2-0.21 เปอรเซ็นต ฟอสฟอรัส 0.03 เปอรเซ็นต และโปตัสเซียม 0.02-0.03 เปอรเซ็นต สวนกากตะกอนจากถังหมักที่นําไปใชในรูปปุยแหง มีธาตุอาหารพืช ไดแก N 2.62-3.44 เปอรเซ็นต P2O5 1.35-2.26 เปอรเซ็นต และ K2O 0.42-0.61 เปอรเซ็นต ซึ่งถือวาผานเกณฑมาตรฐานปุยอินทรีย - ถังหมักกาซชีวภาพฯ มีประสิทธิภาพในการการกําจัดมลสารในรูป BOD, COD และ TKN เทากับ 98.26-99.59 เปอรเซ็นต 93.18-93.50 เปอรเซ็นต และ 8.32-23.11 เปอรเซ็นต ตามลําดับ ซึ่งอยูในระดับที่เทียบเคียงไดกับระบบยอยสลายแบบไมใชออกซิเจนสําหรับขยะอินทรียที่มีขนาดเชิงพาณิชยทั่วไป

5.1.5 ผลการประกวดและมอบรางวัลใหกับหนวยงาน/สถานศึกษาที่มีการใชงานถังหมักกาซชีวภาพฯ สม่ําเสมอและมีการบํารุงรักษาอยางตอเนื่อง รวมทั้งมีความคิดริเร่ิมสรางสรรคที่กอใหเกิดการมีสวนรวมและสรางจิตสํานึกใหกับนักเรียนและบุคคลทั่วไป สรุปไดดังนี้ รางวัลที่ 1 รร.วัดประดูธรรมาธิปตย กรุงเทพฯ รางวัลที่ 2 รร.คลองหนองใหญ (ทองคํา ปานขําอนุสรณ) กรุงเทพฯ และ รร.วัดบางนอย (แจมประชานุกูล) จ. สมุทรสงคราม รางวัลที่ 3 รร.วัดมะเดื่อ จ.นนทบุรี และ รร.วัดดอนหวาย (นครรัฐประสาท) จ.นครปฐม นอกจากนี้ยังมีสถานศึกษาที่ไดรับรางวัลชมเชยอีก 9 แหง รวมทั้งมีสถานศึกษาและหนวยงานที่ไดรับรางวัลพิเศษเพื่อเปนกําลังใจแกผูปฏิบัติงานอีก 4 แหง โดยของรางวัลที่ไดรับประกอบดวย โลรางวัลสําหรับรางวัลที่ 1-3 ใบประกาศเกียรติคุณสําหรับรางวัลชมเชยและรางวัลพิเศษ และรางวัลเงินสดรวม 140,000 บาท 5.2 สรุปผลการขยายผลการใชงานถังหมักกาซชีวภาพฯ 200 แหง ในภูมิภาคตางๆ ทั่วประเทศ 5.2.1 การออกแบบ จัดทําขอกําหนดทางดานเทคนิคและเอกสารประกวดราคา สําหรับใชวาจางผลิตพรอมติดตั้งถังหมักกาซชีวภาพฯ 200 แหง ดวยวิธีการทางอิเลคทรอนิคส (e-Auction) ดําเนินการโดยที่ปรึกษา ซึ่งถังหมักที่ออกแบบมีขนาด 2.5 ลบ.ม. มีลักษณะใกลเคียงกับถังหมักที่ติดตั้งในปงบประมาณ

Page 35: รายงานสรุปสําหรับผู บริหารwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files...บทท 5 สร ปผลการด าเน นงานและข

การสงเสริมและสาธิตการผลิตพลังงานจากขยะ บทที่ 5 (การติดตามประเมินผลระบบผลิตกาซชีวภาพจากขยะอินทรีย) สรุปผลการดําเนินงานและขอเสนอแนะ

รายงานสรุปสําหรับผูบริหาร

กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน กระทรวงพลังงาน 5 - 4

2549 ซึ่งไดแกไขปรับปรุงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพแลว ในขณะที่การผลิตและการติดตั้งถังหมักกาซชีวภาพฯ นั้น พพ. ไดวาจางแยกจากโครงการนี้

5.2.2 ผลการคัดเลือกสถานที่เหมาะสมสําหรับติดตั้งถังหมักกาซชีวภาพฯ ในภูมิภาคตางๆ ทั่วประเทศ จํานวน 200 แหง มีหนวยงานที่ไดรับการคัดเลือก ประกอบดวย องคกรปกครองสวนทองถิ่น 96 แหง สถานศึกษา 83 แหง หนวยงานในสังกัดกระทรวงกลาโหม 20 แหง และโรงพยาบาล 1 แหง โดยกระจายอยูในภูมิภาคตางๆ ไดแก ภาคกลาง 45 แหง ภาคเหนือ 39 แหง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 42 แหง ภาคตะวันออก 49 แหง และภาคใต 25 แหง 5.2.3 การสํารวจสถานที่ต้ังถังหมักกาซชีวภาพฯ พรอมใหคําแนะนําเกี่ยวกับการจัดเตรียมสถานที่ติดตั้งถังหมักของหนวยงานที่ไดรับคัดเลือกจํานวน 200 แหง ไดเร่ิมดําเนินการตั้งแตวันที่ 26 ตุลาคม 2550 และแลวเสร็จในวันที่ 14 ธันวาคม 2550 5.2.4 การดําเนินงานเริ่มเดินระบบ และสาธิต อบรมวิธีการใชงานถังหมักกาซชีวภาพฯ เร่ิมดําเนินการตั้งแตวันที่ 30 พฤศจิกายน 2550 และแลวเสร็จครบทั้ง 200 แหง ในวันที่ 10 เมษายน 2551

5.2.5 การติดตามผลการใชงานถังหมักกาซชีวภาพฯ ประกอบดวย การติดตามผลทางโทรศัพท การลงพื้นที่เพื่อติดตามผลการเดินระบบถังหมัก และการติดตามผลจากแบบบันทึกการเดินระบบซึ่งหนวยงานตางๆ ไดสงกลับมายังที่ปรึกษา ดําเนินการตั้งแตวันที่ 25 ธันวาคม 2550 ถึงวันที่ 31 พฤษภาคม 2551 สรุปไดวา หนวยงานที่ไดรับติดตั้งถังหมักซึ่งยังอยูในชวงเริ่มตนของการเดินระบบ สวนใหญมีผลการเดินระบบเปนที่นาพอใจ นั่นคือ กาซติดไฟ และเริ่มมีการใชหรือทดลองใชกาซชีวภาพในการหุงตมอาหาร รวมทั้งเริ่มนํากากตะกอนจากถังหมักไปใชประโยชนรูปของปุยอินทรีย อยางไรก็ตามควรมีการติดตามผล ใหคําแนะนําวิธีการแกไขปญหาในเดินระบบ และกระตุนใหเกิดการใชงานถังหมักและผลผลิตถังหมักอยางตอเนื่อง 5.3 สรุปผลการวิเคราะหความเหมาะสมทางดานเศรษฐศาสตรของโครงการ ผลการวิเคราะหความเหมาะสมทางดานเศรษฐศาสตรของโครงการเพื่อศึกษาความเหมาะสมของการลงทุนในการขยายผลการใชงานถังหมักกาซชีวภาพฯ โดยการติดตั้งถังหมักใหแกหนวยงานในภูมิภาคตางๆ ทั่วประเทศ จํานวน 200 แหง ในปงบประมาณ 2550 สรุปไดดังนี้

Page 36: รายงานสรุปสําหรับผู บริหารwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files...บทท 5 สร ปผลการด าเน นงานและข

การสงเสริมและสาธิตการผลิตพลังงานจากขยะ บทที่ 5 (การติดตามประเมินผลระบบผลิตกาซชีวภาพจากขยะอินทรีย) สรุปผลการดําเนินงานและขอเสนอแนะ

รายงานสรุปสําหรับผูบริหาร

กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน กระทรวงพลังงาน 5 - 5

- อัตราผลตอบแทนโครงการ (Internal Rate of Return: IRR) เทากับ 28.94 เปอรเซ็นต - มูลคาปจจุบันสุทธิ (Net Present Value: NPV) เทากับ 6,019,945.56 บาท - ระยะเวลาคืนทุน (Payback Period) เทากับ 2.60 ป - อัตราสวนผลประโยชนตอทุน (Benefit/Cost Ratio) เทากับ 1.55 ซึ่งจากผลการวิเคราะหดังกลาวสรุปไดวา โครงการมีความเหมาะสมทางดานเศรษฐศาสตร 5.4 ขอเสนอแนะ

5.4.1 ควรพัฒนาปรับปรุงประสิทธิภาพถังหมักกาซชีวภาพฯ เพิ่มเติม โดยเนนการเลือกใชวัสดุ

อุปกรณที่ตองทําการบํารุงรักษานอย การติดตั้งอุปกรณเพิ่มเติมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตกาซชีวภาพ การเพิ่มขนาด ความจุของถังเก็บกาซ รวมทั้งการพัฒนาปรับปรุงประสิทธิภาพของหัวเตาหุงตมเพื่อลดการสิ้นเปลืองกาซชีวภาพและทําใหสามารถใชกาซชีวภาพทดแทนกาซหุงตมไดมากขึ้น

5.4.2 การคัดเลือกสถานที่สําหรับติดตั้งถังหมักกาซชีวภาพฯ สําหรับการขยายผลโครงการในอนาคต ควรเนนหนวยงานที่มีความพรอมและเห็นความสําคัญของการจัดการขยะอินทรีย เชน องคกรปกครองสวนทองถิ่นซึ่งเปนหนวยงานที่มีหนาที่ในการจัดการขยะมูลฝอย และมีบุคคลกรที่สามารถมอบหมายใหปฏิบัติงานและรับผิดชอบการเดินระบบถังหมักไดโดยตรง เนื่องจากผลดําเนินโครงการที่ผานมาพบวา ส่ิงสําคัญที่มีผลตอความสําเร็จของการใชงานถังหมักก็คือ บุคลากร การจัดการและการสนบัสนนุจากภายในหนวยงานที่ไดรับติดตั้งถังหมักเอง

5.4.3 ควรมีติดตามผลการใชงานถังหมักฯ ที่ติดตั้งไปแลวอยางตอเนื่อง เพื่อใหการสนับสนุน ใหคําปรึกษาแนะนําการแกไขปญหา และกระตุนใหมีการใชงานถังหมักตอเนื่อง ทั้งนี้หากเปนไปไดควรใหหนวยงานตนสังกัดของหนวยงานที่ไดรับติดตั้งถังหมักเขามามีสวนรวมในการติดตามผลดวย

5.4.4 ปญหาที่เกิดขึ้นกับถังหมักกาซชีวภาพฯ ที่ติดตั้งในสถานที่ตางๆ ไมวาจะเปนปญหาเกี่ยวกับการเดินระบบหรือปญหาเกี่ยวกับความบกพรองจากติดตั้ง/ความเสียหายของอุปกรณ ควรไดรับคําแนะนําวิธีการแกไข หรือดําเนินการแกไขอยางทันทวงทีโดยผูที่มีหนาที่รับผิดชอบ เพื่อไมใหผูใชงานถังหมักเกิดความทอแทจากการใชงานถังหมักที่ไมประสบความสําเร็จและไมเห็นผล จนหยุดใชงานถังหมักไปในที่สุด

Page 37: รายงานสรุปสําหรับผู บริหารwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files...บทท 5 สร ปผลการด าเน นงานและข

สํานักวิจัย คนควาพลังงาน กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน กระทรวงพลังงาน 17 ถนนพระราม 1 เชิงสะพานกษัตริยศึก เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330

โทรศัพท 0-2222-4102-9 โทรสาร 0-2225-2548

บริษัท เอสทีเอฟอี จํากัด 388 อาคาร เอส พี ชั้น 17 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท 0-2273-0037 โทรสาร 0-2273-0735