รายงานฉบับสมบูรณ์e-lib.dede.go.th/mm-data/bib15337รายงาน...รายงานฉบ...

425
โครงการเตรียมความพร้อมภาคอุตสาหกรรม และธุรกิจกับการอนุรักษ์พลังงานและพลังงาน ทดแทนเพื่อเข้าสู ประชาคมเศรษฐกิจอาเซ ยน โดย สถาบันวิศวกรรมพลังงาน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เสนอ รายงานฉบับสมบูรณ์ Final Report

Upload: others

Post on 20-Jun-2020

5 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

  • โครงการเตรยีมความพรอ้มภาคอุตสาหกรรมและธุรกจิกบัการอนุรกัษพ์ลงังานและพลงังานทดแทนเพือ่เขา้สูป่ระชาคมเศรษฐกจิอาเซยีน

    โดย

    สถาบนัวศิวกรรมพลงังาน

    มหาวทิยาลยัเกษตรศาสตร ์

    เสนอ

    รายงานฉบบัสมบรูณ์

    Final Report

    F

  • รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการเตรียมความพรอ้มภาคอตุสาหกรรมและธรุกิจกับการอนรุักษ์พลังงานและพลังงานทดแทนเพือ่เข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

    โครงการเตรยีมความพร้อมภาคอุตสาหกรรม และธุรกจิกบัการอนุรกัษ์พลังงานและพลงังานทดแทน

    เพื่อเขา้สู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซยีน

    เสนอ

    โดย

    มหาวิทยาลยัเกษตรศาสตร์ (สถาบนัวศิวกรรมพลงังาน)

    มกราคม 2558

    รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)

  • รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการเตรียมความพรอ้มภาคอตุสาหกรรมและธรุกิจกับการอนรุักษ์พลังงานและพลังงานทดแทนเพือ่เข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

    กติตกิรรมประกาศ ขอขอบคุณกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน กระทรวงพลังงาน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการด าเนินการศึกษา "โครงการเตรียมความพร้อมภาคอุตสาหกรรมและธุรกิจกับการอนุรักษ์พลังงานและพลังงานทดแทนเพ่ือเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน" ขอบขอบคุณหน่วยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ และเอกชน ที่ให้ความร่วมมือ และอนุเคราะห์สนับสนุนด้านข้อมูล ขอขอบคุณผู้แทนจากหน่วยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ และเอกชนที่ร่วมให้ความเห็นและแลกเปลี่ยนข้อมูลในการประชุมเชิงปฏิบัติการ และการประชุมสัมมนา ท้ายสุดนี้ ขอขอบคุณคณะท างานก ากับโครงการ คณะกรรมการประสานงานโครงการจากหน่วยงานต่าง ๆ คณะท างานของกองแผนงาน กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน กระทรวงพลังงาน รวมทั้งเจ้าหน้าที่ทุกท่านที่เกี่ยวข้อง ที่สนับสนุนการท างาน ทั้งทางด้านข้อมูล การอ านวยความสะดวก และการให้ค าชี้แนะที่มีค่า อันเป็นประโยชน์อย่างยิ่ง เพ่ือให้โครงการศึกษาและรายงานฉบับนี้สมบูรณ์

  • i

    รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการเตรียมความพรอ้มภาคอตุสาหกรรมและธรุกิจกับการอนรุักษ์พลังงานและพลังงานทดแทนเพือ่เข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

    สารบญั

    หน้า

    บทที ่1 บทน า 1 1.1 ที่มา

    1.2 วัตถุประสงค์ 1.3 เป้าหมาย 1.4 ขอบเขต 1.5 ระยะเวลาด าเนินการ

    1 2 2 2 3

    บทที ่2 แนวคดิและทฤษฎทีีเ่กี่ยวขอ้ง 4 2.1 แนวคิดและทฤษฎีในการจัดท าแผนยุทธศาสตร์

    2.1.1 วิสัยทัศน์ 2.1.2 พันธกิจ 2.1.3 เป้าประสงค์ 2.1.4 กลยุทธ ์ 2.1.5 แผนที่น าทาง 2.1.6 แผนบริหารความเสี่ยง 2.2 แนวคิดและทฤษฎีด้านการวิเคราะห์สถานการณ์และจัดวางกลยุทธ์ 2.2.1 SWOT Analysis 2.2.2 TOWS Matrix 2.2.3 Gap Analysis

    4 4 5 6 7 10 11 14 14 15 17

    บทที ่3 วิธกีารศกึษา 18 3.1 การศึกษาข้อมูลทั่วไปและข้อมูลด้านพลังงานทดแทนและการอนุรักษ์พลังงานใน

    ประเทศอาเซียน 3.1.1 การศึกษาข้อมูลทุติยภูมิจากเอกสารที่เกี่ยวข้อง 3.1.2 การศึกษาข้อมูลปฐมภูมิจากแบบสอบถามผู้ประกอบการ 3.1.3 การศึกษาข้อมูลปฐมภูมิจากการสัมภาษณ์ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง 3.1.4 การศึกษาข้อมูลปฐมภูมิจากการประชุมกลุ่มย่อยผู้ประกอบการ 3.1.5 การศึกษาข้อมูลปฐมภูมิจากการประชุมกลุ่มย่อยหน่วยงานภายใน พพ.

    3.2 การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อจัดท าแผนยุทธศาสตร์ 3.2.1 การคัดกรองข้อมูลที่ได้จากการศึกษารวบรวม 3.2.2 การวิเคราะห์ศักยภาพและความพร้อมในเชิงรุกและเชิงรับ

    20

    20 23 24 24 25 25 25 27

  • ii

    รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการเตรียมความพรอ้มภาคอตุสาหกรรมและธรุกิจกับการอนรุักษ์พลังงานและพลังงานทดแทนเพือ่เข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

    สารบญั (ตอ่) หน้า

    บทที ่3 วิธกีารศกึษา (ตอ่) 3.2.3 การวิคราะห์ SWOT

    3.2.4 การวิเคราะห์ TOWS Matrix 3.2.5 การวิเคราะห์ Gap 3.2.6 การจัดวางแผนยุทธศาสตร์และแผนที่น าทาง 3.3 การเตรียมความพร้อมให้กับผู้ประกอบการพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน ไทยในการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 3.3.1 การจัดสัมมนาและศึกษาดูงานในพ้ืนที่จริง 3.3.2 การจัดสัมมนาเผยแพร่ผลการศึกษาวิเคราะห์เพ่ือจัดท าแผนยุทธศาสตร์

    30 31 33 34 37

    37 38

    บทที ่4 ผลการศกึษา 39 4.1 ผลการศึกษาข้อมูลพื้นฐานประเทศในอาเซียน

    4.1.1 ผลการศึกษาข้อมูลแต่ละประเทศในอาเซียน 4.1.2 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถามผู้ประกอบการ 4.1.3 ผลการสัมภาษณ์ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง 4.1.4 ผลการประชุมกลุ่มย่อยผู้ประกอบการ 4.1.5 ผลการประชุมกลุ่มย่อยหน่วยงานภายใน พพ.

    4.2 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล 4.2.1 ผลการคัดกรองข้อมูลเพ่ือใช้ประกอบการจัดท าแผนยุทธศาสตร์ 4.2.2 ผลการประเมินศักยภาพและความพร้อมของธรุกิจพลังงานทดแทนและ

    อนุรักษ์พลังงานในเชิงรุกและเชิงรับ 4.2.3 ผลการวิเคราะห์ SWOT (SWOT Analysis) 4.2.4 ผลการวิเคราะห์ TOWS Matrix 4.2.5 ผลการวิเคราะห์ Gap 4.2.6 ผลการจัดวางแผนยุทธศาสตร์และแผนที่น าทาง 4.2.7 แผนงานเตรียมความพร้อมภาคธุรกิจ RE&EE ในการเข้าสู่ AEC โดยรวม

    4.3 ผลการเตรียมความพร้อมให้กับผู้ประกอบการพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน ไทยในการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

    4.3.1 ผลการจัดสัมมนาและศึกษาดูงานในพ้ืนที่จริง 4.3.2 ผลการจัดสัมมนาให้ความรู้เกี่ยวกับแผนยุทธศาสตร์

    39 39 67 80 88 127 131 131 230

    260 314 324 344 398 406

    406 408

  • iii

    รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการเตรียมความพรอ้มภาคอตุสาหกรรมและธรุกิจกับการอนรุักษ์พลังงานและพลังงานทดแทนเพือ่เข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

    สารบญั (ตอ่) หน้า

    บทที ่5 สรปุผลการศกึษาและขอ้เสนอแนะ 410 5.1 สรุปผลการศึกษา

    5.2 ข้อเสนอแนะสิ่งที่สมควรด าเนินการ 410 413

    5.3 ข้อเสนอแนะประกอบการน าผลการศึกษาไปใช้งาน 416 5.4 ภาพรวมแผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy Map) 418 5.4.1 แผนที่ยุทธศาสตร์การเตรียมความพร้อมส าหรับธุรกิจพลังงานทดแทนไทยใน

    การเข้าสู่ AEC 418

    5.4.2 แผนที่ยุทธศาสตร์การเตรียมความพร้อมส าหรับธุรกิจอนุรักษ์พลังงานไทยใน การเข้าสู่ AEC

    419

    ภาคผนวก ก. ข้อมลูดา้นพลงังานทดแทนและการอนรุกัษพ์ลังงานในอาเซยีน ภาคผนวก ข. ข้อมลูจากแหลง่ปฐมภมูิ

    ข.1 แบบสอบถามผู้ประกอบการ ข.2 การสัมภาษณ์ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ข.3 การประชุมกลุ่มย่อยผู้ประกอบการ ข.4 การประชุมกลุ่มย่อยหน่วยงานภายใน พพ.

    ภาคผนวก ค.

    รายงานผลการศกึษาแยกตามประเภทธรุกจิพลงังานทดแทนและ อนรุักษ์พลงังาน ค.1 กลุ่มธุรกิจพลังงานทดแทนประเภทเอทานอล ค.2 กลุ่มธุรกิจพลังงานทดแทนประเภทไบโอดีเซล ค.3 กลุ่มธุรกิจพลังงานทดแทนประเภทชีวมวล ค.4 กลุ่มธุรกิจพลังงานทดแทนประเภทก๊าซฃีวภาพ ค.5 กลุ่มธุรกิจพลังงานทดแทนประเภทพลังงานแสงอาทิตย์ ค.6 กลุ่มธุรกิจพลังงานทดแทนประเภทพลังงานลม ค.7 กลุ่มธุรกิจพลังงานทดแทนประเภทพลังน้ า ค.8 กลุ่มธุรกิจพลังงานทดแทนประเภทผลิตพลังงานจากขยะ ค.9 กลุ่มธุรกิจให้บริการด้านการอนุรักษ์พลังงาน ค.10 กลุ่มธุรกิจค้าขายวัสดุอุปกรณ์อนุรักษ์พลังงาน

  • รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการเตรียมความพรอ้มภาคอตุสาหกรรมและธรุกิจกับการอนรุักษ์พลังงานและพลังงานทดแทนเพือ่เข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

    บทที ่1 บทน า

    รายงานนี้จัดท าขึ้นเพ่ือตอบสนองต่อ “โครงการเตรยีมความพร้อมภาคอุตสาหกรรมและธรุกจิกับการอนรุักษ์พลงังานและพลังงานทดแทนเพื่อเข้าสูป่ระชาคมเศรษฐกิจอาเซียน” โดยมีรายละเอียดขอบเขตและเงื่อนไขในการด าเนินโครงการที่ก าหนดไว้ดังต่อไปนี้ 1.1 ที่มา

    การจัดตั้งประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) เป็นเป้าหมายที่ท้าทายที่ประเทศสมาชิกอาเซียนจ าต้องด าเนินการเตรียมความพร้อมและเร่งปรับตัวเพ่ือรองรับต่อการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในปี พ.ศ. 2558 โดยมีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนเป็นเสาหลักที่ส าคัญเสาหนึ่งที่จะท าให้การเป็นประชาคมอาเซียนประสบความส าเร็จตามเป้าหมายที่วางไว้ นั่นคือ การสร้างอาเซียนให้เป็นตลาดและฐานการผลิตเดียว โดยก าหนดให้มีการเคลื่อนย้ายของสินค้า บริการ การลงทุน เงินทุน และแรงงานฝีมือ อย่างสะดวกและเสรีมากขึ้น รวมทั้งการสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจ โดยมีจุดมุ่งหมายส าคัญคือ การท าให้อาเซียนเป็นภูมิภาคที่มีอ านาจในการแข่งขันกับตลาดโลกมากข้ึน

    ในการนี้ แต่ละภาคส่วนจ าเป็นจะต้องเตรียมความพร้อมและปรับตัวอย่างเหมาะสม ทั้งด้านนโยบาย กฎและระเบียบ แผนงาน และกิจกรรม เพ่ือให้มีศักยภาพในการแข่งขันอย่างเสรีทางด้านการค้าและการลงทุนกับประเทศอาเซียน รวมทั้งนอกอาเซียน ซึ่งธุรกิจสาขาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน ถือได้ว่าเป็นสาขาหนึ่งที่จะได้รับผลกระทบทั้งทางบวกและทางลบ ดังนั้น เพ่ือให้ภารกิจขององค์กรด้านการส่งเสริมการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงานให้ประสบความส าเร็จตามเป้าหมายของแผนพัฒนาพลังงานทดแทน 10 ปี (2555-2564) ซึ่งได้ก าหนดให้เพ่ิมสัดส่วนการใช้พลังงานทดแทนให้เป็นร้อยละ 25 ของการใช้พลังงานขั้นสุดท้ายของประเทศในปี 2564 และ การส่งเสริมแผนอนุรักษ์พลังงาน 20 ปี (2555-2573) ซึ่งได้ก าหนดให้ลดความเข้มการใช้พลังงาน (Energy Intensity) ลงร้อยละ 25 เมื่อเทียบกับ ปี พ.ศ. 2548 โดยการพัฒนาขีดความสามารถของ ภาคธุรกิจไทยให้มีความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงการปรับเปลี่ยนที่จะเกิดขึ้นในอนาคตจึงเป็นสิ่งส าคัญอย่างยิ่ง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การพัฒนาศักยภาพของบุคลากรในเรื่องการสร้างมาตรฐานอุปกรณ์ประสิทธิภาพพลังงานและเทคโนโลยีพลังงานทดแทน หรือแม้แต่การสร้างมาตรการปกป้องสินค้าภายในประเทศด้วยการน าเรื่อง Local Content หรือ มาตรการอ่ืนๆ มาใช้นั้น จะต้องด าเนินการอย่างไรและลดผลกระทบที่จะเกิดขึ้นอย่างไร เพ่ือให้สอดคล้องกับการปรับตัวและการแข่งขันในภูมิภาค โดยการขยายโอกาสของภาคเอกชนในการส่งออกไปยังประเทศสมาชิกให้มากยิ่งขึ้น ทั้งนี้ภาครัฐ จึงควรเตรียมการรองรับในการให้ความรู้และการส่งเสริมการเตรียมความพร้อมของภาคธุรกิจ เพ่ือเป็นการรองรับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น

  • 2

    รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการเตรียมความพรอ้มภาคอตุสาหกรรมและธรุกิจกับการอนรุักษ์พลังงานและพลังงานทดแทนเพือ่เข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

    1.2 วัตถปุระสงค ์1.2.1 เพ่ือจัดท าแผนยุทธศาสตร์เพ่ือเตรียมความพร้อมให้แก่ภาคอุตสาหกรรมและธุรกิจด้าน

    พลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน ทั้งในเชิงรุกและเชิงรับ โดยค านึงถึงปัจจัย ความพร้อมและศักยภาพการแข่งขันเพ่ือเข้าสู่การเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

    1.2.2 เพ่ือเผยแพร่องค์ความรู้และพัฒนาศักยภาพบุคลากร และโดยประชาสัมพันธ์แนวทางและมาตรการในการเตรียมความพร้อมรวมทั้งตระหนักถึงผลกระทบที่มีต่อการค้าการลงทุนด้านพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงานในภูมิภาคอาเซียนและภายนอกนอกอาเซียน ของนักธุรกิจ/ผู้ประกอบการไทย รวมทั้งกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เพ่ือรองรับการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 1.3 เปา้หมายโครงการ

    1.3.1 มีแผนยุทธศาสตร์เพ่ือเตรียมความพร้อมให้แก่ภาคอุตสาหกรรมและธุรกิจด้านพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน ทั้งในเชิงรุกและเชิงรับ โดยค านึงถึงปัจจัย ความพร้อม และศักยภาพการแข่งขัน เพ่ือเข้าสู่การเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

    1.3.2 จัดประชุม/สัมมนา เผยแพร่องค์ความรู้และพัฒนาศักยภาพบุคลากรโดยประชาสัมพันธ์แนวทางและมาตรการในการเตรียมความพร้อม รวมทั้งสร้างความตระหนักถึงผลกระทบที่มีต่อการค้าการลงทุนด้านพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงานในภูมิภาคอาเซียนและภายนอกอาเซียนของ นักธุรกิจ/ผู้ประกอบการไทย รวมทั้งกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเพ่ือรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน 1.4 ขอบเขต

    1.4.1 ศึกษาภาพรวมและสถานภาพของตลาดด้านพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงานในภูมิภาคอาเซียน รวมถึงแนวโน้มของการขยายตัวและการเจริญเติบโตของอุปสงค์และอุปทานของเทคโนโลยี วัตถุดิบ สินค้าและการบริการด้านพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน และศึกษาผลกระทบด้านกฎระเบียบที่เกิดจากการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ตลอดจนพันธะ สัญญาต่างๆ ที่เกี่ยวข้องทั้งในกรอบความร่วมมือภูมิภาคอาเซียน และอาเซียนกับมิตรประเทศอ่ืนๆ เช่น ASEAN plus Three, East Asia Summit, Asia Pacific Economic Cooperation เป็นต้น

    1.4.2 ศึกษาและวิเคราะห์แนวโน้มการพัฒนาพลังงานทดแทนและการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานของประเทศในอาเซียนแต่ละประเทศ ทั้งด้านแนวนโยบายการส่งเสริมจากภาครัฐ กฎระเบียบ และข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งความสามารถในการแข่งขัน ศักยภาพของแหล่งวัตถุดิบ ความสามารถในการผลิตและห่วงโซ่อุปทาน และโครงสร้างพื้นฐาน

    1.4.3 ศึกษาประเมินความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรม/ธุรกิจพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงานของไทย และบ่งชี้อุตสาหกรรม/เทคโนโลยี/การบริการที่มีศักยภาพในการเติบโตและการแข่งขันเพ่ือน าไปวิเคราะห์และระบุประเภทของอุตสาหกรรมและธุรกิจที่ควรเป็นกลุ่มเป้าหมาย ที่ควรให้ความส าคัญ (Product Champion) หรือเป็นประเภทพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน ที่สามารถเป็นผู้น าในตลาดอาเซียนได้ โดยค านึงถึงจุดอ่อน ช่องว่าง ประเด็นท้าทาย และความเสี่ยง ในการขยายตัวของอุตสาหกรรมและธุรกิจไทยไปยังต่างประเทศ โดยครอบคลุมถึงปัจจัยที่เกี่ยวข้องที่ส าคัญ เช่น ด้านการตลาด ด้านการเงิน ด้านบุคลากร ด้านเทคโนโลยี ด้านวัตถุดิบ ด้านโครงสร้างพื้นฐานและราคา ฯลฯ

  • 3

    รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการเตรียมความพรอ้มภาคอตุสาหกรรมและธรุกิจกับการอนรุักษ์พลังงานและพลังงานทดแทนเพือ่เข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

    นอกจากนี้จะต้องบ่งชี้ประเภทอุตสาหกรรมและธุรกิจพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน ที่มีความอ่อนไหว และวิเคราะห์เพ่ือก าหนดแนวทางป้องกันและลดผลกระทบทางลบจากการเข้าสู่ AEC ให้ได้มากที่สุด

    1.4.4 จัดท าแผนยุทธศาสตร์และระบุมาตรการในการเตรียมความพร้อม (ทั้งเชิงรุกและเชิงรับ) ให้แก่ภาคอุตสาหกรรมและธุรกิจด้านพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน ส าหรับการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

    1.4.5 จัดสัมมนาเพ่ือเผยแพร่องค์ความรู้และพัฒนาศักยภาพบุคลากร โดยประชาสัมพันธ์แนวทางและมาตรการในการเตรียมความพร้อมส าหรับภาคการค้าการลงทุนด้านพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงานในภูมิภาคอาเซียนและภายนอกอาเซียนให้กับนักธุรกิจ/ผู้ประกอบการไทย ในการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน รวมทั้งสร้างความตระหนักถึงผลกระทบที่มีต่อสาขาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน

    1.5 ระยะเวลาด าเนนิการ ระยะเวลาด าเนินการ 12 เดือน นับจากวันลงนามในสัญญาว่าจ้าง

  • รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการเตรียมความพรอ้มภาคอตุสาหกรรมและธรุกิจกับการอนรุักษ์พลังงานและพลังงานทดแทนเพือ่เข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

    บทที ่2 แนวคดิและทฤษฎ ี

    แผนยุทธศาสตร์ หมายถึง ทิศทางหรือแนวทางปฏิบัติตามพันธกิจและภารกิจ (Mission) ให้สัมฤทธิผลตามวิสัยทัศน์ (Vision) และเป้าประสงค์ของหน่วยงาน (Corporate Goal) แผนยุทธศาสตร์ที่ดีนั้น จะต้องถูกก าหนดขึ้นตามวิสัยทัศน์ของหน่วยงาน อันเป็นผลผลิตทางความคิดร่วมกันของสมาชิก ในหน่วยงานที่ได้ท างานร่วมกันหรือจะท างานร่วมกัน โดยวิสัยทัศน์นี้เป็นความเห็นพ้องต้องกันว่าเป็นจุดหมายปลายทางที่หน่วยงานประสงค์จะไปให้ถึงและวิสัยทัศน์นี้มีการแปลงออกมาเป็นวัตถุประสงค์ (Objective) ที่เป็นรูปธรรม และสามารถวัดได้ ทั้งนี้หน่วยงานสามารถใช้แผนยุทธศาสตร์เป็นกรอบในการประเมินผลงานประจ าปีงบประมาณ ยิ่งไปกว่านั้นหน่วยงานยังสามารถใช้ แผนยุทธศาสตร์เป็นกรอบในการจัดท าแผนปฏิบัติการ (Action Plan) 2.1 แนวคดิและทฤษฎใีนการจดัท าแผนยทุธศาสตร์

    กระบวนการจัดท าแผนยุทธศาสตร์จะประกอบด้วยองค์ประกอบที่ส าคัญได้แก่การก าหนด วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ เป้าหมายของหน่วยงาน โดยมีรายละเอียดดังนี้

    2.1.1 วิสัยทัศน์ วิสัยทัศน์ เป็นความคาดหวังหรือจินตนาการที่ต้องการจะเป็นในอนาคต โดยเกิดจาก

    ทัศนคติและมุมมอง ตลอดจนแนวคิดของผู้บริหารที่แตกต่างกันออกไปเนื่องจากการมีภูมิหลัง (Background) และประสบการณ์ (Experience) ที่ต่างกัน วิสัยทัศน์ จึงเป็นทัศนียภาพเกี่ยวกับอนาคตที่ไม่จ าเป็นต้องเห็นได้ด้วยตา (รูปธรรม) แต่เกิดขึ้นในความคิดค านึง (นามธรรม) เกี่ยวกับสภาวการณ์ ในอนาคตของสภาวะแวดล้อมและอนาคตของหน่วยงาน วิสัยทัศน์ จะอธิบายถึงความปรารถนาหรือความทะเยอทะยานส าหรับอนาคต แต่ไม่ได้ระบุถึงวิธีการที่จะน าไปสู่ความมุ่งหมายนั้นอย่างชัดเจน เป็นข้อความซึ่งก าหนดทิศทางของพันธกิจ เป็นสถานภาพอย่างใดอย่างหนึ่งที่หน่วยงานมุ่งหมาย มุ่งหวังหรือประสงค์จะเป็นหรือจะมีในอนาคต ในการก าหนดวิสัยทัศน์ของหน่วยงาน มีประเด็นที่ควรพิจารณา อาทิ

    (1) ลักษณะของวิสัยทัศน์ที่ดี

    - มีขอบเขต (Scope) ของการปฏิบัติงาน - มีความชัดเจน และสามารถน าไปปฏิบัติได้ (Implementability) - เป็นภาพเชิงบวก (Positive image) ที่ทุกคนในหน่วยงานมุ่งมั่นศรัทธาและสะท้อนถึงความ

    เป็นเลิศของหน่วยงาน - เป็นข้อความในเชิงบวก ปลุกเร้า (Motivating) และดึงดูดใจ (Inspiring) - ทั้งผู้น าและสมาชิกทุกคนในหน่วยงานมีส่วนร่วม (Participation) ในการก าหนด - ค านึงถึงความต้องการ (Needs) ของผู้มารับบริการเป็นส าคัญ (Customer Oriented) - มีความสอดคล้องกับค่านิยม (Values) และนโยบายของหน่วยงาน - มีความสอดคล้องกับแนวโน้มในอนาคต (Future trend)

  • 5

    รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการเตรียมความพรอ้มภาคอตุสาหกรรมและธรุกิจกับการอนรุักษ์พลังงานและพลังงานทดแทนเพือ่เข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

    (2) ปัจจัยในการก าหนดวิสัยทัศน์

    - ข้อมูลข่าวสาร (Information) ทั้งภายในและภายนอกหน่วยงาน - องค์ความรู้ (Knowledge) ของบุคลากรในหน่วยงานนั้นๆ - ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ (Creativity) ที่ปราศจากการ “ยึดติด” กับรูปแบบหรือวิธีการเดิมๆ - ความคาดหวัง (Expectation) ของผู้มีส่วนได้เสีย (Stakeholders) ของหน่วยงาน - การผสมผสาน จินตนาการและดุลยพินิจ ในด้านศักยภาพและความสามารถของบุคลากร

    ตลอดจนทักษะ และประสบการณ์ในลักษณะหน่วยงานแห่งการเรียนรู้ (Learning organization)

    - ความสามารถในการคิดวิเคราะห์สภาพแวดล้อมของหน่วยงานและแนวโน้มต่างๆ ได้ อย่างแม่นย าด้วยวิธีการเชิงระบบ (Systemic approach)

    - เป็นการก าหนดทางเลือก (Alternatives) ของหน่วยงานในการเดินไปสู่อนาคต ว่าจะใช้ กลยุทธ์ใดเป็นตัวน า

    - เป็นการรวมพลังของความมุ่งมั่นต่อการสร้างนวัตกรรม (Innovative) เพ่ือให้เกิด การเปลี่ยนแปลงอย่างเป็นรูปธรรม

    (3) ประโยชน์ของวิสัยทัศน์ต่อการบริหารหน่วยงาน

    - เป็นการก าหนดอนาคต (Future oriented) ที่ทุกคนศรัทธา - เป็นการฟันฝ่าความท้าทายใหม่ (New challenge) ไม่หลงไปกับความส าเร็จในอดีต - การมีวิสัยทัศน์ร่วมกัน ก่อให้เกิดการท างานเป็นทีม (Teamwork) โดยมีความมุ่งมั่นไปสู่

    จุดหมายเดียวกัน 2.1.2 พนัธกจิ พันธกิจ คือ บทบาทหน้าที่ของหน่วยงาน ที่ต้องด าเนินการเพ่ือให้วิสัยทัศน์เป็นจริง พันธกิจจึงเป็นการบ่งบอกหน้าที่ที่ก าลังท าหรือจะท าในอนาคต และก าหนดขอบเขตของงานหรือบทบาทหน้าที่ที่องค์กรต้องท าในลักษณะอาณัติ (Mandate) หรือตามกฎหมาย เพ่ือให้องค์กรบรรลุวิสัยทัศน์ที่ก าหนดไว้ หรือเป็นภารกิจตามยุทธศาสตร์ (ตามแผนชาติ ตามนโยบายของรัฐบาล ตามนโยบายของรัฐมนตรี ฯลฯ) เกี่ยวกับพันธกิจ มีประเด็นที่ควรศึกษาในรายละเอียดดังนี้

    (1) ข้อความพันธกิจ (Mission Statement) ข้อความพันธกิจจะเป็นการแสดงแนวคิดและวิธีการด าเนินงานเพ่ือบรรลุ

    วิสัยทัศน์ที่ก าหนด เป็นการระบุภารกิจที่องค์กรนั้นพยายามจะบรรลุและจะระบุขอบเขตการปฏิบัติการขององค์กรเกี่ยวกับผลผลิตและการให้บริการ ข้อความพันธกิจที่ชัดเจนจะอธิบายถึงค่านิยมและล าดับความส าคัญต่างๆ ขององค์กร และบ่งบอกถึงทิศทางในอนาคตขององค์กร โดยจะก าหนดขอบเขตเพ่ือเสนอแนะการก าหนดกลยุทธ์

    (2) ความส าคัญในการก าหนดพันธกิจให้ชัดเจน - เพ่ือเป็นหลักส าคัญในการก าหนด เป้าประสงค์ และทิศทางขององค์กร - เพ่ือก าหนดหลักเกณฑ์มาตรฐานในการจัดสรรทรัพยากรขององค์กร

  • 6

    รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการเตรียมความพรอ้มภาคอตุสาหกรรมและธรุกิจกับการอนรุักษ์พลังงานและพลังงานทดแทนเพือ่เข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

    - เพ่ือความสะดวกในการแปลความหมายของเป้าประสงค์ในโครงสร้างการท างาน การออกแบบงาน และก าหนดความรับผิดชอบภายในองค์กร ด้วยวิธีการซึ่งค านึงถึงต้นทุน เวลา และตัวชี้วัดการท างานที่สามารถประเมินผลและควบคุมผลงานได้

    (3) แนวทางการก าหนดพันธกิจจะต้องตอบค าถามต่อไปนี้ - อะไรคือเหตุผลในการก่อตั้งหรือคงอยู่ขององค์กร และอะไรคือจุดมุ่งหมายพ้ืนฐานของ

    องค์กร - ลักษณะเด่นหรือเอกลักษณ์ขององค์กรคืออะไร - ความแตกต่างด้านพันธกิจขององค์กรกับองค์กรอ่ืนในช่วง 3 - 5 ปีข้างหน้า - กลุ่มประชาชนผู้รับบริการหลักคือกลุ่มใด - ผลผลิตและบริการที่ส าคัญในปัจจุบันและอนาคตคืออะไร - ลักษณะประโยชน์ด้านเศรษฐกิจที่ส าคัญคืออะไร - ความเชื่อ ค่านิยม และปรัชญาขององค์กรคืออะไร

    2.1.3 เป้าประสงค์ การก าหนดเป้าประสงค์ เป็นขั้นตอนต่อจากการจัดท าพันธกิจ เพ่ือให้มีเป้าหมายในอนาคต ใช้กรอบชี้น าการก าหนดกลยุทธ์และทิศทางในการท างานต่อไป รวมทั้งเป็นพ้ืนฐานส าหรับ การประเมินผลความส าเร็จและกระบวนการด าเนินงาน ซึ่งจะน าเสนอรายละเอียดการก าหนดเป้าประสงค์ดังต่อไปนี้

    เป้าประสงค์ เป็นสิ่งที่คาดหวังในอนาคต หรือ ผลลัพธ์ที่องค์กรต้องการให้เกิดขึ้นโดยมี ความเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์และพันธกิจ เพื่อเป็นแนวทางในการก าหนดกลยุทธ์ และประเมินผลความส าเร็จต่อไป โดยนักวิชาการหลายท่านได้น าเสนอความหมายของเป้าประสงค์ไว้ดังต่อไปนี้ 1. เป้าประสงค์ หมายถึง การก าหนดสิ่งที่ต้องการในอนาคตซึ่งหน่วยงานจะต้องพยายาม ให้เกิดขึ้น หรือผลลัพธ์/ผลส าเร็จที่องค์กรต้องการบรรลุถึง โดยทั่วไปจะเป็นข้อความที่กล่าวอย่างกว้างๆ ถึงผลลัพธ์ของบริการ อันเนื่องมาจากประเด็นกลยุทธ์หลัก 2. เป้าประสงค์ หมายถึง ความคาดหวังส าคัญที่ต้องการให้เกิดขึ้น โดยสอดคล้องกับพันธกิจและวิสัยทัศน์ เพ่ือใช้เป็นกรอบชี้น าการก าหนดกลยุทธ์และแผนปฏิบัติการ รวมทั้งเป็นพ้ืนฐานส าหรับการประเมินผลความส าเร็จขององค์กรและกระบวนการด าเนินงาน 3. เป้าประสงค์ หมายถึง การก าหนดสิ่งที่ต้องการในอนาคตซึ่งหน่วยงานจะพยายามให้เกิดขึ้น หรือผลลัพธ์/ผลส าเร็จที่องค์กรบรรลุถึง โดยทั่วไปจะเป็นข้อความที่กว้างๆ ถึงผลลัพธ์ อันสืบเนื่องมาจากหน้าที่หลักของหน่วยงาน โดยสอดคล้องกับพันธกิจที่ก าหนดไว้

    กระบวนการก าหนดเป้าประสงค์ เป็นการระบุความคาดหวังว่าเมื่อด าเนินการตามพันธกิจแล้วส่งผลให้วิสัยทัศน์บรรลุ หากวิสัยทัศน์บรรลุแล้วคาดหวังว่าใครจะเป็นผู้ได้รับผลประโยชน์และได้รับผลประโยชน์อย่างไร เป้าประสงค์หลักเป็นสิ่งที่ต้องการในอนาคต ซึ่งหน่วยงานต้องพยายามให้เกิดขึ้น เป็นผลลัพธ์สุดท้ายหรือสิ่งสุดท้ายที่ต้องให้บรรลุผล เป็นการขยายความต้องการที่เกิดขึ้นจาก วิสัยทัศน์ และพันธกิจ ให้ชัดเจนยิ่งขึ้น อันจะน าไปสู่การก าหนดประเด็นกลยุทธ์ต่อไป ทั้งนี้การก าหนดขั้นตอนการก าหนดเป้าประสงค์หลัก จะวิเคราะห์พันธกิจเป็นผลการด าเนินงานหรือผลลัพธ์ที่แท้จริงที่สามารถวัดได้แล้วจึงก าหนดเป้าประสงค์หลักให้สอดคล้องเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์และพันธกิจ

  • 7

    รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการเตรียมความพรอ้มภาคอตุสาหกรรมและธรุกิจกับการอนรุักษ์พลังงานและพลังงานทดแทนเพือ่เข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

    2.1.4 กลยุทธ์ การก าหนดกลยุทธ์ (Strategic Formulation) เป็นการเลือกวิธีการสู่จุดหมายปลายทางอย่างมีทิศทางที่เหมาะสมสอดคล้องกับสภาพแวดล้อม และตอบสนองวิธีการสู่จุดหมายปลายทางระดับนโยบาย สามารถด าเนินการได้ประสบความส าเร็จ น าไปปฏิบัติได้จริง การก าหนดกลยุทธ์เป็นการ น าข้อมูลและความรู้ต่างๆ ที่ได้รับจากการวิเคราะห์เชิงกลยุทธ์ (SWOT Analysis, Gab Analysis, TOWS Matrix) มาเขียนเป็นกลยุทธ์ในรูปแบบต่างๆ รวมทั้งประเมินและคัดเลือกว่ากลยุทธ์ใดมีความเหมาะสมที่จะด าเนินการมากน้อยเพียงใดและจ าเป็นเร่งด่วนเพียงใด (ระยะสั้น กลาง ยาว) การก าหนดกลยุทธ์จึงเปรียบเสมือนการตอบค าถามว่า “เราจะไปถึงจุดนั้นได้อย่างไร? หรือ เราจะบรรลุทิศทางนั้นได้อย่างไร? (How do we get there?)”

    กลยุทธ์ หมายถึง แนวคิดหรือวิธีการท างานที่แยบคาย แยบยล เพ่ือให้บรรลุผลตามวิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าประสงค์ กลยุทธ์จะบ่งบอกลักษณะการเคลื่อนตัวว่าจะก้าวไปสู่เป้าประสงค์ที่ต้องการในอนาคตได้อย่างไร เป็นการตอบค าถามว่า “จะไปสู่จุดหมายที่ต้องการได้อย่างไร?”โดยสิ่งส าคัญที่จะต้องค านึงถึง ได้แก่

    1. สภาพแวดล้อมที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ ทั้งสภาพแวดล้อมภายในที่เป็นจุดแข็ง-จุดอ่อน และสภาพแวดล้อมภายนอกท่ีเป็นโอกาสและอุปสรรคในการท างาน

    2. ทิศทางของหน่วยงาน ได้แก่ วิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าประสงค์ สรุปได้ว่าในการก าหนดกลยุทธ์ต้องศึกษาสถานภาพด้วยการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมและประเมิน

    สถานภาพก่อน เพ่ือน าผลการศึกษามาก าหนดทิศทางในการพัฒนาและก าหนดกลยุทธ์การด าเนินงานต่อไป แนวทางในการก าหนดกลยุทธ์ มีองค์ประกอบที่ส าคัญคือ การพิจารณาถึงทิศทาง ได้แก่ วิสัยทัศน์ที่ต้องการบรรลุ และการจ าแนกกลยุทธ์ออกเป็นแนวคิดทิศทางและวิธีการท างานหลัก แล้วจึงก าหนดวิธีการท างานเพ่ือให้แนวคิดและวิธีการท างานหลักบรรลุ ในการจ าแนกกลยุทธ์นั้น อาจใช้ค า/ข้อความในการจ าแนกกลยุทธ์ไม่เหมือนกันแต่ที่พบบ่อยๆมักจะจ าแนกเป็น ประเด็นกลยุทธ์/กลยุทธ์ กลยุทธ์หลัก/กลยุทธ์รอง ยุทธศาสตร์/กลยุทธ์ กลยุทธ์/จุดเน้น ยุทธศาสตร์/มาตรการ/แนวทางการด าเนินงาน ในที่นี้จะก าหนดเป็น กลยุทธ์/มาตรการ โดย

    กลยุทธ์ หมายถึง สิ่งที่ต้องค านึงถึงเป็นประเด็นหลักในการน าไปสู่วิสัยทัศน์ ดังนั้นกลยุทธ์ จะมีกี่กลยุทธ์ขึ้นอยู่กับ “วิสัยทัศน์” ของแผน

    มาตรการ ภายใต้แต่ละกลยุทธ์ หมายถึง แนวทางหรือวิธีการท างานที่ดีที่สุด เพ่ือให้กลยุทธ์แต่ละด้านบรรลุผลส าเร็จ

  • 8

    รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการเตรียมความพรอ้มภาคอตุสาหกรรมและธรุกิจกับการอนรุักษ์พลังงานและพลังงานทดแทนเพือ่เข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

    ทั้งนี้การเขียนข้อความกลยุทธ์ควรเขียนให้ กะทัดรัด ชัดเจน เข้าใจง่ายและ สามารถน าไปปฏิบัติได้ โดยข้อความกลยุทธ์จะเป็นข้อความที่ แสดงทิศทาง หรือจุดเน้นการปฏิบัติงาน ว่า “จะท าอะไร?” เช่น พัฒนาคุณภาพ เพ่ิมประสิทธิภาพ สร้างรากฐาน สร้างความเข้มแข็ง สร้างศักยภาพ กระจายโอกาส สร้างเครือข่าย สร้างเสริมประสิทธิภาพ ปรับปรุง ขับเคลื่อน ปรับปรุงกลไก เร่งรัด ปฏิรูป สร้างแรงจูงใจ เพิ่มขีดความสามารถ ฯลฯ และแสดงกิจกรรม ว่า “จะท าอย่างไร?”

    รปูที ่2.1 แสดงแนวทางการเขียนข้อความกลยุทธ์

    การก าหนดกลยุทธ์โดยทั่วไป จะแบ่งลักษณะกลยุทธ์เป็น 4 ประเภท ได้แก่ กลยุทธ์การสร้างความเติบโต กลยุทธ์ความถนัด กลยุทธ์รักษาเสถียรภาพ และกลยุทธ์การตัดทอน โดยใช้ข้อมูลจาก การวิเคราะห์ในส่วนที่ 2 ร่วมกับการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย รวมถึงวิสัยทัศน์ พันธกิจ และภารกิจของหน่วยงาน ดังรูปที่ 2.2

    รปูที ่2.2 ภาพรวมวิธีการก าหนดกลยุทธ์

    ทศิทาง/จุดเน้น

    (จะท าอะไร?) กจิกรรม

    (จะท าอย่างไร?) +

    สรุปข้อความกลยุทธ์

    การก าหนดกลยทุธ์

    สภาพแวดล้อมภายนอก สภาพแวดล้อมภายใน

    กลยุทธ์ทางตรงและทางอ้อม

    โอกาส อุปสรรค จุดแข็ง

    จุดอ่อน

    ผู้มีส่วนได้ส่วนเสยี ภารกิจตาม

    กฎหมาย

    พันธกิจ วิสัยทัศน์

  • 9

    รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการเตรียมความพรอ้มภาคอตุสาหกรรมและธรุกิจกับการอนรุักษ์พลังงานและพลังงานทดแทนเพือ่เข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

    ก) การก าหนดมาตรการและแนวทางด าเนินการ

    หลังจากก าหนดกลยุทธ์แล้วต้องมีการก าหนดเป้าประสงค์ของกลยุทธ์ ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมายในแต่ละช่วงเวลา พร้อมทั้งมาตรการและแนวทางการด าเนินการภายใต้กลยุทธ์นั้น ดังนี้

    รปูที ่2.3 ภาพรวมวิธีการก าหนดรายละเอียดมาตรการและแนวทางการด าเนินการในแต่ละกลยุทธ์

    ซึ่งกระบวนการในการจัดวางกลยุทธ์นี้จ าเป็นจะต้องมีการประเมินถึงความจ าเป็นเร่งด่วน ความยาก-ง่ายในการด าเนินการ รวมถึงความสอดคล้องส่งผลกระทบต่อเนื่องกันในแต่ละกลยุทธ์ โดยใช้การมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Focus Group) เพ่ือก าหนดล าดับเวลาในการด าเนินการ แต่ละกลยุทธ์/มาตรการแล้วจัดท าเป็นตารางแยกตามกลยุทธ์ ดังแบบฟอร์มต่อไปนี้ กลยุทธ์ที่ 1…………………………………………………………………………

    เป้าประสงค์ เชิงกลยุทธ์

    ตัวชี้วัดความส าเร็จ

    ข้อมูล ปีฐาน

    เป้าหมาย มาตรการ

    แนวทางด าเนินการและหน่วยงาน

    รับผิดชอบ ปีที ่1

    ปีที ่2

    ปีที่ 3

    ปีที ่4

    แนวทางด าเนนิการ

    มาตรการ

    กลยทุธ ์

    เปา้ประสงคเ์ชงิกลยทุธ์ ตวัชี้วดั คา่เปา้หมาย

  • 10

    รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการเตรียมความพรอ้มภาคอตุสาหกรรมและธรุกิจกับการอนรุักษ์พลังงานและพลังงานทดแทนเพือ่เข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

    2.1.5 แผนที่น าทาง เป็นวิธีการและขั้นตอนในการแก้ไขปัญหาหนึ่งๆที่เกิดขึ้น โดยน าเสนอแนวทางในการแก้ไข

    ปัญหาอย่างเป็นขั้นเป็นตอนให้เห็นเป็นรูปธรรมชัดเจนเพ่ือแสดงให้เห็นภาพรวมของสิ่งที่ต้อง ด าเนินการภายใต้แผนยุทธศาสตร์ที่จัดท าขึ้นสรุปเรียบเรียงในรูปแบบของแผนยุทธศาสตร์โดยรวมและ แผนที่น าทาง (Roadmap) ดังตัวอย่างต่อไปนี้

    ก) ตัวอย่างแผนยุทธศาสตร์โดยรวม

    ข) ตัวอย่างแผนที่น าทาง (Roadmap)

    วิสัยทัศน์องค์กร กลยุทธ ์ กลยุทธ์ย่อย แนวทางการด าเนินการ

    วิสัยทัศน์ด้านการจัดการพลังงาน

    ..................................................

    ค านิยมร่วม

    ภารกิจ

    ..................................................

    เป้าหมายเชิงกลยุทธ

    1..............................................................................................

    ................................................

    ................................................

    ................................................

    ................................................

    ................................................

    1..............................................................................................

    ..................................................

    ..................................................

    ..................................................

    ..................................................

    ..................................................

    ..................................................

    ..................................................

    ..................................................

    ..................................................

    ..................................................

    ..................................................

    แนวทาง 1................................. แนวทาง 2.................................

    2.2..........................................................................................................

    2.1...............................................................................................................................................

    แนวทาง 1................................. แนวทาง 2.................................

    2.............................................................................................. .....................................

    ................................................

    ...............................................

    ..................................................

    ..................................................

    ..................................................

    ..................................................

    แนวทาง 1................................. แนวทาง 2.................................

    3.2..........................................................................................................

    3.1...............................................................................................................................................

    แนวทาง 1................................. แนวทาง 2.................................

    3.............................................................................................. .....................................

    ................................................

    ...............................................

    แนวทาง 1................................. แนวทาง 2.................................

    1.2.......................................................................................................... 1.3..........................................................................................................

    1.1...............................................................................................................................................

    แนวทาง 1................................. แนวทาง 2.................................

    แนวทาง 1................................. แนวทาง 2.................................

    1..............................................................................................

    ................................................

    ................................................

    ................................................

    ................................................

    ................................................

    กลยุท

    ธ์หลัก

    ที่ 1

    กลยุทธ์ย่อย 1.1

    ....................................

    ...................................

    กลยุทธ์ย่อย 1.2

    ....................................

    ....................................

    กลยุทธ์ย่อย 1.3

    ....................................

    ....................................

    พ.ศ. 2554-2555 พ.ศ. 2556-2559 พ.ศ. 2560-2563

    แนวทาง 1

    แนวทาง 2

    แนวทาง 1

    แนวทาง 2

    แนวทาง 1

    แนวทาง 2

    กลยุท

    ธ์หลัก

    ที่ 2

    กลยุทธ์ย่อย 2.1

    ....................................

    ...................................

    กลยุทธ์ย่อย 2.2

    ....................................

    ....................................

    กลยุท

    ธ์หลัก

    ที่ 3

    กลยุทธ์ย่อย 3.1

    ....................................

    ...................................

    กลยุทธ์ย่อย 3.2

    ....................................

    ....................................

    แนวทาง 1

    แนวทาง 2

    แนวทาง 1

    แนวทาง 2

    แนวทาง 1

    แนวทาง 2

    แนวทาง 1

    แนวทาง 2

  • 11

    รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการเตรียมความพรอ้มภาคอตุสาหกรรมและธรุกิจกับการอนรุักษ์พลังงานและพลังงานทดแทนเพือ่เข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

    2.1.6 แผนบริหารความเสี่ยง เพ่ือช่วยให้การก าหนดกลยุทธ์และแนวทางการด าเนินการ สามารถบรรลุเป้าหมาย ลด

    อุปสรรค หรือสิ่งที่ไม่คาดหวังที่อาจเกิดขึ้นในด้านการปฏิบัติตามกลยุทธ์ จึงมีการวิเคราะห์ความเสี่ยงของกลยุทธ์ที่ได้ โดยยึดมาตรฐานการบริหารความเสี่ยงของ COSO : Committee of Sponsoring Organizations of the Tread way Commission ซึ่งเป็นกระบวนการบริหารความเสี่ยงได้รับการออกแบบเพ่ือให้สามารถบ่งชี้เหตุการณ์ที่อาจเกิดขึ้นและมีผลกระทบต่อกลยุทธ์ และสามารถจัดการความเสี่ยงให้อยู่ในระดับที่ยอมรับ เพื่อให้ได้รับความม่ันใจอย่างสมเหตุสมผลในการบรรลุตามกลยุทธ์ที่ก าหนดไว้ โดยมีแนวทางการด าเนินการดังนี้

    การระบคุวามเสีย่งตา่งๆ (Event Identification)

    การระบุความเสี่ยงของกลยุทธ์ ท าโดยการวิเคราะห์ และประเมินความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นในแต่ละแนวทางด าเนินการ โดยใช้ธรรมาภิบาลที่เกี่ยวข้อง โดยมิติธรรมาภิบาล ประกอบไปด้วย 9 องค์ประกอบดังนี้

    1) ประสิทธิผล 2) ประสิทธิภาพ 3) ตอบสนอง 4) รับผิดชอบ 5) โปร่งใส 6) มีส่วนร่วม 7) กระจายอ านาจ 8) นิติธรรม 9) เสมอภาค

    1. การก าหนดเป้าหมายการบริหารความเสี่ยง (Objective Setting)

    2. การระบคุวามเสี่ยงต่างๆ (Event Identification)

    3. การประเมินความเสีย่ง (Risk Assessment)

    4. กลยุทธ์ที่ใช้ในการจัดการกับแต่ละความเสีย่ง (Risk Response)

    5. กิจกรรมการบรหิารความเสีย่ง (Control Activities)

    6. ข้อมูลและการสื่อสารด้านบริหารความเสีย่ง (Information and Communication)

    7. การติดตามผลและเฝ้าระวังความเสี่ยงต่างๆ (Monitoring)

  • 12

    รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการเตรียมความพรอ้มภาคอตุสาหกรรมและธรุกิจกับการอนรุักษ์พลังงานและพลังงานทดแทนเพือ่เข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

    การประเมนิความเสีย่ง (Risk Assessment)

    หลักเกณฑ์การประเมินความเสี่ยง เป็นการประเมินโอกาสและผลกระทบของเหตุการณ์ที่อาจเกิดขึ้นกระทบต่อแนวทางการด าเนินการ ซึ่งการประเมินความเสี่ยงสามารถท าได้ทั้งการประเมิน เชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ โดยพิจารณาท้ังเหตุการณ์ท่ีเกิดข้ึนจากภายนอกและภายในองค์กร โดยทั่วไป การประเมินความเสี่ยงจะประกอบด้วย 2 มิติ ดังนี้

    1) โอกาสที่อาจเกิดขึ้น (Likelihood) หมายถึง ความเสี่ยงนั้นมีโอกาสเกิดขึ้นมากน้อยเพียงใด โดยแบ่งเป็นระดับ ดังนี้

    ระดับ 1 ต่ ามาก/น้อยมาก อาจเกิดขึ้นได้ ในกรณียกเว้น ระดับ 2 ต่ า/น้อย อาจเกิดขึ้นได้ทุก 3 ปี ระดับ 3 ปานกลาง อาจเกิดขึ้นได้ทุก 1 ปี ระดับ 4 สูง/บ่อย อาจเกิดขึ้นได้ทุก 6 เดือน ระดับ 5 สูงมาก/บ่อยครั้ง อาจเกิดขึ้นได้ทุกวัน

    2) ผลกระทบ (Impact) หมายถึง หากความเสี่ยงดังกล่าวเกิดขึ้นหน่วยงานจะได้รับ ความเสียหายมากน้อยเท่าใด โดยแบ่งเป็นระดับ ดังนี้

    ระดับ 1 ไม่เป็นสาระส าคัญ/น้อยมาก ระดับ 2 ต่ า/น้อย ระดับ 3 ปานกลาง ระดับ 4 สูง/วิกฤต ระดับ 5 สูงมาก/หายนะ

    ตารางที ่2.1 ตารางการตีความหมายของการประเมินความเสี่ยง

    ระดบัความเสีย่ง

    ระดบัคะแนน

    ความหมาย

    ต่ า 1-3 Acceptableor Limited Focus - ระดับที่ยอมรับได้โดยไม่ต้องควบคุมความเสี่ยง ไม่ต้องมีการจัดการเพิ่มเติม

    ปานกลาง 4-9 Tolerable but caution or Management Discretion/ Medium Risk

    - ระดับที่พอยอมรับได้แต่ต้องมีการควบคุมเพื่อป้องกันไม่ให้ความเสี่ยงเคลื่อนย้ายไปยังระดับที่รับไม่ได้

    สูง 10-16 Intolerable or Attention Required /High Risk

    - ระดับที่ไม่สามารถยอมรับได้โดยต้องจัดการความเสี่ยงเพื่ออยู่ในระดับที่รับได้

    สูงมาก 17-25 Intolerable or Immediate Attention Required /High risk

    - ระดับที่ไม่สามารถยอมรับได้จ าเป็นต้องเร่งจัดการความเสี่ยงให้อยู่ระดับที่ยอมรับได้ทันท ี

    ระดับความเสี่ยง = โอกาส (L) x ผลกระทบ (I)

  • 13

    รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการเตรียมความพรอ้มภาคอตุสาหกรรมและธรุกิจกับการอนรุักษ์พลังงานและพลังงานทดแทนเพือ่เข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

    กลยทุธท์ี่ใชใ้นการจดัการกบัแต่ละความเสีย่ง (Risk Response)

    - การหลีกเลี่ยงความเสี่ยง: ปฏิเสธและหลีกเลี่ยงโอกาสที่จะเกิดความเสี่ยง โดยการหยุด ยกเลิก หรือเปลี่ยนแปลงแนวทางการด าเนินการ กิจกรรมหรือโครงการที่จะน าไปสู่เหตุการณ์ที่เป็นความเสี่ยง

    - การควบคุมความสูญเสีย : พยายามลดความเสี่ยงโดยการเพ่ิมเติมหรือเปลี่ยนแปลงขั้นตอนบางส่วนของแนวทางการด าเนินการ กิจกรรมหรือโครงการที่น าไปสู่เหตุการณ์ที่เป็นความเสี่ยง รวมถึงลดความน่าจะเป็นที่เหตุการณ์ที่เป็นความเสี่ยงจะเกิดขึ้น

    - การรับความเสี่ยงไว้เอง: หากท าการวิเคราะห์แล้วเห็นว่าไม่มีวิธีการจัดการความเสี่ยงใดเลยที่เหมาะสมเนื่องจากต้นทุนการจัดการความเสี่ยงสูงกว่าประโยชน์ที่จะได้รับ อาจต้องยอมรับความเสี่ยง แต่ควรมีมาตรการติดตามอย่างใกล้ชิดเพ่ือรองรับผลที่จะเกิดขึ้น

    - การถ่ายโอนความเสี่ยง: ยกภาระในการเผชิญหน้ากับเหตุการณ์ที่เป็นความและการจัดการกับความเสี่ยงให้ผู้อ่ืน

    กิจกรรมการบริหารความเสี่ยง (Control Activities)

    การก าหนดแนวทางการด าเนินการ กิจกรรมหรือมาตรการในการจัดการความเสี่ยงให้หมดไปหรือลดลงในระดับที่ยอมรับได้ โดยจะต้องเป็นกิจกรรมท่ียังไม่เคยปฏิบัติหรือเป็นกิจกรรมที่ก าหนดเพ่ิมเติมจากกิจกรรมเดิมที่เคยปฏิบัติอยู่แล้วแต่ไม่สามารถควบคุมความเสี่ยงได้ โดยการวิเคราะห์ความเสี่ยงของกลยุทธ์ตามที่ได้กล่าวมาข้างต้น ตามมาตรฐานบริหารความเสี่ยงของ COSO สามารถสรุปดังแบบฟอร์มต่อไปนี้

    การวเิคราะหค์วามเสีย่งของกลยุทธท์ี ่1....................

    แนวทางด าเนนิการ

    ความเสีย่งที่อาจ

    เกดิขึน้

    ระดบัโอกาสเกดิความเสีย่ง

    ระดบัผลกระทบ ระดบัความเสีย่ง (25)

    กจิกรรมและวธิีการจดัการความเสีย่ง

    กจิกรรมและวธิกีารทีเ่หมาะสม 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5

  • 14

    รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการเตรียมความพรอ้มภาคอตุสาหกรรมและธรุกิจกับการอนรุักษ์พลังงานและพลังงานทดแทนเพือ่เข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

    2.2 แนวคดิและทฤษฎดีา้นการวเิคราะห์สถานการณแ์ละจดัวางกลยุทธ ์

    2.2.1 SWOT Analysis การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมเป็นการวิเคราะห์สภาพองค์การ หรือหน่วยงานในปัจจุบัน เพ่ือค้นหา

    จุดแข็ง จุดจุดอ่อน โอกาส อุปสรรค หรือสิ่งที่อาจเป็นปัญหาส าคัญในการด าเนินงานสู่สภาพ ที่ต้องการในอนาคต เป็นตัวย่อท่ีมีความหมายดังนี้

    S ย่อมาจาก Strengths หมายถึง จุดแข็ง (ข้อได้เปรียบ) W ย่อมาจาก Weaknesses หมายถึง จุดอ่อน (ข้อเสียเปรียบ) O ย่อมาจาก Opportunities หมายถึง โอกาส (ปัจจัยที่จะส่งผลให้สามารถด าเนินการได้) T ย่อมาจาก Threats หมายถึง อุปสรรค (ปัจจัยที่คุกคามการด าเนินงาน)

    การวิเคราะห์สภาวะแวดล้อม จะครอบคลุมขอบเขตของปัจจัยที่กว้าง ด้วยการระบุจุดแข็ง จุดอ่อน

    โอกาสและอุปสรรคขององค์กรท าให้มีข้อมูลในการก าหนดทิศทางหรือเป้าหมายที่จะถูกสร้างขึ้นมาบนจุดแข็งขององค์กร และแสวงหาประโยชน์จากโอกาสทางสภาพแวดล้อม และสามารถก าหนดกลยุทธ์ที่มุ่งเอาชนะอุปสรรคทางสภาพแวดล้อมหรือลดจุดอ่อนขององค์กรให้มีน้อยที่สุดได้ ภายใต้การวิเคราะห์สภาวะแวดล้อมนั้น จะต้องวิเคราะห์ทั้งสภาพแวดล้อมภายในและภายนอกองค์กรโดยมีข้ันตอนดังนี้

    1) การประเมินสภาพแวดล้อมภายใน (S, W) การประเมินสภาพแวดล้อมภายในองค์กร จะเกี่ยวกับการว