กายภาพบําบัดในผู ป วย(postural drainage) ผ ป วยท...

30
กายภาพบําบัดในผูปวย ที่ไดรับบาดเจ็บชนิดรุนแรง รศ.สมชาย รัตนทองคํา สายวิชากายภาพบําบัด คณะเทคนิการแพทย

Upload: others

Post on 27-Oct-2020

5 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: กายภาพบําบัดในผู ป วย(postural drainage) ผ ป วยท ได ร บการผ าต ดช องท อง, ช องอก, ผ ป

กายภาพบําบัดในผูปวย ที่ไดรับบาดเจ็บชนิดรุนแรง

รศ.สมชาย รัตนทองคําสายวิชากายภาพบําบัด คณะเทคนิการแพทย

Page 2: กายภาพบําบัดในผู ป วย(postural drainage) ผ ป วยท ได ร บการผ าต ดช องท อง, ช องอก, ผ ป

ลกัษณะของผูปวยที่ไดรับบาดเจ็บอยางรุนแรง

มักไดรับการทําผาตัดอยูในหออภิบาลอยูในหอผูปวยฉุกเฉิน

Page 3: กายภาพบําบัดในผู ป วย(postural drainage) ผ ป วยท ได ร บการผ าต ดช องท อง, ช องอก, ผ ป

หลกัการดูแลผูปวยบาดเจ็บพยายามจดัใหผูปวยอยูในสภาพใกลเคียงปกตมิากที่สุด เชนรักษาความปกติของระดับเกลือแร และอิเล็กโทรไลตรักษาปริมาณออกซิเจน และคารบอนไดออกไซค ในเลือดปกติการปลอยใหเกิดภาวะโซเดียมในเลือดต่ํา เกิดสมองบวมน้ําไมปลอยใหผูปวย dehydratedไมปลอยใหผูปวยขาดสารอาหารใชหลักการประเมิน SOAP (สวนใหญไมสามารถสื่อสารผูปวยไดโดยตรง)

Page 4: กายภาพบําบัดในผู ป วย(postural drainage) ผ ป วยท ได ร บการผ าต ดช องท อง, ช องอก, ผ ป

กายภาพบาํบัดทรวงอก ประกอบดวยการจัดทาผูปวย (positioning)การจัดทาระบายเสมหะ (postural drainage)การเคาะเขยาปอด (percussion)เครื่องเขยา หรอืเครื่องสั่นปอดการสั่นปอด (vibration)manual lung inflation

การไอ (coughing)tracheal suctionการใช normal salinebreathing exercisechest mobilizationtherapeutic exercise

Page 5: กายภาพบําบัดในผู ป วย(postural drainage) ผ ป วยท ได ร บการผ าต ดช องท อง, ช องอก, ผ ป

การจัดทา (positioning)ใชกับผูปวยที่ไมไดสติปองกันภาวะเกิดแผลกดทับปองกันการหดสั้นของเอ็น, กลามเนื้อ และการยึดของขอสามารถชวยเพิ่มการระบายอากาศ (ventilation)

มักจัดปอดทีม่ีความปกติมากกวาอยูดานลางเปลี่ยนทาทุก 2 ชั่วโมง

Page 6: กายภาพบําบัดในผู ป วย(postural drainage) ผ ป วยท ได ร บการผ าต ดช องท อง, ช องอก, ผ ป

การจัดทาเพือ่ระบายเสมหะ (postural drainage)

เพื่อระบายของเสียออกจากปอด จากทอลมเล็กมาตามทอลมใหญ โดยอาศัยแรงโนมถวงของโลกลักษณะการจัดแตกตางกันขึ้นกับแขนงของปอดผูปวยไมไดสติ มักใสทอชวยหายใจ จําเปนตอจัดทาระบายรวมดวยในผูปวยที่มีภาวะปอดแฟบควรจัดใหสวนที่แฟบอยูดานบน

Page 7: กายภาพบําบัดในผู ป วย(postural drainage) ผ ป วยท ได ร บการผ าต ดช องท อง, ช องอก, ผ ป

การจัดทาเพือ่ระบายเสมหะ (postural drainage)

ผูปวยที่ไดรับการผาตัดชองทอง, ชองอก, ผูปวยที่อวน การจัดใหหัวต่ําเพียงเล็กนอย ประมาณ 15 องศา ทําใหการระบายเสมหะ คอนขางไดผลดีชวงเวลาของการจัดทาขึ้นกับผูปวย อาจใชเวลาประมาณ 15-60 นาทีหากผูปวยหายใจไดเอง และสามารถไอไดอยางมีประสิทธิภาพ การจัดทาแทบไมมีความจําเปน

Page 8: กายภาพบําบัดในผู ป วย(postural drainage) ผ ป วยท ได ร บการผ าต ดช องท อง, ช องอก, ผ ป

การเคาะเขยาปอด (percussion)

เปนการสงผานแรงสั่นเสทือนจากฝามือ ผานผนังทรวงอกเขาไปในปอด เพื่อระบายเสมหะออกมาตามทางเดินหายใจมักทํารวมกับการจัดทาระบายเสมหะเทคนิคโดยการจัดอุงมือเปนถวยแลวเคาะลงบนผนังทรวงอกมักนิยมทําเมื่อผูปวยไมสามารถขับเสมหะไดเอง ดวยวิธีการไอในผูปวยที่มี broncho-spasm การเคาะปอดมักไมคอยไดผล

Page 9: กายภาพบําบัดในผู ป วย(postural drainage) ผ ป วยท ได ร บการผ าต ดช องท อง, ช องอก, ผ ป

การเคาะเขยาปอด (percussion)

ในผูปวยที่ไมไดสติ, และใสเครื่องชวยหายใจ การเคาะปอดมีประโยชน อยางมากในการระบายเสมหะ ออกจากปอดการเคาะปอดควรใชแรง และจังหวะอยางสม่ําเสมอควรหลีกเลี่ยงการเคาะที่รุนแรง และตําแหนงเคาะที่ไมเหมาะสม

ตําแหนงที่ใสสายระบายตําแหนงที่เจ็บของผูปวย

Page 10: กายภาพบําบัดในผู ป วย(postural drainage) ผ ป วยท ได ร บการผ าต ดช องท อง, ช องอก, ผ ป

ควรยุติการเคาะปอดทันทีเมือ่สังเกตเห็นความดนัของผูปวยเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วอัตราการหายใจของผูปวยเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วการเพิ่มขึ้นของ subcutaneous empyema อยางรวดเร็วการเพิ่มขึ้นของผื่นแดง เปนจํานวนมาก (เนื่องจากเคาะผิดเทคนิค)หากจําเปนตองเคาะในผูปวยที่มีแผลเปด อาจใชผา sterile ลงบริเวณดังกลาวกอนเคาะเสมอ

Page 11: กายภาพบําบัดในผู ป วย(postural drainage) ผ ป วยท ได ร บการผ าต ดช องท อง, ช องอก, ผ ป

ผูปวยทีไ่ดรับการบาดเจ็บสมองและกระดูกสันหลังมักใสเครื่องดงึกระดูกคอ และถวงน้ําหนักหากจําเปนตองจัดทา ควรทําการจัดทาใหเรียบรอยกอน จึงถอดเครื่องถวงคอออก กอนทํากายภาพบําบดัทรวงอก

Page 12: กายภาพบําบัดในผู ป วย(postural drainage) ผ ป วยท ได ร บการผ าต ดช องท อง, ช องอก, ผ ป

ผูปวยที่บาดเจ็บสมองอยางรุนแรงควรมกีารประเมินความดันในโพรงกะโหลกกอนการเคาะปอดไมเปนขอหามการเคาะปอดไมไดทําใหความดันในสมองเพิ่มขึ้น (Brimoulle 1998, Moraine และคณะ 1991

Page 13: กายภาพบําบัดในผู ป วย(postural drainage) ผ ป วยท ได ร บการผ าต ดช องท อง, ช องอก, ผ ป

การสั่นปอด (vibration)เปนการสงผานแรงสั่นเสทือนจากฝามือเขาไปยังปอดเทคนิคนี้รุนแรงกวา percussion ribs มกัถูกเขยาในชวงหายใจออกบางที่เรียก vigorous vibration วา rib shaking หรือ ribs springingสามารถใชกับผูปวยที่หายใจไดเอง

Page 14: กายภาพบําบัดในผู ป วย(postural drainage) ผ ป วยท ได ร บการผ าต ดช องท อง, ช องอก, ผ ป

ขอควรระวังการสั่นปอดไมใชในผูปวยที่มีกระดูกซี่โครงหัก เนื่องจากผลการสั่นอาจเกิดการฉีกขาดของ pleura ซึ่งเปนสาเหตุสําคัญของการเกิด pneumothorax, intrapleura bleeding, extrapleura hematomaอาจทํา vibration แบบเบาๆ และเร็ว รวมกับการกระตุนใหหายใจลึกพบวาไดผลดี

Page 15: กายภาพบําบัดในผู ป วย(postural drainage) ผ ป วยท ได ร บการผ าต ดช องท อง, ช องอก, ผ ป

การใชเครื่องเขยา หรือสัน่ปอดค.ศ. 1960 มีผูนําเครื่องสั่น, เครื่องนวด มาใชสั่นทรวงอก คลาย vibration เพื่อแบงเบาการทํางานของ PTไดผลไมดีเทา PTมักเสี่ยงตอการติดเชือ้

Page 16: กายภาพบําบัดในผู ป วย(postural drainage) ผ ป วยท ได ร บการผ าต ดช องท อง, ช องอก, ผ ป

Manual lung inflation (Ambu bag)

มักนิยมทําขณะถอด เครื่องชวยหายใจออก (แตยังคาทอไว)มักบบีตามจังหวะการหายใจ เขา-ออกอัตราการไหลของอากาศประมาณ 123-340 ลิตร/นาที ทั้งนี้ขึ้นกับอัตราการบีบ

Page 17: กายภาพบําบัดในผู ป วย(postural drainage) ผ ป วยท ได ร บการผ าต ดช องท อง, ช องอก, ผ ป

จุดประสงคของ Manual lung inflation

เพิ่มการระบายอากาศ (hyper ventilation)ปองกันภาวะปอดแฟบสามารถกระตุนใหผูปวยเกิดการไอไดอยางมีประสิทธิภาพมักทํารวมกับการทํา vibration ขณะหายใจออก

Page 18: กายภาพบําบัดในผู ป วย(postural drainage) ผ ป วยท ได ร บการผ าต ดช องท อง, ช องอก, ผ ป

ขอควรระวังขณะ Manual lung inflation

เกิดความไมแนนอนของ อากาศ, ออกซิเจน ที่เขาไปในปอดอากาศ, ความดัน ที่เขาปอดแตกตางจากเครื่องที่ตั้งไวในผูปวย severe ARDS ควรระวัง เพราะอากาศที่มคีวามดันสูงจากการบีบ อาจสงผลใหเกิดการทําลาย alveoi และเนื้อเยี่อปอดที่ปกติในผูปวยที่ไดรับบาดเจ็บที่สมองการบบี ambu อาจสงผลใหเกิดการเพิ่มขึ้นของความดนัในโพรงกะโหลก

Page 19: กายภาพบําบัดในผู ป วย(postural drainage) ผ ป วยท ได ร บการผ าต ดช องท อง, ช องอก, ผ ป

การไอ (coughing)

การไอ เปนกลไกขจัดสิ่งแปลกปลอม ของรางกายตามธรรมชาติที่มีประสิทธิภาพมาก สามารถขจัดเสมหะออกจากทางเดินหายใจ ตั้งแตระดับ trachea main bronchus จนถึง fourth generation of segmental bronchi

Page 20: กายภาพบําบัดในผู ป วย(postural drainage) ผ ป วยท ได ร บการผ าต ดช องท อง, ช องอก, ผ ป

ปจจัยที่มีผลไอไมมีประสทิธภิาพกลามเนื้อทองและกลามเนื้อชวยหายใจออนแรงเจ็บปวดแผล โดยฌฉพาะบริเวณทองผูปวยที่สูญเสียความรูสึกรับรูไมไดอยูในทาที่เหมาะสม (นั่งกมตัวไปขางหนา)

Page 21: กายภาพบําบัดในผู ป วย(postural drainage) ผ ป วยท ได ร บการผ าต ดช องท อง, ช องอก, ผ ป

การฝกใหผูปวยไออยางมปีระสทิธภิาพฝกใหไอตามกลไกการไอปกติกระตุนใหเกิดการไอ โดยกดเบาๆบริเวณ sternal notchกระตุนใหผูปวยหายใจออกแรงๆ และสั้น (huffing)ควรมีการฝกกลามเนื้อลําตัวใหแข็งแรง และมีกาํลังมากพอที่จะสามารถไอไดอยางมีประสทิธิภาพหากเจ็บแผลผาตัด ควรมีการประคอง และกระชับใหมั่นคงที่ฝกไอควรเปนทานั่ง, ทางอตัวจะไอไดมีประสิทธิภาพกวาในผูปวย para-quadi plegia ควรชวยกระชบับริเวณทองสวนบน เพื่อเพิ่มประสทิธิภาพการไอ

Page 22: กายภาพบําบัดในผู ป วย(postural drainage) ผ ป วยท ได ร บการผ าต ดช องท อง, ช องอก, ผ ป

tracheal suctionมักทํารวมกับการทํากายภาพบําบดัทรวงอกมักดูดผานทอระบายอากาศมากกวาสามารถชวยดูดเสมหะในผูปวยที่ไมสามารถไอ, huffing ได

Page 23: กายภาพบําบัดในผู ป วย(postural drainage) ผ ป วยท ได ร บการผ าต ดช องท อง, ช องอก, ผ ป

เทคนิคการทํา tracheal suction

Sterile เทคนิคควรมีเครื่องปองกันครบ เชน ถุงมือ, mask, แวนตา เพื่อปองกันเลือดและเสมหะมักใชเทคนิค one glove techniqueมีการประเมินกอนและหลังการทําทุกครั้งควรสลับกับการบีบ ambu-bag, hyperventilation

Page 24: กายภาพบําบัดในผู ป วย(postural drainage) ผ ป วยท ได ร บการผ าต ดช องท อง, ช องอก, ผ ป

ขอควรระวังการทํา tracheal suction

Airway occlusion, hypoxemia (นานเกิน, ไมหมุนสายขณะดูด)ควรทําสลับกับการทํา กายภาพบําบดัทรวงอก, hyperventilationควรดดูเสมหะกอนมีการเปลี่ยนทา ผูปวยระยะเวลาการดูด ควรพิจารณาจากควรทนทาน ของผูปวยvital sign unstableผูปวยในภาวะ hypoxemiaผูปวยภาวะหอบ, เหนื่อย และไมสามารถไอได

Page 25: กายภาพบําบัดในผู ป วย(postural drainage) ผ ป วยท ได ร บการผ าต ดช องท อง, ช องอก, ผ ป

tracheal suction ผานทางจมกูการดูดเสมหะผานจมูก ปจจุบันไมควรใช เนื่องมักทําใหเกิดการบาดเจ็บตอทางเดินหายใจสวนตนเสี่ยงตอการติดเชื้อเขาทาง base of skullอาจทําใหเกิด apnea, larygo-spasm, broncho-spasm, severe cardiac arrythymia

Page 26: กายภาพบําบัดในผู ป วย(postural drainage) ผ ป วยท ได ร บการผ าต ดช องท อง, ช องอก, ผ ป

การใช normal salineมักนิยมใชเพือ่ใหเสมหะเกิดการออนตัว เพื่อใหดูดไดงายการใสสารละลายไมสามารถลงไปไดลึกถึงระดับ alveoliไมควรใชขณะที่ผูปวยอยูในทา up-right position

การให systemic hydration, airway humidification กอนทํา CPT จะทําใหเสมหะออนตัวไดมากกวา

Page 27: กายภาพบําบัดในผู ป วย(postural drainage) ผ ป วยท ได ร บการผ าต ดช องท อง, ช องอก, ผ ป

Breathing exerciseใชฝกเพื่อใหผูปวยสามารถ wean of respiratorใชฝกในกรณีที่ผูปวยสามารถทําตามคําสั่งไดชวยเพิ่ม tidal volume, thoracic cage mobility, เพิ่มปรมิาตรปอดขณะหายใจเขา

Page 28: กายภาพบําบัดในผู ป วย(postural drainage) ผ ป วยท ได ร บการผ าต ดช องท อง, ช องอก, ผ ป

ชนิดของ breathing exercise

diaphargmatic breathinglateral costal breathingsegmental breathing

Page 29: กายภาพบําบัดในผู ป วย(postural drainage) ผ ป วยท ได ร บการผ าต ดช องท อง, ช องอก, ผ ป

Chest mobilization exercise

ควรทําอยางยิ่งหากไมมขีอหามในดานการรักษาควรเริม่ดวยการทํา passive exercise, active exercise ตามลําดับพยายามใหผูปวยอยูในทา upright จะสามารถทําไดงายขณะทําควรระวังการเปลี่ยนแปลง vital sign

Page 30: กายภาพบําบัดในผู ป วย(postural drainage) ผ ป วยท ได ร บการผ าต ดช องท อง, ช องอก, ผ ป