คํานําwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files/final report...

71
โครงการนํารองเพื่อผลิตพลังงานทดแทนจากชีวมวล ในระดับชุมชน เลขที่สัญญา C11-AE-54-07-012 1 คํานํา รายงานฉบับสมบูรณนี้จัดทําขึ้นเพื่อรายงานผลการดําเนินงาน “โครงการนํารองเพื่อผลิต พลังงานทดแทนจากชีวมวลในระดับชุมชน” ตลอดโครงการ ที่ดําเนินการโดย บริษัท อิมพีเรียลพอท เทอรี่ จํากัด ซึ่งมีคณาจารยจากมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี เปนที่ปรึกษา โดยมีสาระสําคัญใน รายงานประกอบไปดวย ที่มาและความสําคัญ วัตถุประสงคของโครงการ ตัวชี้วัดความสําเร็จของ โครงการ ผลการดําเนินงาน สํารวจ ออกแบบ ติดตั้ง ทดสอบและการนําไปใชงาน พรอมทั้งนําเสนอ ปญหา อุปสรรค แนวทางการแกไข และแนวทางการขยายผลในอนาคต ซึ่งจะมีประโยชนตอการ พัฒนาโครงการในรูปแบบนี้ในอนาคต ผูดําเนินโครงการหวังวาเนื้อหาในรายงานนี้จะเปนประโยชน ตอการพัฒนาระบบผลิตพลังงานทดแทนจากชีวมวลไมมากก็นอย และขอขอบคุณ สํานักนวัตกรรม แหงชาติ (องคการมหาชน) และกองทุนเพื่อสงเสริมการอนุรักษพลังงาน ที่ใหการสนับสนุน ในการ ดําเนินครั้งนี้สําเร็จลุลวงไปดวยดี คณะผูดําเนินโครงการ

Upload: others

Post on 29-Jan-2020

2 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: คํานําwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files/Final report โครงการนำ... · ผู ประกอบการอุตสาหกรรมเซรามิกมีต

โครงการนํารองเพื่อผลิตพลังงานทดแทนจากชีวมวลในระดับชมุชน

เลขทีส่ัญญาC11-AE-54-07-012

1

คํานํา

รายงานฉบับสมบูรณน้ีจัดทําข้ึนเพื่อรายงานผลการดําเนินงาน “โครงการนํารองเพื่อผลิตพลังงานทดแทนจากชีวมวลในระดับชุมชน” ตลอดโครงการ ท่ีดําเนินการโดย บริษัท อิมพีเรียลพอทเทอร่ี จํากัด ซ่ึงมีคณาจารยจากมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี เปนท่ีปรึกษา โดยมีสาระสําคัญในรายงานประกอบไปดวย ท่ีมาและความสําคัญ วัตถุประสงคของโครงการ ตัวช้ีวัดความสําเร็จของโครงการ ผลการดําเนินงาน สํารวจ ออกแบบ ติดตั้ง ทดสอบและการนําไปใชงาน พรอมท้ังนําเสนอปญหา อุปสรรค แนวทางการแกไข และแนวทางการขยายผลในอนาคต ซ่ึงจะมีประโยชนตอการพัฒนาโครงการในรูปแบบน้ีในอนาคต ผูดําเนินโครงการหวังวาเน้ือหาในรายงานน้ีจะเปนประโยชนตอการพัฒนาระบบผลิตพลังงานทดแทนจากชีวมวลไมมากก็นอย และขอขอบคุณ สํานักนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน) และกองทุนเพื่อสงเสริมการอนุรักษพลังงาน ท่ีใหการสนับสนุน ในการดําเนินคร้ังน้ีสําเร็จลุลวงไปดวยดี

คณะผูดําเนินโครงการ

Page 2: คํานําwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files/Final report โครงการนำ... · ผู ประกอบการอุตสาหกรรมเซรามิกมีต

โครงการนํารองเพื่อผลิตพลังงานทดแทนจากชีวมวลในระดับชมุชน

เลขทีส่ัญญาC11-AE-54-07-012

2

สารบัญ

หนา

คํานํา 1

สารบัญ 2

บทที่ 1 บทนํา 3

1.1 ท่ีมาและความสําคัญ 31.2 ผูดําเนินโครงการ 31.3 วัตถุประสงค 101.4 ตัวช้ีวัดความสําเร็จของโครงการ 10

บทที่ 2 การดําเนินงาน 11

2.1 งานสํารวจ 112.2 งานออกแบบ 122.3 งานติดตั้ง 162.4 งานทดสอบ 282.5 การนําไปใชงาน 382.6 สรุปผลการดําเนินงาน 40

บทที่ 3 ปญหา อุปสรรค และแนวทางการขยายผลในอนาคต 413.1 ปญหา อุปสรรคและการแกไข 413.2 แนวทางการขยายผลในอนาคต 46

ภาคผนวก 47

Page 3: คํานําwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files/Final report โครงการนำ... · ผู ประกอบการอุตสาหกรรมเซรามิกมีต

โครงการนํารองเพื่อผลิตพลังงานทดแทนจากชีวมวลในระดับชมุชน

เลขทีส่ัญญาC11-AE-54-07-012

3

บทที่ 1

บทนํา

1.1 ที่มาและความสําคัญของปญหา

ผูประกอบการอุตสาหกรรมเซรามิกในประเทศไทย สวนมากใชเช้ือเพลิงแกส LPG ในกระบวนการผลิตตั้งแตการอบพิมพปูนปลาสเตอร การข้ึนรูป การเผาบิสกิต และการเผาเคลือบ ซ่ึงคิดเปนตนทุนโดยเฉลี่ยประมาณ 20-30% ของตนทุนการผลิตรวม ซ่ึงปน้ีทางภาครัฐจะมีการยกเลิกเงินอุดหนุนคาแกส LPG ซ่ึงคาดวาจะทําใหราคาแกส LPG มีราคาสูงข้ึน 50-100% สงผลใหผูประกอบการอุตสาหกรรมเซรามิกมีตนทุนการผลิตสูงข้ึนจนไมสามารถแขงขันในตลาดโลกได

การนําเทคโนโลยีระบบผลิตกาซเช้ือเพลิงจากชีวมวลเพื่อผลิตความรอนในกระบวนการผลิตเซรามิก สามารถลดตนทุนเช้ือเพลิงแกส LPG ลงไดอีกท้ังยังนําเศษวัสดุทางการเกษตรเหลือใชของชุมชนท่ีอยูโดยรอบโรงงานนํามาใชเปนเช้ือเพลิงและสรางรายไดใหแกชุมชนอีกทางหน่ึง

1.2 ผูดําเนินโครงการ

1.2.1 เจาของโครงการ

เจาของโครงการ คือ บริษัท อิมพีเรียลพอทเทอร่ี จํากัด ซ่ึงมีประวัติและการดําเนินงานอยางยอดังน้ี

1) ขอมูลของบริษัท

ช่ือนิติบุคคล บริษัทอิมพีเรียลพอทเทอร่ี จํากัด กอตั้งเม่ือ พ.ศ. 2544ทะเบียนเลขท่ี0525544000170ทุนจดทะเบียน15 ลานบาท, ทุนจดทะเบียน มูลคาหุนละ 100บาท, จํานวน150,000 หุนทุนจดทะเบียนท่ีเรียกชําระแลว 15ลานบาท, จํานวน 150,000 หุน,

เม่ือวันท่ี 20 มีนาคม พ.ศ. 2552จํานวนพนักงานท้ังหมด 276 คน

-ฝายบริหารและสนับสนุน 41 คน-วิศวกรและฝายเทคนิค 23 คน-พนักงาน 212 คน-

Page 4: คํานําwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files/Final report โครงการนำ... · ผู ประกอบการอุตสาหกรรมเซรามิกมีต

โครงการนํารองเพื่อผลิตพลังงานทดแทนจากชีวมวลในระดับชมุชน

เลขทีส่ัญญาC11-AE-54-07-012

4

2) ท่ีตั้งกิจการ และ โรงงานบริษัท อิมพีเรียลพอทเทอร่ี จํากัด ตั้งอยู เลขท่ี 224 หมู 2 ตําบล ปงยางคก อําเภอหาง

ฉัตร จังหวัด ลําปาง 52190แสดงดังภาพท่ี 1-1

รูปที่ 1-1 แผนท่ีท่ีตั้งของบริษัท อิมพีเรียลพอทเทอร่ี จํากัด

3) ประวัติการดําเนินธุรกิจและผลประกอบการยอนหลัง 3 ป

ป 2553 -ยอดขาย 2.99 ลานช้ิน มูลคา 125 ลานบาท

ป 2552 - ยอดขาย 2.33ลานช้ิน มูลคา 112 ลานบาท

ป 2551 - ยอดขาย 1.50 ลานช้ิน มูลคา 84 ลานบาท

4) รูปลักษณะของธุรกิจ (แบบยอ)

บริษัทกอตั้งในป 2544 ผลิตและจําหนายสินคาประเภทเคร่ืองใชบนโตะอาหารเน้ือดินEarthen Ware สําหรับตลาดกลุมผูใชตามบาน ปจจุบันเปลี่ยนมาผลิตเน้ือดิน Fine China สําหรับตลาดกลุมโรงแรม ภัตตาคาร รานอาหารและธุรกิจจัดเลี้ยง 95% สงออกไปตางประเทศ 5% ขายภายในประเทศ โดยสินคามีเอกลักษณดานการออกท่ีมีลายเสนสวยงาม มีความทนทานตอการใชงาน และคุณภาพสูง

Page 5: คํานําwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files/Final report โครงการนำ... · ผู ประกอบการอุตสาหกรรมเซรามิกมีต

โครงการนํารองเพื่อผลิตพลังงานทดแทนจากชีวมวลในระดับชมุชน

เลขทีส่ัญญาC11-AE-54-07-012

5

5) โครงสรางผูถือหุน

รายช่ือผูถือหุน ณ วันท่ี 20 มีนาคม 2552ดังตารางท่ี 1-1

ตารางท่ี 1-1 รายช่ือผูถือหุน ณ วันท่ี 20 มีนาคม 2552

ลําดับที่ ชื่อ – นามสกุล / นิติบุคคล จํานวนหุน รอยละ

1 บริษัท คิวอัลไลแอนซ จํากัด 102,000 68

2 นายนันทวัธน ลิมปไพบูลย 27,000 18

3 นางจุฑารัตน นาควะรี 9,000 6

4 นายอดิศร มหามงคล 12,000 8

รวมทัง้ส้ิน 150,000 100

6) แผนผังองคกร (Organization Chart)

บริษัท อิมพีเรียลพอทเทอร่ี จํากัด มีโครงสรางการบริหารขององคกรดังภาพท่ี 2

รูปที่ 1-2 โครงสรางการบริการของบริษัท อิมพีเรียลพอทเทอร่ี จํากัด

นายอดิศร มหามงคล

ตําแหนง รองกรรมการผูจัดการ

โครงการนํารองเพื่อผลิตพลังงานทดแทนจากชีวมวลในระดับชมุชน

เลขทีส่ัญญาC11-AE-54-07-012

5

5) โครงสรางผูถือหุน

รายช่ือผูถือหุน ณ วันท่ี 20 มีนาคม 2552ดังตารางท่ี 1-1

ตารางท่ี 1-1 รายช่ือผูถือหุน ณ วันท่ี 20 มีนาคม 2552

ลําดับที่ ชื่อ – นามสกุล / นิติบุคคล จํานวนหุน รอยละ

1 บริษัท คิวอัลไลแอนซ จํากัด 102,000 68

2 นายนันทวัธน ลิมปไพบูลย 27,000 18

3 นางจุฑารัตน นาควะรี 9,000 6

4 นายอดิศร มหามงคล 12,000 8

รวมทัง้ส้ิน 150,000 100

6) แผนผังองคกร (Organization Chart)

บริษัท อิมพีเรียลพอทเทอร่ี จํากัด มีโครงสรางการบริหารขององคกรดังภาพท่ี 2

รูปที่ 1-2 โครงสรางการบริการของบริษัท อิมพีเรียลพอทเทอร่ี จํากัด

นายนันทวัธน ลมิปไพบลูย

ตําแหนง กรรมการผูจัดการ

นายอดิศร มหามงคล

ตําแหนง รองกรรมการผูจัดการ

นางจุฑารัตน นาควะรี

ตําแหนง ผูจัดการฝายการเงินและบญัชี

โครงการนํารองเพื่อผลิตพลังงานทดแทนจากชีวมวลในระดับชมุชน

เลขทีส่ัญญาC11-AE-54-07-012

5

5) โครงสรางผูถือหุน

รายช่ือผูถือหุน ณ วันท่ี 20 มีนาคม 2552ดังตารางท่ี 1-1

ตารางท่ี 1-1 รายช่ือผูถือหุน ณ วันท่ี 20 มีนาคม 2552

ลําดับที่ ชื่อ – นามสกุล / นิติบุคคล จํานวนหุน รอยละ

1 บริษัท คิวอัลไลแอนซ จํากัด 102,000 68

2 นายนันทวัธน ลิมปไพบูลย 27,000 18

3 นางจุฑารัตน นาควะรี 9,000 6

4 นายอดิศร มหามงคล 12,000 8

รวมทัง้ส้ิน 150,000 100

6) แผนผังองคกร (Organization Chart)

บริษัท อิมพีเรียลพอทเทอร่ี จํากัด มีโครงสรางการบริหารขององคกรดังภาพท่ี 2

รูปที่ 1-2 โครงสรางการบริการของบริษัท อิมพีเรียลพอทเทอร่ี จํากัด

นางจุฑารัตน นาควะรี

ตําแหนง ผูจัดการฝายการเงินและบญัชี

Page 6: คํานําwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files/Final report โครงการนำ... · ผู ประกอบการอุตสาหกรรมเซรามิกมีต

โครงการนํารองเพื่อผลิตพลังงานทดแทนจากชีวมวลในระดับชมุชน

เลขทีส่ัญญาC11-AE-54-07-012

6

7) ประวัติกลุมผูบริหารคนสําคัญ โดยสังเขป

รายชื่อ ตําแหนง การศึกษา วิชาเอก และ สถาบัน ประสบการณทํางาน (ป)

1. นายนันทวธัน ลิมปไพบูลย กรรมการผูจัดการ

บริหารธุรกิจบัณฑิต

บัญชี มหาวิทยาลัยเชียงใหม

19

2. นายอดิศร มหามงคล รองกรรมการผูจัดการ

-วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต

-บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต

-วิศกรรมไฟฟาและส่ือสาร

มหาวิทยาลัยเชียงใหม

-บริหารธุรกิจมหาวิทยาลัยเชียงใหม

19

3. นางจฑุารัตน นาควะรี ผูจัดการฝายการเงินและบัญชี

- บัญชีบัณฑิต

- ศิลปศาสตร

มหาบัณฑิต

บัญชี มหาวิทยาลัย

ธรรมศาสตร

มหาวิทยาลัยเชียงใหม

16

1.2.2 ที่ปรึกษาโครงการ

ในโครงการน้ีดําเนินการโดยมี รศ.ดร.กุลเชษฐ เพียรทอง ผูอํานวยการศูนยวิจัยและบริการดานพลังงาน ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานีเปนท่ีปรึกษาโครงการโดยมีผลงานดานท่ีปรึกษาท่ีผานมาดังน้ี

Page 7: คํานําwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files/Final report โครงการนำ... · ผู ประกอบการอุตสาหกรรมเซรามิกมีต

โครงการนํารองเพื่อผลิตพลังงานทดแทนจากชีวมวลในระดับชมุชน

เลขทีส่ัญญาC11-AE-54-07-012

7

ตารางท่ี 1-2 ผลงานการเปนท่ีปรึกษาดานพลังงาน ของศูนยวิจัยและบริการดานพลังงานมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

ปงบประมาณ โครงการ งบประมาณ รวมกับ

2546

โครงการศึกษาการใชเตาเผาชวีมวลสําหรับอุตสาหกรรมครัวเรือนในชนบทพื้นที่ภาคตะวนัออกเฉียงเหนือ

1,875,000 พ.พ.

โครงการศึกษาสาธิตและสงเสริมเตาตมขนมจีนประหยัดพลังงาน

593,800 พ.พ.

2547

โครงการศึกษาการจัดทํากรอบแผนยุทธศาสตรพลังงานระดับจังหวัดแบบบูรณาการ (จังหวัดอุบลราชธานี)

1,000,000 สพภ.7

2548

โครงการหมูบานพลังงานชนบท 900,000 พ.พ.

โครงการหมูบานมั่นคง (ดานพลังงาน) 900,000 พ.พ.

โครงการ ศึกษาการจัดทํากรอบแผนยุทธศาสตร พลังงานระดับจังหวัดแบบบูรณาการ

3 จังหวัด (นครพนม มุกดาหาร กาฬสินธุ)

2,500,000 สพภ.7

โครงการ ฝกอบรม สาธติการผลิต และการใชงาน

ไบโอดีเซลจากนํ้ามันพืชใชแลว (โครงการนํารอง

จ.อุบลราชธานี)

1,000,000 สพภ.7, สป

2549

โครงการความรวมมือระหวางไทยกับประเทศเพื่อนบาน (งานศึกษาพัฒนาเตาหงุตมประสิทธภิาพสูงใน สปป. ลาว และกัมพูชา)

2,588,000 พ.พ.

โครงการความรวมมือดานพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงานระหวางไทยและประเทศเพื่อนบาน (การศึกษาศักยภาพผลผลิตทางการเกษตรเพื่อใชในโครงการ Biofuel ในประเทศกัมพชูา)

1,194,000 พ.พ.

โครงการศึกษาความเหมาะสมการประยุกตใชงานพลังงานแสงอาทิตยในการสูบนํ้าเพื่อพื้นที่ทํากินทางการเกษตร

6,900,000 กฟภ.

Page 8: คํานําwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files/Final report โครงการนำ... · ผู ประกอบการอุตสาหกรรมเซรามิกมีต

โครงการนํารองเพื่อผลิตพลังงานทดแทนจากชีวมวลในระดับชมุชน

เลขทีส่ัญญาC11-AE-54-07-012

8

ปงบประมาณ โครงการ งบประมาณ รวมกับ

2550

โครงการพฒันาการผลิต และการใชเตาหุงตมประสิทธิภาพสูงสําหรับหมูบานในเขตพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต(พฤษภาคม 2550 –พฤษภาคม 2551)

9,480,200 พ.พ.

โครงการสนับสนุนและเผยแพรพลังงานในอุทยานส่ิงแวดลอมนานาชาติสิรินธร(โครงการถายทอดและเผยแพรการผลิตและการใชเตาหุงตนประสิทธิภาพสูงและเตาเผาผลิตถานแบบถงั200 ลิตร (มถิุนายน 2550 – 2551)

11,948,000 พพ.

โครงการพึ่งพาตนเองดานพลังงานดวยไบโอดีเซลชุมชน(โครงการใหความรูการผลิตและการใชไบโอดีเซล กลุมที่ 3)(ภาคตะวันออกเฉยีง) (ตุลาคม 2550 – ตุลาคม 2551)

7,390,000 พพ.

2550

โครงการความรวมมือดานพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงานระหวางประเทศไทยกับประเทศเพื่อนบาน (ศึกษาและจัดทําตนแบบระบบผลิตไฟฟาจากกาซเชื้อเพลิง ชวีมวล ในประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประเทศลาว(พฤษภาคม 2550 – พฤษภาคม 2551)

7,440,000 พ.พ.

โครงการออกแบบและควบคุมงานกอสรางเคร่ืองกล่ันแอลกอฮอลทดแทนของเดิมที่ขนาดกําลังผลิตไมต่ํากวา60,000 ลิตร/วัน และมีความเขมขน 95 % โดยปริมาตร และงานกอสรางระบบเพิ่มมันเสนเปนวัตถุดิบ จํานวน 2 รายการ(กันยายน 2550 – กันยายน 2552)

6,400,000 องคการสุรา

กรมสรรพสามิต

การจัดทําแผนพลังงาน 80 ชุมชน สนองพระราชดําริ“เศรษฐกิจพอเพียง” ในเขตพื้นที่สํานักงานพลังงานภมูิภาคที่7

3,500,000 สพภ.7,สป.

โครงการลดใชพลังงานในภาครัฐ ในหนวยงานภาครัฐขนาดเล็ก

1,800,000 สพภ.7,สป.

2551

โครงการถายทอดการผลิตและการใชเตาหุงตมประสิทธิภาพสูงและเตาเผาผลิตถาน (เมษายน 51-กุมภาพันธ 52)

11,750,000 พ.พ.

โครงการพลังงานชุมชน ประเทศ สปป.ลาว

(พฤษภาคม 2551 – พฤษภาคม 2552)

4,321,000 พ.พ.

Page 9: คํานําwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files/Final report โครงการนำ... · ผู ประกอบการอุตสาหกรรมเซรามิกมีต

โครงการนํารองเพื่อผลิตพลังงานทดแทนจากชีวมวลในระดับชมุชน

เลขทีส่ัญญาC11-AE-54-07-012

9

ปงบประมาณ โครงการ งบประมาณ รวมกับ

2552

โครงการศึกษาพัฒนาระบบกาซชีวมวลในการสูบนํ้าเพื่อการเกษตร(มกราคม 2552 – พฤศจิกายน 2552)

3,485,000 พ.พ.

โครงการศึกษาและสงเสริมการใชระบบผลิตพลังงานความรอนดวยกาซชวีมวลสําหรับโรงงานอุตสาหกรรมขนาดเล็ก(ธันวาคม 2551 – ตุลาคม 2552)

2,958,000 พ.พ.

โครงการการจัดการพลังงานแบบสมบูรณ เพื่อยกระดับประสิทธิภาพการใชพลังงานสําหรับอุตสาหกรรม

รุนที่ 8

384,000 สพภ.7,สป.

2553

โครงการพฒันาบุคลากรดานพลังงานทดแทน 2,970,000 พ.พ.

โครงการวจิัยออกแบบตนแบบโรงงานผลิตเอทานอลและเคร่ืองหีบขาวฟางหวาน

2,710,000 พ.พ.

2554

โครงการพฒันาเพิ่มสมรรถนะและประสิทธิภาพระบบผลิตนํ้ารอนและพลังงานแสงอาทติยแบบผสมผสานสําหรับโรงงานจุฬาภรณ สถาบันวิจยัจฬุาภรณ

2,250,000 พ.พ.

โครงการพฒันาและถายทอดเทคโนโลยีการผลิตและการใชเตาชีวมวลทรงกระบอกในครัวเรือนและกลุมอุตสาหกรรมครัวเรือน

4,125,000 พ.พ.

พพ. คือกรม พัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน กระทรวงพลังงาน

สพภ. 7, สป. คือสํานักงานพลังงาน ภูมิภาค ที่ 7, สํานักปลัด กระทรวงพลังงาน

กฟภ. คือ การไฟฟาสวนภูมิภาค

วช. คือ สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ

ศภ. 7 คือ ศูนยสงเสริมอุตสาหกรรมภาค 7 กรมสงเสริมอุตสาหกรรม

หมายเหตุ: โครงการวิจัย หรือ ใหบริการวิชาการ ขนาดเล็ก (ต่ํากวา 5 แสนบาท) บางโครงการไมมีเอกสารสัญญาและไมไดแสดงสัญญาในเอกสารน้ี

Page 10: คํานําwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files/Final report โครงการนำ... · ผู ประกอบการอุตสาหกรรมเซรามิกมีต

โครงการนํารองเพื่อผลิตพลังงานทดแทนจากชีวมวลในระดับชมุชน

เลขทีส่ัญญาC11-AE-54-07-012

10

1.3 วัตถุประสงคของโครงการ

1. เพื่อนําเช้ือแกสชีวมวลมาใชทดแทนแกส LPG ในกระบวนการผลิตเซรามิก ทําใหมีพลังงานทางเลือกท่ีมีราคาถูกและเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม

2. เพื่อรับซ้ือวัสดุทางการเกษตรเหลือใชจากเกษตรกรในชุมชนโดยรอบโรงงาน มาใชเปนวัตถุดิบชีวมวล สามารถสรางรายไดเสริมใหแกเกษตรกรอีกทางหน่ึง

3. เพื่อลดตนทุนการผลิตทางดานเช้ือเพลิงแกส LPG

1.4 ตัวชี้วัดความสําเร็จของโครงการ

1) ไดระบบผลิตกาซชีวมวลขนาด 1 MWth พรอมระบบทําความสะอาดกาซ

2) มีถังสํารองกาซขนาด 10 ลบ.ม.

3) นํากาซชีวมวลท่ีผลิตไดมาทดแทนกาซ LPG ในกระบวนการอบและเผาท่ีอุณหภูมิ ไมเกิน 900 องศาเซลเซียสได

4) ผลิตภัณฑท่ีไดจากการเผาดวยกาซชีวมวล มีคุณภาพเทาเทียมกับผลิตภัณฑท่ีไดจากการเผาดวย LPG

Page 11: คํานําwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files/Final report โครงการนำ... · ผู ประกอบการอุตสาหกรรมเซรามิกมีต

โครงการนํารองเพื่อผลิตพลังงานทดแทนจากชีวมวลในระดับชมุชน

เลขทีส่ัญญาC11-AE-54-07-012

11

บทที่ 2

ผลการดําเนินโครงการ

2.1 งานสํารวจ

กอนเร่ิมตนโครงการผูดําเนินโครงการและท่ีปรึกษา ไดลงสํารวจพื้นท่ี เพื่อหาตําแหนงท่ีเหมาะสมในการวางระบบ พรอมท้ังประชุมหารือ ดังแสดงในรูปท่ี 2.1 และ 2.2

รูปที่ 2.1 การสํารวจพื้นท่ีติดตั้ง

รูปที่ 2.2 การประชุมหารือและนําเสนอรูปแบบการดําเนินงาน

Page 12: คํานําwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files/Final report โครงการนำ... · ผู ประกอบการอุตสาหกรรมเซรามิกมีต

โครงการนํารองเพื่อผลิตพลังงานทดแทนจากชีวมวลในระดับชมุชน

เลขทีส่ัญญาC11-AE-54-07-012

12

2.2 งานออกแบบ

ในโครงการน้ี ท่ีปรึกษาไดออกแบบเตาผลิตกาซชีวมวลแบบกาซไหลลง แบบสองคอคอด(Double throat downdraft gasifier) ซ่ึงมีจุดเดนคือ สามารถผลิตกาซท่ีมีสวนผสมของนํ้ามันดินต่ําเม่ือเทียบกับเตาผลิตกาซแบบอื่นๆ เน่ืองจากในการระบวนการผลิตเซรามิกตองการกาซท่ีมีความสะอาดสูง โดยการไหลของอากาศจะไหลผานจากดานบนลงสุดานลางของเตา นํ้ามันดินท่ีเกิดข้ึนในช้ันไพโรไลซีสจะไหลผานช้ันการเผาไหม ทําใหนํ้ามันดินท่ีเกิดข้ึนถูกเผาไหมเกือบหมด โดยหลักการทํางานของระบบผลิตกาซน้ัน เม่ือเติมเช้ือเพลิงเต็มเตาแลว อากาศจากภายนอกจะถูกดูดเขาไปทําปฏิกิริยากับเช้ือเพลิงภายในเตาในช้ันการเผาไหม และกาซผลิตภัณฑท่ีเกิดจากช้ันการเผาไหมไหลผานช้ันถานท่ีอุณหภูมิสูงในช้ันรีดักชัน ไดกาซชีวมวลออกมา เขาสูไซโคลนแยกฝุน ผานเคร่ืองแลกเปลี่ยนความรอน ผานชุดอุปกรณดักทารแบบเปยก(Wet scrubber) ผานชุดทําแหงกาซ(Gas dryer) กอนท่ีจะเขาสู Blower เพื่อสงกาซไปยังถังสํารองกาซและจุดใชงาน โดยผานกรองละเอียด (Bag filter) และอัดกาซโดยใชเคร่ืองอัดอากาศ (Compressor) โดยรายละเอียดตางๆ ของระบบมีดังน้ี

1. ระบบผลิตกาซเชื้อเพลิงสังเคราะหเพื่อผลิตพลังงาน

รูปที่ 2.3 แบบเตาผลิตกาซชีวมวลท่ีออกแบบ

Page 13: คํานําwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files/Final report โครงการนำ... · ผู ประกอบการอุตสาหกรรมเซรามิกมีต

โครงการนํารองเพื่อผลิตพลังงานทดแทนจากชีวมวลในระดับชมุชน

เลขทีส่ัญญาC11-AE-54-07-012

13

2. ระบบทําความสะอาดกาซ

รูปที่ 2.4 แบบชุดทําความสะอาด

3.ระบบปอนเชื้อเพลิงชีวมวล

รูปที่ 2.5 ระบบเติมเช้ือเพลิงแบบลิฟทลําเลียง

Page 14: คํานําwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files/Final report โครงการนำ... · ผู ประกอบการอุตสาหกรรมเซรามิกมีต

โครงการนํารองเพื่อผลิตพลังงานทดแทนจากชีวมวลในระดับชมุชน

เลขทีส่ัญญาC11-AE-54-07-012

14

4. ระบบนํากาซเชื้อเพลิงไปใชประโยชน

รูปที่ 2.6 แบบ Producer gas Ventury burner

รูปที่ 2.7 แบบ Producer gas automatic burner

Page 15: คํานําwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files/Final report โครงการนำ... · ผู ประกอบการอุตสาหกรรมเซรามิกมีต

โครงการนํารองเพื่อผลิตพลังงานทดแทนจากชีวมวลในระดับชมุชน

เลขทีส่ัญญาC11-AE-54-07-012

15

5. ระบบบําบัดนํ้าเสีย

รูปที่ 2.8 แปลนการสรางระบบบําบัดนํ้าเสีย

Page 16: คํานําwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files/Final report โครงการนำ... · ผู ประกอบการอุตสาหกรรมเซรามิกมีต

โครงการนํารองเพื่อผลิตพลังงานทดแทนจากชีวมวลในระดับชมุชน

เลขทีส่ัญญาC11-AE-54-07-012

16

2.3 งานติดตั้ง

2.3.1 รายงานการกอสรางและติดตั้งอุปกรณ

ลําดับ รายการ กําหนดเร่ิมงานDD/MM/YY

กําหนดแลวเสร็จDD/MM/YY

หมายเหตุ

1. งานออกแบบละเอยีด และขอกําหนดอุปกรณ (Engineering)

1.1 สํารวจระบบผลิตกาซชีวมวล 1 กรกฎาคม 2554 30 กันยายน 2554

1.2 วางรูปแบบระบบการผลิตกาซชวีมวล 1 กรกฎาคม 2554 30 ตุลาคม 2554

1.3

จัดทําแบบระบบผลิตกาซชีวมวลโดยทีมงานทีป่รึกษาโครงการประกอบดวย

1.3.1 แบบระบบเตรียมเชื้อเพลิง

1.3.2 แบบระบบปอนเชื้อเพลิง

1.3.3 แบบระบบผลิตกาซเชื้อเพลิงสังเคราะหเพื่อผลิตพลังงาน

1.3.4 แบบระบบการนํากาซเชื้อเพลิงไปใชประโยชน

1.3.5 แบบระบบบําบัดนํ้าเสีย

1.3.6 แบบระบบงานโครงสรางและงานโยธา

1 สิงหาคม 2554 31 ธันวาคม 2554

1.4สรุปผลการออกแบบของทมีงานที่ปรึกษารวมกับทางบริษัทสําหรับนําไปใชงานกอสรางระบบจริง

1 ธันวาคม 2554 31 ธันวาคม 2554

Page 17: คํานําwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files/Final report โครงการนำ... · ผู ประกอบการอุตสาหกรรมเซรามิกมีต

โครงการนํารองเพื่อผลิตพลังงานทดแทนจากชีวมวลในระดับชมุชน

เลขทีส่ัญญาC11-AE-54-07-012

17

2. งานจัดซือ้จัดจาง (Procurement)

2.1

สรรหาสอบเทียบราคาผูรับเหมาะสําหรับกอสรางระบบผลิตกาซชวีมวล

1 กรกฎาคม 2554 30 มกราคม 2555

2.2

สรรหาสอบเทียบราคาผูจัดจําหนายวัสดุอุปกรณประกอบงานโครงสราง

1 พฤศจิกายน 2554 30 มกราคม 2555

2.3

สรุปผลการสอบเทียบราคาพรอมกับทําการจัดจางผูรับเหมาและจัดซ้ืออุปกรณประกอบ

1 พฤศจิกายน2554 30 มกราคม 2555

3. งานโยธา โครงสราง และฐานราก (Civil Work)

3.1

ดําเนินการกอสรางระบบภายใตการควบคุมของทีป่รึกษา

1 มกราคม 2555 30 มีนาคม 2555

4. งานระบบเคร่ืองกล (Mechanical Work)

4.1 ดําเนินการกอสรางระบบภายใตการควบคุมของทีป่รึกษา

1 มกราคม 2555 30 มีนาคม 2555

5. งานระบบไฟฟาและระบบควบคุม (Electrical & Control Work)

5.1 ดําเนินการกอสรางระบบภายใตการควบคุมของทีป่รึกษา

1 กุมภาพันธ 2555 30 เมษายน 2555

6. งานทดสอบและเร่ิมตนเดินระบบ

6.1ทดสอบอุปกรณการทํางานของอุปกรณทั้งระบบอยางตอเน่ือง อยางนอย 72 ชั่วโมง

1 พฤษภาคม 2555 15 พฤษภาคม 2555

6.2ตรวจวัดคาสัดสวนกาซเชื้อเพลิงสังเคราะห และของเสียที่เกิดขึ้นในระบบ

15 พฤษภาคม 2555 31 พฤษภาคม 2555

Page 18: คํานําwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files/Final report โครงการนำ... · ผู ประกอบการอุตสาหกรรมเซรามิกมีต

โครงการนํารองเพื่อผลิตพลังงานทดแทนจากชีวมวลในระดับชมุชน

เลขทีส่ัญญาC11-AE-54-07-012

18

2.3.2 รูประบบผลิตกาซเชื้อเพลิงสังเคราะหเพื่อผลิตพลังงาน

งานโยธาและโครงสราง

พื้นที่กอนทําการปรับปรุง การทุบแนวก้ันผนัง

พื้นที่กอนทําการปรับพื้น การขนดิน

เร่ิมทําการปรับพื้นที่ หลังทําการปรับพื้นที่เสร็จ

โครงการนํารองเพื่อผลิตพลังงานทดแทนจากชีวมวลในระดับชมุชน

เลขทีส่ัญญาC11-AE-54-07-012

18

2.3.2 รูประบบผลิตกาซเชื้อเพลิงสังเคราะหเพื่อผลิตพลังงาน

งานโยธาและโครงสราง

พื้นที่กอนทําการปรับปรุง การทุบแนวก้ันผนัง

พื้นที่กอนทําการปรับพื้น การขนดิน

เร่ิมทําการปรับพื้นที่ หลังทําการปรับพื้นที่เสร็จ

โครงการนํารองเพื่อผลิตพลังงานทดแทนจากชีวมวลในระดับชมุชน

เลขทีส่ัญญาC11-AE-54-07-012

18

2.3.2 รูประบบผลิตกาซเชื้อเพลิงสังเคราะหเพื่อผลิตพลังงาน

งานโยธาและโครงสราง

พื้นที่กอนทําการปรับปรุง การทุบแนวก้ันผนัง

พื้นที่กอนทําการปรับพื้น การขนดิน

เร่ิมทําการปรับพื้นที่ หลังทําการปรับพื้นที่เสร็จ

Page 19: คํานําwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files/Final report โครงการนำ... · ผู ประกอบการอุตสาหกรรมเซรามิกมีต

โครงการนํารองเพื่อผลิตพลังงานทดแทนจากชีวมวลในระดับชมุชน

เลขทีส่ัญญาC11-AE-54-07-012

19

งานระบบเคร่ืองผลิตกาซเชื้อเพลิงสังเคราะห

Feed Hopper Support column

ตะแกรงกรองขี้เถา Ash clear blade shaft

Buttom grate shell Reactor

Page 20: คํานําwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files/Final report โครงการนำ... · ผู ประกอบการอุตสาหกรรมเซรามิกมีต

โครงการนํารองเพื่อผลิตพลังงานทดแทนจากชีวมวลในระดับชมุชน

เลขทีส่ัญญาC11-AE-54-07-012

20

งานระบบทําความสะอาดกาซเชื้อเพลิงสังเคราะห

Water bath VSCB Droplrt separator bottom

Ventury scrubber body Droplet separator tank

Dust collector Wet Scruber

Page 21: คํานําwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files/Final report โครงการนำ... · ผู ประกอบการอุตสาหกรรมเซรามิกมีต

โครงการนํารองเพื่อผลิตพลังงานทดแทนจากชีวมวลในระดับชมุชน

เลขทีส่ัญญาC11-AE-54-07-012

21

งานอุปกรณและเคร่ืองมือวัด

Thermocouple Type R Actualator

Full cone spray nozzle เคร่ืองกําเนิดแรงส่ันสะเทือน

Rotary valve Cooling tower

Page 22: คํานําwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files/Final report โครงการนำ... · ผู ประกอบการอุตสาหกรรมเซรามิกมีต

โครงการนํารองเพื่อผลิตพลังงานทดแทนจากชีวมวลในระดับชมุชน

เลขทีส่ัญญาC11-AE-54-07-012

22

งานไฟฟา

PLC Breaker

Relay มอเตอรปมนํ้า

งานนํากาซเชื้อเพลิงสังเคราะหไปใชประโยชน

Nozzle ของหัวเผา Ventury เคร่ืองพนไฟแบบอัตโนมัติ

Page 23: คํานําwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files/Final report โครงการนำ... · ผู ประกอบการอุตสาหกรรมเซรามิกมีต

โครงการนํารองเพื่อผลิตพลังงานทดแทนจากชีวมวลในระดับชมุชน

เลขทีส่ัญญาC11-AE-54-07-012

23

หัวเผา Ventury ชุดหัวพนไฟแบบอัตโนมตัิ

งานติดตั้งระบบทั้งหมด

การติดตั้งเตาผลิตกาซ การติดตั้งระบบทําความสะอาดกาซ

การติดตั้งถังสํารองกาซ การติดตั้งระบบบําบัดนํ้าเสีย

Page 24: คํานําwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files/Final report โครงการนำ... · ผู ประกอบการอุตสาหกรรมเซรามิกมีต

โครงการนํารองเพื่อผลิตพลังงานทดแทนจากชีวมวลในระดับชมุชน

เลขทีส่ัญญาC11-AE-54-07-012

24

งานสรางโรงคลุมระบบ ติดตั้ง Heat Exchanger

ติดตั้ง Blower ติดตั้ง Bag filter

ติดตั้ง ตูควบคมุ ติดตั้ง Gas Dryer

Page 25: คํานําwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files/Final report โครงการนำ... · ผู ประกอบการอุตสาหกรรมเซรามิกมีต

โครงการนํารองเพื่อผลิตพลังงานทดแทนจากชีวมวลในระดับชมุชน

เลขทีส่ัญญาC11-AE-54-07-012

25

ติดตั้งปมนํ้า ติดตั้งลิฟตเตมิเชื้อเพลิง

ติดตั้งหวัเตาทดสอบ (Flare) ติดตั้ง Cooling Tower

ติดตั้งชุดขับขี้เถา ติดตั้งวาลวอากาศ

Page 26: คํานําwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files/Final report โครงการนำ... · ผู ประกอบการอุตสาหกรรมเซรามิกมีต

โครงการนํารองเพื่อผลิตพลังงานทดแทนจากชีวมวลในระดับชมุชน

เลขทีส่ัญญาC11-AE-54-07-012

26

ติดตั้งชองจุดไฟ ติดตั้งเทอรโมคับเปล

ติดตั้งเคร่ืองกําเนิดแรงส่ันสะเทอืน ติดตั้งอุปกรณวัดระดับเชื้อเพลิง

ติดตั้ง Compressor ติดตั้งตูอบแหงชวีมวล

Page 27: คํานําwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files/Final report โครงการนำ... · ผู ประกอบการอุตสาหกรรมเซรามิกมีต

โครงการนํารองเพื่อผลิตพลังงานทดแทนจากชีวมวลในระดับชมุชน

เลขทีส่ัญญาC11-AE-54-07-012

27

ติดตั้งหวัเผา Ventury ติดตั้งหวัพนไฟอัตโนมัติ

รูปที่ 2.9 โรงผลิตกาซเช้ือเพลิงสังเคราะหจากชีวมวลท่ีติดตั้งแลวเสร็จ

Page 28: คํานําwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files/Final report โครงการนำ... · ผู ประกอบการอุตสาหกรรมเซรามิกมีต

โครงการนํารองเพื่อผลิตพลังงานทดแทนจากชีวมวลในระดับชมุชน

เลขทีส่ัญญาC11-AE-54-07-012

28

2.4 งานทดสอบ

หลังจากท่ีไดติดต้ังอุปกรณทุกอยางในระบบเรียบรอยแลว ผูดําเนินโครงการไดทําการทดสอบระบบ โดยแบงเปน

1) การทดสอบเบื้องตน ประกอบดวย การทดสอบการทํางานของอุปกรณตัวเปลาทุกตัว การทดสอบการ Start up ระบบ และการทดสอบการเดินระบบระยะสั้น

2) การทดสอบระยะยาว 30 ชั่วโมง เพื่อวัดการทํางานอยางตอเนื่องของระบบ วัดประสิทธภิาพเชิงความรอนของระบบผลิตกาซ

3) การทดสอบการใชงานจริง (รายละเอียดในหัวขอ 2.5)โดยรายละเอียดการทดสอบขัน้ตางๆ มีดังนี้

2.4.1. การทดสอบเบ้ืองตนเพื่อความปลอดภัย และปองกันความเสียหายของระบบ ผูดาํเนินโครงการไดดําเนินการ

ทดสอบอุปกรณแตละตัวท่ีไดรบัการติดต้ัง ดังมีรายละเอียดการทดสอบแสดงในภาคผนวก ก.ภายหลังจากท่ีไดทดสอบการทํางานของอุปกรณแตละตัวแลว ผูดําเนินโครงการได

ทดสอบการทํางานของระบบโดยรวม (เหมือนการใชงานจรงิ) เปนระยะเวลาครั้งละ 8 – 16 ชั่วโมง เพื่อวัดสมรรถนะของระบบ รวมเวลาในการทดสอบระบบเบื้องตนมากกวา 30 ชั่วโมง โดยรายละเอียดการทดสอบการทํางานหรือสมรรถนะของระบบมีขั้นตอนดังนี้

1) เตรียมเชื้อเพลิง เตรียมถานไมและไมสับท่ีมีขนาด 1x1x1 นิ้ว ถึง 3x3x3 นิ้ว ใสกระบะสาํหรับชั่งน้ําหนัก แลวบันทึกขอมูลน้ําหนักเชื้อเพลิงท่ีเติมเขาไปในเตา ดังแสดงในรูปท่ี 2.10

รูปที่ 2.10 ชั่งน้ําหนักเชื้อเพลิง

Page 29: คํานําwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files/Final report โครงการนำ... · ผู ประกอบการอุตสาหกรรมเซรามิกมีต

โครงการนํารองเพื่อผลิตพลังงานทดแทนจากชีวมวลในระดับชมุชน

เลขทีส่ัญญาC11-AE-54-07-012

29

2) เติมถาน โดยใชถานปริมาณ 100 kg เติมเขาไปในชั้นของ Combustion และ Reduction zone

รูปที่ 2.11 ถานท่ีเติมเขาไปในเตาผลิตกาซเชื้อเพลิง

3) เติมเชื้อเพลิงชีวมวล นําเชื้อเพลิงท่ีผานการชั่งน้ําหนักแลวมาเทลงใน Feed conveyor เติมลงไปในเตาผลิตกาซ

รูปที่ 2.12 เทเชื้อเพลิงชีวมวลใส Feed conveyor

Page 30: คํานําwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files/Final report โครงการนำ... · ผู ประกอบการอุตสาหกรรมเซรามิกมีต

โครงการนํารองเพื่อผลิตพลังงานทดแทนจากชีวมวลในระดับชมุชน

เลขทีส่ัญญาC11-AE-54-07-012

30

4) ลําเลียงเชื้อเพลิงลงไปในเตา โดยใช Conveyor ลําเลียงเชื้อเพลิงขึ้นไปท่ี Hopper ดานบนของเตาผลิตกาซเชื้อเพลิง

รูปที่ 2.13 เชื้อเพลิงชีวมวลท่ีไดรับการสงขึ้นมาเติมท่ี Hopper

5) เปด Blower แลวปรบัอัตราการไหลของกาซโดยใช Invertor ในการเริ่มตนการจดุเตาในการทดสอบนี้ ใชอัตราการไหลของกาซประมาณ 50% ของอัตราการไหลพิกัด (Rated load)

รูปที่ 2.14 Blower หลักท่ีใชในการผลิตกาซเชื้อเพลิง

Page 31: คํานําwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files/Final report โครงการนำ... · ผู ประกอบการอุตสาหกรรมเซรามิกมีต

โครงการนํารองเพื่อผลิตพลังงานทดแทนจากชีวมวลในระดับชมุชน

เลขทีส่ัญญาC11-AE-54-07-012

31

6) เปดระบบนํ้าทําความสะอาดกาซ ท่ีใชในชุด Pre-scrubber และ Wet scrubber

รูปที่ 2.15 ตําแหนงท่ีใชระบบน้ําสําหรบัทําความสะอาดกาซ

7) เร่ิมจุดเตา โดยใชเศษผาพันกับแทงเหล็กชุบน้ํามันดีเซล จดุไฟ แลวนําไปจอไวท่ีชองจุดเตาเปลวไฟจะถูกดูดเขาไปเอง จากนั้นสังเกตท่ีชองมองเปลวไฟ วาไฟติดท่ีเชื้อเพลิงในเตาแลว ใหเอาไฟลอออก

รูปที่ 2.16 เริ่มตนการจุดเตา

Ventury wet scrubber

Pre-scrubber

ทอนํ้าแรงดัน

Page 32: คํานําwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files/Final report โครงการนำ... · ผู ประกอบการอุตสาหกรรมเซรามิกมีต

โครงการนํารองเพื่อผลิตพลังงานทดแทนจากชีวมวลในระดับชมุชน

เลขทีส่ัญญาC11-AE-54-07-012

32

8) สังเกตควันที่ปลองทดสอบการติดไฟ (Flare test) หลังจากท่ีจุดเตาไดประมาณ 1-2 นาที จะพบวามีกลุมควันเกิดขึ้นท่ีบริเวณ Flare stack ซึ่งเปนควันท่ิเกิดจากการเผาไหมของเชื้อเพลิงในชั้นของ Combustion zone มีสวนประกอบของ CO2 เปนหลัก ทําใหกาซท่ีผลิตไดในชวงนี้ยังไมสามารถติดไฟได

รูปที่ 2.17 ลักษณะควันท่ีเกิดขึ้นในชวงเริ่มตนการจุดเตา

9) ทดสอบการจุดติดไฟ หลังจากเริ่มตนการจุดไฟไดประมาณ 10 นาที ใหทดสอบการติดไฟ โดยการใชหัวเทียน (Spark plug) ท่ีติดต้ังกับระบบทดสอบการติดไฟ หรือใชแทงเหล็กยาวพันดวยเศษผาชุบน้ํามันจุดไฟ หากระบบไมมีปญหาใดๆ กาซท่ีผลิตไดควรติดไฟไดภายใน 10-20 นาที

รูปที่ 2.18 เปลวไฟจากปลองทดสอบหลังจากจุดเตาได 15 นาที

Page 33: คํานําwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files/Final report โครงการนำ... · ผู ประกอบการอุตสาหกรรมเซรามิกมีต

โครงการนํารองเพื่อผลิตพลังงานทดแทนจากชีวมวลในระดับชมุชน

เลขทีส่ัญญาC11-AE-54-07-012

33

10) เร่ิมเก็บขอมูล โดยมีเง่ือนไขดังนี้10.1) หลังจากเปลวไฟติดตอเนื่องแลวใหเติมเชื้อเพลิงใหเต็มถึงตําแหนงสูงสุดของเตา (Top

up)10.2) ปรับอัตราการไหลของกาซเชื้อเพลิงโดยใช Invertor โดยใชความถ่ี 10 Hz, 20 Hz และ

30 Hz (วัดอัตราการไหลได 107 m3/h, 433 m3/h และ 910 m3/h ตามลําดับ)10.3) บันทึกขอมูลอุณหภูมิในจุดตางๆ ทุก 30 นาที สําหรับการวัดอัตราการสิ้นเปลือง

เชื้อเพลิงนั้นวัดโดยใชวิธีเติมเชื้อเพลิงใหถึงระดับเริ่มตนการจุดเตาทุก 1 ชั่วโมง10.4) ในการทดสอบแตละกรณีนั้นใชเวลาในการทดสอบตอเนื่อง 3 ชั่วโมง

11) หยุดการทํางาน เมื่อทดสอบทุกเง่ือนไขแลว ใหทําการหยุดระบบโดยมีขั้นตอนดังนี้11.1) ลดอัตราการไหลของกาซลงโดยการปรับ Invertor ไปท่ีอัตราการไหลตํ่า แลวคอยปด

Blower เพื่อปองกันปญหาเกิดเปลวไฟยอนกลับ (Back fire)11.2) ปดวาลวอากาศทุกตัวท้ังดานเขาและออกจากเตา11.3) เปดมอเตอรระบบขับเถา เพื่อใหเถาท่ีเกาะอยูท่ีตะแกรงรวงลงดานลาง11.4) เปดระบบน้ําหมุนเวียนตออีก 10 นาที เพื่อทําความสะอาดระบบและลดอุณหภูมิของ

อุปกรณ หลังจากนั้นปดระบบน้ํา11.5) ยังคงเปด Blower ของ Heat Exchanger ตออีก 30 นาที เพื่อลดอุณหภูมิของอุปกรณ

หลังจากนั้นปด Blower

รูปที่ 2.19 ตูคอนโทรลสําหรับตรวจสอบอุณหภูมิและควบคุมการทํางานระบบท้ังหมด

Page 34: คํานําwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files/Final report โครงการนำ... · ผู ประกอบการอุตสาหกรรมเซรามิกมีต

โครงการนํารองเพื่อผลิตพลังงานทดแทนจากชีวมวลในระดับชมุชน

เลขทีส่ัญญาC11-AE-54-07-012

34

รูปที่ 2.20 นาฬิกาจบัเวลาสําหรับบันทึกเวลาในการทดสอบ

รูปที่ 2.21 เครื่องมือวัดความเร็วลมสาํหรับวดัอัตราการไหลของกาซ

Page 35: คํานําwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files/Final report โครงการนำ... · ผู ประกอบการอุตสาหกรรมเซรามิกมีต

โครงการนํารองเพื่อผลิตพลังงานทดแทนจากชีวมวลในระดับชมุชน

เลขทีส่ัญญาC11-AE-54-07-012

35

ผลการทดสอบจากการทดสอบการทํางานของระบบเบื้องตน 10 ชั่วโมง ไดผลดังนี้

ผลการทดสอบ Starting test เชื้อเพลิงในเตาสามารถติดไฟไดหลังจากจอเปลวไฟประมาณ 30 วินาที กาซเชื้อเพลิงท่ีผลิตไดติดไฟอยางตอเนื่องภายใน 15 นาที เปลวไฟจากกาซท่ีผลิตไดติดไฟอยางตอเนื่องตลอด 1 ชั่วโมง

ผลการทดสอบสมรรถนะของระบบ (Performance test)ตารางที่ 1 ผลการวัดสมรรถนะการทํางานของระบบผลิตกาซเชื้อเพลิงความถ่ีของ

มอเตอร (Hz)Gas flow

rate (m3/h)การติดไฟท่ี

flareปริมาณการใชไฟฟาของ Blower (kWh)

ปริมาณเชื้อเพลิง(kg/h)

*กําลังความรอน

(kWth)10 107 ตอเนื่องไมดับ 0.89 43 14920 433 ตอเนื่องไมดับ 2.8 173 60030 910 ตอเนื่องไมดับ 5.59 364.4 1263

*กําลังความรอนท่ีคํานวณได คิดท่ีประสิทธิภาพเตาเชิงความรอน 70% และคาความรอนของกาซเชื้อเพลิง5 MJ/m3

ผลการวัดอุณหภูมิในเตาผลิตกาซเชื้อเพลิงนอกจากการวัดอัตราการไหลและอัตราการสิน้เปลืองแลว ปจจัยท่ีมีผลตอการทํางานของระบบ

ท่ีสําคัญอีกอยางคือ อุณหภูมิภายในเตา จากการทดสอบไดผลดังแสดงในตารางท่ี 2ตารางที่ 2 ผลการวัดอุณหภูมิภายในเตาผลิตกาซเชื้อเพลิง

Flow rate(m3/h)

T1(°C)

T2(°C)

T3(°C)

T4(°C)

T5(°C)

107 33 269 1036 320 172433 34 565 1144 435 277910 31 700 1247 396 334

Page 36: คํานําwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files/Final report โครงการนำ... · ผู ประกอบการอุตสาหกรรมเซรามิกมีต

โครงการนํารองเพื่อผลิตพลังงานทดแทนจากชีวมวลในระดับชมุชน

เลขทีส่ัญญาC11-AE-54-07-012

36

รูปที่ 2.22 ตําแหนงการตรวจวัดอุณหภูมิภายในเตา

T1

T5

T3

T4

T2

Page 37: คํานําwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files/Final report โครงการนำ... · ผู ประกอบการอุตสาหกรรมเซรามิกมีต

โครงการนํารองเพื่อผลิตพลังงานทดแทนจากชีวมวลในระดับชมุชน

เลขทีส่ัญญาC11-AE-54-07-012

37

2.4.2 การทดสอบระยะยาว 30 ชั่วโมงเพื่อวัดสมรรถนะและประสิทธภิาพการทํางานของระบบผลติกาซ และการนําไปใชงาน

ผูดําเนินโครงการ ไดวาจางผูเชี่ยวชาญ จากมหาวิทยาลยัราชภัฎพระนคร เขาตรวจวัดการทํางานของระบบ ในวนัท่ี 28 มิถุนายน 2555 โดยมีเนื้องานประกอบดวย การตรวจวดัคุณสมบัติเชื้อเพลิงชีวมวล ตามมาตรฐาน American Society for Testing and Materials (ASTM) การตรวจวัดระบบผลิตกาซเชื้อเพลิงสังเคราะห ตรวจวิเคราะหคุณสมบัติกาซเชื้อเพลิงสังเคราะห และการคํานวณประสิทธภิาพของระบบผลิตกาซเชื้อเพลิงสังเคราะห ภาพการทดสอบแสดงในตารางท่ี 2.1 และผลการทดสอบและวิเคราะหผลแสดงในภาคผนวก ข

ตารางที่ 2.1 ภาพการทดสอบ 30 ชั่วโมง

คณะที่ปรึกษาจาก ม.ราชภัฎพระนคร ทีมผูดําเนินโครงการ

ไมทีช่ั่งนํ้าหนักแลว ตรวจวัดอัตราการไหลของกาซ

Page 38: คํานําwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files/Final report โครงการนำ... · ผู ประกอบการอุตสาหกรรมเซรามิกมีต

โครงการนํารองเพื่อผลิตพลังงานทดแทนจากชีวมวลในระดับชมุชน

เลขทีส่ัญญาC11-AE-54-07-012

38

ชุดเก็บตัวอยางกาซ เก็บตัวอยางกาซไปทดสอบ

เผาผลิตภัณฑดวยกาซชีวมวล วัดคุณสมบัตขิองผลิตภัณฑที่ไดจากการเผา

2.5 การนําไปใชงาน

กอนการทดสอบระยะยาว 30 ช่ัวโมง และในชวงระหวางการทดสอบระยะยาว 30 ช่ัวโมงผูดําเนินโครงการ ไดทดลองนํากาซท่ีผลิตไดไปใชในการเผาผลิตภัณฑ โดยควบคุมการทํางานของระบบ ใหเปนแบบเดียวกันกับการใชกาซ LPG ผลการทดสอบพบวา กาซชีวมวลท่ีผลิตไดสามารถนําไปเผาผลิตภัณฑเซรามิกไดเหมือนการใชกาซ LPG โดยสามารถควบคุมอุณหภูมิไดตามTemperature profile ของการเผาผลิตภัณฑได ผลิตภัณฑท่ีไดจากการเผา มีความแกรง และความสามารถในการชุบเคลือบ เชนเดียวกับการใชกาซ LPG โดยขอมูลกราฟอุณหภูมิการเผาแสดงในภาคผนวก ค.

Page 39: คํานําwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files/Final report โครงการนำ... · ผู ประกอบการอุตสาหกรรมเซรามิกมีต

โครงการนํารองเพื่อผลิตพลังงานทดแทนจากชีวมวลในระดับชมุชน

เลขทีส่ัญญาC11-AE-54-07-012

39

ภาพบรรยากาศการทดสอบการใชงานจริง

เตรียมผลิตภัณฑเขาเตาเผา เตรียมเชื้อเพลิง

เติมเชื้อเพลิง จุดเตา

จุดกาซ จุดเตาเผาเซรามกิ

ตรวจวัดอุณหภูมใินเตา ตรวจสอบและแกไขปญหาตางๆ

Page 40: คํานําwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files/Final report โครงการนำ... · ผู ประกอบการอุตสาหกรรมเซรามิกมีต

โครงการนํารองเพื่อผลิตพลังงานทดแทนจากชีวมวลในระดับชมุชน

เลขทีส่ัญญาC11-AE-54-07-012

40

2.6 สรุปผลการดําเนินงาน

หลังจากท่ีไดรับการพิจารณาเขารวมโครงการ ผูดําเนินโครงการได ดําเนินการสํารวจออกแบบระบบฯ รวมกับท่ีปรึกษา โดยใชพื้นท่ีภายในโรงงานในการติดตั้งระบบผลิตกาซเช้ือเพลิงสังเคราะหขนาด 1 MWth พรอมระบบทําความสะอาดกาซ ถังสํารองกาซและอุปกรณในการนํากาซไปใชงาน

ภายหลังจากท่ีไดดําเนินการติดตั้งระบบเรียบรอยแลว ผูดําเนินโครงการไดทดสอบระบบฯ โดยแบงเปน 3 สวนคือ การทดสอบเบ้ืองตนมากกวา 30 ช่ัวโมง เพื่อตรวจสอบความพรอมของระบบ ทดสอบระยะยาวตอเน่ือง 30 ช่ัวโมง เพื่อหาสมรรถนะและประสิทธิภาพของระบบฯ และทดสอบการใชกาซท่ีผลิตไดกับผลิตภัณฑ ผลการทดสอบท้ังหมดพบวา ระบบผลิตกาซสามารถทํางานไดอยางตอเน่ือง ไดกาซคุณภาพดี ผลิตภัณฑท่ีไดจากการเผาดวยกาซเช้ือเพลิงสังเคราะหมีคุณสมบัติเทียบเทากับการเผาดวยกาซ LPG สามารถลดปริมาณการใชกาซ LPG ของโรงงานลงได

ผลิตภัณฑในเตาเผา ผลิตภัณฑท่ีเผาแลว

ปรับเปลวไฟ ควบคมุอุณหภูมิ

Page 41: คํานําwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files/Final report โครงการนำ... · ผู ประกอบการอุตสาหกรรมเซรามิกมีต

โครงการนํารองเพื่อผลิตพลังงานทดแทนจากชีวมวลในระดับชมุชน

เลขทีส่ัญญาC11-AE-54-07-012

41

บทที่ 3

ปญหา อุปสรรค และแนวทางขยายผล

3.1 ปญหา อุปสรรค และการแกไข3.1.1 ปญหาดานเทคนิค

ปญหาท่ีพบในระหวางการทดสอบเบ้ืองตนกอนทดสอบตอเน่ือง 30 ช่ัวโมง มีดังน้ี1. ปญหาการเติมเชื้อเพลิง ในระหวางการทดสอบพบวาการเติมเช้ือเพลิงมี

ความยากลําบาก ตองใชแรงงานหลายคน เน่ืองจากจากสาเหตุดังน้ี1) ระบบลําเลียงยังไมเสร็จ ตองใชแรงงานจํานวนมาก2) ตําแหนง Bucket สูงสุด ไมสามารถเทเช้ือเพลิงใหไหลเทลงไปท่ี Hopper

ได ซ่ึงหลังจากไดแกไขแลวพบวา ระบบเทเช้ือเพลิงทํางานไดดี3) เม่ือเทเช้ือเพลิงลงมาท่ี Hopper แลว เช้ือเพลิงไปติดท่ีแกนใบของวาลว

หลังจากทราบปญหาไดแกไขโดยเปลี่ยนลักษณะของวาลวท่ีใชปด-เปดใหมีลักษณะคลาย Ball valveหลังจากแกปญหาแลว สามารถเติมเช้ือเพลิงไดเร็วข้ึนมาก

รูปที่ 3.1 ปญหาเกี่ยวกับการเติมเช้ือเพลิง

ใชคนหลายคนชวยกันเตมิ เชื้อเพลิงไมไหลลง Hopper

ไมติดทีแ่กนกลาง แนวทางการแกปญหา

Page 42: คํานําwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files/Final report โครงการนำ... · ผู ประกอบการอุตสาหกรรมเซรามิกมีต

โครงการนํารองเพื่อผลิตพลังงานทดแทนจากชีวมวลในระดับชมุชน

เลขทีส่ัญญาC11-AE-54-07-012

42

2. ปญหาความชื้นของเชื้อเพลิง เปนสาเหตุเบ้ืองตนของปญหาความช้ืนของกาซและปญหาทาร เน่ืองจากในระหวางการทดสอบไมสามารถควบคุมคุณภาพของชีวมวลไดเพราะอยูในBag ซ่ึงมีเช้ือเพลิงแหงและช้ืนปะปนกัน ยากตอการคัดแยก และปริมาณไมท่ีเตรียมไวมีปริมาณจํากัดตองใชตามท่ีมี ปญหาน้ีสามารถแกไขไดโดยการคัดเลือกไมท่ีมีความช้ืนต่ํากวา 15% และการอบชีวมวลกอนนําเขาเตาผลิตกาซ

3. ปญหาความชื้นของกาซและปญหาทาร ซ่ึงสันนิษฐานวามาจากสาเหตุ 3 ประการ คือ1) เช้ือเพลิงความช้ืนสูง ทําใหกาซท่ีผลิตไดมีไอนํ้าปนออกมามาก และอุณหภูมิใน

Combustion zone ต่ํา ทําใหไมสามารถเผาทารไดหมด2) นํ้าท่ีฉีดใน Wet scrubber มีปริมาณไมเพียงพอ เน่ืองจากปมนํ้าทํางานผิดปกติ(สูบ

นํ้าไดนอย) ทําใหไมสามารถจับทารไดดีพอ3) นํ้าท่ีใชในระบบ Wet scrubber อิ่มตัว ไมสามารถดักทารไดดี เน่ืองจากใชงาน

ตอเน่ืองมาตั้งแตเร่ิมตนการเดินเคร่ืองคร้ังแรกจนถึงปจจุบัน ยังไมมีการเปลี่ยนนํ้า

รูปที่ 3.2 ปญหาท่ีเกิดจากความช้ืน

ภายหลังจากการทดสอบระยะยาว 30 ช่ัวโมง พบวา สาเหตุหลักของความช้ืนและทารมาจากความช้ืนของเช้ือเพลิงเปนหลัก เน่ืองจากเม่ือใชชีวมวลความช้ืนต่ํา จะพบปริมาณทารนอยมาก

นํ้าในถังแรงดัน ทารที่ดักไดจาก Wet scrubber

นํ้ามาถึง Regulator นํ้าที่ระบายออกจาก Auto drain

Page 43: คํานําwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files/Final report โครงการนำ... · ผู ประกอบการอุตสาหกรรมเซรามิกมีต

โครงการนํารองเพื่อผลิตพลังงานทดแทนจากชีวมวลในระดับชมุชน

เลขทีส่ัญญาC11-AE-54-07-012

43

4. Regulator ตัน

รูปที่ 3.3 Regulator สําหรับปรับแรงดันกาซเขาเตาเผาอุดตัน

อาการ : Operator แจงวาไมสามารถปรับแรงดันกาซเพิ่มไดสาเหตุ : สืบเน่ืองมาจากทารและนํ้าท่ีปนมากับกาซ ทําใหทารไปติดท่ีกรอง กาซไมสามารถ

ไหลผานไดการแกไข : Regulator ตัวใหมเขาแทนท่ี

5. ปญหาปมนํ้าทํางานผิดปกติ ทําใหนํ้าท่ีสูบมาท่ี Wet scrubber ไดนอยมาก

รูปที่ 3.4 ซีลยางทางเขาปมฉีกขาดอาการ : จากการตรวจสอบพบวาซีลยางขาเขาปมฉีกขาด มีอากาศเขาบางสวน ทําใหสูบ

นํ้าไดนอยลงสาเหตุ : ตรวจสอบท่ี Pressure gauge หนาปมอานคาได 0.5 bar ใกลเคียงกับตอนท่ีไมได

ปม (แรงดันของนํ้าท่ีกด)

ทารติดกรอง

Page 44: คํานําwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files/Final report โครงการนำ... · ผู ประกอบการอุตสาหกรรมเซรามิกมีต

โครงการนํารองเพื่อผลิตพลังงานทดแทนจากชีวมวลในระดับชมุชน

เลขทีส่ัญญาC11-AE-54-07-012

44

การแกไข : จึงไดแกไขปญหาช่ัวคราวโดยใชผาเทปพันเกลียวพันไวแลวประกอบเขาตามเดิม พบวาสามารถทํางานไดตามปกติ Pressure gauge หนาปมอานคาได 2bar

6. ปญหากาซที่ Flare จางและดับไป

รูปที่ 3.5 เปลวไฟท่ีหัวเผาทดสอบ (Flare) ดับ

อาการ : เกิดข้ึนหลังจากเดินเตาได 9 ช่ัวโมง ในขณะท่ีกําลังเติมเช้ือเพลิง สังเกตพบวากาซท่ี Flare เร่ิมเปลี่ยนสี เปลวไฟเร่ิมขาดและจางลง มีนํ้าไหลออกท่ี flare

สาเหตุ : จากการตรวจสอบพบวา อุณหภูมิจุดตางๆ ในเตาเปลี่ยนแปลงไปจากปกติ โดยมีอุณหภูมิในชวง Pyrolysis และอุณหภูมิกาซท่ีออกจากเตาสูงข้ึน ในขณะท่ีอุณหภูมิชวง Combustion ลดลง สาเหตุคาดวาเกิดจากมีอากาศเขาท่ีดานบนมากทําใหช้ันการเผาไหมเปลี่ยน

การแกไข : หยุดการทํางานของระบบผลิตกาซและเตาเผาเซรามิก เพื่อใหอุณหภูมิจุดตางๆในเตาผลิตกาซลดลง แลวเปดระบบใหมอีกคร้ัง พบวา สามารถผลิตกาซไดตามปกติ เดินระบบตอไปอีก 10 นาทีเพื่อใหแนใจแลวอัดเขาถัง ใชเวลาแกไขปญหา 1 ช่ัวโมง กอนท่ีการเผาผลิตภัณฑจะดําเนินการตอ

Page 45: คํานําwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files/Final report โครงการนำ... · ผู ประกอบการอุตสาหกรรมเซรามิกมีต

โครงการนํารองเพื่อผลิตพลังงานทดแทนจากชีวมวลในระดับชมุชน

เลขทีส่ัญญาC11-AE-54-07-012

45

3.1.2 ปญหาดานสภาพแวดลอม/ภูมิอากาศ

เน่ืองจากสภาพภูมิอากาศในชวงการทดสอบเปนชวงฤดูฝน ซ่ึงมีความช้ืนในอากาศสูง ดังน้ันเช้ือเพลิงท่ีเตรียมไวบางสวนนอกอาคารเปยกฝนไมสามารถนํามาใชงานได และสามารถนํามาใชงานไดเฉพาะสวนท่ีเก็บไวใน Big bag และจากปญหาความช้ืนดังกลาวทําใหการจัดหาเช้ือเพลิงมีความลําบากมากข้ึน เน่ืองจากผูจําหนายชีวมวลสวนใหญมีชีวมวลท่ีมีความช้ืนสูงหรือนําชีวมวลแหงและช้ืนใสในถุงเดียวกันยากตอการตรวจสอบ ดังน้ันวิธีการแกปญหาท่ีเปนไปไดคือ การแจงใหผูขายทราบถึงลักษณะของชีวมวลท่ีตองการใชงาน และการอบไลความช้ืนเช้ือเพลิงกอนการใชงาน

รูปที่ 3.6 เช้ือเพลิงมีความช้ืนสูง

รูปที่ 3.7 การตรวจวัดความช้ืนในข้ันตอนการจัดซ้ือ

Page 46: คํานําwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files/Final report โครงการนำ... · ผู ประกอบการอุตสาหกรรมเซรามิกมีต

โครงการนํารองเพื่อผลิตพลังงานทดแทนจากชีวมวลในระดับชมุชน

เลขทีส่ัญญาC11-AE-54-07-012

46

3.2 แนวทางขยายผล

1) ในอนาคต ควรมีการจัดสรรภาระการใชงานกาซชีวมวลท่ีผลิตได (heat load) ใหเหมาะสมกับความสามารถในการผลิตของเตา (capacity) เพื่อ ใหเตาผลิตกาซชีวมวล ไดทํางานท่ีcapacity ท่ีออกแบบไว เพื่อใหได กาซท่ีมีคุณภาพสูง ทารต่ํา และ ลดการเผากาซท้ิง(flare) โดยไมจําเปน

2) ควรศึกษาพัฒนาระบบและวิธีการ บําบัดนํ้าเสีย ใหสามารถนํามาใชใหมไดหลายๆ ซํ้าเน่ืองจากระบบปจจุบัน นํ้าเสีย เสื่อมสภาพ คอนขางเร็ว แตท้ังน้ี อาจจะเกิดจากการเดินเตาท่ี capacity ท่ีต่ําเกินไป

3) ควรทดสอบใชชีวมวลชนิดอื่นๆ ท่ีมีราคาถูกลง แตควรกําหนด specification ของเช้ือเพลิงใหเหมาะสมกับเตาท่ีออกแบบไวดวย

4) อาจจะพัฒนาระบบการผลิต โดยใชอากาศรอนรวมกับไอนํ้าเปนตัวทําปฏิกิริยาดวย เพื่อใหไดกาซท่ีมีคุณภาพสูงข้ึน เพื่อตอบสนองตอการใชงานท่ีตองการอุณหภูมิสูงข้ึน

5) ขยายการใชงาน ไปในจุดอื่นเพิ่มเติม6) พัฒนาเคร่ืองจักรและระบบการผลิต ใหสามารถทํางาน แบบ fully automatic control

(ปจจุบันออกแบบไวแลว แตยังไมใชงานอัตโนมัติ 100%)7) ติดตั้งระบบ ปองกันอันตราย เพิ่มเติม เชน fire arrestor ในจุดท่ีอาจจะเกิด back fire ได8) พัฒนาโรงงาน หรือ ผลิตภัณฑ เขารวมโครงการ CDM หรือ carbon footprint ตางๆ

Page 47: คํานําwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files/Final report โครงการนำ... · ผู ประกอบการอุตสาหกรรมเซรามิกมีต

โครงการนํารองเพื่อผลิตพลังงานทดแทนจากชีวมวลในระดับชมุชน

เลขทีส่ัญญาC11-AE-54-07-012

47

ภาคผนวก

Page 48: คํานําwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files/Final report โครงการนำ... · ผู ประกอบการอุตสาหกรรมเซรามิกมีต

โครงการนํารองเพื่อผลิตพลังงานทดแทนจากชีวมวลในระดับชมุชน

เลขทีส่ัญญาC11-AE-54-07-012

48

ภาคผนวก ก.ผลการทดสอบอุปกรณหลัก

Page 49: คํานําwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files/Final report โครงการนำ... · ผู ประกอบการอุตสาหกรรมเซรามิกมีต

โครงการนํารองเพื่อผลิตพลังงานทดแทนจากชีวมวลในระดับชมุชน

เลขทีส่ัญญาC11-AE-54-07-012

49

ผลการทดสอบอุปกรณหลัก

1.ชุดปอนเช้ือเพลิง1.1 กะพอลําเลียงเช้ือเพลิง

ผลการทดสอบ สามารถลําเลียงเช้ือเพลิงและเติมเช้ือเพลิงใหกับเตาผลิตกาซชีวมวลตามท่ีไดทําการออกแบบได ดังรูปท่ี 1

รูปที่ 1กะพอลําเลียง1.2 ชุดควบคุมการทํางาน

ผลการทดสอบกวานสลิงไฟฟา ดังแสดงในรูปท่ี 2 สามารถควบคุมการทํางานของกะพอลําเลียงใหสามารถเคลื่อนท่ีข้ึน – ลง และเทเช้ือเพลิงได

รูปที่ 2กวานสลิงไฟฟา

Page 50: คํานําwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files/Final report โครงการนำ... · ผู ประกอบการอุตสาหกรรมเซรามิกมีต

โครงการนํารองเพื่อผลิตพลังงานทดแทนจากชีวมวลในระดับชมุชน

เลขทีส่ัญญาC11-AE-54-07-012

50

2. เตาผลิตกาซชีวมวล2.1 โรตารีแอรล็อค

ผลการทดสอบโรตารีแอร ดังแสดงในรูปท่ี 3 สามารถปดเตาและปองกันอากาศร่ัวเขาภายในตัวเตาได

รูปท่ี 3 โรตารียแอรล็อค

2.2 เซ็นเซอรวัดระดับผลการทดสอบเซ็นเซอรวัดระดับเช้ือเพลิงภายในเตาผลิตกาซชีวมวล ดังแสดงในรูปท่ี

4 สามารถวัดระดับเช้ือเพลิงและสงสัญญาณแสดงระดับเช้ือเพลิงภายในเตาไดอยางถูกตอง

รูปที่ 4 เซนเซอรวัดระดับเช้ือเพลิงภายในเตา

Page 51: คํานําwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files/Final report โครงการนำ... · ผู ประกอบการอุตสาหกรรมเซรามิกมีต

โครงการนํารองเพื่อผลิตพลังงานทดแทนจากชีวมวลในระดับชมุชน

เลขทีส่ัญญาC11-AE-54-07-012

51

2.3 เทอรโมคอปเปลผลการทดสอบเทอรโมคอปเปล ดังแสดงในรูปท่ี 5 ไดทําการติดตั้งเพื่อวัดอุณหภูมิ

ภายในเตาผลิตกาซชีวมวล ซ่ึงไดทําการติดตั้งไวท้ังหมด 5 จุด และสามารถวัดคาอุณหภูมิและสงสัญญาณเพื่อแสดงผลมาท่ีแผงควบคุมได

รูปที่ 5เทอรโมคอปเปล

2.4 วาลวจุดเตาผลการทดสอบ วาลวจุดเตา แสดงในรูปท่ี 6 สามารถใชจุดเตาและสังเกตการติดไฟ

ภายในเตาได

รูปที่ 6วาลวจุดไฟ

Page 52: คํานําwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files/Final report โครงการนำ... · ผู ประกอบการอุตสาหกรรมเซรามิกมีต

โครงการนํารองเพื่อผลิตพลังงานทดแทนจากชีวมวลในระดับชมุชน

เลขทีส่ัญญาC11-AE-54-07-012

52

2.5 วาลวอากาศผลการทดสอบ วาลวอากาศ แสดงในรูปท่ี 7 สามารถเปด ปด ควบคุมอัตราการไหล

ของอากาศท่ีจะเขาไปภายในเตาได

รูปท่ี 7 วาลวอากาศ

2.6 มอเตอรกวาดเถาผลการทดสอบ มอเตอรกวาดเถา แสดงในรูปท่ี 8 สามารถกวาดข้ีเถาท่ีเกิดจากการเผา

ไหมภายในเตาได

รูปที่ 8มอเตอรกวาดข้ีเถา

Page 53: คํานําwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files/Final report โครงการนำ... · ผู ประกอบการอุตสาหกรรมเซรามิกมีต

โครงการนํารองเพื่อผลิตพลังงานทดแทนจากชีวมวลในระดับชมุชน

เลขทีส่ัญญาC11-AE-54-07-012

53

3. ระบบลดอุณหภูมิและทําความสะอาดกาซ3.1 ไซโคลน

ผลการทดสอบไซโคลน แสดงในรูปท่ี 9 สามารถแยกฝุนละอองท่ีติดมากับกาซชีวมวลได ซ่ึงสังเกตไดจากนํ้าท่ีทําหนาท่ีกวาดข้ีเถาภายในไซโคลน

รูปที่ 9ไซโคลน

3.2 โบลเวอรเคร่ืองแลกเปลี่ยนความรอนผลการทดสอบโบลเวอร แสดงในรูปท่ี 10 สามารถเปาอากาศเขาไปแลกเปลี่ยนความ

รอนกับกาซชีวมวลภายในเคร่ืองแลกเปลี่ยนความรอนได

รูปที่ 10โบวเวอรเคร่ืองแลกเปลี่ยนความรอน

Page 54: คํานําwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files/Final report โครงการนำ... · ผู ประกอบการอุตสาหกรรมเซรามิกมีต

โครงการนํารองเพื่อผลิตพลังงานทดแทนจากชีวมวลในระดับชมุชน

เลขทีส่ัญญาC11-AE-54-07-012

54

3.3 ชุด Pre-Wet scrubberผลการทดสอบ ชุด Pre-Wet scrubber แสดงในรูปท่ี 11 สามารถดักฝุนละออง และ

นํ้ามันดินท่ีติดมากับกาซชีวมวลได โดยสังเกตจากนํ้าท่ีออกจากWet scrubber

รูปที่ 11 ชุด Pre-Wet scrubber

3.4 ชุด Ventury Wet scrubberผลการทดสอบ ชุด Ventury Wet scrubber แสดงในรูปท่ี 12สามารถดักฝุนละออง และ

นํ้ามันดินท่ีติดมากับกาซชีวมวลได โดยสังเกตจากนํ้าท่ีออกจาก Ventury Wet scrubber

รูปที่ 12 ชุด Ventury Wet scrubber

Page 55: คํานําwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files/Final report โครงการนำ... · ผู ประกอบการอุตสาหกรรมเซรามิกมีต

โครงการนํารองเพื่อผลิตพลังงานทดแทนจากชีวมวลในระดับชมุชน

เลขทีส่ัญญาC11-AE-54-07-012

55

3.5 เคร่ืองดูดกาซ (Gas blower)ผลการทดสอบ เคร่ืองดูดกาซ แสดงในรูปท่ี 13 สามารถดูดกาซจากเตาผลิตกาซชีว

มวล ผานระบบลดอุณหภูมิและทําความสะอาดกาซได ซ่ึงสังเกตไดจากการติดไฟภายในเตาและปลองไฟ (Flare stack)

รูปที่ 13 เคร่ืองดูดกาซ

4. ระบบนํ้าหมุนเวียนและนํ้าหลอเย็น4.1 ปมนํ้าลางเถา

ผลการทดสอบ ปมนํ้าลางข้ีเถา แสดงในรูปท่ี 14 สามารถปมนํ้าไปลางข้ีเถาท่ีอุปกรณตางไดดี สังเกตจากอัตราการไหลของนํ้าและปริมาณฝุนท่ีปะปนมากับนํ้า โดยท่ีไมเกิดการร่ัวซึมของปม

รูปที่ 14 ปมนํ้าลางข้ีเถา

Page 56: คํานําwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files/Final report โครงการนำ... · ผู ประกอบการอุตสาหกรรมเซรามิกมีต

โครงการนํารองเพื่อผลิตพลังงานทดแทนจากชีวมวลในระดับชมุชน

เลขทีส่ัญญาC11-AE-54-07-012

56

4.2 ปมนํ้าหัวฉีด wet scrubberผลการทดสอบ ปมนํ้าหัวฉีด แสดงในรูปท่ี 15 สามารถจายนํ้าหมุนเวียนไปยังระบบดัก

ฝุนแบบเปยกไดอยางเพียงพอ สังเกตไดจากปริมาณนํ้าและฝุนท่ีปะปนมากับนํ้าโดยท่ีไมเกิดการร่ัวซึมภายในตัวปม

รูปที่ 15 ปมนํ้าหัวฉีด

4.3 ปมนํ้าหอผึ่งเย็นผลการทดสอบ ปมนํ้าหอผึ่งเย็น แสดงในรูปท่ี 16 สามารถจายนํ้าใหแกหอผึ่งเย็นได

ตามความตองการของหอผึ่งเย็น และไมเกิดการร่ัวซึมของตัวปม

รูปที่ 17 ปมนํ้าหอผึ่งเย็น

Page 57: คํานําwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files/Final report โครงการนำ... · ผู ประกอบการอุตสาหกรรมเซรามิกมีต

โครงการนํารองเพื่อผลิตพลังงานทดแทนจากชีวมวลในระดับชมุชน

เลขทีส่ัญญาC11-AE-54-07-012

57

4.4 หอผึ่งเย็น (Cooling tower)ผลการทดสอบ หอผึ่งเย็น แสดงในรูปท่ี 18 สามารถลดอุณหภูมิของนํ้าหมุนเวียนท่ี

กลับมาจากระบบผลิตกาซชีวมวลได

รูปที่ 18 หอผึ่งเย็น

Page 58: คํานําwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files/Final report โครงการนำ... · ผู ประกอบการอุตสาหกรรมเซรามิกมีต

โครงการนํารองเพื่อผลิตพลังงานทดแทนจากชีวมวลในระดับชมุชน

เลขทีส่ัญญาC11-AE-54-07-012

58

ภาคผนวก ข.ผลการทดสอบระยะยาวตอเนื่อง 30 ชั่วโมง

Page 59: คํานําwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files/Final report โครงการนำ... · ผู ประกอบการอุตสาหกรรมเซรามิกมีต

โครงการนํารองเพื่อผลิตพลังงานทดแทนจากชีวมวลในระดับชมุชน

เลขทีส่ัญญาC11-AE-54-07-012

59

ภาคผนวก ค.กราฟ Temperature Profile ของการเผาผลิตภัณฑ

Page 60: คํานําwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files/Final report โครงการนำ... · ผู ประกอบการอุตสาหกรรมเซรามิกมีต

โครงการนํารองเพื่อผลิตพลังงานทดแทนจากชีวมวลในระดับชมุชน

เลขทีส่ัญญาC11-AE-54-07-012

60

แทรกไฟล PDF ที่แนบมาดวย

Page 61: คํานําwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files/Final report โครงการนำ... · ผู ประกอบการอุตสาหกรรมเซรามิกมีต

โครงการนํารองเพื่อผลิตพลังงานทดแทนจากชีวมวลในระดับชมุชน

เลขทีส่ัญญาC11-AE-54-07-012

61

Page 62: คํานําwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files/Final report โครงการนำ... · ผู ประกอบการอุตสาหกรรมเซรามิกมีต

โครงการนํารองเพื่อผลิตพลังงานทดแทนจากชีวมวลในระดับชมุชน

เลขทีส่ัญญาC11-AE-54-07-012

62

ภาคผนวก ง.ขั้นตอนการใชงานระบบผลิตกาซชีวมวล

Page 63: คํานําwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files/Final report โครงการนำ... · ผู ประกอบการอุตสาหกรรมเซรามิกมีต

โครงการนํารองเพื่อผลิตพลังงานทดแทนจากชีวมวลในระดับชมุชน

เลขทีส่ัญญาC11-AE-54-07-012

63

การใชงานระบบผลิตกาซชีวมวล

เพื่อใหการใชงานระบบผลิตกาซชีวมวลเปนไปอยางมีประสิทธิภาพและมีความปลอดภัยกับผูปฏิบัติงาน ผูใชงานระบบควรปฏิบัติตามขั้นตอนตางๆ ท่ีแนะนําไวในคูมือนี้ โดยรายละเอียดการใชงานระบบมีขั้นตอนดังนี้

12) เตรียมเชื้อเพลิงและตรวจสอบความเรียบรอยของระบบ เตรียมถานไมและไมสับท่ีมีขนาด 1x1x1 นิ้ว ถึง 3x3x3 นิ้ว ความชื้นไมควรเกินกวา

15% ตรวจสอบการทํางานของอุปกรณหลัก ซึ่งไดแก Blower, ปมน้ํา, Chiller, ระบบกวาดเถา ตรวจสอบรอยรั่วของรอยตอตางๆ ของทอ และรอยตอในตัวเตา

13) เติมถาน โดยใชถานปริมาณ 100 kg เติมเขาไปในชั้นของ Combustion และ Reduction zone(ขั้นตอนนี้จะทําเฉพาะในครั้งแรกท่ีใชงาน หรือ หลังจากท่ีทําความสะอาดเตาโดยเอาเชื้อเพลิงออกหมด)

รูปที่ 2 ถานท่ีเติมเขาไปในเตาผลิตกาซเชื้อเพลิง

Page 64: คํานําwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files/Final report โครงการนำ... · ผู ประกอบการอุตสาหกรรมเซรามิกมีต

โครงการนํารองเพื่อผลิตพลังงานทดแทนจากชีวมวลในระดับชมุชน

เลขทีส่ัญญาC11-AE-54-07-012

64

14) เติมเชื้อเพลิงชีวมวล นําเชื้อเพลิงท่ีผานการชั่งน้ําหนักแลวมาเทลงใน Feed conveyor เติมลงไปในเตาผลิตกาซ

รูปที่ 3 เทเชื้อเพลิงชีวมวลใส Feed conveyor

15) ลําเลียงเชื้อเพลิงลงไปในเตา โดยใช Conveyor ลําเลียงเชื้อเพลิงขึ้นไปท่ี Hopper ดานบนของเตาผลิตกาซเชื้อเพลิง

รูปที่ 4 เชื้อเพลิงชีวมวลท่ีไดรับการสงขึ้นมาเติมท่ี Hopper

Page 65: คํานําwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files/Final report โครงการนำ... · ผู ประกอบการอุตสาหกรรมเซรามิกมีต

โครงการนํารองเพื่อผลิตพลังงานทดแทนจากชีวมวลในระดับชมุชน

เลขทีส่ัญญาC11-AE-54-07-012

65

16) เปด Blower แลวปรบัอัตราการไหลของกาซโดยใช Invertor ในการเริ่มตนการจดุเตา ใหใชอัตราการไหลของกาซตํ่ากวา 50% ของอัตราการไหลพิกัด (Rated load)

รูปที่ 5 Blower หลักท่ีใชในการผลิตกาซเชื้อเพลิง

17) เปดระบบนํ้าทําความสะอาดกาซ ท่ีใชในชุด Pre-scrubber และ Wet scrubber

รูปที่ 6 ตําแหนงท่ีใชระบบน้ําสําหรับทําความสะอาดกาซ

Ventury wet scrubber

Pre-scrubber

ทอนํ้าแรงดัน

Page 66: คํานําwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files/Final report โครงการนำ... · ผู ประกอบการอุตสาหกรรมเซรามิกมีต

โครงการนํารองเพื่อผลิตพลังงานทดแทนจากชีวมวลในระดับชมุชน

เลขทีส่ัญญาC11-AE-54-07-012

66

18) เร่ิมจุดเตา โดยใชเศษผาพันกับแทงเหล็กชุบน้ํามันดีเซล จดุไฟ แลวนําไปจอไวท่ีชองจุดเตาเปลวไฟจะถูกดูดเขาไปเอง จากนั้นสังเกตท่ีชองมองเปลวไฟ วาไฟติดท่ีเชื้อเพลิงในเตาแลว ใหเอาไฟลอออก

รูปที่ 7 เร่ิมตนการจุดเตา19) สังเกตควันที่ปลองทดสอบการติดไฟ (Flare test) หลังจากท่ีจุดเตาไดประมาณ 1-2 นาที จะ

พบวามีกลุมควันเกิดขึ้นท่ีบริเวณ Flare stack ซึ่งเปนควันท่ิเกิดจากการเผาไหมของเชื้อเพลิงในชั้นของ Combustion zone มีสวนประกอบของ CO2 เปนหลัก ทําใหกาซท่ีผลิตไดในชวงนี้ยังไมสามารถติดไฟได

รูปที่ 8 ลักษณะควันท่ีเกิดขึ้นในชวงเริ่มตนการจุดเตา

Page 67: คํานําwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files/Final report โครงการนำ... · ผู ประกอบการอุตสาหกรรมเซรามิกมีต

โครงการนํารองเพื่อผลิตพลังงานทดแทนจากชีวมวลในระดับชมุชน

เลขทีส่ัญญาC11-AE-54-07-012

67

20) ทดสอบการจุดติดไฟ หลังจากเริ่มตนการจุดไฟไดประมาณ 10 นาที ใหทดสอบการติดไฟ โดยการใชหัวเทียน (Spark plug) ท่ีติดต้ังกับระบบทดสอบการติดไฟ หรือใชแทงเหล็กยาวพันดวยเศษผาชุบน้ํามันจุดไฟ หากระบบไมมีปญหาใดๆ กาซท่ีผลิตไดควรติดไฟไดภายใน 10-20 นาที

รูปที่ 9 เปลวไฟจากปลองทดสอบหลังจากจุดเตาได 15 นาที

21) อัดกาซเขาถังเก็บ เมื่อเปลวไฟท่ี Flare ติดดีแลวหลังจากจุดเตา 30 นาที จะไดกาซคุณภาพดีพอสําหรับใชงาน ใหเปดเครื่องอัดอากาศ (Compressor) สําหรับอัดกาซเขาถังแรงดัน (Storagetank) กอนจายใหกับจุดใชงานตอไป

รูปที่ 10 ถังบรรจุกาซเชื้อเพลงิ

Page 68: คํานําwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files/Final report โครงการนำ... · ผู ประกอบการอุตสาหกรรมเซรามิกมีต

โครงการนํารองเพื่อผลิตพลังงานทดแทนจากชีวมวลในระดับชมุชน

เลขทีส่ัญญาC11-AE-54-07-012

68

ขอควรระวังคือ ใหเปด Compressor หลังจากท่ีผลิตกาซไดแลวเทานั้น หามเปดในขณะท่ีเตาผลิตกาซหยุดทํางานเพราะจะทําใหมีอากาศผสมกับกาซสูง (A/F ratio) ซึ่งอาจกอใหเกิดอันตรายขณะใชงานได

รูปที่ 11 ตูคอนโทรลสําหรับตรวจสอบอุณหภูมิและควบคุมการทํางานระบบท้ังหมด

22) หยุดการทํางาน มขีั้นตอนดังนี้11.6) ปดการทํางานของ Compressor ในขณะท่ีระบบ flare ยังคงทํางาน11.7) ลดอัตราการไหลของกาซลงโดยการปรับ Invertor ไปท่ีอัตราการไหลตํ่า แลวคอยปด

Blower เพื่อปองกันปญหาเกิดเปลวไฟยอนกลับ (Back fire)11.8) ปดวาลวอากาศทุกตัวท้ังดานเขาและออกจากเตา11.9) เปดมอเตอรระบบขับเถา เพื่อใหเถาท่ีเกาะอยูท่ีตะแกรงรวงลงดานลาง11.10) เปดระบบน้ําหมุนเวียนตออีก 10 นาที เพื่อทําความสะอาดระบบและลดอุณหภูมิ

ของอุปกรณ หลังจากนั้นปดระบบน้ํา11.11) ยังคงเปด Blower ของ Heat Exchanger ตออีก 30 นาที เพื่อลดอุณหภูมิของ

อุปกรณ หลังจากนั้นปด Blower

Page 69: คํานําwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files/Final report โครงการนำ... · ผู ประกอบการอุตสาหกรรมเซรามิกมีต

โครงการนํารองเพื่อผลิตพลังงานทดแทนจากชีวมวลในระดับชมุชน

เลขทีส่ัญญาC11-AE-54-07-012

69

ภาคผนวก จ.การบํารุงรักษาระบบฯ

Page 70: คํานําwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files/Final report โครงการนำ... · ผู ประกอบการอุตสาหกรรมเซรามิกมีต

โครงการนํารองเพื่อผลิตพลังงานทดแทนจากชีวมวลในระดับชมุชน

เลขทีส่ัญญาC11-AE-54-07-012

70

การบํารุงรักษาระบบผลิตกาซชีวมวลนอกจากการใชท่ีถูกตองแลว การบํารุงรักษาก็เปนงานท่ีมีความจําเปน เพื่อใหระบบผลิตกาซ

ชีวมวลมีความพรอมในการใชงานตลอดเวลา ทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพ ประหยัดพลังงาน ยืดอายุอุปกรณและสรางความปลอดภัยใหกับผูใชงาน

เตาผลิตกาซชีวมวล (Gasifier)- ตรวจสอบรอยตอในตัวเตาวาสนิทหรือไม หากมีการหลวมของโบลท ใหขันใหแนน และยาซิลิโคนชนิดทนความรอนสูงเพื่อปองกันการรั่วของตัวเตา

- ตรวจสอบการทํางานของวาลวอากาศ และวาลวจดุเตา จะตองเปดและปดทันทีท่ีเปดหรือปดและจะตองปดสนิทเพื่อปองกันอากาศเขาเตา

- ตรวจสอบระบบเซน็เซอรระดับชวีมวลและหัววัดอุณหภมูิภายในเตา ซึ่งจะตองทํางานเมื่อถึงระดับท่ีกําหนดไว

- เช็คระบบลางและสั่นขี้เถา

ระบบเติมเชื้อเพลิง- สังเกตการขึ้นลงของรอกไฟฟา วามีสิ่งผิดปกติหรือไม เชน เสียงดังผิดปกติ, มีการสะดุดหรือติดขัด เปนตน

- ตรวจสอบการทํางานของ Limit switch วาตัดตอการทํางานของรอกเมื่อถึงตําแหนงท่ีต้ังไวหรือไม

- อัดจารบีท่ีลูกปนของกระพอลําเลียงเปนประจํา

ระบบทําความสะอาดกาซ- ลางทําความสะอาด โดยเปดน้ําหมุนเวียนท่ีอยูดานลางของ ไซโคลน- ตรวจสอบฝุน เถา หรือทารท่ีติดตามทอสงกาซ ลางทําความสะอาดเมื่อจาํเปน- ตรวจสอบระบบน้ําหมุนเวียน

ปมลม (Air compressor)- สายพานตองมีความการยืดหยุน ประมาณ1/2 นิ้ว ถาสังเกตวามีการแตกราว ควรเปลี่ยนทันที- เปลี่ยนน้ํามันเครื่องโดยใชน้าํมันเครื่องเบอร SAE 40 (ควรเปลี่ยนถายทุก 6 เดือน หรือทุก

1,000 ชั่วโมง)- มอเตอรและจุดตอสายไฟอยาใหมอเตอรโดนน้ําและความชื้น สวนจุดตอสายไฟตางๆตองตรวจดูวายึดติดแนนหรือไม เพื่อไมใหเกิดการ spark ในระหวางท่ีมอเตอรทํางาน

เคร่ืองอัดอากาศ (Air blower)

Page 71: คํานําwebkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files/Final report โครงการนำ... · ผู ประกอบการอุตสาหกรรมเซรามิกมีต

โครงการนํารองเพื่อผลิตพลังงานทดแทนจากชีวมวลในระดับชมุชน

เลขทีส่ัญญาC11-AE-54-07-012

71

- วาลว ตรวจสอบวาลวใหอยูในตําแหนงเปด- สายพาน ตรวจสอบความยืดหยุนของสายพานโดยควรมรีะยะยืดหยุนประมาณ ½ นิ้ว หรือควรเปลี่ยนทุกๆ 4 เดือน

- ตรวจสอบแรงดันท่ีมาตรวดัความดัน (Pressure gauge) ใหไดตาม Name plate ของเครื่อง- เปลี่ยนน้าํมันเครื่องโดยใชน้าํมันเกียรเบอร ISO VG68(ควรเปลี่ยนถายทุก 3เดือน)

เคร่ืองทํานํ้าเย็น (Water chiller)- เปลี่ยนน้าํ และเติมสารเคมีกันสนิม- ตรวจสอบความสกปรกของแผงระบายความรอนซึ่งอาจเกิดจากฝุนละออง หากพบใหทําความสะอาดดวยโบลเวอรขนาดเล็ก(ควรทําทุกสัปดาห)

- ตรวจสอบการรั่วซึมของทอสารทําความเย็นและทอน้ํา ท่ีอาจเกิดขึ้นไดจากการสั่นสะเทือนของเครื่องทําน้ําเย็น

- ตรวจเช็คมาตรวดัความดัน และคาความดันของสารทําความเย็น- ตรวจคากระแสของอุปกรณไฟฟา เชน คอมเพรสเซอร มอเตอร เปนตน- เช็คการรั่วซึมของปม ถาจําเปนใหทําการอัดจาระบี- ตรวจสอบการบิด แตกหักของใบพัดคอนเดนเซอร

หอผึ่งเย็น (Cooling tower)- เช็คการทํางานของใบพัดและทําความสะอาด- เช็คนอตท่ีทําหนาท่ียึดใบพัด และมอเตอร เนื่องจากการใชงานมาเปนเวลานานอาจทําใหเกิด

การคลายตัวได- ทําความสะอาดสปริงเกอร (Springkler) และแผงครีบ (Filler)- ทําความสะอาดอางน้ํา (Water basin) และระบบทอน้ํา- ตรวจเช็คการทํางานของลูกลอย

เคร่ืองแลกเปลี่ยนความรอน (Heat exchanger)- สายพานตองมีความการยืดหยุน ประมาณ1/2 นิ้ว ถาสังเกตวามีการแตกราว ควรเปลี่ยนทันที-อัดจาระบีพัดลมอัดอากาศ- ลางทําความสะอาดภายในของเครื่องแลกเปลี่ยนความรอน- เปลี่ยนปะเก็น

ปมนํ้า (Pump)- ตรวจสอบการรั่วซึม หากพบใหทําการเปลี่ยนปะเก็น- วัดคากระแสไฟของปม- ตรวจสอบหัวกะโหลก (Footing valve) วาเศษ สิ่งแปลกปลอมอุดตันหรือไม