ผลการปฏิบัติงานตามโครงงาน · damage survey and...

43
บทที4 ผลการปฏิบัติงานตามโครงงาน เป็นการศึกษา ข้อมูลเรื่อง หน้าที่ความรับผิดชอบของบุคลากรแต่ละแผนก มีขั ้นตอนและ ระบบการทางานอย่างไร ศึกษาถึงประเภทของสินค้าแต่ละประเภท ว่ามีแบบไหนบ้าง และศึกษา ขั ้นตอนการนาเข ้าสินค้าจนถึงขั ้นตอนในการส่งมอบสินค ้า มีขั ้นตอนการดาเนินงานแบบไหน 4.1 หน้าที่ความรับผิดชอบของบุคลากรแต ่ละแผนก แผนกคลังสินค้านาเข้าสายการบินลูกค้า(Cargo Customer Airlines Import Warehouse/F3) ควบคุมดูแลงานปฏิบัติการสินค้านาเข้าของสายการบินลูกค้าที่บริษัท การบินไทย จากัด ( มหาชน ) ให้บริการ เริ่มตั ้งแต่การตรวจรับสินค ้าจากหน่วยงาน F5-I จัดแยก และจั ดเก็บตาม Location และจัดหาสินค้าที่ได้จัดเก็บไว้เพื่อจัดส ่งเมื่อมีลูกค้ามาขอรับสินค้า ดาเนินก ารสารวจและ ออกรายงานสินค้าเสียหา ย ตลอดจนดาเนินการเกี่ยวกับสินค้าตกค้าง แผนก F3 มีหน้าที่การ ปฏิบัติงานแบ่งออกได้ดังต่อไปนี 1. Division Manager ผู้จัดการแผนก F3 มีหน้าทีกากับดูแลการปฏิบัติงานของ ขั ้นตอนการดาเนินการที่เกี่ยวกับสินค้าปลายทางท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ให้เป็นไปตาม วัตถุประสงค์และมีประสิทธิภาพ 2. Administrative Assistant (F3-a) ผู้ช่วยผู้จัดการแผนกแผนกคลังสินค้านาเข้าสาย การบินลูกค้า มีหน้าที่ ช่วยผู้จัดการดูแลงานปฏิบัติการของหน่วยงานในแผนก และควบคุมคุณภาพ การปฏิบัติงานให้เป็นไปตามขั ้นตอน 3. Office Administrative (F3-x) มีหน้าที่ ดาเนินการด้านงานธุรการของแผนก 4. Warehouse Operation Control (F3-w) หน่วยงานปฏิบัติการสินค้านาเข้า มีหน้าทีตรวจสอบและแยกประเภทสินค้าที่ได้รับจากห น่วยงาน F5-I แล้วส่งสิน ค้าไปจัดเก็บตามพื ้นที่ทีเหมาะส มกับสินค้าประเภทนั ้น ๆ ทั ้งสินค ้าทั่วไป สินค้าอันตราย (DGR), สินค้าต้องควบคุม อุณหภูมิ (RFZ), สินค้าเน่าเสียง่าย (PER), สินค้าที่มีมูลค่าและเสี่ยงต่อการสูญหาย (VUN), เอกสาร ทางการฑูต (DIP) และดูแลสินค้าดังกล่าวไม่ให้เกิดความเสียหาย จนกระทั่งจัดเตรียมสินค้าเพื่อส ่ง มอบให้ลูกค้า รวมทั ้งทาการสารวจสินค ้าคงคลัง Inventory สินค้าดังกล่าวทุก ๆ 1 เดือน 5. Valuable Cargo Control (F3-g) หน่วยงานจัดเก็บและส่งมอบสินค้ามีค่า มีหน้าทีตรวจสอบ บันทึกข้อมูล จัดเก็บและเตรียมสิ นค้าเพื่อส ่งมอบสาหรับสินค้าที่มีมูลค่าสูง ตลอดจน ดูแลสินค้าดังกล่าวไม่ให้เกิดความเสียหาย จนกระทั่งจัดเตรียมสินค้าเพื่อส ่งมอบให้ลูกค้า รวมทั ้งทา การสารวจสินค้าคงคลัง Inventory สินค้าดังกล่าวทุก ๆ 1 เดือน

Upload: others

Post on 24-Oct-2020

12 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

  • บทที่ 4

    ผลการปฏิบัตงิานตามโครงงาน

    เป็นการศึกษา ขอ้มลูเร่ือง หนา้ท่ีความรับผดิชอบของบุคลากรแต่ละแผนก มีขั้นตอนและระบบการท างานอยา่งไร ศึกษาถึงประเภทของสินคา้แต่ละประเภท ว่ามีแบบไหนบา้ง และศึกษาขั้นตอนการน าเขา้สินคา้จนถึงขั้นตอนในการส่งมอบสินคา้ มีขั้นตอนการด าเนินงานแบบไหน

    4.1 หน้าที่ความรับผดิชอบของบุคลากรแต่ละแผนก

    แผนกคลงัสินคา้น าเขา้สายการบินลกูคา้(Cargo Customer Airlines Import Warehouse/F3) ควบคุมดูแลงานปฏิบติัการสินคา้น าเขา้ของสายการบินลกูคา้ท่ีบริษทั การบินไทย จ ากดั(มหาชน ) ใหบ้ริการ เร่ิมตั้งแต่การตรวจรับสินคา้จากหน่วยงาน F5-I จดัแยก และจั ดเก็บตาม Location และจดัหาสินคา้ท่ีไดจ้ดัเก็บไวเ้พื่อจดัส่งเมื่อมีลกูคา้มาขอรับสินคา้ ด าเนินก ารส ารวจและออกรายงานสินคา้เสียหา ย ตลอดจนด าเนินการเก่ียวกบัสินคา้ตกคา้ง แผนก F3 มีหนา้ท่ีการปฏิบติังานแบ่งออกไดด้งัต่อไปน้ี

    1. Division Manager ผูจ้ดัการแผนก F3 มีหนา้ท่ี ก ากบัดูแลการปฏิบติังานของขั้นตอนการด าเนินการท่ีเก่ียวกบัสินคา้ปลายทางท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ใหเ้ป็นไปตามวตัถุประสงคแ์ละมีประสิทธิภาพ

    2. Administrative Assistant (F3-a) ผูช่้วยผูจ้ดัการแผนกแผนกคลงัสินคา้น าเขา้สายการบินลกูคา้ มีหนา้ท่ี ช่วยผูจ้ดัการดูแลงานปฏิบติัการของหน่วยงานในแผนก และควบคุมคุณภาพการปฏิบติังานใหเ้ป็นไปตามขั้นตอน

    3. Office Administrative (F3-x) มีหนา้ท่ี ด าเนินการดา้นงานธุรการของแผนก 4. Warehouse Operation Control (F3-w) หน่วยงานปฏิบติัการสินคา้น าเขา้ มีหนา้ท่ี

    ตรวจสอบและแยกประเภทสินคา้ท่ีไดรั้บจากห น่วยงาน F5-I แลว้ส่งสิน คา้ไปจดัเก็บตามพ้ืนท่ีท่ีเหมาะส มกบัสินคา้ประเภทนั้น ๆ ทั้งสินคา้ทัว่ไป สินคา้อนัตราย (DGR), สินคา้ตอ้งควบคุมอุณหภูมิ (RFZ), สินคา้เน่าเสียง่าย (PER), สินคา้ท่ีมีมลูค่าและเส่ียงต่อการสูญหาย (VUN), เอกสารทางการฑูต (DIP) และดูแลสินคา้ดงักล่าวไม่ใหเ้กิดความเสียหาย จนกระทัง่จดัเตรียมสินคา้เพ่ือส่งมอบใหล้กูคา้ รวมทั้งท าการส ารวจสินคา้คงคลงั Inventory สินคา้ดงักล่าวทุก ๆ 1 เดือน

    5. Valuable Cargo Control (F3-g) หน่วยงานจดัเก็บและส่งมอบสินคา้มีค่า มีหนา้ท่ี ตรวจสอบ บนัทึกขอ้มลู จดัเก็บและเตรียมสิ นคา้เพื่อส่งมอบส าหรับสินคา้ท่ีมีมลูค่าสูง ตลอดจนดูแลสินคา้ดงักล่าวไม่ใหเ้กิดความเสียหาย จนกระทัง่จดัเตรียมสินคา้เพ่ือส่งมอบใหล้กูคา้ รวมทั้งท าการส ารวจสินคา้คงคลงั Inventory สินคา้ดงักล่าวทุก ๆ 1 เดือน

  • 6. Location Control and Arrange Cargo for Delivery (F3-s) หน่วยงานควบคุมและจดัเตรียมสินคา้ มีหนา้ท่ี ด าเนินการจดัเตรียมสินคา้ท่ีผูน้ าเขา้หรือตวัแทนผา่นพิธีการศุลกากรน าเขา้แลว้เพื่อส่งมอบและด าเนินการส ารวจสินคา้คงคลงั Inventory สินคา้ดงักล่าวทุก ๆ 1 เดือน

    7. Damage Survey and Irregularity (F3-t) หน่วยงานตรวจสอบและรายง านความเสียหายของสินคา้ มีหนา้ท่ี

    ก. รับแจง้และตรวจสภาพสินคา้ท่ีเสียหายหรือสูญหาย ตามท่ีลกูคา้ไดร้้องขอก่อนน าสินคา้ออกจากคลงัสินคา้

    ข. บนัทึกการรับแจง้ขอ้มลูสินคา้/หรือภาพสินคา้ท่ีเสียหายหรือสูญหายลงในระบบ Orchids หรือคอมพิวเตอร์ (Personal computer)

    ค. พิมพร์ายงาน สินคา้ท่ีเกิดความเสียหายหรือสูญหาย (Damage Report-DMC) ใหก้บัลกูคา้เพื่อเป็นเอกสารประกอบการเรียกร้องค่าเสียหาย

    8. Overtime Goods (F3-k) หน่วยงานสินคา้ตกคา้ง มีหนา้ท่ี ส ารวจบญัชีและจดัเก็บสินคา้ท่ีส่งมาจาก F3-w, F3-g (ไม่มีผูม้ารับสินคา้เกินกว่า 2 เดือน 15 วนั) โดยประสานงานกบัหน่วยงานศุลกากรเพ่ือใหม้ีการจดัเก็บรักษา ส่งมอบ ท าลาย ขายทอดตลาด หรืออ่ืน ๆ ตามกฎหมายของศุลกากร

    9. Cargo Documentation and Delivery (F3-c) หน่วยงานเอกสารผา่นพิธีการน าเขา้ ศุลการและส่งมอบสินคา้ มีหนา้ท่ี

    ก. ตรวจสอบเอกสารท่ีผา่นพิธีการจากศุลกากร เพื่อติดต่อขอรับสินคา้ ซ่ึงเป็นเอกสารประกอบดว้ย Delivery Order, Copy AWB, Cargo Permit และบนัทึกการจ่ายค่าเก็บรักษาสินคา้ใน CAR Record หรือในกรณีท่ีสินคา้เป็นของใชเ้ก่ียวกบัเคร่ืองบิน (Bonded Store) ให้ตรวจสอบใบแยกคลงัเสบียงทณัฑบ์นหรือ Customs Permit ในกรณีท่ีเป็นเอกสารทางการฑูต(DIP)

    ข. บนัทึกขอ้มลูการรับสินคา้น าเขา้ลงใน CAR และพิมพข์อ้มลูจาก CAR ส่งใหห้น่วยงาน F3-w เพื่อท าการจดัเตรียมสินคา้ส่งมอบใหแ้ก่ลกูคา้

    ค. ตรวจสอบความถกูตอ้งของสินคา้กบัเอกสาร เพื่อส่งมอบสินคา้ใหก้บัลกูคา้ไปด าเนินการทางศุลกากรต่อไป

    ง. ท าการ Final Delivery ในระบบ Orchids จ. รวบรวมเอกสาร Delivery Order, Copy AWB, และ Cargo Permit ท่ีผา่น

    การตรวจปล่อยจากเจา้หนา้ท่ีศุลกากรแลว้ส่งใหห้น่วยงาน F3-t จดัเก็บต่อไป

  • Organization Chart Cargo Customer Airlines Import Warehouse Division (F3) โครงสร้างแผนกคลงัสินค้าน าเข้าสายการบินลูกค้า

    รูปภาพท่ี 4.1 Organization Chart Cargo Customer Airlines Import Warehouse Division (F3)

  • ขั้นตอนปฏิบัตงิาน 1. F3-w รับสินคา้จากหน่วยงาน F5-i ตรวจสอบกบับญัชีสินคา้ (Manifest) ของแต่ละเท่ียวบิน

    ท่ี F5-i ส่งมา 2. เจา้หนา้ท่ี F3-w ซ่ึงท าหนา้ท่ี Terminal Operator ท าการตรวจสอบสินคา้

    2.1 ตรวจสอบสภาพหีบห่อสินคา้ว่ามีความเสียหาย ถา้เสียหายแจง้กลบัไปยงั F5-i เพื่อออก DMC

    2.2 ตรวจสอบ AWB ขา้งหีบห่อ Manifest ว่าถกูตอ้งตรงกนั ถา้ไม่ถกูตอ้งแจง้กลบัไปยงั F5-i เพื่อแกไ้ข

    2.3 ตรวจสอบจ านวนสินคา้ตาม Manifest ว่าครบตามจ านวนท่ีระบุไวใ้น Manifest ถา้ไม่ครบหรือเกินแจง้กลบัไปยงั F5-i เพื่อแกไ้ขและติดตาม

    3. กรณีไม่พบขอ้บกพร่อง เจา้หนา้ท่ี F3-w ด าเนินการดงัน้ี 3.1 ถา้เป็นสินคา้ของคลงัสินคา้ของตวัแทนผูน้ าเขา้ จดัเตรียมสินคา้เพื่อส่งมอบให้

    Warehouse Operation ท าการตรวจสอบ ถา้ไม่ผา่น ท าการแจง้ F3-t เพื่อออก DMC กรณีพบหีบห่อสินคา้เสียหาย ถา้ผา่น ส่งมอบสินคา้ให้ Warehouse Operation จดัเก็บและรายงานผลต่อ Free zone

    Operator และด่านศุลกากรต่อไป 3.2 ถา้เป็นสินคา้ท่ีไม่ใช่ของ Warehouse Operator จะท าการแยกสินคา้โดยดูจาก

    Manifest, Label และ Marking ต่าง ๆ ขา้งหีบห่อเพ่ือจดัเก็บตามพ้ืนท่ีและหน่วยงานท่ีก าหนด ดงัต่อไปน้ี

    สินคา้ VAL เป็นสินคา้มีค่า จดัเก็บไวใ้นหอ้งมัน่คง โดยหน่วยงาน F3-w เป็นผูรั้บผดิชอบ สินคา้ DIP เป็นเอกสารทางการทูตจดัเก็บไวท่ี้ location ในหอ้ง VUN โดยหน่วยงาน F3-w

    เป็นผูรั้บผดิชอบ สินคา้ VUN จดัเก็บไวใ้นหอ้ง VUN โดยหน่วยงาน F3-w เป็นผูรั้บผดิชอบ สินคา้ PER จดัเก็บตามอุณหภูมิท่ีสินคา้ระบุไว ้โดยเก็บไวใ้นหอ้งเยน็ท่ีสามารถควบคุม

    อุณหภูมิไดห้น่วยงาน F3-w เป็นผูรั้บผดิชอบ สินคา้ Dangerous Goods (สินคา้อนัตรายหรือสารเคมีอนัตราย ) ใหแ้ยกเก็บในพ้ืนท่ีท่ีแยก

    เฉพาะและในการจดัเก็บจะตอ้งจดัเก็บตาม กฎ IATA (DGR Regulation) โดยหน่วยงาน F3-w เป็นผูรั้บผดิชอบ

    สินคา้ทัว่ไป (General Cargo) จดัเก็บตามลกัษณะหีบห่อ ขนาดและจ านวน เช่น Heavy Cargo ท่ีเป็นลงัไมจ้ดัเก็บไวพ้ื้นท่ีเก็บ Heavy Cargo หรือระบบจดัเก็บทางสูง (AS/RS)

  • 3.3 เจา้หนา้ท่ี F3-w เม่ือส่งสินคา้ไปจดัเก็บตามพ้ืนท่ีและหน่วยงานท่ีรับผดิชอบแลว้ท าจะท าการบนัทึก Location และรายงานละเอียดขอ้มลูสินคา้ดว้ยระบบ Barcode ซ่ึงเช่ือมโยงกบัระบบ ORCHIDS

    4. เจา้หนา้ท่ี F3-w, F3-g จะท าการดูแลรักษาสินคา้เพื่อรอการเบิ กจ่ายใหล้กูคา้ และรอการจดัการเก็บสินคา้ตกคา้ง

    4.1 สินคา้แต่ละประเภทจะถกูจดัเก็บและรักษาไวใ้นคลงั ใหอ้ยูใ่นสภาพท่ีป ลอดภยัจนกว่าลกูคา้มาขอรับสินคา้โดยสินคา้แต่ละประเภทจะมีหน่วยงานดูแลและท าหนา้ท่ีจดัเตรียมสินคา้เมื่อลกูคา้มาขอรับ

    4.2 สินคา้ประเภท VAL หน่วยงาน F3-g ท าหนา้ท่ีดูแลรักษาและคอยจดัเตรียมเมื่อลกูคา้ยืน่เอกสารรับและท าหนา้ท่ีตรวจสินคา้คงคลงั ของสินคา้ประเภทน้ีและส่งมอบให ้ F3-k ท าบนัทึกบญัชีตกคา้งเพื่อมาขอรับน าไปเก็บยงัคลงัสินคา้ตกคา้ง

    4.3 หน่วยงาน F3-k ท านา้ท่ีดูแลรักษาและคอยจดัเตรียมสินคา้เมื่อลกูคา้มาขอยืน่เอกสารรับสินคา้และท าหนา้ท่ีตรวจสอบสภาพสินคา้คงคลงัตามระยะเวลาท่ีก าหนดไวข้องสินคา้ประเภทน้ีและแยกสินคา้ตกคา้ง

    4.4 สินคา้ทัว่ไป , PER, Dangerous Goods, RFZ, AVL หน่วยงาน F3-w ดูแลรักษาจดัเตรียมสินคา้เมื่อลกูคา้ยืน่ขอรับและท าหนา้ท่ีตรวจสอบสภาพสินคา้คงคลงัจามก าหนดเวลาแล ะส่งมอบสินคา้ตกคา้งให ้F3-k ตามบญัชีตกคา้ง

    4.5 สินคา้ท่ีจดัเก็บเกินก าหนดเวลาใหด้ าเนินการแยกเป็นสินคา้ตามบญัชีสินคา้ตกคา้งแลว้ ทางศุลกากรด าเนินการขายทอดตลาดและท าลายต่อไป

    5. ลกูคา้ท าการยืน่เอกสารเพื่อขอรับสินคา้ 5.1 สินคา้ปกติลกูคา้จะยืน่เอกสารซ่ึงประกอบดว้ย

    Cargo permit ซ่ึงไดผ้า่นขั้นตอนทางศุลกากรมาแลว้ Delivery Order (D/O) และในกรณีท่ีสินคา้ส่งมาในนามธนาคาร ตอ้งใหธ้นาคารท่ีระบุ

    ช่ือประทบัตราธนาคารนั้น และเซ็นช่ืออนุญาตใหรั้บสินคา้ได ้ ส าเนา AWB ในกรณีท่ีเป็น Diplomatic คือเป็นเอกสารทางการ ฑูต ทางแผนก FF-c จดัท าเอกสา รซ่ึง

    ผา่นขั้นตอนทางศุลกากรแลว้มายืน่ขอรับสินคา้ ในกรณีท่ีเป็น HUM ทางหน่วยงาน F2 จดัท าเอกสารซ่ึงผา่นขั้นตอนศุลกากรแลว้มายืน่

    ขอรับสินคา้ ในกรณีสินคา้น าเขา้เป็นอะไหล่เคร่ืองบิน การบินไทยฯ และบริษทัลกูคา้ของบริษทั การ

    บินไทยฯ ทางหน่วยงาน WP-S จะด าเนินการจดัท า เอกสารและผา่นขั้นตอนทางศุลกากรแลว้น ามาขอรับสินคา้

  • ในกรณีเป็นสินคา้ฝาก ลกูคา้จะยืน่ Cargo Permit เพื่อขอรับสินคา้ ในกรณีเป็นสินคา้เป็นสินคา้ขาเขา้ท่ีมาขอท าเร่ือง Transit ภายหลงัของตวัแทน (agent) ของ

    ลกูคา้จะยืน่เอกสาร Transshipment (ใบแนบ 9) เพื่อขอรับสินคา้ แลส่งต่อไปยงัเมืองปลายทางท่ีระบุ

    6. ขั้นตอนในการด าเนินงานของหน่วยงาน F3-c ท าการตรวจสอบความถกูตอ้งของเอกสารและส่งมอบสินคา้ใหแ้ก่ลกูคา้ มีขั้นตอนในการท างานดงัต่อไปน้ี

    6.1 การตรวจสอบเอกสาร ในกรณีท่ีไม่ถกูตอ้งหรือไม่ครบถว้น จะส่งคืนใหล้กูคา้ไปแกไ้ขใหถ้กูตอ้ง ในกรณีท่ีถกูตอ้ง ใหท้ าการลงช่ือและบนัทึกเวลาบน D/O เพื่อแสดงใหท้ราบว่าไดผ้า่นการ

    ตรวจสอบเอกสารแลว้ บนัทึกขอ้มลูการรับสินคา้ลงในระบบ Orchids แลว้ Print CAR แนบกบัเอกสาร Delivery

    Order (D/O), Copy AWB, และ Cargo Permit แลว้ส่งกลบั F3-w เพื่อจดัเตรียมสินคา้ส่งมอบใหแ้ก่ลกูคา้

    6.2 การตรวจสอบสินคา้และส่งมอบสินคา้ ตรวจสอบความถกูตอ้งของเอกสารท่ีหน่วยงาน F3-g, F3-w จดัเตรียมส่งมอบใหแ้ก่ลกูคา้ ในกรณีท่ีหมายเลข AWB ของสินคา้กบัเอกสารไม่ตรงกนัใหห้าสาเหตุ ถา้สินคา้ถกูตอ้งให้

    แกแ้ลว้ส่งมอบใหล้กูคา้ หรือส่งกลบัไปท่ีหน่วยงาน F3-g, F3-w จดัเตรียมสินคา้ใหม่ในกรณีท่ีน าสินคา้ออกมาไม่ถกูตอ้ง

    กรณีท่ีสินคา้ไม่ครบใหแ้จง้กลบัไปท่ีหน่วยงาน F3-g, F3-w เพื่อจดัหาสินคา้ใหค้รบ เมื่อตรวจสอบสินคา้ถกูตอ้งแลว้ ใหเ้ซ็นช่ือและบนัทึกเวลาบน D/O แลว้น าสินคา้ไปวางใน

    ลานส่งมอบเพื่อใหล้กูคา้ตรวจสอบ เมื่อลกูคา้ตรวจ สอบความเรียบร้อยของสินคา้ทั้งสภาพและจ านวนถกูตอ้งแลว้ใหล้กูคา้

    เซ็นช่ือรับสินคา้ Copy AWBและเจา้หนา้ท่ี F3-c เซ็นช่ือใน Cargo Permit และปล่อยสินคา้ใหล้กูคา้เพื่อไปด าเนินการดา้นศุลกากรต่อไป

    เก็บเอกสาร Delivery Order (D/O), Copy AWB ท่ีลกูคา้ลงช่ือรับสินคา้และ ส าเนา Cargo Permit มาท าการ Final Delivery ในระบบ Orchids แลว้รวบรวมส่งใหห้น่วยงาน Ft-f

    ในกรณีท่ีสินคา้ไม่ผา่นการตรวจปล่อยจากเจา้หนา้ท่ีศุลกากร ทางเจา้หนา้ท่ีศุลกากรจะให้ลกูคา้น ามาฝากกบัหน่วยงาน F3-c เพื่อท าการขอรับสินคา้ในวนัถดัไป

    ในกรณีท่ีสินคา้มีสภาพหีบห่อไม่เรียบร้อย เสียหาย สูญหาย หรือหาไดไ้ม่ครบ จะแจง้ให้ลกูคา้ติดต่อกบัหน่วยงาน F3-t เพื่อท าการตรวจสอบ บนัทึก และท ารายงานสินคา้เสียหาย

  • (DMC) เพ่ือเป็นหลกัฐานในการเรียกร้องค่าเสียหายตามขั้นตอนการปฏิบติังานเร่ืองเก่ียวกบัค าร้องของผูใ้ชบ้ริการและส าเนา DMC ใหห้น่วยงานท่ีเก่ียวขอ้งทราบ

    7. หน่วยงาน F3-w, F3-g ท าการจดัเตรียมสินคา้ 7.1 จดัหาสินคา้ตามเอกสารท่ีไดจ้ากหน่วยงาน F3-c และน าส่งมอบใหก้บัหน่วยงาน

    ตรวจสอบสินคา้ตามล าดบัของเอกสารท่ีส่งมอบในระยะเวลาท่ีเหมาะสม และเป็นท่ีพอใจของลกูคา้ 7.2 กรณีท่ีสินคา้เป็น VAL จะแจง้ใหล้กูคา้เ ขา้ไปเซ็นช่ือรับสินคา้ท่ีหอ้ง VAL เพื่อ

    ความปลอดภยัของสินคา้และเพื่อผูรั้บไดท้ าการตรวจสอบความถกูตอ้งของสินคา้ดว้ย 7.3 กรณีจดัเตรียมสนคา้แลว้ลกูคา้ยงัไม่ไดรั้บสินคา้ในวนันั้น ใหน้ าเขา้เก็บรักษาไว้

    และเม่ือลกูคา้มารับจะตอ้งจ่ายค่ารักษาเพ่ิมเติมตามอตัราท่ีก าหนด 8. เจา้หนา้ท่ี F3-k ท าการจดัการกบัสินคา้ตกคา้ง ดงัน้ี

    8.1 สินคา้ทุกรายการ ในกรณีท่ีลกูคา้ไม่มาติดต่อรับครบก าหนด 2 เดือน 15 วนั ทางศุลกากรจะจดัท าบญัชีสินคา้ตกคา้งแลว้แจง้ใหก้ารบินไทย จดัเตรียมเพื่อด าเนินการตามระเบียบทางศุลกากรต่อไป

    8.2 จดัท าบญัชีสินคา้ตกคา้งโดยคดแยกมาจาก Import List Manifest จาการ Inventory และ Over Time Goods Customs List

    8.3 บญัชีสินคา้ตกคา้งเจา้หนา้ท่ีศุลกากรน ามาเปรียบเ ทียบกบับญัชีท่ี F3-k ท าบนัทึกไว ้

    8.4 ในกรณีไม่ตรงกนัคือ ทางการบินไทยแจง้เจา้หนา้ท่ีศุลกากรเพ่ิมเติมหรือตดัออกโดยมอบเอกสารยนืยนัเป็นหลกัฐาน

    8.5 ในกรณีท่ีสินคา้เป็น AVI, PER เมื่อครบก าหนด 3 วนัแลว้ลกูคา้ไม่ติดต่อรับสินคา้เมื่อไดพ้ิจารณาแลว้ว่าเกิดการเส่ือมสภาพเน่าเสียหรือตาย ทางบริษทัการบินไทยสามารถแจง้ไปให้ศุลกากรทรา บเพ่ือขออนุญาตใหน้ าสินคา้นั้นเป็ นสินคา้ตกคา้งและท าลายไดก่้อนครบก าหนด 2 เดือน 15 วนั

    9. สินคา้เมื่อไดแ้ยกเป็นสินคา้ตามบั ญชีสินคา้ตกคา้งแลว้ ทางศุ ลกากรด าเนินการขายทอดตลาดและท าลายต่อไป

  • โครงสร้างการส่งมอบสินค้าขาเข้าของแผนกคลงัสินค้าน าเข้าสายการบินลูกค้า บริษัทการ

    บินไทย จ ากดัที่ท่าอากาศยานสุวรรณภูม ิ

    รูปภาพท่ี 4.2 โครงสร้างการส่งมอบสินคา้ขาเขา้ของแผนกคลงัสินคา้น าเขา้สายการบินลกูคา้ บริษทั

    การบินไทย จ ากดั มหาชน ท่ีท่าอากาศยานสุวรรณภูม ิ

  • 4.2 ประเภทของสินค้า

  • 4.2 ประเภทของสินค้า

    ประเภทของสินค้าในการให้บริการแบ่งออกเป็น 5 ประเภท

    1. สินคา้ทัว่ไป (General Cargo) 2. สินคา้พิเศษ (Special Cargo) 3. สินคา้อนัตราย (Dangerous Goods) 4. เอกสารทางการฑูต (Diplomatic Pouch) 5. Service Cargo

    1. สินค้าทั่วไป (General Cargo)

    สินค้าทั่วไป (General Cargo) เป็นสินคา้ทัว่ไปท่ีไม่มีความจ าเป็นตอ้งไดรั้บการดูแลเป็นพิเศษ และไม่เป็นอนัตรายต่อสินคา้อ่ืน นอกเหนือจากการปฏิบติัตาม เช่น เส้ือผา้ รองเทา้ ของตกแต่งบา้น ของเล่นเด็ก

    รูปภาพท่ี 4.3 ลกัษณะการบรรจุสินคา้ทัว่ไป

    รูปภาพท่ี 4.4 ลกัษณะการบรรจุสินคา้ทัว่ไป

    http://logisticscorner.com/images/stories/Articles/Warehouse/wh20090621_01.gif

  • 2. สินค้าพเิศษ (Special Cargo)

    สินค้าพเิศษ (Special Cargo) เป็นสินคา้ท่ีตอ้งการการดูแลเป็นพิเศษตามคุณลกั ษณะของสินคา้แต่ละชนิด มิฉะนั้นอาจเกิดการเสียหาย และน ามาซ่ึงการไม่ไดรั้บช าระเงินค่าสินคา้หรือตอ้งเสียค่าใชจ่้ายเพ่ือส่งสินคา้ไปทดแทนสินคา้ประเภทน้ีไดแ้ก่

    2.1 Fragile Cargo-VUN สินคา้ท่ีแตกหกัง่าย 2.2 Heavy Cargo-HEA สินคา้น ้ าหนกัมาก 2.3 Human Remains-HUM ศพมนุษย ์2.4 Live Animals-AVI ส่ิงมีชีวิต 2.5 Magnetized Materials-MAG วตัถุท่ีมีลกัษณะเป็นแม่เหลก็ 2.6 Outsized Cargo-BIG สินคา้ท่ีมีขนาดใหญ่มาก 2.7 Perishable Cargo-PER สินคา้ของสดหรือเสียง่าย 2.8 Valuable Cargo-VAL สินคา้ของมีค่า 2.9 Wet Cargo-WETสินคา้ท่ีมีน ้ าเป็นองคป์ระกอบ

    ทั้งน้ีสินคา้ท่ีส่งทางอากาศจะตอ้งมีหีบห่อท่ีแข็งแรงทนต่อสภาพการขนส่ง ไม่ว่าจะอยูใ่นรูปแบบของ กล่องกระดาษ กระเป๋าเดินทาง ซอง ถุง กระสอบ กรง ลงั เป็นตน้ โดยตอ้งมีฉลากติ ดอยูบ่นหีบห่อสินคา้ ซ่ึงฉลากท่ีตอ้งมีนั้น มีอยู ่2 ชนิด คือ

    1. ฉลากจ าเป็น เป็นฉลากท่ีใชต้รวจสอ บว่าสินคา้ท่ีท าการขนส่งเป็นของผูใ้ด โดยจะตอ้งมีขอ้มลูช่ือ ท่ีอยูข่องผูส่้งและผูรั้บตลอดจนชนิดและปริมาณของสินคา้ท่ีชดัเจน

    2. ฉลากเพ่ิมเติม เป็นฉลากท่ีติดเพ่ิมเติมเพ่ือใหพ้นกังานของสายการบินหรือผูท่ี้เ ก่ียวขอ้งทราบว่าสินคา้ท่ีผูส่้งออกท าการขนส่งนั้นควรจะตอ้งดูแลในระดบัใดจึงจะเหมาะสม ตวัอยา่งของฉลากเพ่ิมเติม เช่น

    รูปภาพท่ี 4.5 รูป fragile หรือฉลากแกว้แตก ฉลากในลกัษณะน้ีจะช้ีใหเ้ห็นว่าสินคา้ภายในหีบ ห่อนั้นสามารถแตกเสียหายหรือช ารุดไดโ้ดยง่าย

  • รูปภาพท่ี 4.6 Live Animal หรือฉลากสตัวม์ีชีวิต

    รูปภาพท่ี 4.7 This Side up แสดงว่าผูดู้แลควรจะตั้งหีบห่อสินคา้ข้ึนตามลกูศรท่ีช้ีข้ึน

    รูปภาพท่ี 4.8 Dangerous Goods หรือสินคา้อนัตราย แสดงใหเ้ห็นว่าตอ้งดูแลเป็นพิเศษ เพราะเป็นสินคา้จ าพวกของเหลวท่ีอาจติดไฟได ้วตัถุเป็นพิษ หรือวตัถุท่ี สามารถระเบิดได ้

    This Side up

  • Fragile Cargo-VUN สินค้าที่แตกหักง่าย

    สินคา้แตกหกัง่าย หมายถึง สินคา้ท่ีมีลกัษณะบอบบาง เปราะ หรือแตกหกัเสียหายง่าย หากเกิดการกระทบ กระแทก ถกูทบั หรือตกในระหว่างท่ีท าการนส่ง ไดแ้ก่ เคร่ืองแกว้ เคร่ืองป้ันดินเผา เคร่ืองลายคราม เป็นตน้ การขนส่งตอ้งบรรจุ ในหีบห่อท่ีแข็ งแรง เช่น ลงัไม ้และควรเป็นหีบห่อใหม่หากเคยใชแ้ลว้ตอ้งอยูใ่นสภาพดีท่ีแข็งแรง ภายในวสัดุกนัสะเทือนอยา่งเหมาะสม ภาชนะบรรจุ ของเหลวท่ีท าจากวสัดุแตกหกัง่าย เช่น แกว้ จะตอ้งใชว้สัดุกนักระแทก ท่ีสามารถดูดซบัของเหลวไดห้มด ในกรณีท่ีเกิดการแตกข้ึน หีบห่อของสินคา้แ ตกหกัง่ายจะตอ้งติดป้าย “ของแตกหกัง่าย”และ “ป้ายตั้งตามลกูศร”

    รูปภาพ 4.9 บรรจุภณัฑข์องแตกหกัง่าย

  • Heavy Cargo-HEA/Outsized Cargo-BIG สินค้าน า้หนักมากและสินค้าที่มขีนาดใหญ่

    สินคา้น ้ าหนกัมาก หมายถึง สินคา้ท่ีมีน ้ าหนกัตั้งแต่ 150 กิโลกรัมข้ึนไปต่อหน่ึ งหีบห่อสินคา้ สินคา้ท่ีมีขนาดใหญ่ หมายถึง สินคา้ท่ีมีขนาดกวา้งหรือยาวเกินขนาดของแผน่บรรทุกสินคา้ 88”x125”, 96”x125” หรือมีขนาดท่ียากต่อการจดับรรทุกในเคร่ืองบิน แบบส าตวัแคบ สินคา้น ้ าหนกัมากและสินคา้ขนาดใหญ่จะตอ้งไดรั้บการยนืยนัการท าส ารองระวางบรรทุกก่อนการ รับขนส่งทุกคร้ัง

    รูปภาพ 4.10 สินค้าน า้หนักมาก

    รูปภาพ 4.11 สินค้าขนาดใหญ่

  • Human Remains-HUM ศพมนุษย์

    การรับส่งศพมนุษยจ์ะตอ้งมีเอกสาร “ใบมรณะบตัร ” ประกอบการ ขนส่งศพจะตอ้งบรรจุอยูใ่นโลงท่ีแข็งแรงและมีท่ียดึจบั ภายนอกคลุมดว้ยผา้ใบส่วนอฐิัจะตอ้งใส่ภาชนะท่ี ไม่แตกง่ายมีวสัดุกนักระแทกและจะตอ้งมีเอกสาร “ใบฌาปณกิจ” แนบมาดว้ย

    รูปภาพท่ี 4.12 สญัลกัษณ์สินคา้ประเภทศพมนุษย ์

  • Live Animals-AVI ส่ิงมชีีวติ

    การรับสินค้าที่ Live Animals ใหต้รวจสอบและปฏิบติัตามก าหนดใน IATA Live Animals Regulations (LAR) และ TCM ส าหรับบาง Shipment จะมีการออก IATA Live Animals Acceptance Check List โดยตน้ฉบบัจะให ้Agent เพื่อแนบกบั AWB ฉบบัท่ีจะส่งไปปลายทางและเก็บส าเนาไว ้ยกเวน้สินคา้ท่ีเป็นพืชและสตัวน์ ้ า ซ่ึงถกูเพราะเล้ียงโดยเกษตรกร และส่งมอบเพ่ือการคา้ขายและบริโภค การรับขนส่งสตัวมี์ชีวิตจะตอ้งเป็นไปตามระเบียบว่าดว้ยการขนส่งส่ิงมีชีวิตภายในเง่ือนไขดงัน้ี

    สุขภาพของสตัวจ์ะตอ้งไม่ป่วยหรือเป็นโรค ตอ้งไดรั้บการดูแลระหว่างการขนส่งเป็นอยา่งดีและหา้มรับขนส่งสตัวท่ี์ก าลงัทอ้งแก่

    กรงท่ีใชข้นส่งสตัวต์อ้งเหมาะสมกบัสตัวป์ระเภทนั้นๆ ตอ้งสะอาดแล ะกนัน ้ า ร่ัวซึม ตลอดจนง่ายต่อการขนถ่ายพร้อมติดป้าย สตัวม์ีชีวิต

    อาหารท่ีน ามาเพ่ือเล้ียงดูสตัวต์อ้งรวมอยูใ่นน ้ าหนกัท่ีใชคิ้ดค่าระวางสินคา้

    การขนส่งสตัวม์ีชีวิตจะตอ้งมีการท าส ารองระวาง บรรทุกไวล่้วงหนา้ตลอด เสน้ทางการบิน

    สตัวม์ีชีวิตจะน ามารวมกบัสินคา้อ่ืน ๆ ภายใตใ้บตราส่งสินคา้ชุดเดียวกนัไม่ได ้

    การขนส่งสตัวม์ีชีวิตจะตอ้งมีใบตรวจสุขภาพสตัว ์ใบส าแดงสตัวม์ีชีวิตและใบอนุญาตอ่ืนๆส าหรับสตัวบ์างประเภทท่ีระบุไว ้ตามระเบียบว่าดว้ยการขนส่งสตัวม์ีชีวิต

    รูปภาพท่ี 4.13 สญัลกัษณ์ส่ิงมีชีวิต

  • Magnetized Materials-MAG วตัถุที่มลีกัษณะเป็นแม่เหลก็

    สินคา้แม่เหลก็หมายถึงสินคา้ท่ีมีคุณสมบติัสามารถเกิดสนามแม่เหลก็ ซ่ึงมีผลกระทบต่อระบบน าร่องของเคร่ืองบินเช่น เข็มทิศ เรดาร์ โดยหีบห่อสินคา้แม่เหลก็จะตอ้งติดป้าย สินคา้แม่เหลก็ดว้ย

    รูปภาพท่ี 4.14 วตัถุท่ีมีลกัษณะเป็นแม่เหลก็

  • Perishable Cargo-PER สินค้าของสดหรือเสียง่าย

    สินคา้ของสดเสียง่ายหมายถึง สินคา้ท่ีง่ายต่อการเน่าเป่ือย หรือบูดเน่าไดง่้าย เช่น ผลิตภณัฑจ์ากนม เน้ือสตัว ์ปลาสด พืช ผกัและผลไม ้เป็นตน้ การรับขนส่งสินคา้ประเภทน้ีจะตอ้งเตรียมการ ล่วงหนา้และมีการท าส ารองระวางบรรทุกตลอดเสน้ทางการบินและหีบห่อของสินคา้ของสดเสียง่ายจะตอ้งติดป้าย “ของสดเสียง่าย” และ “ป้ายตั้งตามลกูศร”

    รูปภาพท่ี 4.15 สญัลกัษณ์ของสดหรือเสียง่าย

    รูปภาพท่ี 4.16 ป้ายตั้งตาม

  • Valuable Cargo-VAL สินค้าของมค่ีา

    สินคา้ของมีค่าหมายถึงสินคา้ดงัต่อไปน้ี

    สินคา้ท่ีมีการประเมินราคาเพื่อการขนส่งเกิน 1,000 ดอลลาร์สหรัฐต่อน ้ าหนกัรวม 1 กิโลกรัม

    ทองค า หรือทองค าขาวทั้งท่ีหลอมแลว้ หรือยงัไม่ไดห้ลอมในรูปแบบต่าง ๆ ธนบตัร, ตัว๋เงิน, เช็คเดินทาง, ใบหุน้, ใบกู,้ ดวงตราไปรษณียแ์ละบตัรเครดิต อญัมณีมีค่า ไดแ้ก่ เพชร, ทบัทิม, มรกต, พลอยไพลิน, มุกดา, ไข่มุกและไข่มุกเล้ียง เคร่ืองประดบัท่ีท าดว้ยอญัมณีมีค่า เคร่ืองประดบั และนาฬิกาขอ้มือท่ีท าจากเงินและ ทองค า หรือทองค าขาว

    การรับสินคา้มีค่าตอ้งมีการควบคุมดูแลการขนส่งอยา่งรัดกุมปลอดภยัในทุกคร้ังขั้นตอนและตอ้งมีการท าส ารองระวางบรรทุก ตลอดเสน้ทางบินไม่ควรมีจุดเปล่ียนเคร่ืองถา้มีก็มีใหน้อ้ยท่ีสุดและหีบห่อของสินคา้มีค่าตอ้องมัน่คงแข็งแรง

    รูปภาพท่ี 4.17 สินคา้ของมีค่า

  • Wet Cargo-WET สินค้าที่มนี า้เป็นองค์ประกอบ

    สินคา้ท่ีมีน ้ าเป็นองคป์ระกอบตอ้งมีการบรรจุหีบห่อและการจดับรรทุกอยา่งระ มดัระวงัเป็นพิเศษ เพ่ือป้องกนัน ้ าร่ัวซึมออกมาท าใหสิ้นคา้อ่ืนเสียหาย หรือกดักร่อนอุปกรณ์บรรทุกสินคา้ และหอ้งบรรทุกสินคา้ภายนอกเคร่ืองบิน ใหเ้กิดความเสียหายได ้โดยเฉพาะสินคา้ท่ีมีองคป์ระกอบของน ้ าเค็ม หรือเป็นน ้ าท่ีออกมาจากสินคา้ประเภทอาหารทะเล หีบห่อสินคา้ปร ะเภทน้ี จึงตอ้งกนัน ้ าร่ัวซึมไดเ้ป็นอยา่งดี ซ่ึงส่วนใหญ่จะใชก้ล่องโฟม

    กฎเกณฑ์ต่างๆที่เกีย่วข้องกบัการขนส่งสินค้าทางอากาศ ต้องปฏิบัต ิมดีังนี้

    ตอ้งติดฉลากจ าเป็น แสดงช่ือ ท่ีอยูข่องผูส่้งและผูรั้บ ตลอดจนชนิดและปริมาณ สินคา้โดยชดัเจน

    ตอ้งบรรจุสินคา้ในหีบห่อและภาชนะท่ีแข็งแรงเหมาะสมกบัการขนส่ง โดยตอ้งไม่ช ารุดเสียหายง่ายและตอ้งไม่เกิดความเสียหายหรือเป็นอนัตรายต่อชีวิต ทรัพยสิ์นหรือสินคา้อ่ืนๆท่ีไปพร้อมกบัเท่ียวบินตอ้งจดัหาและส่งมอบเอกสารท่ีจ าเป็นไปกบัสินคา้ดว้ย โดยบรรจุในซอง ท่ีจดัเตรียมไวใ้หแ้ละติดไปกบัหีบห่อของสินคา้

    ตอ้งยนิยอมใหบ้ริษทัการบินตรวจสอบสินคา้และเอกสารท่ีส่งไปพร้อมกบัสินคา้ หากเป็นสินคา้อนัตราย (Dangerous Goods) ตอ้งปฏิบติัตามเง่ือนไขของ Dangerous Goods

    Regulation อยา่งเคร่งครัด

    รูปภาพที่ 4.18 สินคา้ท่ีมีน ้ าเป็นองคป์ระกอบและการบรรจุภัณฑ์

  • 3. สินค้าอนัตราย (Dangerous Goods)

    สินคา้อนัตราย (Dangerous Goods) หมายถึง ส่ิงของ หรือวตัถุท่ีมีคุณสมบติัทางเคมีหรือทางกายภาพโดยตวัของมนัเอง หรือเมื่อสมัผสักบัสารอ่ืน (อากาศ หรือ น ้ า ฯลฯ) ท าใหเ้กิดอนัตรายต่อมนุษย ์ทรัพยสิ์น หรือต่อสภาพแวดลอ้ม

    ในปัจจุบนัน้ีสารเคมีเป็ นจ านวนมากท่ีตรวจพบว่าเป็นอนัตราย และไดม้ีการขนส่งทางทะเล ทางอากาศ และทางบก ดงันั้นการด าเนินการและการขนส่งสินคา้เคมีท่ีเป็นอนัตรายจะตอ้งท าดว้ยความระมดัระวงั เพ่ือป้องกนัอุบติัภยัท่ีอาจจะเกิดข้ึนได ้และถือว่าเป็นภาระหนา้ท่ีและความรับผดิชอบของทุกคนท่ีท างานเก่ี ยวขอ้งกบัสินคา้อนัตรายท่ีจะตอ้งเรียนรู้เร่ืองสินคา้อนัตรายและสามารถด าเนินการไดโ้ดยปลอดภยั

    ทุกคนท่ีเก่ียวขอ้งกบัสินคา้อนัตรายจะตอ้งปฏิบติัตามกฎระเบียน หรือขอ้บงัคบั เก่ียวกบัความปลอดภยัในการยกขนสินคา้อนัตรายท่ีการท่าเรือแห่งประเทศไทยไดก้ าหนดไว ้และใชป้ฏิบัติอยูซ่ึ่งกฎระเบียนต่างๆ น้ีมีพ้ืนฐานสอดคลอ้งกบัขอ้แนะน าและวิธีปฏิบติัท่ีเหมือนกนัและร่วมกนัระหว่างประเทศ

    สหประชาชาติ (United Nations) ไดจ้ดัท าขอ้แนะน าในการขนส่งสินคา้อนัตราย (Recommendations on the Transport of Dangerous Goods) มีรายละเอียดเก่ียวกบั

    การจ าแนกประเภทสินคา้อนัตราย (Classification) การบรรจุหีบห่อ (Packaging) การติดป้าย, ฉลาก (Labeling) และ การขนส่งสินคา้อนัตรายท่ีบรรจุในถงั (Tank Transport)

    ในขอ้แนะน าน้ีไดมี้บญัชีวตัถุหรือสารอนัตราย ซ่ึงส่วนใหญ่ท าการขนส่งกนัเป็นประจ าโดยสหประชาชาติ ไดก้ าหนดตวัเลขส่ีหลกัเรียกว่า UN Number (UN NO.) ใชแ้ทนช่ือสินคา้แต่ละตวั องคก์ารทางทะเลระหว่างประเทศ (International Maritime Organization) หรือ IMO ไดจ้ดัท าขอ้บงัคบัและขอ้ท่ีควรปฏิบติัระหว่างประเทศ เพื่อใหเ้กิดความปลอดภยัในการขนส่งสินคา้อนัตรายทางทะเล เรียกว่า International Maritime Dangerous Goods Code หรือ IMDG-Code ไดก้ าหนดกฎเกณฑไ์วเ้ป็นการเฉพาะ ในเร่ืองของ

    การจ าแนกประเภทสินคา้อนัตราย (Classification) การแสดงสินคา้อนัตราย โดยใชเ้คร่ืองหมายและการปิดฉลาก (Identification,

    Marking, Labeling and Pleading)

  • เอกสารต่างๆ ท่ีเก่ียวขอ้ง (Documentation) การบรรจุหีบห่อ (Packaging) การแยกเก็บ (Segregation) สินคา้อนัตรายท่ีขนส่งในลกัษณะสินคา้ทัว่ไป (General Cargo) สินคา้อนัตรายในระบบตูสิ้นคา้ (Containerized Cargo) สินคา้อนัตรายท่ีขนส่งในลกัษณะสินคา้กอง (Bulk Transport) สารท่ีท าใหเ้กิดมลภาวะทางทะเล (Marine Pollutant)

    ประเภทสินค้าอนัตราย (Dangerous Goods/DGR) ส าหรับการจ าแนกประเภทของวตัถุอนัตรายในประเทศไทยกรมการขนส่งทางบกไดอ้อก

    ประกาศกรมการขนส่งทางบก เร่ืองก าหนดประเภทหรือชนิดของวตัถุอนัตราย ซ่ึงประกาศใชเ้มื่อ วนัท่ี 29มีนาคม 2543 ไดนิ้ยามว่า “วตัถุอนัตราย” หมายถึง สาร ส่ิงของวตัถุ หรือวสัดุใดๆ ท่ีอาจเกิดอนัตรายต่อสุขภาพและความปลอดภยัของคน สตัว ์ทรัพยสิ์น หรือส่ิงแวดลอ้ม ระหว่างท าการขนส่ง โดยประกาศน้ี กรมการขนส่งทางบกไดแ้บ่งประเภทของวตัถุอนัตรายออกเป็น 9 ประเภท (Classes) ตามขอ้ก าหนดขององคก์ารสหประชาชาติ ซ่ึงแบ่งประเภทวตัถุอนัตรายตามคุณสมบติัความเป็นอนัตรายของสารและไดก้ าหนดใหร้ายช่ือหรือเกณฑก์ารพิจารณาความเป็นอนัตรายของวตัถุอนัตรายเป็นไปตามเอกสารค าแนะน าขององคก์ารสหประชาชาติ (UN Number) ว่าดว้ยการขนส่งสินคา้อนัตรา ย (United Nations.“Recommendations on the Transportation of Dangerous Goods, Manual of tests and Criteria” United Nations New York and Geneva, 1996) ดว้ย ประเภทของวตัถุอนัตรายทั้ง 9 ประเภท ตามประกาศของกรมการขนส่งทางบก ได่แก่

    ประเภทที่ 1 วตัถุระเบิด (Explosives) หมายถึง ของแข็งของเหลวหรือสารผสม ท่ีสามารถเกิดปฏิกิริยาทางเคมีดว้ยตวัเองท าใหเ้กิดก๊าซท่ีมีความดนั และความร้อนอยา่งรวดเร็ว ก่อใหเ้กิดการ ระเบิดสร้างความเสียหายบริเวณโดยรอบได้ และให้รวมถึงสารท่ีใช้ ท าดอกไม้ เพลิงและส่ิงของท่ีระเบิดไดด้ว้ย แยกเป็น 6 ประเภทยอ่ย คือ

    1. สารหรือส่ิงของท่ีก่ อให้ เกิดอนัตรายจากการระเบิดรุนแรงทนัทีทนัใดทั้งหมด (mass explosive)

    2. สารหรือส่ิงของท่ีมีอนัตรายจากการระเบิดแตกกระจายแต่ไมร่ะเบิดทนัทีทนัใดทั้งหมด 3. สารหรือส่ิงของท่ีเส่ียงต่อการเกิดเพลิงไหม ้และอาจมีอนัตรายบา้งจากการระเบิดหรือการ

    ระเบิดแตกกระจายแต่ไมร่ะเบิดทนัทีทนัใดทั้งหมด

  • 4. สารหรือส่ิงของท่ีไม่แสดงความเป็นอนัตรายอยา่งเด่นชดัหากเกิดการประทุหรือประทุในระหว่างการขนส่งจะเกิดความเสียหายเฉพาะภาชนะบรรจุ

    5. สารท่ีไมไ่วต่อการระเบิด แต่หากมีการระเบิดจะมีอนัตรายจากการระเบิดทั้งหมด 6. ส่ิงของท่ีไวต่อการระเบิดนอ้ยมาก และไมร่ะเบิดทนัทีทั้งหมด มีความเส่ียงต่อการระเบิดอยู่

    ในวงจ ากดัเฉพาะในตวัส่ิงของนั้นๆ ไม่ มีโอกาสท่ีจะเกิดการประทุหรือแผ่ กระจายในระหว่างท าการขนส่ง

    ประเภทที่ 2 ก๊าซ (Gases) หมายถึง สารท่ีอุณหภูมิ 50องศาเซลเซียส มีความดนัไอมากกว่ า 300 กิโลปาสกาล หรือมีสภาพเป็นก๊าซอย่างสมบูรณ์ ท่ีอุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส และมีความดนั 101.3 กิโลปาสกาล ซ่ึงได้ แก่ ก๊าซอดั ก๊ าซพิษ ก๊ าซอยู่ ในสภาพของเหลวก๊ าซในสภาพของเหลวอุณหภูมิต ่าและใหร้วมถึงก๊าซท่ีละลายในสารละลายภายใตค้วามดนัดว้ยแยกเป็น 3 ประเภทยอ่ย คือ

    1. ก๊าซไวไฟ (Flammable Gas) หมายถึง ก๊ าซท่ีอุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียสและมีความดนั 101.3 กิโลปาสกาลสามารถติดไฟได้ เมื่อผสมกบัอากาศ 13 เปอร์ เซ็นต์ หรือต ่ากว่ า โดยปริมาตรหรือมีช่วงกวา้งท่ีสามารถติดไฟได้ 12 เปอร์เซ็นต์ ข้ึนไป เม่ือผสมกบัอากาศโดยไมค่ านึงถึงความเขม้ขน้ต ่าสุดของการผสม

    2. ก๊าซไมไ่วไฟและไม่เป็นพิษ (Non–Flammable, nontoxic gas) หมายถึง ก๊าซท่ีขณะขนส่ งมีความดนัไม่ น้อยกว่ า 280 กิโลปาสกาล ท่ีอุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียสหรืออยู่ ในสภาพของเหลวอุณหภูมิต ่า

    3. ก๊าซพิษ (Toxic Gas) หมายถึง ก๊าซท่ีมีคุณสมบติัเป็นท่ีทราบกนัทัว่ไปหรือได้ มีการสรุปว่าเป็นพิษหรือกดักร่อนหรือเป็นอนัตรายต่อสุขภาพ

    ประเภทที่ 3 ของเหลวไวไฟ (Flammable Liquids) หมายถึง ของเหลวหรือของเหลวผสมหรือของเหลวท่ีมีสารแขวนลอยผสม ท่ีมีจุดวาบไฟไม่เกิน 60.5 องศาเซลเซียส กรณีทดสอบดว้ยวิธีถว้ยปิด (Closed–cup test) หรือไมเ่กิน 65.6 องศาเซลเซียส กรณีทดสอบดว้ยวิธีถว้ยเปิด (Open–cup test) และให้รวมถึงของเหลวท่ีขณะขนส่ งถกูท าให้ มีอุณหภูมิเท่ ากบัหรือมากกว่ าจุดวาบไฟของของเหลวนั้นและสารหรือส่ิงของท่ีท าให้ มีอุณหภูมิจนเป็ นของเหลวขณะท าการขนส่ ง ซ่ึงเกิดไอระเหยไวไฟท่ีอุณหภูมิไม่มากกว่าอุณหภูมิสูงสุดท่ีใชใ้นการขนส่ง

    ประเภทที่ 4 ของแข็งไวไฟ (Flammable Solids) สารท่ีมีความเส่ียงต่ อการลุกไหม้ ได้เองและสารท่ีสมัผสักบัน ้ าแล้ วท าให้ เกิดก๊ าซไวไฟ (Flammable Solids, Substances liable to spontaneous combustion, Substances which in contact with water emit flammable gases) แยกเป็น 3 ประเภทย่ อย คือ ของแข็งไวไฟ (Flammable solid) หมายถึง ของแข็งท่ีระหว่ างท าการขนส่ งสามารถท่ีจะติดไฟได้ ง่าย หรืออาจท าให้ เกิดการลุกไหม้ ข้ึนได้ จากการเสียดสีสารหรือสารท่ี

  • เก่ียวข้องท่ีมีแนวโน้ มท่ีจะเกิดปฏิกิริยาคายความร้ อนท่ีรุนแรง และให้ รวมถึงวตัถุระเบิดท่ีถกูลดความไวต่อการระเบิดซ่ึงอาจจะระเบิดไดถ้า้หากไมท่ าใหเ้จือจางเพียงพอ

    สารท่ีมีความเส่ียงต่ อการลุกไหม้ ได้เอง (Substances liable to spontaneous combustion) หมายถึงสารท่ีมีแนวโนม้จะเกิดความร้อนข้ึนได้เองในสภาวะการขนส่ งตามปกติหรือเกิดความร้อนสูงข้ึนได ้เมื่อสมัผสักบัอากาศและมีแนวโนม้ท่ีจะลุกไหมไ้ด ้ สารท่ีสมัผสักบัน ้ าแล้ วท าให้ เกิดก๊าซไวไฟ (Substances which in contact with water emit flammable gases) หมายถึง สารท่ีท าปฏิกิริยากบัน ้ าแลว้มีแนวโนม้ท่ีจะเกิดการติดไฟไดเ้องหรือท าใหเ้กิดก๊าซไวไฟในปริมาณท่ีเป็นอนัตราย

    ประเภทที่ 5 สารออกซิไดส์ และสารเปอร์ออกไซด์อนิทรีย์ (Oxidizing Substances and Organic Peroxides) แยกเป็น 2 ประเภทย่อย คอื

    สารออกซิไดส์ (Oxidizing Substances) หมายถึง สารท่ีตวัของสารเองอาจไม่ ติดไฟ โดยทัว่ไปจะปล่อยออกซิเจนหรือเป็นเหตุหรือช่วยใหว้ตัถุอ่ืนเกิดการลุกไหม ้ สารอินทรีย์ เปอร์ ออกไซด์ (Organic peroxides) หมายถึง สารอินทรีย์ ท่ีมีโครงสร้ างออกซิเจน 2 อะตอม -O-O- และอาจถือได้ ว่าเป็นสารท่ีมีอนุพนัธุ์ ของ Hydrogen peroxide ซ่ึงอะตอมของ Hydrogen 1 หรือทั้ง 2 อะตอม ถกูแทนท่ีด้ วย Organic radicals สารน้ีไม่เสถียรความร้อนซ่ึงอาจเกิดปฏิกิริยาคายความร้อนและเร่งการแตกตวัดว้ยตวัเอง และอาจมีคุณสมบติัอยา่งใดอยา่งหน่ึงหรือหลายอยา่งดงัต่อไปน้ีร่วมดว้ย

    แนวโนม้ท่ีจะระเบิดสลายตวั เผาไหมอ้ยา่งรวดเร็ว ไวต่อการกระแทก หรือการเสียดสี ท าปฏิกิริยากบัสารอ่ืนก่อใหเ้กิดอนัตรายได ้ เป็นอนัตรายต่อตา

    ประเภทที่ 6 สารพษิและสารตดิเช้ือ (Poisonous Substances and Infectious Substances) แยกเป็น 2 ประเภทยอ่ย คือ

    1. สารพิษ (Toxic Substances) หมายถึง สารท่ีมีแนวโนม้จะท าใหเ้สียชีวิตหรือบาดเจ็บรุนแรงหรือเป็นอนัตรายต่อสุขภาพ หากกลืนหรือสูดดมหรือสมัผสัทางผวิหนงั

    2. สารติดเช้ือ (Infectious Substances) หมายถึง สารท่ีทราบว่าหรือคาดว่ามีเช้ือโรคปนอยู่ดว้ย เช้ือโรค คือจุลินทรีย ์(ซ่ึงรวมถึง แบคทีเรีย ไวรัส Rickettsia พยาธิ เช้ือรา ) หรือจุลินทรียท่ี์เกิดข้ึนใหม่หรือเกิดจากการเปล่ียนแปลงทางพนัธุกรรม ซ่ึงรู้กนัโดยทัว่ไปหรือมีข้ อสรุปท่ีเช่ือถือไดว้า่เป็นเหตุใหเ้กิดโรคต่อมนุษยห์รือสตัว ์

  • ประเภทที่ 7 วสัดุกมัมนัตรังสี (Radioactive Materials) หมายถึง วสัดุท่ีสามารถแผ่ รังสีท่ีมองไม่เห็น ซ่ึงเป็นอนัตรายต่อร่างกาย การพิจารณาความเป็นอนัตรายใหเ้ป็นไปตามมาตรฐานแล ะขอ้ก าหนดต่ าง ๆ ด้ านการขนส่ งสารกมัมนัตรังสีของทบวงการพฒันาปรมาณูระหว่ างประเทศ (International Atomic Energy Agency หรือ IAEA)

    ประเภทที่ 8 สารกดักร่ อน (Corrosive Substances) หมายถึง สารซ่ึงโดยปฏิกิริย าเคมีจะก่อให้ เกิดความเสียหายต่ อเน้ือเยือ่ของส่ิ งมีชีวิตอย่ างรุนแรง หรือกรณีของการร่ัวจะเกิดความเสียหาย หรือท าลายส่ิงของอ่ืน หรือยานพาหนะท่ีใชใ้นการขนส่ง หรือเกิดอนัตรายอ่ืนไดด้ว้ย

    ประเภทที่ 9 วตัถุอนัตรายเบ็ดเตลด็ (Miscellaneous Products or Substances) หมายถึง สารและส่ิงของท่ีในขณะขนส่งมีความเป็นอนัตราย ซ่ึงไม่จดัอยูใ่นประเภทท่ี 1 ถึง ประเภทท่ี 8 และใหร้วมถึงสารท่ีในระหว่างท าการขนส่งหรือระบุว่าในการขนส่งตอ้งควบคุมใหม้ีอุณหภูมิไม่ต ่ากว่า 100 องศาเซลเซียส ในสภาพของเหลวหรือมีอุณหภูมิไม่ ต ่ากว่ า 240 องศาเซลเซียส ในสภาพของแข็ง

    การตดิเคร่ืองหมาย ฉลาก และป้าย

    บนบรรจุภณัฑ์ และรถขนส่ งวตัถุอนัตรายจะต้ องมีข้ อมลูแสดงความเป็ นอนัตรายและ

    ประเภทหรือประเภทยอ่ยของวตัถุอนัตรายเหล่ านั้นให้ชดัเจน โดยใช้ สญัลกัษณ์ภาพ สีและตวัเลข

    ซ่ึงประกอบกนัเป็ นเคร่ืองหมาย ฉลากและป้ ายบ่งช้ีประเภทของวตัถุอนัตรายตามฉลากบ่ งช้ีวตัถุ

    อนัตรายตามตารางท่ีก าหนด

  • รูปภาพที่ 4.19 ตารางฉลากบ่งช้ีประเภทวตัถุอนัตรายทั้ง 9 ประเภท

    ประเภท บรรยายภาพสัญลักษณ์

    1. วัตถุระเบิด

    ประเภทยอ่ย 1.1, 1.2 และ 1.3 ประเภทยอ่ย 1.4 , 1.5 และ 1.6

    สัญลกัษณ์ (ระเบิดที่ ก าลงัแตก ) พื้น: สีส้ม หมายเลข1มุมขา้งล่าง พื้น: สีส้ม หมายเลขสีด าตวัเลขตอ้งสูง ประมาณ 30 ม.. หนา ประมาณ 5 ม.ม. หมายเลข 1มุมขา้งล่าง พื้น: สีส้ม หมายเลขสีด าตวัเลขตอ้งสูง ประมาณ 30 ม. หนา ประมาณ 5 ม.ม. หมายเลข 1 มุมขา้งล่าง

    2. ก๊าซ

    ประเภทยอ่ย 2.1

    ประเภทยอ่ย 2.2

    ประเภทยอ่ย 2.3

    สัญลกัษณ์ (เปลวไฟ) สีด าหรือสีขาว พื้น: สีแดง หมายเลข 2 มุมขา้งล่าง สัญลกัษณ์ (หลอดก๊าซ): สีด าหรือสีขาว พื้น: สีเขียว หมายเลข 2 มุมขา้งล่าง สัญลกัษณ์(หวักะโหลก และกระดูกไขว)้ สีด า พื้น: สีขาว หมายเลข 2 มุมขา้งล่าง

  • ประเภท บรรยายภาพสัญลักษณ์

    3.ของเหลวไวไฟ

    ประเภท 3

    สัญลกัษณ์ (เปลวไฟ): สีด าหรือสีขาว พ้ืน: สีแดง หมายเลข 3 มุมขา้งล่าง

    4. ของแข็งไวไฟ

    ประเภทย่อย 4.1

    ประเภทย่อย 4.2

    ประเภทย่อย 4.3

    สัญลกัษณ์ (เปลวไฟ): สีด า พ้ืน: สีขาวสลบัลายทางยาว แนวตั้ง 7 แถบ หมายเลข 4 มุมขา้งล่าง สัญลกัษณ์ (เปลวไฟ): สีด า พ้ื น: ค ร่ึ งบน สี ข า ว คร่ึงล่างสีแดง หมายเลข 4 มุมขา้งล่าง สัญลกัษณ์ (เปลวไฟ): สีด าหรือสีขาว พ้ืน: สีน ้าเงิน หมายเลข 4 มุมขา้งล่าง

    5. สารออกซิไดส์และ สารเปอร์ออกไซด์ อินทรีย

    ประเภทย่อย 5.1 ประเภทย่อย 5.2

    สัญลกัษณ์ (เปลวไฟเหนือ วงกลม):สีด า พ้ืน: สีเหลือง หมายเลข 5.1 มุมขา้งล่าง หมายเลข5.2มุมขา้งล่าง

  • ประเภท บรรยายภาพสัญลักษณ์

    6. ส า รพิษ แ ล ะ สารติดเช้ือ

    ประเภทย่อย 6.1

    ประเภทย่อย 6.1

    สัญลกัษณ์ (หวักะโหลก และกระดูกไขว)้: สีด า พ้ืน: สีขาว หมายเลข 6 มุมขา้งล่าง

    สัญลกัษณ์ (รูปจนัทร์ เส้ียว 3 อนั วางบน วงกลม) เขียนขอ้ความ เป็นสีด า พ้ืน: สีขาว หมายเลข 6 มุมขา้งล่าง

    7.วัสดุกัมมันตรังส

    ประเภท 7

    สัญลกัษณ์ (ใบพดั สามใบ): สีด า พ้ื น: ค ร่ึ งบนสีเหลื อ ง คร่ึงล่างสีขาว หมายเลข 7 มุมขา้งล่าง

    8. สารกัดกร่อน

    ประเภท 8

    สัญลกัษณ์ (ของเหลว หยดจากหลอดแกว้ 2 หลอดและก าลงักดัมือ และโลหะ): สีด า พ้ืน:คร่ึงล่างสีด าขอบขาว หมายเลข 8 มุมขา้งล่าง

    9. วัตถุอันตราย เบ็ดเตล็ด

    ประเภท 9

    สัญลกัษณ์ (แถบแนว ตั้ง 7 แถบในคร่ึงบน): สีด า พ้ืน: สีขาว หมายเลข 9 มุมขา้งล่าง

  • การตดิฉลากบรรจุภัณฑ์ (Labeling)

    การติดฉลากบนบรรจุภณัฑ ์(Labeling) แสดงความเส่ียงหลกั(Primary risk label) (คอลมัน์ท่ี 3 ในตารางบญัชีรายช่ือสินคา้อนัตราย)และ/หรือฉลากแสดงความเส่ียงรอง (Secondary risk หรือ Subsidiary risk labels) (คอลมัน์ท่ี 4 ในตารางบญัชีรายช่ือสินคา้อนัตราย) ท่ีแสดงความเป็นอนัตรายของวตัถุท่ีบรรจุ ฉลากจะตอ้งเป็นรูปส่ีเหล่ียมจตุัรัสท่ีท ามุม 45 องศามีขนาดด้ านละ 100 มิลลิเมตร มีเสน้ขนาด 5 มิลลิเมตร สีเดียวกบัสญัลกัษณ์ในฉลากขนานกบักรอบฉลากการติดฉลากให้ ติดใกล้กบับริเวณ ท่ีติดช่ือวตัถุอนัตรายท่ีขนส่ งโดยไม่ ติดทบัข้อมลูอ่ืนๆ และต้ องเห็นได้ ชดัเจน ส าหรับบรรจุภณัฑ์ แบบ IBCs ท่ีมีความจุมากกว่ า 450 ลิตร จะต้องติดฉลาก 2 ดา้นท่ีตรงข้ ามกนั การติดฉลากความเส่ียงหลกัและฉลากความเส่ียงรองให้ติดไวใ้นแนวเดียวกนั โดยเร่ิมจากฉลากความเส่ียงหลกัก่อน (อยูด่า้นซา้ยมือ) แลว้ต่อดว้ยฉลากความเส่ียงรอง (อยู่ดา้นขวามือ) ซ่ึงการติดฉลากหน่ึง สอง หรือสามอนั มีความหมายดงัน้ี

    ถา้ติดฉลากอนัเดียว หมายความว่ า วตัถุอนัตรายท่ีบรรจุภณัฑ์ นั้นมีอนัตรายเพียงประเภทเดียว ตามความหมายของสญัลกัษณ์ วตัถุอนัตรายท่ีปรากฏบนฉลากนั้นๆ เช่นแสดงว่าวตัถุอนัตรายในบรรจุภณัฑน์ั้น มีอนัตรายเพียงประเภทเดียว คือ ของเหลวไวไฟ

    รูปภาพท่ี 4.20 ถา้ติดฉลากอนัเดียว

    ติดฉลากสองอนั หมาย ความวา่ วตัถุอนัตรายในบรรจุภณัฑน์ั้นมีอนัตรายสองประเภท ตามสญัลกัษณ์ เช่น แสดงว่าวตัถุอนัตรายในบรรจุภณัฑน์ั้นมี อนัตรายสอง ประเภทคือสารพิษและของเหลวไวไฟ

    รูปภาพท่ี 4.21 ติดฉลากสองอนั

  • ติดฉลากสามอนั หมายความว่า วตัถุอนัตรายในบรรจุภณัฑน์ั้นมีอนัตรายสามประเภทตา มสญัลกัษณ์ เช่น แสดงว่ าวตัถุอนัตรายในบรรจุภณัฑ์ นั้นมีอนัตรายสามประเภท คือเป็ นสารพิษ ของเหลวไวไฟและสารกดักร่อน

    รูปภาพท่ี 4.22 ติดฉลากสามอนั

    ต าแหน่งที่ตดิฉลาก

    1. ติดบนผวิเดียวกบัหีบห่อใกลเ้คร่ืองหมายแสดงช่ือท่ีถกูตอ้งในการขนส่ง 2. ติดบนหีบห่อในท่ีท่ีไมถ่กูปกปิดหรือปิดบงั 3. เมื่อมีการบงัคบัใชฉ้ลากความเส่ียงหลกัและความเส่ียงรองตอ้งติดไวใ้กลก้นั 4. กรณีท่ีหีบห่อเป็นรูปทรงท่ีไมเ่ป็นระเบียบหรือขนาดเลก็ไม่สามารถติดฉลากได้ ให้ใช้ป้าย

    ท่ีมีฉลากติดอยูผ่กูติดกบัหีบห่อใหแ้น่น 5. ถา้เป็นถุง IBCs ท่ีมีความจุมากกว่า 450 ลิตร ใหติ้ดฉลากทั้ง 2 ดา้นท่ีอยูต่รงขา้มกนั 6. ฉลากตอ้งติดบนผวิท่ีมีสีท่ีตดักบัฉลาก

    รูปภาพท่ี 4.23 ตวัอยา่งป้ายส าหรับวตัถุอนัตราย

  • 4. Diplomatic Pouch เอกสารการฑูต

    ถุงเมลท์างการทูตท่ีบรรจุหนงัสือโตต้อบทางราชการระหว่างกระทรวงการต่างประเทศของ

    รัฐบาล กบัสถานเอกอคัรราชทูตต่าง ๆ ใน ต่างประเทศ ถุงเมลท์ูตจะถกูปิดประทบัตราของทาง

    ราชการ และผูใ้ดจะล่วงละเมิดมิได ้แมแ้ต่เจา้หนา้ ท่ีศุลกากรก็ขอตรวจไม่ได ้คือไดรั้บการละเวน้

    จากการแทรกแซงใด ๆ ทั้งส้ินเร่ืองถุงเมลท์างการทูตน้ี อนุสญัญากรุงเวียนนาว่าดว้ยความสมัพนัธ์

    ทางการทูตไดบ้ญัญติัไวใ้นขอ้ 27 ดงัน้ี

    1. ในรัฐผูรั้บจะอนุญาตและคุม้ครองการส่ือสารโดยเสรีในส่วนของคณะผูแ้ทน เพื่อ

    ความมุ่งประสงคท์ั้งมวลในการติดต่อกบัคณะรัฐบาลและกบัคณะผูแ้ทน และสถานกงสุลอ่ืนของรัฐ

    ผูส่้งไม่ว่าตั้งอยูท่ี่ใด คณะผูแ้ทนอาจใชว้ิถีทางเหมาะสมทั้งมวลได ้รวมทั้งผูส่ื้อสารทางการทูต และ

    สารเป็นรหสัหรือประมวล อยา่งไรก็ดี คณะผูแ้ทนอาจติดตั้งและใชเ้คร่ืองส่งวิทยไุดด้ว้ยความ

    ยนิยอมของรัฐผูรั้บเท่านั้น

    2. หนงัสือโตต้อบทางการทูตของคณะผูแ้ทนจะถกูละเมิดมิได ้หนงัสือโตต้อบ

    ทางการทูตหมายถึง หนงัสือโตต้อบทั้งมวลท่ีเก่ียวกบัคณะผูแ้ทนและภารกิจหนา้ท่ีของคณะผูแ้ทน

    3. ถุงเมลท์างการทูตจะไม่ถกูเปิดหรือถกูกกัไว ้

    4. หีบห่อซ่ึงรวมเป็นถุงทางการทูตจะตอ้งมีเค ร่ืองหมายติดไวภ้ายนอกท่ีเห็นชดัเจน

    แสดงลกัษณะของถุงทางการทูตและอาจบรรจุเอกสารหรือส่ิงของทางการทูต ซ่ึงไดเ้จตนาเพ่ือใชใ้น

    ทางการเท่านั้น

    5. ผูถื้อสารทางการทูต (Diplomatic courier) จะไดรั้บเอกสารทางการ แสดง

    สถานภาพของตนและจ านวนหีบห่อ ซ่ึงรวมเป็นถุงทางทูตนั้น ให้ ไดรั้บความคุม้ครองจากรัฐผูรั้บ

    ในการปฏิบติัการตามหนา้ท่ีของตน ใหผู้ถื้อสารทางการทูตไดอุ้ปโภคความละเมิดมิได ้และจะตอ้ง

    ไม่ถกูจบักุมหรือกกัในรูปใด

    6. รัฐผูส่้งหรือคณะผูแ้ทนอาจแต่งตั้งผูถื้อสารทางการทูตเฉพาะกรณีไดใ้นกรณีท่ีว่าน้ี

    ใหน้ าบทแห่งวรรค 5 ของขอ้น้ีมาใชด้้ วย เวน้แต่ว่าคว�