aware newsletter

12
INTERNAL NEWSLETTER | JUNE 2012 . . . ....................................................................................................... ....................................................................................................... www. aware .co.th “People think focus means saying yes to the thing you’ve got to focus on. But that’s not what it means at all. It means saying no to the hundred other good ideas that there are. You have to pick carefully.” คนส่วนใหญ่คิดว่าความตั้งใจหมายถึงการพูดว่า ใช่ ในสิ่งที่คุณสนใจ แต่มันไม่ใช่เลย มันหมายถึงการปฏิเสธไอเดียดีๆอื่นอีกหลายร้อยแบบที่มี คุณจะต้องเลือกทำอย่างระมัดระวัง English Corner by TCoE [ P04 ]

Upload: narin-srikhamlure

Post on 17-Mar-2016

219 views

Category:

Documents


2 download

DESCRIPTION

Aware Newsletter

TRANSCRIPT

INTERNAL NEWSLETTER | JUNE 2012

.

.

.

. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

ww

w.a

war

e.co

.th

“People think focus means saying yes to the thing you’ve got to focus on. But that’s not what it means at all. It means saying no to the hundred other good ideas that

there are. You have to pick carefully.”

คนส่วนใหญ่คิดว่าความตั้งใจหมายถึงการพูดว่า ใช่ ในสิ่งที่คุณสนใจ แต่มันไม่ใช่เลย มันหมายถึงการปฏิเสธไอเดียดีๆอ่ืนอีกหลายร้อยแบบที่มี คุณจะต้องเลือกทำอย่างระมัดระวัง

English Corner by TCoE [P04]

INTERNAL NEWSLETTER | JUNE 2012

วิถีเซน by Mr.YES i DO 01เงินๆทองๆ by เฮียเอ็กซ 03English Corner by TCoE 04Look Live Love by Muay 06The Aware by Mr.ปปปน 07Talon Tour-Talon Chim by ตาลกอน 09

Editor’s Talk สวัสดีคะชาวอะแวรทุกคน คงจะประหลาดใจวา ทำไม Aware Newsletter ฉบับเดือนมิถุนายนมากอนกำหนด ซึ่งปกติจะไดรับตอนสิ้นเดือน (พรอมกับวันเงินเดือนออก) เรามีการเปลี่ยนแปลงใหมคะ เริ่มต้ังแตการเปลี่ยนเวลาการออก Aware Newsletter จากสิ้นเดือนเปนกลางเดือน ปรับปรุงโฉมใหนาอานนอกจากนั้นก็มีคอลัมนใหมๆ จากนักเขียนสมัครเลน หลายราย เพื่อเปนการเพิ่มสีสัน ความทันสมัยและความสด เราตองการใหหลายๆคนมีสวนรวมกับ Aware Newsletter เพื่อทราบขาวคราวความเคล่ือนไหว ตลอดจนเปนสื่อกลางของชาวอะแวรดวยกัน

สามารถติชมและใหกำลังใจกับนองๆ ทีมงานที่เปนสวนหนึ่งของ Aware Newsletter กันไดนะคะ ชอบหรือไมชอบอยางไร หรือ ตองการใหเพิ่มเติมสาระความรูแบบใหมก็สามารถสงอีเมลมาแจงไดที่ [email protected] ลองติดตามเน้ือหาของ Aware Newsletter ฉบับปรับปรุงไดเลยคะ

ขอใหทุกคนมีความสุขกายและสุขใจพี่ตอม

. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

Contents

INTERNAL NEWSLETTER | JUNE 2012

. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ... . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

สวัสดีครับพี่นองชาว Aware กอนอ่ืน ขอแนะนำตัวเอง

กอนผม Mr.YES i DO กับคอลัมนแรกที่ขอมาแอบแทรกพื้นที่ของ

Mr.ปปปน แหงคอลัมน Technology & Gadgets เนื่องจากเห็น

วาเนื ้อหาที ่จะนำเสนอนั ้นนาสนใจและนาจะเปนแรงบันดาลใจ

หรือเปนแนวคิดในชีวิตการทำงานของพี่นองชาว Aware ไดครับ

ผมคิดวา ณ ปจจุบันนอยคนนักท่ีจะไมมีใครไมรูจัก iPhone, iPad,

iPod หรือรวมไปถึง Mac Book ภายใตบริษัท Apple

แตจะมีใครรูหรือไมวา แกนแทแนวคิดนั้นมีจุดเริ่มตนมาจากที่ใด

จอบสสามารถคิดไดอยางไร วันนี้เรามาหาคำตอบกันครับ

แมสตีฟ จอบสจะจากโลกนี้ไปแลว เมื่อเชาวันที่ 5 ตุลาคม

2554 ดวยวัยเพียง 56 ป สตีฟ จอบสผูชายท่ี คนยุคปจจุบันได

บันทึกชื่อเขาไวใน ทำเนียบเดียวกับ โทมัส แอลาเอดิสัน, เฮนรี่ ฟอรด

หรือ แมกระท่ัง ลีโอนารโด ดาวินซี และแนนอนวา พนักงาน กวา

12,000 ในบริษัทแอปเปล สตีฟ จอบสจะ เปนอะไรไมไดนอกจาก

"พระเจา" ของเขา

จากประวัติของสตีฟ จอบส เขาเคยออกเดินทางเพ่ือตามหา

จุดมุงหมายทางจิตวิญญาณอยางจริงจัง ถึง 2 ครั้ง ครั้งแรกหลังจาก

ออกจากมหาวิทยาลัย ไดเดินทางไปอินเดีย และทดลองใชชีวิตแบบ

นักบวชที่นั่น สวนคร้ังที่สอง ก็คือหลังจากโดนบีบใหออกจาก

บริษัทแอปเปล สตีฟไดเดินทางไปศึกษาพุทธศาสนา นิกายเซน

ที่ญี่ปุน และเกือบจะตัดสินใจบวช ถาไมติดวา เขารักงานที่ทำมาก

กวาการบวช

สตีฟ จอบส ผูซึ่งนิตยสารไทม ไดสรุปไววาชั่วชีวิตของ สตีฟ

จอบสนัน เขาไดปฎิวัติเปล่ียนแปลง วงการอุตสาหกรรมถึง 6 อยาง

ดวยกัน ไดแก คอมพิวเตอรสวนบุคคล (Mac), ภาพยนตร แอนิเมชัน

(Pixar), ดนตรี (iPod + iTunes), โทรศัพท (iPhone),

คอมพิวเตอรแทบเล็ต (iPad), และการพิมพระบบดิจิทัล

แนนอน สตีฟ จอบส ทำใหบริษัทแอปเปล เปนผูนำ

นวัตกรรม นำหนาคูแขงไดนั้น สวนหนึ่ง ก็เพราะ เขาใช วิธีคิด

อาหารส่วนใหญ่ที่เรากิน เราไม่ได้ผลิตด้วยตัวเอง

เราสวมใส่เส้ือผ้าท่ีคนอ่ืนผลิต เราพูดภาษาท่ีคนอื่นพัฒนาขึ้น เราใช้คณิตศาสตร์ที่คนอื่นค่อยๆ

ปรับปรุงมาเร่ือยๆ เราเป็นฝ่ายรับอยู่ตลอดเวลา ฉะน้ันคงน่าปลาบปล้ืมอย่างย่ิงถ้าเราสามารถสร้างสรรค์

บางส่ิงบางอย่าง ที่เป็นประโยชน์ต่อมวลมนุษยชาติ

“”วิถี Zen กับ Steve Jobs

by Mr.YES i DO

01

. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

INTERNAL NEWSLETTER | JUNE 2012

. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

แบบเซน มาประยุกตใช ดังนั้นเรามาเรียนรูวิถีของเซน ที่สตีฟ จอบส

นำความคิดแบบพุทธศาสนา นิกายเซนของเขามาปรับใช ซึ่งสะทอน

ใหเห็นอยูในผลิตภัณฑของแอปเปลไดอยางนาสนใจกันดีกวา

จิตท่ีตื่นรู

เซน ใหความสำคัญกับการมองเห็นสิ่งตางๆ ตามความเปน

จริง ซึ่งสิ่งน้ีทำให สตีฟ จอบส มองเห็นความเปนไปไดกอนที่

จะเห็นขอจำกัด ในสวนของวิธีบริการงานนั้น แมวาสตีฟ

จอบสจะเปน CEO ที่เผด็จการ แตเขาไมมีอคติ ลูกนองที่เขาเคยดา

อาจจะเปนลูกรักในวันรุงข้ึนก็ได เขาไมรังเกียจการโตแยง

และสามารถเปลี่ยน ความคิดไดหากอีกฝายมีเหตุผลที่ดีกวาจริง ๆ

นอยแตมาก

วิถีชีวิตของเซนเปนวิถีชีวิตที่ตองการความสำรวมอยางยิ่ง

สำรวมของเซนไมไดหมายถึง พอดี เทานั้น แตยังหมายถงึ

ยิ่งนอยยิ่งดี เพราะคำวา พอดีของแตละคนไมเทากัน แตสตีฟ

เชื่อวายิ่งนอยเทาไหร ยิ่งเรียบงายเทาไหร ยิ่งดีตอชีวิตเทานั้น

เขาจึงยืนกรานที่จะใหไอโฟนมีเพียงปุมเดียว (ปุม Home) ตางจาก

โทรศัพทมือถือทั่วไปในทองตลาด ซึ่งแมวาจะทำไดยาก แตในที่สุด

แอปเปลก็สามารถพัฒนาโทรศัพทมือถือแบบ Touch Screen

ซึ่งใครๆ ก็ทำตามในท่ีสุด

ไมแบงแยก

เซน ใหคุณคากับสิ่งตางๆ ไมวาจะเปนตนไมใบหญา ภูเขา

ลำธารเสมอกันกับตัวเอง ไมมีการแบงแยก เขาไมไดสรางผลิตภัณฑ

ขึ้นเพียงรับใชมนุษยเทาน้ัน แตเขามองวา ผลิตภัณฑของเขาเปน

สิ่งที่สำคัญและสามารถเปลี่ยนแปลงโลกได และเขาก็พยายามทำให

คนมองเห็นความเชื่องโยงน้ัน

นอกจากนี้ ถาเราเดินไปในรานแอปเปลสโตรในนิวยอรก

เราจะเห็น พนักงานหลากหลายเชื้อชาติ และมีพนักงานท่ีเปนคน

พิการดวย ในแงหนึ่ง เขาอาจจะตองการรับ พนักงานหลายๆ แบบ

เพื่อใหบริการลูกคาไดตรงใจ หรือเปนไปไดวา สตีฟ เห็นวาทุกคนมี

ความสำคัญ และมนุษยเราตองพ่ึงพาอาศัยกัน จะวาไปแลว

แอปเปลเปนบริษัทเพียงไมกี่แหงที่พนักงานมีความรูสึก วาไดรับการ

ดูแลอยางแทจริง และตระหนักวาความสำเร็จของบริษัท คือความ

สำเร็จของพนักงานทุกคน (อานบทความ พนักงานเพียง 3% คิดวา

Steve Jobs ทำงานไมดีพอ)

ทำหนาท่ี

เซน เชื่อวาการทำหนาที่คือเสนทางแหงการบรรลุธรรม

ของมนุษย สวนทำแลวจะบรรลุธรรมหรือไม เซนไมไดใหความสนใจ

มากนัก ซึ่งดูเหมือนวาชีวิตของสตีฟก็ดำเนินตามนั้น เขาเพียงแต

ทำหนาที่ของตนใหดีที่สุด และอยากใหคนอื่นทำหนาท่ีของตนเอง

ใหดีเชนกัน ซึ่งคนท่ัวไปอาจมองวาเขายอหยอนเรื่องการทำกุศล

ไปบาง (สตีฟ จอบสไมทำงานการกุศล และสั่งยกเลิกทุกโครงการ

ที่แอปเปลทำเพื่อการกุศลต้ังแตป 1997) แตเราคงปฎิเสธไมไดวา

สตีฟ จอบสเปนตัวอยางของนักสู ที่เปนผูชนะโดยพึ่งพาตนเองอยาง

แทจริง

“อาหารสวนใหญที่เรากิน เราไมไดผลิตดวยตัวเอง เราสวมใสเส้ือผาที่คนอื่นผลิต เราพูดภาษาที่คนอื่นพัฒนาขึ้น

เราใชคณิตศาสตรที่คนอื่นคอยๆ ปรับปรุงมาเรื่อยๆ เราเปนฝายรับอยูตลอดเวลา ฉะนั้นคงนาปลาบปลื้มอยางยิ่ง

ถาเราสามารถสรางสรรคบางส่ิงบางอยาง ที่เปนประโยชนตอมวลมนุษยชาติ”

เมื่อรูอยางนี้แลว ถึงเวลาแลวที่เราจะดูเขาเปนแบบอยาง

และเก็บเกี่ยวความคิดดีๆ ของเขา ไมใชแคเปนเพียง เจาของสิ่งที่เขา

สรางขึ้นมาเทานั้น สตีฟทำหนาที่ของเขาอยางดีที่สุด และมอบ

เครื่องมือที่ไมมีใครเคยสรางไวใหกับมนุษยชาติ สวนมรดกของเขา

จะถูกใชไปในทางไหนไมใชหนาที่ของ สตีฟ อีกตอไป เพราะโลกอยู

ในมือของคนทียังมีชีวิตอยูเทานั้น

สิ่งที่เขา สตีฟ จอบส ไดทำไวใหกับโลกใบน้ี จะนานอีกกี่ป… ก็ไมมี

วันตาย

ที่มา : นิตยสาร Secret ฉบับที่ 81 10 พ.ย. 54, รูปจาก Eric Drawที่มา : http://www.iphoneapptube.com

02

INTERNAL NEWSLETTER | JUNE 2012

. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ... . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

by àÎÕÂàÍ ็¡«�à§Ô¹æ·Í§æ มีเพื่อนท่ีอานคอลัมนสงสัยเรื่องเวลาเคลมประกันและผูรับผลประโยชน ฯลฯ วันน้ีเฮียหาคำ

ตอบมาใหครับ

Q: ถาถูกฆาตกรรมจะไดเงินไหม?

A: บริษัทประกันชีวิตไมอาจจายเงินตามกรมธรรมประกันชีวิตไดในกรณีดังตอไปน้ี

(1) ผูเอาประกันภัยฆาตัวตายภายใน 1 ป นับจากวันทำสัญญาประกันชีวิต

(2) ผูเอาประกันภัยถูกผูรับประโยชนฆาตายโดยเจตนา

(3) มีการเรียกรองเงินตามกรมธรรมประกันชีวิตโดยทุจริต

ตัวอยางเชน นายสมบัติทำประกันชีวติดวยจำนวนเงินเอาประกันภัย 1,000,000 บาท

ชำระเบี้ยประกันภัยรายป ปละ 50,000 บาท เมื่อเวลาผานไป 3 ป นายสมบัติถูกกิ๊กสาวสวย

(ผูรับประโยชน) ฆาตายเพื่อหวังเงินเอาประกันภัย กรณีเชนน้ีหากสืบทราบได บริษัทประกันชีวิตจะไม

จายจำนวนเงินเอาประกันภัย 1,000,000 บาท ใหแตจะคืนเบี้ยประกันชีวิตท่ีชำระมาแลว 3 ป เปนเงิน

150,000 บาท ใหเทานั้น

Q: ผูรับผลประโยชนใสใหกิ๊กหรือแฟนท่ีไมไดจดทะเบยีนไดไหม

A: คำตอบคือได แตตองไดรับพิจารณาจากบริษัทประกันกอน โดยปกติแลวบุคคลท่ีสามารถ

ใสเปนผูรับผลประโยชนไดเลยไมตองรอ Approve คือ เปนบิดา มารดา (ผูใหกำเนิด) สามี หรือภรรยา

ที่ถูกตองตามกฎหมาย บุตร หรือพ่ีนอง รวมสายโลหิตเดียวกับผูเอาประกัน

Q: ถาทำประกันใวใหภรรยา แลวภรรยาถือกรมธรรมนั้น ตอนหลังขอเปล่ียนไปใสชื่อกิ๊กแทน

ไดไหม

A: อิอิ ออยเขาปากชางแลว อาจจะอดนะครับ ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 891

วรรคหน่ึง กำหนดไววา “แมในกรณีที่ผูเอาประกันภัยมิไดเปนผูรับผลประโยชนเองก็ดี ผูเอาประกันภัย

ยอมมีสิทธิ์ที่จะโอนประโยชนแหงสัญญานั้นใหแกบุคคลอีกคนหน่ึงได เวนแตจะไดสงมอบกรมธรรม

ประกันภัยใหแกผูรับประโยชนไปแลว และผูรับประโยชนไดบอกกลาวเปนหนังสือไปยังผูรับประกัน

ภัยแลว วา ตนจำนงจะถือเอาประโยชนแหงสัญญานั้น” นั่นหมายความวาถาทำแลวใหภรรยารับ

ผลประโยชน แลวยกกรมธรรมใหภรรยา ภรรยาแจงบริษัทวาขอยึดถือสัญญานี้เปะ ตอนหลังสามีจะขอ

แกใสผลประโยชนใหกิ๊กแทน อันน้ีไมไดครับ

Q: ทำประกันไวลานนึง ถาตายเจาหนี้จะรุมจนไมเหลืออะไรใหคนขางหลังไหม

A: คำตอบคือ เจาหนี้จะมาจัดการไดเฉพาะเบี้ยประกันท่ีเคยจายไปเทานั้นครับ ผลประโยชนที่

ไดเจาหนี้ไมมีสิทธิ์ ตัวอยางเชน ทำประกันชีวิตไว 1 ลานบาท กำหนดใหภรรยารับประโยชน

เมื่อทำไปไดสามป ชำระเบี้ยสามคร้ัง รวมเปนเงิน 60,000 บาท แลวบายบายโลกน้ีไป

บริษัทประกันจายเงินใหภรรยา 1 ลานบาท พอเจาหนี้รูก็หลั่งไหลหวังจะมาเอาเงินจำนวนน้ีใชหนี้

ตามกฎหมายบอกวาเจาหนี้เอาไปแคเบี้ยที่ชำระแลวคือ 60,000 บาท มีกี่คนก็แบงกันไป เกินกวานี้ อด.

เพื่อความปลอดภัย จะตองระบุชื่อผูรับผลประโยชนใหเรียบรอย ถาไมระบุชื่อผูรับประโยชนในกรมธรรม

เงินก็ตกเปนของกองมรดก เจาหนี้สามารถเรียกชำระหน้ีไดเต็ม 1 ลานบาทนะครับ

อางอิง:

http://www.tlaa.org/articles/lifeinsurance.htm

http://insurancelifeinfo.wordpress.com/2008/05/22/thai-insurance-law-01/

ตอน: เคลมประกัน

03

. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

INTERNAL NEWSLETTER | JUNE 2012

. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

สวัสดีครับ วันท่ี 6 ตุลาคม 2011 ถือเปนอีกวันที่นาเสียดายท่ีเราเสียหนึ่งใน นักประดิษฐและผูนำทางความคิดที่เปลี่ยนแปลงการ ใชชีวิตดวยเทคโนโลยีไปตลอดกาล ใชครับ Steve Jobs ผูกอตั้งบริษัท Apple นั่นเอง ผมเองก็เปนหนึ่งในแฟนผูใชสินคา และ นำวิธีการคิด หรือ เทคนิคการพรีเซนทตางๆมาใชหลายอยางเหมือนกัน Steve Jobs เปนคนมหัศจรรยที่ผานอุปสรรคมากมายครับ เพราะนอยคนมาก ในโลกน้ีที่โดนไลออกจากบริษทัที่ตัวเองตั้งข้ึน รวมถึงเปนมะเร็ง แลวจะลุกขึ้นมาสรางส่ิงที่ยิ่งใหญไดเหมือนกับเขา วันนี้มีผูคนมากมายพูดถึงเขา ผมเองก็ขอรวมเปนหนึ่งในนั้น ซึ่งโชคดีไดไปอานเจอบทความท่ีนาสนใจ เลยเอามาแปลใหทุกๆคน อานกันเกี่ยวกับคำคม คำพูด และวลีเด็ดๆของ Steve Jobs ที่นาสนใจครับ หนึ่งในคำพูดที่ยังคงติดตราตรึงใจคนมากมาย ก็คือ

“Stay Hungry, Stay Foolish” จงกระหาย และ ทำตัวโงใหตลอดเวลา

เพราะถาเมื่อไหรเราอิ่ม และ เรารูสึกวาตัวเองฉลาด เราจะไมมีทางพัฒนา

“Sometimes when you innovate, you make mistakes. It is best to admit them quickly, and get on with improving your other innovations.”

ในบางคร้ังเมื่อคุณสรางนวัตกรรมคุณก็สรางสิ่งที่ผิดพลาด สิ่งที่ดีที่สุดคือคุณยอมรับความผิดพลาดนั้นอยางรวดเร็ว และ พัฒนามันในนวัตกรรมอ่ืนๆของคุณ

“My job is to not be easy on people. My job is to make them better.”หนาที่ของผมไมใชการทำตัวดีกับผูคน หนาท่ีของผมคือชวยใหพวกเขาดีขึ้น

CORNER by TCoE

๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏

๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏

04

“People think focus means saying yes to the thing you’ve got to focus on. But that’s not what it means at all. It means saying no to the hundred other good ideas that there are. You have to pick carefully.”

คนสวนใหญคิดวาความต้ังใจหมายถึงการพูดวา ใช ในส่ิงท่ีคุณสนใจ แตมันไมใชเลย มันหมายถึงการปฏิเสธไอเดียดีๆอ่ืนอีกหลายรอยแบบที่มี คุณจะตองเลือกทำอยางระมัดระวัง

“Simple can be harder than complex: You have to work hard to get your thinking clean to make it simple. But it’s worth it in the end because once you get there, you can move mountains.”

ความงายจริงๆแลวยากกวาความซับซอนเพราะคุณจะตองทำงานหนักเพื่อใหคุณคิดวาจะทำอยางไรใหมันงาย แตสุดทายมันสุดแสนคุมคาที่จะทำ เพราะคุณจะสามารถเคล่ือนภูเขาไดงายดาย

“Your work is going to fill a large part of your life, and the only way to be truly satisfied is to do what you believe is great work. And the only way to do great work is to love what you do. If you haven’t found it yet, keep looking. Don’t settle. As with all matters of the heart, you’ll know when you find it. And, like any great relationship, it just gets better

and better as the years roll on. So keep looking until you find it. Don’t settle.”งานของคุณคือการเติมเต็มในส่ิงท่ีสำคัญในชีวิตคุณ และทางเดียวท่ีจะพอใจไดคือการทำในส่ิงท่ีคุณเชื่อวามันคือสิ่งท่ีดี

และทางเดียวท่ีจะทำงานท่ีดีไดคือรักในสิ่งท่ีคุณทำ ถาคุณหามันไมเจอ ก็หามันตอไป อยาหยุด ทุกสิ่งท่ีสำคัญมันอยูในใจคุณ คุณจะรูเองเม่ือใจมัน และ เหมือนกับเรื่องความสัมพันธ คุณจะทำมันดีขึ้นในทุกๆป จงมองหามันจนกวาจะเจอ อยาหยุด

“When I was 17, I read a quote that went something like: ‘If you live each day as if it was your last, someday you’ll most certainly be right.’ It made an impression on me, and since then, for the past 33 years, I have looked in the mirror every morning and asked myself: ‘If today were the last day of my life, would I want to do what I am about to do

today?’ And whenever the answer has been ‘No’ for too many days in a row, I know I need to change something.”ตอนผมอายุ 17 ผมอานคำคมท่ีเกี่ยวกับวา จงใชชีวิตในทุกวันใหเหมือนวันน้ีเปนวันสุดทายแลวซักวันหน่ึงคุณจะอยูในตำแหนงท่ีถูกตอง นั่นทำใหผมประทับใจและจดจำ ตั้งแตวันน้ันผานมา 33 ป ผมดูตัวเองในกระจกทุกเชาแลวถามตัวเอง ถาวันน้ีเปนวันสุดทายของผม

ผมอยากจะทำอะไรในวันน้ีที่ตองทำหรือไม และ ถาในกระจกตอบวาไมหลายวันติดกัน ผมก็รูแลววาผมตองเปล่ียนแปลงอะไรบางอยาง

“Your time is limited, so don’t waste it living someone else’s life. Don’t be trapped by dogma — which is living with the results of other people’s thinking. Don’t let the noise of others’ opinions drown out your own inner voice.

And most important, have the courage to follow your heart and intuition. They somehow already know what you truly want to become. Everything else is secondary.”

เวลาของคุณมีจำกัด อยาเสียเวลาไปอยูในชีวิตของคนอ่ืน อยาไปอยูในกฎ เพราะน่ันหมายถึงการใชชีวิตในผลลัพธที่ผูอื่นคิด อยาใหเสียงของคนอ่ืนมาเอาชนะเสียงภายในตัวคุณ และส่ิงท่ีสำคัญท่ีสุด จงมีความกลาพอท่ีจะตามสัญชาติญาณและใจของคุณ

เพราะมันรูอยูแลววาคุณจริงๆแลวตองการจะเปนอะไร สิ่งอ่ืนๆคือสิ่งท่ีรองลงไป

“Remembering that I’ll be dead soon is the most important tool I’ve ever encounteredto help me make the big choices in life. Because almost everything — all external expectations, all pride,

all fear of embarrassment or failure — these things just fall away in the face of death, leaving only what is truly important. Remembering that you are going to die is the best way I know to avoid the trap

of thinking you have something to lose. You are already naked. There is no reason not to follow your heart.”

การไดระลึกเสมอวาผมจะตายในเร็ววันน้ีคือเคร่ืองมือท่ีสำคัญท่ีสุดที่ผมเคยพบเจอซ่ึงมันชวยผมในการตัดสินใจเลือกสิ่งท่ียิ่งใหญในชีวิต เพราะเกือบทุกอยาง รวมถึงความคาดหวังจากภายนอก ความภูมิใจ ความกลัวในความนาอาย หรือ ลมเหลว

พวกน้ันมันหายไปทันทีเมื่อคุณเผชิญหนากับความตาย และมันจะหลงเหลือแตสิ่งท่ีสำคัญท่ีสุดจริงๆ การระลึกไดวาคุณกำลังจะตาย จึงเปนทางท่ีดีที่สุดใหผมรูวาจะหลีกเลี่ยงกับดักทางความคิดที่คุณมีเรื่องคุณมีอะไรจะเสีย จริงๆแลวคุณกำลังเปลือย

มันไมมีเหตุผลใดท่ีจะทำใหคุณไมทำตามใจของคุณ

ไวอาลัยใหกับ Steve Jobs ผูยิ่งใหญของโลกครับ Credit: http://jexep.net/business/steve-jobs-quote-in-thai/

. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

INTERNAL NEWSLETTER | JUNE 2012

. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ... . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏

๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏

๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏

๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏

๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏

๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏

05

. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

INTERNAL NEWSLETTER | JUNE 2012

. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

สวัสดีคะ ชาวอะแวรทุกคน วันนี้เรามาวาดวยเร่ือง LOOK!! กันกอนเพื่อเพิ่มคุณลักษณะในการทำงานใหมีดูนาเชื่อถือมากข้ึน การทำงาน

บางครั้งเราไมจำเปนตองแตงกายตามแบบแผนไดทุกวัน ตามยุคสมัยนี้ควรแตใหมีกาละเทศะตามสถานท่ีทำงานแตละที่ก็เพียงพอ และวันนี้ นางเมย ขอนำเสนอ

การจับคูสีสันเสื้อผาอยางงาย ๆ แนะนำวา ใชวิจารณญาณในการเลือกสถานที่และวันในการสวมใส วันศุกร นาจะดีที่สุดคะ

เมยขอบอกทริกงายๆ เพื่อหลีกเล่ียงคำวา “เยอะ” ใหเลือกเสื้อผาที่ดีเทลนอยๆ เรียบๆ และเมยขอย้ำวา Don’t ขนทุกสีมาประโคมบนตัวในวันเดียว

สามารถเบรคใหลุคซอฟลง ดวยการแทรกสีเบาๆแนวเอิรธโทนเขามา และเนนอีกคร้ังวา การแตงหนาสำคัญมาก ควรแตงหนาใหเบาสีสันแนะนำสีนูดจะดีท่ีสุดคะ

ดานลางนี้คือคือสีสันที่นำมาใหลองจับคูเลนๆ เปดตูเสื้อผาแลวลองนำมาจับคูตามตารางสีดานลางนะคะ เมยทำแลวนะมีคูสีเพิ่มข้ึนอีกมากมาย

ไมไดหมายถึงแคเสื้อและกางเกง แมแตผาพันคอ สรอย นาิกา แหวน ก็แมทไดหมดคะ

Let’s go to the brighten day กันเลยคะสาวๆ ออ เมยกลัวหนุมๆ จะนอยใจเลยนำตัวอยางเล็ก ๆนอยๆ ชวยผลักและดันใหหนุมๆ มีแรงฮึดมากข้ึนคะ

แลวเจอกับเมยไดใหมเพื่อเพิ่ม LOOK!! ใหดูโดดเดนไดอีกนะคะ บายบาย …..

LOOK LIVE LOVE by Muay

06

INTERNAL NEWSLETTER | JUNE 2012

. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ... . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

Mr.ปปปน: สวัสดีครับนองบุมรบกวนนองบุมแนะนำตัวนิดนึงนะครับนองบุม: ชื่อ บุม คะ ^^ (ทำหนาตานารัก) ตอนนี้ประจำอยูที่ไซตAI โปรเจคBOS ของ AIS คะ

Mr.ปปปน: นองบุมมาเร่ิมตนสมัคร Aware ไดอยางไรครับ?นองบุม: พอดีวาตอนนั้นบุมกำลังอยากหางานทำใหมอยู แลวเพื่อนบุม (ปุม) มาสมัคร Aware กอน แลวปุมไดเขา Training ปุมก็เลยแนะนำบุมมาวาใหลองมาสมัครดู เผื่อจะชอบที่นี่นะ ... บุมกอเลยมาสมัคร อะไรประมานนี้คะ

Mr.ปปปน: มีความรูสึกอยางไรท่ีไดเปน Super Star ประจำเดือนมิถุนายนนองบุม: ก็รูสึก งงๆมากกวา วาทำไมถึงเปนเรานะ ?? ความรูสึกตอนน้ัน มันเหมือนกับวา เอ...ทางไซตเคาสงชื่อไปผิดปาววหวา ?? และตอนแรกบุมก็ไมรูเลยวาไดเปน กำลังนั่งทำงานอยู แลวก็มีเพื่อนๆในทีมที่เปนAware ก็เดินมาลอวา "วุววๆๆเปนซุปตารออออออ ?" (เขียนตามภาษาวัยรุน) ซึ่งบุมก็ งง ... "ซุปตาร ไรฟระ ??" พอแอบไปเช็คเมล ออ....

Mr.ปปปน: นองบุมคิดวาตัวเองมีขอดีอะไรถึงไดเปน Super Star ประจำเดือนมิถุนายนครับนองบุม: ขอดีเหรอพี่ จิงๆ บุมวาใครๆในที่ไซตก็มีขอดีกันทุกคนละ มาก-นอยแลวแตกันไป แตถาถามวา บุมทำไมถึงไดเปนSuper Star นั้น บุมวาอาจจะเปนเพราะบุมต้ังใจทำงาน บุมเอาใจใสกับมัน เวลาเราทำงาน ก็คือทำงานจิงๆ บุมตั้งใจท่ีจะเรียนรูสิ่งใหมๆ หรืออะไรก็ตามที่เคาอยากจะถายทอดความรูใหบุม เพื่อเราจะไดทำงานใหสำเร็จไปตามเปาหมายที่เราคาดหวังไว บุมวาคงไมมีใครหรอกท่ีทำงานแตไมอยากรูวา จริงๆแลวอนาคตของโปรเจคมันจะเปนยังไง อยางนอยๆ ถาในอนาคตโปรเจคน้ีมันสำเร็จจริง เราก็จะไดภูมิใจ เพราะท่ีมันสำเร็จลุลวงไปได เราก็เปนสวนหนึ่งกับงานนี้เหมือนกัน (ยิ้มมุมปาก)

Mr.ปปปน: นองบุมลองอธิบาย Scope ของหนาที่การทำงานและโปรเจคท่ีนองบุมทำอยูใหพี่นองชาว Aware ดวยนะครับนองบุม: บุมรูแคคราวๆนะพี่ (ถอมตัว) ตอนเขามาวันแรกพ่ีที่เปน Leader เคาบอกนานแลวบุมกจำไมคอยไดอะ โปรเจคช่ือ BOS หรือ Billing Open System คะ BOS เหมือนเปนระบบรวมท้ังหมดของ AIS ซึ่งทาง AIS ตองการจะพัฒนาระบบของตัวเองใหมใหพัฒนามากกวาเดิม ก็เลยจางบริษัท AI ที่มีชื่อเสียงทางดาน Telecommunication เปนอันดับที่ 1 ของประเทศจีน มาพัฒนาโปรเจคน้ีคะ โดยทางบริษัท AI จับมือกันกับ Huawei เพื่อสรางโปรเจค BOS ขึ้นมาคะ

Mr.ปปปน: นองบุมทำงานที่ไซต AI ก็คร่ึงปแลวครับไมทราบวานองสามารถบอกความทาทายของไซตงานนี้ให Mr.ปปปน ไดไหมครับนองบุม: ทาทายมากๆเลย ก็เรื่องภาษาเนี่ยละ แรกๆเขามา กวาจะสื่อสารกันรูเรื่องก็เหนื่อยเหมือนกัน แตหลังๆมาก็เริ่มชิน ขอดี ก็คือ

สวัสดีพี่นองชาว Aware อีกครั้งกับ Mr.ปปปน และยินดีตอนรับสูคอลัมนใหมที่ชื่อวา “ The Aware”

Mr.ปปปน จะคุยแคะแกะเกา เหลาคนดังหรือผูที่เปนขาว (ดี) ในชวงเวลาที่ผานมาในแตละเดือนมาสัมภาษณเพื่อเปนตัวอยางที่ดีและเปนกำลังใจใหพี่นองชาว Aware ทุกทานครับ

สำหรับ The Aware ทานแรกก็คือคุณนองบุม ชุติภา เบาหิรัญ (อายุนอยกวา Mr.ปปปน)

ซึ่งนองบุมน้ันเพิ่งจะไดรับการเปน Super Star (ซุปตาร) ประจำเดือนมิถุนายนไปหมาดๆนะครับ

AWARETHE มิสเตอรปปปน

. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

07

. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

INTERNAL NEWSLETTER | JUNE 2012

. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

มันทำใหเราตองพัฒนาตัวเองอยูตลอด สวนมากก็จะเปนเรื่องภาษาท่ีเราตองคอยใชสื่อสารกับคนจีน เลยทำใหเราตองพยามมากข้ึนกวาเดิม จากอะไรๆท่ีไมรู ก็ตองเรียนหรือศึกษาเพ่ือจะไดรูMr.ปปปน: ไดขาววาไซต AI นั้นมีการทำ OT เยอะไมทราบวาแบงเวลาอยางไรนองบุม: ไมมีนะพ่ีขาวพี่มาสำนักไหน อยางมากก็แคเลิกงานดึก 2 ทุมอะไรประมานน้ีมากกวาคะMr.ปปปน: เหรอครับ พี่อุสาตหลงดีใจวาพี่นอง Aware ไซตนี้จะไดทำงานดึกกันทุกคน

Mr.ปปปน: นองบุมคิดอยางไรกับการทำงานแบบ Outsourceนองบุม: ก็ดีคะ ไดเจอคนเยอะดี ไดประสบการณในการทำงานมากข้ึน และไดความรูเพิ่มขึ้นจากการทำงานในแตละไซตที่เราไปประจำมาคะ

Mr.ปปปน: มีนองๆรุนใหมที่กังวลกับการทำงานแบบ Outsource ไมทราบวาอยากฝากอะไรถึงนองๆไหมนองบุม: ไมตองกังวลคะ มันไมยากหรือไมดีอยางที่คิด อยากจะฝากวา ขอแคใหนองๆมีความตั้งใจและมุงมั่นที่จะทำงาน แคนี้เวลาเราไปอยูที่ไหนก็จะมีแตเพื่อนรวมงานท่ีดี มันจะทำใหเราผานอุปสรรคหรือเรื่องยากๆไปได “ขอแคตั้งใจคะ”

Mr.ปปปน: ขออนุญาตถามเร่ืองสวนตัวนิดนึงนะครับ เริ่มจากบานเกิดนองบุมครับ นองบุม: จริงๆก็อยูกรุงเทพฯมาต้ังแตเด็กนะพี่ แตตอนเกิด เกิดที่สิงหบุรี พอกับแม เปนคนนครสวรรคคะ

Mr.ปปปน: มีคนฝากมาถามวา ดูแลตัวเองอยางไรถึงไดหนาใสและดูดีอยางนี้ครับนองบุม: ดื่มน้ำเยอะๆ ถาพอจะมีเวลาวางบาง อยางนอยๆใน แตละอาทิตย ก็จะพยายามไปออกกำลังกายบางคะ สัก 2 วันกำลังดี (ยิ้ม)

Mr.ปปปน: มินาหละหนาใสซะขนาดน้ัน ก็เพราะด่ืมน้ำบริสุทธิ์นี่เอง

Mr.ปปปน: คำถามสุดทายครับ อยากฝากอะไรใหกับ Aware หรือไมครับนองบุม: ขอบคุณ Aware ที่ใหโอกาสดีๆในการทำงาน ไดเจอเพ่ือนดีๆ สังคมดีๆ ขอบคุณที่ใหความรูสึกเปนกันเอง เหมือนเราเปนครอบครัวเดียวกัน ขอบคุณจิงๆคะ Aware (ยิ้ม)Mr.ปปปน: Mr.ปปปนเองก็ตองขอขอบคุณนองบุมเชนกันนะครับ ที่สละเวลามาใหพี่พูดคุย (แวบเดียว) คร้ังนี้ครับ

สำหรับพี่นองชาว Aware ทานใดอยากให Mr.ปปปน ไปสัมภาษณทานไหนก็สามารถช้ีแนะมาไดนะครับ

Mr.ปปปนยินดีเสมอครับ แตสำหรับคร้ังน้ี Mr.ปปปนก็ตองขออภัยเปนอยางสูงสำหรับคำบางคำ

อาจจะไมถูกตามหลักไวยกรณของภาษาไทยแตดวยอรรถรสในการอานก็จำเปนตองคงไวตามที่ผูใหสัมภาษณกลาวครับ สำหรับคอลัมน “The Aware” ประจำเดือนมิถุนายนน้ัน

Mr.ปปปนขอจบเทานี้กอนนะครับ เจอกันเดือนหนา The Aware จะเปนใครน้ัน? รออานกันไดเลยครับ สวัสดีครับผม

08

. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

INTERNAL NEWSLETTER | JUNE 2012

. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ... . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

ชะอำ – หัวหิน เปนหน่ึงในสถานท่ีทองเท่ียวท่ีเพื่อนๆ ไปกัน คอนขางบอย ตอนน้ีที่ชะอำมีสวนสนุกเปดใหมชื่อ SANT ORINI PARK (ซานโตรินี พารค) แลนดมารคแหงใหม ไดเปดใหบริการต้ังแตเดือน มีนาคม 2555 แตเปดอยางเปนทางการวันท่ี 5 พฤษภาคม 2555 การเดินทางมา SANT ORINI PARK ก็ไมยากเลยจรา ใชเสนทางเพชรเกษม มุงหนามาทางชะอำ – หัวหิน ขับรถมาเร่ือยๆ จนเจอ Premium Outlet ชะอำ ซึ่งอยูทางขวามือ ใหมองทางขวาจะเห็นชิงชาสวรรคของ SANT ORINI PARK ใหเตรียมตัวกลับรถ แลวเลี้ยวเขาซอยดานขาง SANT ORINI PARK ภายในมีที่จอดรถไดถึง 1,500 คัน เขาไปดานใน SANT ORINI PARK ก็จะเจอกับอาคาร รานคาโทน สีฟาขาว สำหรับท่ีมาของคำวา SANT ORINI มาจากสถาปตยกรรม ฟาขาวจากเกาะซานโตรินี ประเทศกรีซ SANT ORINI PARK เปนสวนสนุกและแหลงชอปปงบนพ้ืนท่ี 60 ไร ภายใตสโลแกน “Amused Shopping Experience” หรือ สีสันใหมแหงประสบการณความสนุก

ทามกลางกลิ่นอายของสถาปตยกรรมฟาขาวจากเกาะซานโตรินี ประเทศกรีซ โดยสวนตัวแลวคอนเซปคลายกับ Palio เขาใหญ หรือ The circle ราชพฤกษ ซึ่งเปนสถานท่ีชอปปงตกแตงสวยๆ ใหคนมาเดินเลนภายใน Santorini Park จะแบงเปน 5 โซน ดังน้ี โซนพารค (Park) โซนเคร่ืองเลนนานาชนิด เชน Ferris Wheel ชิงชาสวรรค, Merry Go Round หรือ มาหมุน 2 ชั้น, G-Max Reverse Bungy แคปซูลดีดขึ้นฟา และ G-Max Giant Swing ฯลฯ

Talon Chim*Talon Tour *Talon Tour By Tan-gonBy Tan-gon

SANT ORINI PARK

09

. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

INTERNAL NEWSLETTER | JUNE 2012

. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

โซนวิลเลจ (Village) เปนแหลงชอปปง สินคาแบรนดเนม และสินคาท่ีแตละรานออกแบบทำขึ้นเองโซนเรสต แอเรีย (Rest Area) โซนรานอาหาร รานกาแฟ รานขายของฝาก โซนอีเวนท (Event) เปนพ้ืนท่ีสำหรับจัดกิจกรรม การแสดง โชว คอนเสิรต กิจกรรมตางๆ ในโซนน้ีจะสลับ สับเปล่ียนหมุนเวียนใหชมกันท้ังป

โซนวีคเอนด อารต มารเก็ต (Weekend Art Market) ตลาดนัด วันหยุด สำหรับผูที่ชื่นชอบงานศิลปะและสินคาแฮนดเมดสำหรับราคาเคร่ืองเลนใน SANT ORINI PARK มีราคาดังน้ี 1. Double Deck Carousel (มาหมุน) 120 บาท 2. Water Ball 120 บาท 3. Ferris Whell (ชิงชาสวรรค) 120 บาท 4. 4D (ภาพยนต 4 มิติ) 120 บาท 5. XD Rider (ภาพยนต 7 มิติ) 240 บาท 6. Giant Swing 480 บาท 7. Reverse Bungy 480 บาท

เราใชเวลาใน SANT ORINI PARK 1 ชั่วโมงคร่ึง ก็เดินครบทุกซอก ทุกมุมแลวคะ ชอบการออกแบบของอาคารสีขาวแลวตัดดวยสีฟา มีมุม สวยๆ ใหถายรูปเยอะมาก ถาต้ังใจมาถายรูปรับรองวาไดรูปเยอะแนนอน แตถาเดินนานๆ ก็รอนเหมือนกันนะคะ แนะนำใหมาชวงเย็นนะคะจะได ไมรอน ในอนาคต SANT ORINI PARK คงเปนหน่ึงในท่ีเที่ยวยอดนิยมของ ชะอำอยางแนนอน

เวลาเปดทำการวัน จันทร-พฤหัสบดี เปดบริการตั้งแตเวลา 10.00 – 21.00 น. โดยไมเสียคาบัตรผานประตู เฉพาะวันศุกร-เสาร-อาทิตย

และวันหยุดนักขัตฤกษ เปดถึงเวลา 22.00 น. คาบัตรผานประตูทานละ 50 บาทเพื่อน ๆ ลองแวะไปสัมผัสกันนะคะ แลวอยาลืมมาอวดภาพกันนะจะ พบกันฉบับหนา. ‘ตาลกอน’

10