epi info unit08

17
ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน บทที8 การตรวจสอบความถูกตอง และแนวทางการวิเคราะหขอมูล กอนการวิเคราะหขอมูลทางสถิติจําเปนอยางยิ่ง ที่ตองมีการตรวจสอบความถูกตองของ ขอมูลอีกครั้ง เพราะขอมูลที่มีความผิดปกติ อาจสงผลกระทบตอขอสรุปเกี่ยวกับคุณลักษณะที่สนใจ ใหเปนจริง หรือเท็จได นอกจากนี้การกําหนดแนวทางในการวิเคราะหขอมูลที่ชัดเจนและ ครอบคลุม ยังสงผลใหการวิเคราะหขอมูลจริง เปนไปไดอยางคลองตัวมากขึ้น ดังนั้นในบทนี้จึงได นําการตรวจสอบความถูกตองของขอมูล และแนวทางการวิเคราะหขอมูลมากลาวถึง ดังนี8.1 การตรวจสอบความถูกตองของขอมูล เปนการตรวจสอบความถูกตองของขอมูลกอนทําการวิเคราะหขอมูล โดยมีประเด็นทีตองพิจารณาและคํานึงถึงไดแก คาขอมูลนอกชวงที่กําหนด(Out of Range) คาขอมูลที่สูงหรือต่ํา ผิดปกติ ( Outlier) และความไมสมเหตุสมผลของคาขอมูล ( Inconsistency) โดยมีวิธีการในการ ตรวจสอบจําแนกออกเปน 2 วิธี ไดแก การแจกแจงความถี( Frequency) และการสรางตาราง ความสัมพันธ (Cross-tabulation) เชน แฟมขอมูล : Garbage ประกอบดวยตัวแปร(ฟลด ) : ID SEX EDUC COM STATUS BABY METHOD1 METHOD2 METHOD3 METHOD4 โดยมีขอมูล เปนดังรูปที8.1 รูปที8.1 รายการขอมูลในแฟมชื่อ Garbage

Upload: banjong-ardkham

Post on 29-May-2015

399 views

Category:

Documents


7 download

TRANSCRIPT

Page 1: Epi info unit08

ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

บทท่ี 8

การตรวจสอบความถูกตอง

และแนวทางการวิเคราะหขอมูล

กอนการวิเคราะหขอมูลทางสถิติจําเปนอยางยิ่ง ที่ตองมีการตรวจสอบความถูกตองของขอมูลอีกครั้ง เพราะขอมูลที่มีความผิดปกติ อาจสงผลกระทบตอขอสรุปเกี่ยวกับคุณลักษณะที่สนใจใหเปนจริง หรือเท็จได นอกจากนี้การกําหนดแนวทางในการวิเคราะหขอมูลที่ชัดเจนและครอบคลุม ยังสงผลใหการวิเคราะหขอมูลจริง เปนไปไดอยางคลองตัวมากขึ้น ดังนั้นในบทนี้จึงไดนําการตรวจสอบความถูกตองของขอมูล และแนวทางการวิเคราะหขอมูลมากลาวถึง ดังนี้

8.1 การตรวจสอบความถูกตองของขอมูล

เปนการตรวจสอบความถูกตองของขอมูลกอนทําการวิเคราะหขอมูล โดยมีประเด็นที่ตองพิจารณาและคํานึงถึงไดแก คาขอมูลนอกชวงที่กําหนด(Out of Range) คาขอมูลที่สูงหรือต่ําผิดปกติ(Outlier) และความไมสมเหตุสมผลของคาขอมูล (Inconsistency) โดยมีวิธีการในการตรวจสอบจําแนกออกเปน 2 วิธี ไดแก การแจกแจงความถี่(Frequency) และการสรางตารางความสัมพันธ(Cross-tabulation) เชน แฟมขอมูล : Garbage ประกอบดวยตัวแปร(ฟลด) : ID SEX EDUC COM STATUS BABY METHOD1 METHOD2 METHOD3 METHOD4 โดยมีขอมูลเปนดังรูปที่ 8.1

รูปท่ี 8.1 รายการขอมูลในแฟมชื่อ Garbage

Page 2: Epi info unit08

บทที่ 8 การตรวจสอบความถูกตองและแนวทางการวิเคราะหขอมูล

ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

152

8.1.1 การแจกแจงความถี่ ใชในการพิจารณาคาขอมูลนอกชวงที่กําหนด และคาขอมูลที่สูงหรือต่ําผิดปกติ

ซ่ึงสามารถจําแนกออกไดตามประเภทของขอมูลดังนี้

(1) กรณีขอมูลแบบแจงนับ(Categorical Variables) เปนการแจกแจงความถี่สําหรับตัวแปรที่มีระดับการวัดแบบนามสเกล(Nominal Scale) หรืออันดับสเกล(Ordinal Scale) ซ่ึงมีคารหัสที่เปนไปไดไมมากนัก ดังนั้นการพิจารณาจึงสามารถตรวจสอบไดจากรายละเอียดของคาที่เปนไปไดทั้งหมด โดยคําสั่งที่ใชในการแจกแจงความถี่เพื่อแสดงรายละเอียดดังกลาวในโปรแกรม Analyze Data คือ คําสั่ง FREQUENCIES เชน

. เรียกใชงานโปรแกรมยอย Analyze Data และคลิกใชคําสั่ง Read(Import) เพื่อเปดแฟมขอมูลช่ือ Garbage และ Views ช่ือ Method

. เล่ือนเมาสไปคลิกที่รายการคําสั่ง Frequencies ในกลุมคําสั่ง Statistics

. จากนั้นจะปรากฏหนาตาง FREQ ขึ้นมา โดยมีรายละเอียดที่สําคัญดังนี้

• เปนสวนในการระบุตัวแปรที่ตองการแจกแจงความถี่ โดยการคลิกที่ตัวแปร

• กรณี All (*) Except ถามีการเลือก แสดงวา ตัวแปรที่กําหนด จะเปนตัวแปรที่ ถูกยกเวนไมใหแจกแจงความถี่

• เปนสวนในการระบุตัวแปรหลักที่ใชในการ

จําแนกกลุม โดยการคลิกที่ตัวแปร

• เปนสวนในการระบุตัวแปรหลักที่ใชในการถวงน้ําหนักตัวแปรที่แจกแจงความถี่

Page 3: Epi info unit08

คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows

ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

153

• เปนสวนที่ใชในการระบุช่ือตารางเพื่อรองรับผลการ

แจกแจงความถี่ (ซ่ึงไมระบุก็ได)

• เปนปุมที่ใชในการกําหนดคาการนําเสนอของผลการแจกแจงความถี่ (โดยปกติ ไมตองระบุเพิ่มเติมก็ได)

. ระบุตัวแปรที่ตองการแจกแจงความถี่ เชน SEX ดังรูปที่ 8.2

รูปท่ี 8.2 การกําหนดรายละเอียดบนหนาตาง Freq

ผลลัพธท่ีได

Page 4: Epi info unit08

บทที่ 8 การตรวจสอบความถูกตองและแนวทางการวิเคราะหขอมูล

ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

154

จากผลลัพธที่ได สามารถแปลผลไดดังนี้

เปนสวนแสดงคําสั่ง เปนสวนที่ใชในการควบคุมเพื่อดูรายการผลลัพธตามที่ตองการ อาทิเชน

Forward การดูรายการผลลัพธตอไป Back การดูรายการผลลัพธกอนหนานี้ Current Procedure การดูรายการผลลัพธที่เกิดจากคําสั่งปจจุบนั

เปนสวนที่แสดงตารางแจกแจงความถี่ของตัวแปร sex ซ่ึงจากผลลัพธขางบนจะประกอบดวย เพศ ช่ือตัวแปร มีความหมายเชน 1 = ชาย 2 = หญิง Frequency จํานวน หรือความถี่ Percent รอยละ Cum Percent รอยละสะสม

เปนสวนที่แสดงชวงความเชื่อมั่น 95% ของรอยละ

จากผลลัพธที่ได เมื่อพิจารณาตรวจสอบความถูกตองของคาขอมูลในตัวแปรเพศ(SEX) พบวา มีคารหัสที่เปนไปไดทั้งหมด 2 คาคือ 1 และ 2 ซ่ึงถือวาเปนคารหัสที่อยูในชวงที่กําหนด ดังนั้นจึงสรุปไดวา คาขอมูลในตัวแปรเพศ(SEX)มีความถูกตองและพรอมที่จะนําไปสูขั้นตอนการวิเคราะหสถิติเชิงพรรณนาตอไป ในกรณีตัวแปรแบบแจงนับอื่นที่เหลือก็สามารถตรวจสอบไดเชนเดียวกัน โดยในทางปฏิบัติมักระบุตัวแปรที่ตองการตรวจสอบพรอมกันครั้งเดียว แลวพิมพผลลัพธออกมาตรวจสอบคารหัสที่อยูนอกชวงที่กําหนด และหากพบวามีความผิดพลาดเกิดขึ้น จะนําไปตรวจยืนยันความถูกตองจากแบบสอบถามฉบับจริง แลวจากนั้นจึงนํามาแกไขคาใหถูกตองในแฟมขอมูลอีกครั้งหนึ่ง

การแปลผลลพัธท่ีได

การสรุปผล

Page 5: Epi info unit08

คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows

ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

155

(2) กรณีขอมูลแบบตอเนื่อง(Continuous Variables) เปนการตรวจสอบความถูกตองของตัวแปรที่มีระดับการวัดแบบชวงสเกล(Interval Scale) หรืออัตราสวนสเกล(Ratio Scale) ซ่ึงมีลักษณะเปนคาตัวเลขจริงที่ไดจากการเก็บรวบรวมขอมูล ทําใหคาที่เปนไปไดมีจํานวนมาก การพิจารณาจึงไมนิยมตรวจสอบรายละเอียดทั้งหมดของคาที่เปนไปได เพราะอาจทําใหเสียเวลา ดังนั้นในทางปฏิบัติ จึงมักพิจารณาเฉพาะคาสถิติพื้นฐาน ไดแก คาสูงสุด คาต่ําสุด คาเฉลี่ย เปนตน ซ่ึงคําสั่งที่ใชในการแสดงคาสถิติพื้นฐานดังกลาวในโปรแกรม Analyze Data คือ คําสั่ง MEANS เชน

. เรียกใชงานโปรแกรมยอย Analyze Data และคลิกใชคําสั่ง Read(Import) เพื่อเปดแฟมขอมูลช่ือ Garbage และ Views ช่ือ Method

. เล่ือนเมาสไปคลิกที่รายการคําสั่ง Means ในกลุมคําสั่ง Statistics

. จากนั้นจะปรากฏหนาตาง MEANS ขึ้นมา โดยมีรายละเอียดที่สําคัญดังนี้

• เปนสวนในการระบุตัวแปรที่ตองการคํานวณคาสถิติพื้นฐาน โดยการคลิกที่ตัวแปร

• เปนสวนในการระบุตัวแปรที่สองที่นํามา crosstab กับตัวแปรที่หนึ่ง

• เปนสวนในการระบุตัวแปรหลักที่ใชในการจําแนกกลุม โดยการคลิกที่ตัวแปร

Page 6: Epi info unit08

บทที่ 8 การตรวจสอบความถูกตองและแนวทางการวิเคราะหขอมูล

ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

156

• เปนสวนในการระบุตัวแปรหลักที่ใชในการถวงน้ําหนักตัวแปรที่แจกแจงความถี่

• เปนสวนที่ใชในการระบุช่ือตารางเพื่อรองรับผล

การแจกแจงความถี่ (ซ่ึงไมระบุก็ได)

• เปนสวนในการกําหนดหนาตางแสดงผล

• เปนปุมที่ใชในการกําหนดคาการนําเสนอของผลการ

แจกแจงความถี่ (โดยปกติ ไมตองระบุเพิ่มเติมก็ได)

. ระบุตัวแปรที่ตองการตรวจสอบ เชน AGE ดังรูปที่ 8.3

รูปท่ี 8.3 การกาํหนดรายละเอียดบนหนาตาง Means

Page 7: Epi info unit08

คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows

ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

157

จากผลลัพธที่ได สามารถแปลผลไดดังนี้

เปนสวนแสดงคําสั่ง เปนสวนที่ใชในการควบคุมเพื่อดูรายการผลลัพธตามที่ตองการ อาทิเชน

Forward การดูรายการผลลัพธตอไป Back การดูรายการผลลัพธกอนหนานี้ Current Procedure การดูรายการผลลัพธที่เกิดจากคําสั่งปจจุบัน Next Procedure การดูรายการผลลัพธที่เกิดจากคําสั่งถัดไป

ผลลัพธท่ีได

การแปลผลลพัธท่ีได

Page 8: Epi info unit08

บทที่ 8 การตรวจสอบความถูกตองและแนวทางการวิเคราะหขอมูล

ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

158

เปนสวนที่แสดงตารางแจกแจงความถี่ของตัวแปรอายุ(age) ซ่ึงจากผลลัพธขางบนจะประกอบดวย

อายุ ช่ือตัวแปร มีความหมายเชน 32 ป 33 ป เปนตน Frequency จํานวน หรือความถี่ Percent รอยละ Cum Percent รอยละสะสม

เปนสวนที่แสดงสถิติพื้นฐาน ประกอบดวย Obs จํานวนคาสังเกต เทากับ 49 Total ผลรวม เทากับ 2,044 Mean คาเฉลี่ย เทากับ 41.71 Variance ความแปรปรวน เทากับ 22.46 Std Dev สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เทากับ 4.74 Minimum คาต่ําสุด เทากับ 32 25% เปอรเซ็นตไทลที่ 25 เทากับ 38 Median คามัธยฐาน (เปอรเซ็นตไทลที่ 50) เทากับ 42 75% เปอรเซ็นตไทลที่ 75 เทากับ 45 Maximum คาสูงสุด เทากับ 52 Mode คาฐานนิยม เทากับ 42

จากผลลัพธที่ได เมื่อพิจารณาตรวจสอบความถูกตองของคาขอมูลในตัวแปรอายุ(AGE) เกี่ยวกับคาสูงหรือต่ําผิดปกติพบวา คาต่ําสุดเทากับ 32 และคาสูงสุดเทากับ 52 และคาเฉล่ียเทากับ 41.71 ซ่ึงถือวาเปนคาขอมูลที่อยูในชวงปกติ ดังนั้นจึงสรุปไดวา คาขอมูลในตัวแปรอายุ(AGE) มีความถูกตองและพรอมที่จะนําไปสูขั้นตอนการวิเคราะหสถิติเชิงพรรณนาตอไป

การสรุปผล

Page 9: Epi info unit08

คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows

ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

159

ในกรณีตัวแปรแบบตอเนื่องอื่นที่เหลือก็สามารถตรวจสอบไดเชนเดียวกัน โดยในทางปฏิบัติมักระบุตัวแปรที่ตองการตรวจสอบพรอมกันครั้งเดียว แลวพิมพผลลัพธออกมาตรวจสอบคาขอมูลที่สูงหรือต่ําผิดปกติ และหากพบวามีความผิดพลาดเกิดขึ้น จะนําไปตรวจยืนยันความถูกตองจากแบบสอบถามฉบับจริง แลวจากนั้นจึงนํามาแกไขคาใหถูกตองในแฟมขอมูลอีกครั้งหนึ่ง หรือหากเปนคาขอมูลที่ถูกตองจริง ก็อาจตองนํามาพิจารณาวา จะยังคงเก็บไวในการวิเคราะหหรือไม หรือแยกออกมาไวเฉพาะ เพื่อประกอบการอธิบายขอมูลในภายหลังจากวิเคราะหขอมูลเสร็จสิ้น

8.1.2 การสรางตารางแสดงความสัมพันธ เปนการตรวจสอบความถูกตองของคาขอมูลโดยการสรางตารางแสดง

ความสัมพันธ และพิจารณาถึงความสมเหตุสมผลของขอมูล ซ่ึงคําสั่งที่ใชในการพิจารณาดังกลาวในโปรแกรม Analyze Data คือ คําสั่ง TABLES เชน

. เรียกใชงานโปรแกรมยอย Analyze Data และคลิกใชคําสั่ง Read(Import) เพื่อเปดแฟมขอมูลช่ือ Garbage และ Views ช่ือ Method

. เล่ือนเมาสไปคลิกที่รายการคําสั่ง Tables ในกลุมคําสั่ง Statistics

. จากนั้นจะปรากฏหนาตาง TABLES ขึ้นมา โดยมีรายละเอียดที่สําคัญดังนี้

• เปนสวนในการระบุตัวแปรตัวที่ 1 ในแนวแถว

• เปนสวนในการระบุตัวแปรที่ 2 ในแนวคอลัมน

• เปนสวนในการระบุตัวแปรหลักที่ใชในการ

จําแนกกลุม • กรณีเลือก Matched Analysis เปนการ

กําหนดใหทําการวิเคราะหแบบ Matched

Page 10: Epi info unit08

บทที่ 8 การตรวจสอบความถูกตองและแนวทางการวิเคราะหขอมูล

ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

160

• เปนสวนในการระบุตัวแปรหลักที่ใชในการถวงน้ําหนักตัวแปรที่แจกแจงความถี่

• เปนสวนที่ใชในการระบุช่ือตารางเพื่อรองรับผล

การแจกแจงความถี่ (ซ่ึงไมระบุก็ได)

• เปนสวนในการกําหนดหนาตางแสดงผล

เปนปุมที่ใชในการกําหนดคาการนําเสนอของผลการแจกแจงความถี่ (โดยปกติ ไมตองระบุเพิ่มเติมก็ได)

. ระบุตัวแปรที่ตองการสรางตารางความสัมพันธระหวาง สถานภาพสมรส(STATUS) กับ จํานวนบุตร(BABY) ดังรูปที่ 8.4

รูปท่ี 8.4 การกาํหนดรายละเอียดบนหนาตาง Tables

Page 11: Epi info unit08

คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows

ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

161

จากผลลัพธที่ได สามารถแปลผลไดดังนี้

เปนสวนแสดงคําสั่ง เปนสวนที่ใชในการควบคุมเพื่อดูรายการผลลัพธตามที่ตองการ อาทิเชน

Forward การดูรายการผลลัพธตอไป Back การดูรายการผลลัพธกอนหนานี้ Current Procedure การดูรายการผลลัพธที่เกิดจากคําสั่งปจจุบัน Next Procedure การดูรายการผลลัพธที่เกิดจากคําสั่งถัดไป

การแปลผลลพัธท่ีได

ผลลัพธท่ีได

Page 12: Epi info unit08

บทที่ 8 การตรวจสอบความถูกตองและแนวทางการวิเคราะหขอมูล

ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

162

, เปนสวนที่แสดงรายชื่อตัวแปรตัวแปรสถานภาพสมรส(STATUS)กับตัวแปรจํานวนบุตร(BABY) ซ่ึงจากผลลัพธขางบนจะประกอบดวย

ความถี่ จํานวน หรือความถี่ คาขอมูล Low% จํานวน หรือความถี่คามแถว คาขอมูล Row% จํานวน หรือความถี่คามแถว Total ผลรวม

เปนสวนที่แสดงคาสถิติ ประกอบดวย Chi-squared คาสถติิไคสแควร df คาองศาความเปนอิสระ(Degree of freedom) Probability คาความนาจะเปน หรือคา p-value

จากผลลัพธที่ได เมื่อพิจารณาตรวจสอบความถูกตองของคาขอมูลระหวางตัวแปรสถานภาพสมรส(STATUS)กับตัวแปรจํานวนบุตร(BABY)เกี่ยวกับความสมเหตุสมผลพบวา STATUS =1 = โสด แสดงวาตองไมมีขอมูลจํานวนบุตร ซ่ึงแทนดวยดวย 88 เมื่อตรวจสอบก็พบวา มีจํานวนคนโสดทั้งหมด 7 คนและไมมีการระบุจํานวนบุตร ซ่ึงถือวาเปนคาขอมูลที่มีความสมเหตุสมผล ดังนั้นจึงสรุปไดวา คาขอมูลในตัวแปรสถานภาพสมรส(STATUS)กับตัวแปรจํานวนบุตร(BABY)มีความถูกตองและพรอมที่จะนําไปสูขั้นตอนการวิเคราะหสถิติเชิงพรรณนาตอไป ในกรณีการตรวจสอบตัวแปรอื่นที่เหลือก็สามารถตรวจสอบไดเชนเดียวกัน โดยในทางปฏิบัติกรณีดังกลาวจะระบุตัวแปรที่ตองการตรวจสอบทีละคูไป แลวพิมพผลลัพธออกมาตรวจสอบความสมเหตุสมผลของขอมูล และหากพบวามีความผิดพลาดเกิดขึ้น จะนําไปตรวจยืนยันความถูกตองจากแบบสอบถามฉบับจริง แลวจากนั้นจึงนํามาแกไขคาใหถูกตองในแฟมขอมูลอีกครั้งหนึ่ง

การสรุปผล

Page 13: Epi info unit08

คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows

ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

163

8.2 การเตรียมแนวทางการวิเคราะหขอมูล

เปนการจัดเตรียมแนวทางการวิเคราะหขอมูล ภายหลังจากที่ไดทําการตรวจสอบความถูกตองของขอมูลในประเด็นขอมูลนอกชวงที่กําหนด(Out of Range) ขอมูลที่สูงหรือต่ําผิดปกติ(Outlier) และความไมสมเหตุสมผลของคาขอมูล (Inconsistency) เรียบรอยแลว โดยเปนการพิจารณาเกี่ยวกับประเด็นดังนี้

(1) วัตถุประสงคในการวินิจฉัยชุมชนมีกี่ขอ อะไรบาง (2) ในวัตถุประสงคแตละขอ มีประเด็นที่สนใจศึกษาอะไรบาง (3) ในแตละประเด็นที่สนใจศึกษา มีตัวแปรอะไรที่เขาไปเกี่ยวของ (4) ตัวแปรที่เขาไปเกี่ยวของมีระดับการวัดเปนอยางไร (5) รูปแบบการนําเสนอผลการวิเคราะหในแตละประเด็นจะเปนอยางไร (6) ลําดับขั้นของการนําเสนอในแตละประเด็นจะเรียงลําดับอยางไร (7) วิธีการวิเคราะหทางสถิติในแตละประเด็นเปนอยางไร

ในทางปฏิบัติรายละเอียดตางๆที่กลาวมาขางตน สามารถสรางเปนตารางแสดงรายละเอียดแนวทางการวิเคราะหขอมูล เพื่อใหสามารถตรวจสอบความครอบคลุมและครบถวนของการวิเคราะหขอมูลได เชน

ชื่อโครงการ: การสํารวจรูปแบบการจัดการขยะในครัวเรือนของชุมชนในเขตเทศบาล วัตถุประสงค: เพื่อศึกษารูปแบบการจัดการขยะในครัวเรือนของชุมชนในเขตเทศบาล

ตารางที่ 8.1 แสดงรายละเอียดแนวทางการวิเคราะหขอมูล ลําดับ ช่ือตัวแปร ระดับการวัด สถิติที่ใช การนําเสนอ Nominal Ordinal Interval Ratio

1 SEX จํานวน/รอยละ ตารางแจกแจงความถี ่2 AGE จํานวน/รอยละ(จัดกลุม)

คาเฉลี่ย(คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน), min:max ตารางแจกแจงความถี ่

3 EDUC จํานวน/รอยละ ตารางแจกแจงความถี ่4 COM จํานวน/รอยละ ตารางแจกแจงความถี ่5 STATUS จํานวน/รอยละ ตารางแจกแจงความถี ่6 BABY จํานวน/รอยละ(จัดกลุม)

คาเฉลี่ย(คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน), min:max ตารางแจกแจงความถี ่

7 METHOD1 จํานวน/รอยละ ตารางแจกแจงความถี ่8 METHOD2 จํานวน/รอยละ ตารางแจกแจงความถี ่9 METHOD3 จํานวน/รอยละ ตารางแจกแจงความถี ่

10 METHOD4 จํานวน/รอยละ ตารางแจกแจงความถี ่

Page 14: Epi info unit08

บทที่ 8 การตรวจสอบความถูกตองและแนวทางการวิเคราะหขอมูล

ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

164

จากตารางรายละเอียดแนวทางการวิเคราะหขอมูลดังกลาว ผูใชงานสามารถออกแบบใหมโดยเพิ่มประเด็นที่คิดวา นาจะมีความสําคัญในการจัดเตรียมไวกอนการวิเคราะห เพื่อใหงายและสะดวกในการวิเคราะหและตรวจสอบได ซ่ึงภายหลังที่สรางตารางรายละเอียดแนวทางการวิเคราะหขอมูลเรียบรอยแลว ตอไปจึงเปนการนํารายละเอียดในตารางดังกลาวมาจัดเตรียมสรางตารางจําลอง(Dummy Table) เพื่อรองรับผลของการวิเคราะหขอมูลมาใสในตาราง ซ่ึงจะกลาวถึงรายละเอียดในหัวขอถัดไป

8.3 การสรางตารางจําลอง(Dummy Table)

เปนตารางการนําเสนอที่สรางขึ้นเหมือนนําเสนอจริงในรายงานผลการศึกษา เพียงแตยังไมมีผลของการวิเคราะหใสลงไป ดังนั้นการสรางตารางจําลอง จึงเปรียบเสมือนการเขียนแผนที่ในการเดินทางไปสูวิธีการวิเคราะหขอมูลทางสถิติที่ ถูกตองและครอบคลุม สอดคลองกับวัตถุประสงคของการวินิจฉัยชุมชน โดยแนวทางในการสรางตารางจําลอง สามารถจําแนกออกไดเปนดังนี้

8.3.1 สวนประกอบของตารางจําลอง

ในตารางจําลองโดยทั่วไปจะประกอบไปดวยสวนตางๆ ดังนี้ (1) ลําดับท่ีของตาราง เปนการระบุลําดับที่ของตารางวา เปนตารางที่เทาไร

โดยสวนใหญจะนับตามลําดับหลังของตารางที่สรางมากอนหนา (2) ชื่อของตาราง เปนขอความที่อยูถัดมาจากลําดับที่ของตาราง ซ่ึงจะระบุ

ขอมูลเกี่ยวกับตารางวา เปนเรื่องหรือประเด็นใด กลุมเปาหมายหรือสถานที่เปนอยางไรหรือชวงเวลาไหน เปนตน

(3) หัวเร่ืองแนวคอลัมน เปนสวนของตารางที่ใหความหมายของขอมูลในแนวคอลัมน พบในกรณีเปนตารางสองทางขึ้นไป

(4) หัวเร่ืองแนวแถว เปนสวนของตารางที่ใหความหมายของขอมูลใน แนวแถว

(5) ตัวเร่ือง เปนสวนของตารางที่มีคาเปนตัวเลข และจําแนกตามรายละเอียดของหัวเร่ืองแนวแถวอยางเดียว หรือจําแนกตามรายละเอียดของหัวเร่ืองแนวแถวและแนวคอลัมน ดังตารางที่ 8.2

Page 15: Epi info unit08

คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows

ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

165

ตารางที่ 8.2 จํานวนและรอยละของผูตอบแบบสอบถามเรื่อง พฤติกรรมเสี่ยงตอการเปนโรคหัวใจ

จําแนกตามเพศและการสูบบุหร่ี (n=337)

ตัวแปร จํานวน(ราย) รอยละ(%) เพศ ชาย หญิง การสูบบุหรี่ สูบ ไมสูบ

122 215

83

254

36.2 63.8

24.6 75.4

8.3.2 รูปแบบของตาราง ในการสรางตาราง ถึงแมจะเปนตารางจําลอง ก็มีรูปแบบเชนเดียวกันกับ

รูปแบบของตารางนําเสนอขอมูลทั่วไป ซ่ึงสามารถแบงออกเปนดังนี้ (1) ตารางแบบ 1 ตัวแปร(Univariate Tabulation) บางครั้งเรียกวา ตาราง

แบบงาย เปนตารางที่มีการนําเสนอขอมูลเพียงตัวแปรเดียว โดยไมไดแสดงความสัมพันธกับ ตัวแปรใด และในทางปฏิบัติที่นําเสนอกัน มักนําเอาตัวแปรเดียวเหลานี้มานําเสนอรวมกันในตารางเดียว ดังเชนตารางที่ 8.3

ลําดับที่ของตาราง ช่ือของตาราง

หัวเรื่องแนวแถว ตัวเรื่อง

Page 16: Epi info unit08

บทที่ 8 การตรวจสอบความถูกตองและแนวทางการวิเคราะหขอมูล

ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

166

ตารางที่ 8.3 จํานวนและรอยละของผูตอบแบบสอบถามเรื่อง พฤติกรรมเสี่ยงตอการเปนโรคหัวใจ จําแนกตามเพศ อายุและการสูบบุหร่ี (n=337)

ตัวแปร จํานวน(ราย) รอยละ(%)

เพศ ชาย หญิง กลุมอายุ ต่ํากวา 30 ป 30 – 39 ป 40 – 49 ป 50 ปขึ้นไป ( X = 45.9 ; SD. = 18.7 ; Min = 9 ; Max= 96) การสูบบุหรี่ สูบ ไมสูบ

122 215

76 61 68

132

83 254

36.2 63.8

22.6 18.0 20.2 39.2

24.6 75.4

(2) ตารางแบบ 2 ตัวแปร(Bivariate Tabulation) บางครั้งเรียกวา ตารางสอง

ทาง เปนตารางที่มีการนําเสนอขอมูลสองตัวแปร โดยจําแนกตัวแปรหนึ่งไปเปนหัวเร่ืองแนวแถว อีกตัวแปรหนึ่งไปเปนหัวเร่ืองแนวคอลัมน ซ่ึงคาขอมูลทั้งสองตัวแปรจะแสดงออกมาในลักษณะที่มีความสัมพันธกัน ในทางปฏิบัติที่นําเสนอกัน กรณีที่ตัวแปรแนวคอลัมนเปนตัวแปรเดียวที่คงที่แลวแสดงความสัมพันธกับตัวแปรเดียวอ่ืนๆ ในกรณีเชนนี้มักนําเอาตัวแปรเดียวในแนวแถวมานําเสนอรวมกันในตารางเดียว แตหากกรณีที่ตัวแปรแนวคอลัมนเปนตัวแปรที่ไมคงที่ การแสดงความสัมพันธกับตัวแปรเดียวอ่ืนๆ จะนําเสนอแยกเปนตารางเดี่ยวๆเพื่อแสดงความสัมพันธระหวางตัวแปรสองตัวนั้นเลย ดังเชนตารางที่ 8.4

Page 17: Epi info unit08

คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows

ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

167

ตารางที่ 8.4 จํานวนและรอยละของผูปวยและไมปวยดวยโรคหัวใจ จําแนกตามเพศ และ สถานภาพสมรส

ตัวแปร ผูปวย ผูไมปวย รวม จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ

เพศ ชาย หญิง สถานภาพสมรส โสด สมรส หมาย/หยา/แยก

40 8

13 34 1

83.3 16.7

27.1 70.8 2.1

40 8

12 35 2

83.3 16.7

22.9 72.9 4.2

80 16

24 69 3

83.3 16.7

25.0 71.9 3.1

(3) ตารางแบบที่มีตัวแปรมากกวา 2 ตัวแปร(Multivariate Tabulation)

ในทางปฏิบัติมักไมนิยมนําเสนอในรูปแบบนี้ เนื่องจากการแปลผลและตีความคอนขางลําบาก ดังนั้นจึงไมกลาวถึงรายละเอียดในตารางรูปแบบนี้

8.4 บทสรุป

ในการวิเคราะหขอมูลทางสถิติ เพื่อหาขอสรุปเกี่ยวกับคุณลักษณะที่สนใจจากขอมูลที่เก็บรวบรวมมาได ซ่ึงความถูกตองหรือไมถูกตองของขอมูลมีผลกระทบตอการวิเคราะหทางสถิติ ที่อาจนําไปสูขอสรุปที่เปนจริง หรือเท็จได ดังนั้นกอนทําการวิเคราะหสถิติเชิงพรรณนาดวยโปรแกรมยอย Analyze Data จึงควรดําเนินการตรวจสอบความถูกตองของขอมูลกอนเสมอ เพื่อยืนยันความถูกตองของขอมูลอีกครั้ง นอกจากนี้ยังตองมีการกําหนดแนวทางการวิเคราะหขอมูลใหมีความชัดเจนและครอบคลุมตามวัตถุประสงคที่ตองการ เพื่อเปนขอสรุปที่ถูกตองในการนําไปใชวางแผนและแกไขปญหาตอไป