"วิกฤตเศรษฐกิจไทยและแนวทางแก้ไขปัญหาของรัฐบาล"...

21
1 วิกฤตเศรษฐกิจไทยและแนวทางแกไขปญหาของรัฐบาล เทวประภาส มากคลาย นักศึกษาหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต รุนที8 มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ บทนํา วิกฤตเศรษฐกิจ (Economic Crisis) หรือปญหาเศรษฐกิจ เปนปจจัยสําคัญที่สงผลกระทบตอ ประชาชนและเปนตัวชี้วัดถึงศักยภาพในการแกไขปญหาของรัฐบาล เพราะความเจริญหรือลมเหลว ทางเศรษฐกิจนับเปนสิ่งสําคัญมีผลโดยตรงตอการจัดและคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชน ในฐานะทีเศรษฐกิจเปนผูมีหนาที่สําคัญในการจัดการใชสรรทรัพยากร เพื่อสนองตอบตอความจําเปนขั้นมูล ฐานและความตองการการใชทรัพยากรในระดับตาง ของคนในสังคม ดังนั้นรัฐบาลในฐานะผูมี หนาที ่โดยตรงในการสรางความเปนอยูที่ดีแกประชาชนในประเทศ จึงเปนผูมีหนาที่รับผิดชอบ โดยตรงในการเสริมสรางเศรษฐกิจของประเทศและหาทางแกไขปญหาทางเศรษฐกิจตาง ทีเกิดขึ้นอยางหลีกเลี่ยงไมได รัฐบาลของประเทศตาง ทั่วโลกตั้งแตอดีต จึงถือเปนผูมีสวนสําคัญในการวางนโยบาย และเสริมโครงสรางของประเทศใหเอื้อตอการพัฒนาและความเจริญรุงเรืองทางเศรษฐกิจ สําหรับใน ประเทศไทยก็เชนเดียวกัน รัฐบาลที่ผานมาทุกรัฐบาล ตางก็พยายามเสริมสรางความเจริญทาง เศรษฐกิจใหแกประเทศทั้งในระดับมหภาคและจุลภาค ภายในแนวคิดแบบเศรษฐกิจทุนนิยมเสรี (capitalism) ภายใตเงื่อนไขทั้งภายในและภายนอก โดยเฉพาะในชวงที่เศรษฐกิจไทยประสบปญหา ทางเศรษฐกิจ รัฐบาลจะผูมีสวนสําคัญในการหาทางแกไขโดยใชนโยบายตาง เพื่อรักษาดุลยภาพ ทางเศรษฐกิจของประเทศ เพื่อรักษาไวซึ่งความเปนอยูที่ดีของประชาชน และเพื่อรักษาไวและ เสริมสรางซึ่งความไววางใจเชื่อมั่นของประชาชนตอรัฐบาล อันจะเปนการรักษาฐานอํานาจทาง การเมืองของตนใหมั่นคงไดดีที่สุด ดังนั ้นการศึกษาทําความเขาใจถึงภาวะวิกฤตเศรษฐกิจและแนว ทางแกไขปญหาของรัฐบาลจึงนับเปนเรื่องที่สําคัญ เพราะภาวะวิกฤตเศรษฐกิจยอมเกิดขึ้นไดดวย หลายปจจัยและสามารถแกลงไปไดดวยหลายปจจัย การทําความเขาใจถึงความเคลื่อนไหวเพื่อแกไข ปญหาของรัฐบาลจะสามารถทําใหเราเขาใจถึงสภาพเศรษฐกิจ การเมือง และสังคมทั้งในระดับมห ภาคและจุลภาคในชวงนั้น ได เพราะนโยบายแกไขปญหาเศรษฐกิจตาง ทั้งในระยะสั้นและ ระยะยาวของรัฐบาลที่แสดงออกมาจะสามารถแสดงถึงศักยภาพและความจริงใจในการแกไขปญหา ของรัฐบาล ภายใตเงื่อนไขและวัตถุประสงคหลัก (Objectives) และวัตถุประสงครอง (Secondary Objectives) ซึ่งอาจมีนัยยะทางการเมืองและสังคมอื่น แอบแฝงอยูไดเปนอยางดี

Upload: -

Post on 13-Nov-2014

8.684 views

Category:

Documents


1 download

TRANSCRIPT

Page 1: "วิกฤตเศรษฐกิจไทยและแนวทางแก้ไขปัญหาของรัฐบาล" (in Thai)

1

วิกฤตเศรษฐกิจไทยและแนวทางแกไขปญหาของรฐับาล

เทวประภาส มากคลาย นักศึกษาหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต รุนท่ี 8

มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ บทนํา

วิกฤตเศรษฐกจิ (Economic Crisis) หรือปญหาเศรษฐกจิ เปนปจจัยสําคัญท่ีสงผลกระทบตอประชาชนและเปนตัวช้ีวัดถึงศักยภาพในการแกไขปญหาของรัฐบาล เพราะความเจริญหรือลมเหลวทางเศรษฐกิจนับเปนส่ิงสําคัญมีผลโดยตรงตอการจัดและคุณภาพชีวติท่ีดีของประชาชน ในฐานะท่ีเศรษฐกิจเปนผูมีหนาท่ีสําคัญในการจดัการใชสรรทรัพยากร เพื่อสนองตอบตอความจําเปนข้ันมูลฐานและความตองการการใชทรัพยากรในระดับตาง ๆ ของคนในสังคม ดังนั้นรัฐบาลในฐานะผูมีหนาท่ีโดยตรงในการสรางความเปนอยูท่ีดแีกประชาชนในประเทศ จึงเปนผูมีหนาท่ีรับผิดชอบโดยตรงในการเสริมสรางเศรษฐกิจของประเทศและหาทางแกไขปญหาทางเศรษฐกจิตาง ๆ ท่ีเกิดข้ึนอยางหลีกเล่ียงไมได

รัฐบาลของประเทศตาง ๆ ท่ัวโลกตั้งแตอดีต จึงถือเปนผูมีสวนสําคัญในการวางนโยบายและเสริมโครงสรางของประเทศใหเอ้ือตอการพัฒนาและความเจริญรุงเรืองทางเศรษฐกิจ สําหรับในประเทศไทยกเ็ชนเดยีวกัน รัฐบาลท่ีผานมาทุกรัฐบาล ตางก็พยายามเสริมสรางความเจริญทางเศรษฐกิจใหแกประเทศท้ังในระดับมหภาคและจุลภาค ภายในแนวคิดแบบเศรษฐกิจทุนนยิมเสรี (capitalism) ภายใตเง่ือนไขท้ังภายในและภายนอก โดยเฉพาะในชวงท่ีเศรษฐกิจไทยประสบปญหาทางเศรษฐกิจ รัฐบาลจะผูมีสวนสําคัญในการหาทางแกไขโดยใชนโยบายตาง ๆ เพือ่รักษาดุลยภาพทางเศรษฐกิจของประเทศ เพื่อรักษาไวซ่ึงความเปนอยูท่ีดีของประชาชน และเพื่อรักษาไวและเสริมสรางซ่ึงความไววางใจเช่ือม่ันของประชาชนตอรัฐบาล อันจะเปนการรักษาฐานอํานาจทางการเมืองของตนใหม่ันคงไดดีท่ีสุด ดังนัน้การศึกษาทําความเขาใจถึงภาวะวกิฤตเศรษฐกิจและแนวทางแกไขปญหาของรัฐบาลจึงนับเปนเร่ืองท่ีสําคัญ เพราะภาวะวิกฤตเศรษฐกิจยอมเกิดข้ึนไดดวยหลายปจจยัและสามารถแกลงไปไดดวยหลายปจจยั การทําความเขาใจถึงความเคล่ือนไหวเพื่อแกไขปญหาของรัฐบาลจะสามารถทําใหเราเขาใจถึงสภาพเศรษฐกิจ การเมือง และสังคมท้ังในระดับมหภาคและจุลภาคในชวงนั้น ๆ ได เพราะนโยบายแกไขปญหาเศรษฐกิจตาง ๆ ท้ังในระยะส้ันและระยะยาวของรัฐบาลท่ีแสดงออกมาจะสามารถแสดงถึงศักยภาพและความจริงใจในการแกไขปญหาของรัฐบาล ภายใตเง่ือนไขและวัตถุประสงคหลัก (Objectives) และวตัถุประสงครอง (Secondary Objectives) ซ่ึงอาจมีนัยยะทางการเมืองและสังคมอ่ืน ๆ แอบแฝงอยูไดเปนอยางด ี

Page 2: "วิกฤตเศรษฐกิจไทยและแนวทางแก้ไขปัญหาของรัฐบาล" (in Thai)

2

สําหรับบทความนี้ จะมุงอธิบายถึงปญหาวิกฤตเศรษฐกิจท่ีกําลังเกดิข้ึนอยูในประเทศไทยและแนวทางแกไขปญหาของรัฐบาลในปจจุบัน คือรัฐบาลของนายกรัฐมนตรีอภิสิทธ์ิ เวชชาชีวะ อยางไรก็ตาม เนื่องดวยปญหาเศรษฐกิจไทยท่ีกําลังดําเนินอยูในปจจบัุน เกดิข้ึนจากหลายสาเหตุ ท้ังจากบริบทปญหาวิกฤตการธนาคารระหวางประเทศท่ีเกดิข้ึนท่ัวโลกท่ีมีผลกระทบตอประเทศไทย และท้ังจากบริบทปญหาอันเกิดจากวกิฤติทางการเมืองท่ียดืเยื้อมาจากการทํารัฐประหาร 19 กันยายน 2549 จึงจําเปนตองทําความเขาใจถึงตัวช้ีวดัทางเศรษฐกจิรูปแบบตาง ๆ รวมท้ังความเปนมาของทุกบริบทสถานการณท่ีเกีย่วของมีผลกระทบตอการเกิดและแกไขปญหาเศรษฐกิจ เพื่อสามารถทําความเขาใจปญหาและแนวทางแกปญหาของรัฐบาลใหถูกตองโดยไมมีอคติ ซ่ึงจะสามารถทําใหเขาใจถึงปญหาท่ีกําลังเกิดข้ึนอยูไดอยางถองแทและสามารถรวมมือกันหาทางแกไขปญหาเศรษฐกิจนี้ไดอยางถูกตองตอไป

สภาพเศรษฐกิจไทยชวงป 2550 - 2552 เอลตัน วูด (Ellen Wood. 2002 : 2) กลาววา เศรษฐกิจไทยอยูภายใตเศรษฐกิจแบบทุนนิยม

(capitalism) ซ่ึงเปนระบบเศรษฐกิจท่ีผลิตภัณฑและสินคามีการจําหนายแลกเปล่ียนซ้ือขายโดยทางเอกชน บริษัท หรือกลุมธุรกิจ โดยการแลกเปล่ียนสินคาและการบริการที่มีการรองรับทางกฎหมายและมีการแขงขันในเชิงการคาเพื่อทํากําไรสูงสุด ซ่ึงไมไดควบคุมโดยหนวยงานกลางหรือจากทางรัฐบาล

หรือกลาวอีกหนึ่ง ประเทศไทยมีระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมเสรี ท่ีมีระบบเศรษฐกิจท่ีดาํเนินโดยเอกชนตามอยางแนวคิดของแอดัม สมิธ (Adam Smith . 1904 : 11) ท่ีเปดกวางท้ังในและนอกประเทศ มีกลุมทุนและการลงทุนไดโดยเสรี มีการติดตอแลกเปล่ียนสินคาและบริการกับท้ังในและนอกประเทศ ความเจริญทางเศรษฐกจิไทยจึงมีความสัมพันธไมใชเฉพาะในประเทศเทานัน้ แตหากยังมีความสัมพันธกับตางประเทศดวย และการคาการลงทุนเสรีนี่เองท่ีทําใหเศรษฐกิจไทยมีเม็ดเงินหมุนเวยีนและเจริญเติบโต

ดังนั้นการท่ีจะพิจารณาวาเกดิปญหาวกิฤติเศรษฐกิจหรือไมนั้น จึงสามารถท่ีจะพิจารณาไดจากตัวช้ีวัดทางเศรษฐกิจได ดังท่ี เสาวณยี แกวจุลกาญจน (2549 : ออน-ไลน) กลาววา เพราะเหตุวาพัฒนาการทางเศรษฐกิจของสังคมหนึ่ง ๆ ยอมมีกิจกรรมและภาระท่ีตองดําเนินไป ในแตละชวงเวลา นบัต้ังแตก็เปล่ียนแปลงจากการผลิตสินคาเทาท่ีจําเปนตองใชสําหรับการดํารง ชีวิตท่ีประกอบดวยปจจัย 4 ไดแก อาหาร ท่ีอยูอาศัย เคร่ืองนุงหม ยารักษาโรค มาเปนการผลิตสินคาเพื่อการคาขายแลกเปล่ียนกันมากข้ึน ซ่ึงสงผลใหเกิดการผลิตสินคาท่ีมีความหลากหลายในครัวเรือน และไดขยายออกไปเปนอุตสาหกรรมขนาดใหญนอยตามลําดับ และนอกจากน้ี การท่ีมนุษยมีทางในการเลือกการจบัจายสินคาท่ีมีความหลากหลายมากข้ึน ทําใหเกิดการไหลเวยีนของปริมาณเงิน

Page 3: "วิกฤตเศรษฐกิจไทยและแนวทางแก้ไขปัญหาของรัฐบาล" (in Thai)

3

จํานวนมากท่ีใชเปนตัวกลางในการซ้ือขาย แลกเปล่ียนสินคาท้ังภายในประเทศและภายนอกประเทศมีผลใหเกิดความม่ังค่ังตอ ครัวเรือน สังคมและประเทศชาติในท่ีสุด ดังนั้น เม่ือมีการพัฒนาและมีการเปล่ียนแปลงท้ังทางดานการผลิต การดําเนินธุรกิจหรือธุรกรรมทางเศรษฐกิจเพิ่มมากข้ึน จึงเกิดความมีความจาํเปนท่ีจะตองมีการพัฒนาดชันีช้ีวัดทางเศรษฐกิจข้ึน เพื่อเปนตัวช้ีวดัสถานการณการเปล่ียนแปลงทางดานการผลิต ดานอุตสาหกรรมและการเติบโตทางเศรษฐกิจ ซ่ึงจะชวยใหคนในสังคมเขาใจถึงปรากฏการณและแนวโนมทางเศรษฐกิจท่ีเกิดข้ึนไดงายข้ึน

ซ่ึงดัชนีช้ีวัดทางเศรษฐกิจ หรือท่ีเรียกวา ดัชนีวดัความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ Gross National Product (GNP) นั้น มีอยูหลายประการดวยกนั เชน ดัชนีช้ีวดัดานการผลิต, ดัชนีช้ีวดัดานการเงิน, ดัชนช้ีีวัดดานการคลัง, ดัชนีช้ีวดัดานตางประเทศ เปนตน ซ่ึงท้ังหมดลวนมีผลกระทบถึงภาวะคาครองชีพ ท้ังในภาคอุตสาหกรรม ภาคเกษตรกรรม และภาคธุรกิจ ดัชนีช้ีวัดทางเศรษฐกิจนี้สามารถแสดงใหเห็นถึงความเขมแข็งทางเศรษฐกิจ และความสามารถในการแขงขันของภาคเอกชน โดยอาศัยขอมูลสถิติความเจริญเติบโตหรือลดลงของมูลคาท่ีไดจากตัวช้ีวัดตาง ๆ ขอมูลเหลานี้สามารถทําใหนักเศรษฐศาสตรสามารถวิเคราะหหาคาเพือ่ช้ีวัดความเจริญหรือตกตํ่าทางเศรษฐกิจของประเทศได ดัชนีช้ีวดัทางเศรษฐกิจจึงถือเปนเคร่ืองมือท่ีสําคัญอยางหนึ่งท่ีชวยอธิบายปรากฏการณหรือความเปล่ียนแปลงทางเศรษฐกิจท่ีเกิดข้ึนในชวงระยะเวลานัน้ ๆ ปจจุบันไดมีการพัฒนาดัชนีช้ีวดัทางเศรษฐกจิซ่ึงไดบงบอกถึงสถานการณการเปล่ียนแปลงทางเศรษฐกิจในรูปแบบตาง ๆ กัน โดยตัวช้ีวัดเหลานี้นับวนัจะมีบทบาทท่ีสําคัญมากข้ึน เพราะสามารถใชทํานายและอธิบายปรากฎการณทางเศรษฐกิจไดแมนยําและเท่ียงตรง

ดังนั้นในการพิจารณาสภาพการณทางเศรษฐกิจไทยในหวงป 2550-2552 ในเบ้ืองตน จงึจําเปนท่ีจะตองใชดัชนีช้ีวัดทางเศรษฐกิจตาง ๆ มาอธิบายเพื่อใหเขาใจสภาพการณทางเศรษฐกิจไทยในหวงเวลาดังกลาวไดถูกตอง ซ่ึงดัชนีช้ีวดันั้นพจิารณาไดจากหลายภาคดัชนีดวยกนั ในท่ีนี้จะใชการพิจารณาจากดัชนีช้ีวัดเศรษฐกิจ 4 ภาค ซ่ึงไดแก ภาคการผลิต, ภาคการเงิน, ภาคการคลัง และภาคการตางประเทศ (อารีย เช้ือเมืองพาน. 2547 : 63) เพราะตัวช้ีวัดท้ัง 4 ลวนมีความสัมพนัธเกี่ยวของกันอยางใกลชิด เม่ือมีการเปล่ียนแปลงในภาคเศรษฐกิจใด ยอมจะสงผลกระทบตอภาคเศรษฐกิจอ่ืนดวย ดังนัน้การนําขอมูลทางสถิติมาทําการวิเคราะหก็สามารถท่ีจะบงช้ีสภาพเศรษฐกจิท่ีเปนอยูในปจจุบันและแนวโนมในอนาคตได

ส่ิงแรกท่ีควรพิจารณาถึงแนวโนมสภาวการณเศรษฐกิจไทยในชวง 2550-2552 นัน้คือในสวนภาคการผลิต ซ่ึงมีหลายปจจยัช้ีวดั เชน อัตราการขยายตัวของผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศ (Gross Domestic Product: GDP), ดชันีผลผลิตอุตสาหกรรม, ดัชนีกําลังการผลิตอุตสาหกรรม, ดัชนีผลผลิตทางการเกษตร, ดัชนรีาคา และอัตราการวางงาน ในสวนแรกจึงขอนําดัชนีอัตราการวางงานมาพิจารณา เพราะอัตราการวางงานถือเปนดัชนีช้ีตามสภาวะเศรษฐกิจวากําลังรุงเรืองหรือถดถอย

Page 4: "วิกฤตเศรษฐกิจไทยและแนวทางแก้ไขปัญหาของรัฐบาล" (in Thai)

4

เพราะเม่ือดัชนี GDP สูง เศรษฐกิจดี อัตราการวางงานจะตํ่า แตหากดัชนี GDP ตํ่า แสดงวาสภาวะเศรษฐกิจเร่ิมมีปญหา เพราะภาคการผลิตสินคาหรือบริการชะลอการผลิตเพื่อการบริโภคเพราะเศรษฐกิจหดตัวนั่นเอง ดังนั้นจึงขอนําเสนอแผนภูมิดัชนแีผนภูมิภาวะอัตราการวางงาน จากป 2549 ถึง สองไตรมาสแรกของป 2552 เพื่อทําความเขาใจถึงสภาพภาวะเศรษฐกิจไทยในหวงปจจุบันไดชัดเจนข้ึน ดังนี้ (สํานักงานสถิติแหงชาติ. 2552 : ออน-ไลน)

เปรียบเทียบอัตราการวางงาน รายเดือน 2549 - 2551

หมายเหตุ : อัตราการวางงาน = ผูวางงาน x 100 กําลังแรงงานรวม

1.2

1.8

1.0

1.7

1.1

2.1

1.4

1.61.4 1.2

1.5

2.2

1.61.2

1.71.6

1.4

1.6

1.21.21.4

1.1

1.5

0.8

1.51.51.51.5

1.7

0.0

1.5

3.0

ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค ส.ค ก.ย ต.ค พ.ย ธ.ค

รอยละ

254925502551

เปรียบเทียบผูวางงาน 2551 กับ 2552

Page 5: "วิกฤตเศรษฐกิจไทยและแนวทางแก้ไขปัญหาของรัฐบาล" (in Thai)

5

เปรียบเทียบอัตราการวางงาน จําแนกตามกลุมอายุ รายเดือน 2550 กับ 2551

การเงน การคลัง

หมายเหตุ : อัตราการวางงานแตละกลุมอายุ = ผูวางงาน แตละกลุมอายุ x 100 กําลังแรงงานรวมแตละกลุมอายุ

6.03.9 3.2

6.5 6.55.2 5.1 5.8

6.35.7

4.4 4.0 4.9

0.60.8 0.6 0.7 0.7 0.7 0.5 0.91.2 0.9 0.7 0.80.60.0

6.0

12.0

พ .ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ .ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ . มี.ค. เม.ย. พ .ค.

2550 2551

รอยละ

วัยเยาวชน (15-24 ป) วัยทํางาน (25-59ป)

เปรียบเทียบอัตราการวางงาน จําแนกตามกลุมอายุ รายเดือน 2551 กับ 2552

Page 6: "วิกฤตเศรษฐกิจไทยและแนวทางแก้ไขปัญหาของรัฐบาล" (in Thai)

6

จากแผนภูมิขอมูลสถิติของสํานักงานสถิติแหงชาติท้ัง 4 แผนภูมิ จะเห็นไดวาจํานวนผูมีงานทําในป 2550 มีจํานวนท่ีสูงกวาป 2549 ถึง 7 แสน 8 หม่ืนคน และอัตราการวางงานในป 2550 มีอัตราท่ีลดลงกวาป 2549 คิดเปนรอยละ 0.2 คือมีจํานวนคนวางงานลดลง 68,000 คน และจากผลสํารวจภาวะการจางงานเดือนพฤศจิกายน 2550 พบวาแนวโนมคนมีงานทํามากข้ึน โดยมีการจางแรงงานท้ังส้ิน 37.08 ลานคน เม่ือเทียบกบัชวงเวลาเดียวกันของป 2549 ท่ีมีการจางงาน 36.76 ลานคน คือมีการจางงานเพ่ิมข้ึน 3 แสน 2 หม่ืนคน โดยเพิ่มข้ึนในภาคการผลิต ขายสง/ขายปลีก ขณะที่การจางงานในภาคการเกษตรลดลง สวนอัตราการวางงานลดลงจากรอยละ 1.2 หรือจํานวน 4 แสน 6 หม่ืนคน ในป 2549 เหลือรอยละ 1.1 หรือ 4 แสน 2 หม่ืนคน ในป 2550 โดยพบการวางงานมากท่ีสุดในผูจบการศกึษาระดับอุดมศึกษา เปนอัตรารอยละ 2.1 นอยท่ีสุดในผูมีการศึกษาตํ่ากวาประถมศึกษา คือรอยละ 0.3 อยางไรก็ตาม ในปลายป 2551 อัตราการวางงานเร่ิมสูงถึง 6.4 แสนคน และเพิ่มข้ึนอยางรวดเร็วในไตรมาสแรกของป 2552 ถึง 8.8 แสนคน โดยเฉพาะอยางยิ่งในวยัเยาวชน อายุ 15-24 ป ท่ีไดรับผลกระทบมากท่ีสุดรอยละ 4.6 ซ่ึงสวนใหญจะเปนนกัศึกษาจบใหมท่ีกําลังหางานทํา อัตราการจางงานท่ีลดลงดังกลาวแสดงใหเห็นอยางชัดเจนถึงการท่ีไทยเร่ิมไดรับผลกระทบจากวิกฤตเศรษฐกจิการเงินของโลก ภาคการผลิตเร่ิมซบเซา แตอยางไรก็ตามในชวงไตรมาสท่ี 2 ของป 2552 อัตราการวางงานก็ไดขยับลดลงมาอยูท่ีรอยละ 1.2 เม่ือเทียบกับรอยละ 1.7 และรอยละ 1.4 ในเดือน พ.ค.และ มิ.ย. 2552 โดยลดลงติดตอกันเปนเดือนท่ี 3 ทําให ศูนยวจิัยกสิกรไทย (ศูนยวจิัยกสิกรไทย. 2552 : ออน-ไลน) มองวาปญหาการวางงานของไทยนาจะถึงจุดตํ่าสุดไปแลว สําหรับภาวะการวางงานที่ดีข้ึน นาจะเปนผลมาจากการฟนตัวของเศรษฐกิจโลกและเศรษฐกิจไทย ตลอดจนมาตรการของภาครัฐท่ีมีสวนชวยชะลอการเลิกจางและลดการวางงาน

สําหรับในภาคการตางประเทศ ตองพิจารณาจากหลายปจจัยดวยกัน (อารีย เช้ือเมืองพาน. 2547 : 63) เชน เงินสํารองระหวางประเทศ, หนี้ตางประเทศ, ดุลการคาระหวางประเทศ หรืออัตราแลกเปล่ียน อยางไรกต็ามปจจัยในภาคกการตางประเทศท่ีมีผลกระทบมากก็คือดุลการคาระหวางประเทศ เพราะเปนเสมือนกาํไรของการคาขายระหวางประเทศท่ีสามารถนําเงินตราเขามาในประเทศได สงผลตอภาคการผลิต ภาคการเงินการคลังของประเทศไดโดยตรง ดังนัน้จึงขอนําดัชนีแผนภูมิภาวะดุลการคามูลคาการสงออกนาํเขารายปของประเทศไทย จากป 2541 ถึง ไตรมาสแรกของป 2552 เพื่อทําความเขาใจถึงความเปนมาของภาวะเศรษฐกิจไทยในปจจบัุนไดชัดเจนข้ึน (สํานักงานปลัดกระทรวงพาณิชย และกรมศุลกากร. 2552 :ออน-ไลน) ดังนี ้

Page 7: "วิกฤตเศรษฐกิจไทยและแนวทางแก้ไขปัญหาของรัฐบาล" (in Thai)

7

2541 2542 2543 2544 2545

สงออก 2,248,089.44 2,214,248.69 2,768,064.76 2,884,703.89 2,923,941.39

นําเขา 1,774,066.37 1,907,390.62 2,494,133.10 2,748,961.63 2,774,892.14

ดุลการคา 474,023.07 306,858.07 273,931.66 135,742.26 149,049.25

2546 2547 2548 2549 2550

สงออก 3,325,630.12 3,873,689.56 4,438,691.03 4,937,372.24 5,302,119.22

นําเขา 3,138,775.87 3,801,066.55 4,754,024.60 4,942,922.54 4,870,186.41

ดุลการคา 186,854.25 72,623.01 -315,333.58 -5,550.30 431,932.81

รวม

สงออก 42,719,025.91

นําเขา 40,756,154.50

ดุลการคา 1,932,544.11

จากแผนภูมิจะเห็นไดวา ต้ังแตป 2541 เศรษฐกิจไทยไดเร่ิมมีความฟนตัวและจํานวนการซ้ือขายสงออกนําเขาเติบโตมาตามลําดับ โดยในป 2541 ประเทศไทยมีฐานมูลคาการคาสงออก 2,248,089.44 ลานบาท ในขณะท่ีมีมูลคาการคานําเขา 1,774,066.37 ลานบาท โดยประเทศไทยได

Page 8: "วิกฤตเศรษฐกิจไทยและแนวทางแก้ไขปัญหาของรัฐบาล" (in Thai)

8

ดุลการคา 474,023.07 แตเม่ือมาถึงป 2551 ไทยขาดดุลการคาอยางรุนแรงเปนประวัติการณ ดังท่ีกระทรวงพาณิชย (กระทรวงพาณิชย. 2551 อางใน ผูจัดการ 360 องศา. 2552 : ออน-ไลน) กลาวถึงแนวโนมภาวะตกตํ่าทางเศรษฐกิจในไตรมาสแรกป 2551 ไววา “เปนการขาดดุลท่ีสูงสุดในรอบ 12 ป นับจากเดือนเม.ย.2539 ท่ีขาดดุลการคามูลคา 2,076 ลานเหรียญสหรัฐ และในป 2539” ซ่ึงจากผลการขาดดุลนี้ไดมีสืบเนื่องมาถึงในไตรมาสสาม ป 2551 แมจะขยายตัวรอยละ 4.0 แตเศรษฐกิจไทยก็ชะลอตัวลงตอเนื่องจากรอยละ 6.0 ในไตรมาสแรก และรอยละ 5.3 ในไตรมาสสอง รวมสามไตรมาสเศรษฐกิจ ขยายตัวรอยละ 5.1 อยางไรก็ตาม สํานักยุทธศาสตรและการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค (สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ. 2551 : ออนไลน) ไดกลาวสรุปไววา โดยภาพรวมเศรษฐกิจในป 2551 ยังอยูในเกณฑดีและจะชวยรองรับแรงกระทบจากภาวะเศรษฐกิจโลกในป 2552 ได อยางไรก็ดีเม่ือถึงไตรมาสแรกของป 2552 วิกฤตเศรษฐกิจโลกก็ไดมีผลกระทบกับประเทศไทยอยางเต็มท่ี เกิดภาวการณชะลอตัวทางเศรษฐกิจและเกิดภาวะการตกงานจํานวนมาก (สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ. 2552 อางใน หนังสือพิมพไทยรัฐ. 2552 : ออน-ไลน)

ดวยภาวการณตกตํ่าทางเศรษฐกิจ ท่ีสถิติดุลการคาของไทยท่ีแมจะเร่ิมฟนตัวหลังภาวะวิกฤตการณทางเศรษฐกิจคร้ังใหญในป 2540 หรือวิกฤตตมยํากุง และมีการเติบโตมาโดยตลอดน้ัน แตเม่ือถึงปลายป 2551 ไดตกตํ่าลงอยางเห็นไดชัด ท้ังนี้เพราะเกิดปจจัยความผันผวนมากมาย ท้ังจากความผกผันทางเงื่อนไขท้ังภายในและภายนอก โดยเฉพาะอยางยิ่งกรณีวิกฤติเศรษฐกิจของโลกไดประสบหายนะครั้งใหญท่ีมีสาเหตุจากวิกฤติการเงินการธนาคารของประเทศสหรัฐอเมริกา เปนวิกฤติโดมิโนท่ีลมทับระบบเศรษฐกิจของประเทศท่ัวโลกท่ีอิงระบบทุนนิยมท่ีมีความสัมพันธและผกผันตามความเปล่ียนแปลงของเศรษฐกิจในสหรัฐอเมริกา จึงทําใหในท่ีสุดปลายป 2551 ประเทศไทยท่ีมีความสัมพันธทางเศรษฐกิจกับสหรัฐอเมริกาอยางใกลชิด ไดกลายเปนสวนหนึ่งของผูท่ีไดรับผลกระทบจากวิกฤติการณในคร้ังนี้อยางหลีกเล่ียงไมได โดยเหตุการณวิกฤตในประเทศไทยไดเร่ิมเห็นไดเดนชัดจากดัชนีช้ีวัดทางสถิติการขาดดุลการคาดังกลาว ซ่ึงสงผลกระทบเปนภาวะเศรษฐกิจในไทยชะลอตัวมาจนถึงปจจุบัน

สาเหตุของวิกฤติเศรษฐกิจชวงป 2550 - 2552 กอนทําความเขาใจถึงสภาพการณท่ีเปนสาเหตุของภาวะเศรษฐกิจไทยในชวง 2550-2552

จําเปนท่ีจะตองจําแนกและทราบถึงความหมายของวิกฤตเศรษฐกิจกอน โดยวิกฤตเศรษฐกิจนั้นสํานักงานคณะกรรมการพฒันาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ. 2546 : ออนไลน) จําแนกเปนสามประเภท ไดแก วกิฤตคาเงิน, วกิฤตธนาคาร และวิกฤตหนี้ระหวางประเทศ โดยวกิฤตการณคาเงิน (Currency Crisis) เปน

Page 9: "วิกฤตเศรษฐกิจไทยและแนวทางแก้ไขปัญหาของรัฐบาล" (in Thai)

9

วิกฤตการณท่ีประเทศถูกโจมตีคาเงินจากนักเก็งกําไรคาเงินทําใหประเทศท่ีใช ระบบอัตราแลกเปล่ียนคงที่ตองลดคาเงินลง เปนเหตุใหธนาคารกลางตองพยายามตรึงคาเงินและตองเสียทุนสํารองระหวางประเทศ และตองใชนโยบายปรับอัตราดอกเบ้ียในประเทศใหอยูในระดับสูง เพือ่ปองกันเงินทุนไหลออกและปองกันการถูกโจมตีคาเงิน เชน วกิฤตท่ีเกิดข้ึนในประเทศไทยป 2540 สวนวกิฤตการณธนาคาร ( ฺBanking Crisis) เปนวกิฤตการณท่ีธนาคารพาณิชยประสบปญหาสภาพคลองอยางรุนแรง หรือไมสามารถดําเนินการตอไปได ทําใหรัฐบาลตองเขามาแทรกแซงใหความชวยเหลือ หรือเขาไปยึดกจิการมาดําเนนิการเอง สําหรับวิกฤตหนีร้ะหวางประเทศ (International debt Crisis) เปนวิกฤตการณท่ีประเทศไมสามารถชําระหนี้คืนได ไมวาเปนหนีภ้าครัฐหรือเอกชน

สาเหตุของวิกฤตเศรษฐกิจ จึงอาจเกดิไดหลายปจจยั ท้ังเกิดจากปจจยัทางเศรษฐศาสตร คือระบบกลไกเศรษฐกิจ และการดําเนินนโยบายเศรษฐกิจท่ีผิดพลาด หรืออาจจะเกิดจากปจจยัท่ีไมใชเศรษฐศาสตรก็ได เชน ความผกผันและความไมแนนอนทางการเมือง การถูกกดดันจากตางประเทศดวยเหตุผลทางการเมืองการทหารเปนตน ซ่ึงแบงออกไดเปนปจจัยภายนอกประเทศและปจจยัภายในประเทศ

สําหรับปญหาเศรษฐกิจไทยในปจจุบัน 2551-2552 อาจจําแนกสาเหตุท่ีมีผลกระทบตอไดดังนี ้

1.) สาเหตุปจจัยภายนอกประเทศ โดยหลักจะเปนปจจยัทางเศรษฐศาสตร เชนราคานํ้ามัน (สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวจิัย. 2551 : ออน-ไลน) โดยต้ังแตตนป 2547 ถึง 2551 ราคาน้ํามันปโตรเลียมดิบพุงสูงข้ึนกวาสองเทาตัว จากประมาณบารเรลละ 30 เหรียญสหรัฐในเดือนกุมภาพันธ 2547 เปน 100 เหรียญ สงผลกระทบท่ีคอนขางรุนแรงตอผูใชน้ํามันท่ัวโลก โดยเฉพาะประเทศท่ีตองพึ่งพาการนําเขาน้ํามันเปนปริมาณมากอยางประเทศไทย ราคาน้ํามันจึงมีการปรับราคาอยางตอเนื่อง น้ํามันเปนตนทุนสําคัญของการขนสง กวารอยละ 7.79 ของ GDP หรือเปนสัดสวนกวา 41-43% ของตนทุนโลจิสติกสโดยรวม ทําใหรัฐบาลไทยตองหานโยบายตาง ๆ เพื่อชวยเหลือคาครองชีพประชาชน อยางไรก็ตาม จากวกิฤตเศรษฐกิจการเงินของสหรัฐในป 2551 ทําใหราคาน้ํามทันไดเร่ิมมีราคาลดลงตามระบบอุปสงค-อุปทาน ทําใหราคาน้ํามันไมเปนปญหาตอการครองชีพของประชาชนมากนัก แตส่ิงท่ีเปนสาเหตุสําคัญไดมาอยูท่ีส่ิงท่ีทําใหน้ํามันมีราคาลดลงนั่นเอง คือ วิกฤติสินเช่ือซัพพรามในสหรัฐ โดยในเร่ืองนี้ ปรเมธี วิมลศิริ (2552 : ออน-ไลน) กลาววาปญหาเศรษฐกจิในปจจุบันนัน้ไดรับผลกระทบโดยตรงมาจากสาเหตุวิกฤตการณธนาคาร ( ฺBanking Crisis) ของสหรัฐอเมริกา หรือท่ีเรียกวา วิกฤตซับไพรม (Subprime) ท่ีเกิดจากปญหาวิกฤตสินเช่ือท่ีมีสาเหตุจากการใชจายเกนิตัวของภาคครัวเรือนสหรัฐในขณะท่ีธนาคารกลางของสหรัฐไดดาํเนินนโยบายอัตราดอกเบ้ียระดับตํ่าเปนเวลานาน ประกอบกับการเกนิดลุบัญชีเดินสะพัดจาํนวนมากของประเทศในภูมิภาคเอเชีย ซ่ึงไดกลายเปนแหลงเงินทุนดอกเบ้ียตํ่าสําหรับชดเชยการขาดดุลบัญชีเดินสะพัดของ

Page 10: "วิกฤตเศรษฐกิจไทยและแนวทางแก้ไขปัญหาของรัฐบาล" (in Thai)

10

สหรัฐ ทําใหเศรษฐกิจสหรัฐสามารถขยายตัวไดอยางตอเนื่องถึง 10 ป โดยเปนการขยายตัวของการบริโภคบนพ้ืนฐานของการกอหนี้ภาคครัวเรือน ซ่ึงนําไปสูปญหาฟองสบูในภาคอสังหาริมทรัพย ในท่ีสุดเม่ือธนาคารกลางของสหรัฐข้ึนอัตราดอกเบ้ียและราคาอสังหาริมทรัพยปรับตัวลดลง จึงเกิดปญหาสินเช่ือดอยคุณภาพ นําไปสูการลดคาของตราสารทางการเงินท่ีเกีย่วของกับสินเช่ือสังหาริมทรัพย นอกจากนั้น ความหละหลวมในการกํากับดูแลภาคการเงินในสถานการณท่ีนวัตกรรมทางการเงินมีความซับซอนมากข้ึนไดซํ้าเติมใหปญหาการเงินมีความรุนแรงและขยายวงถึงตลาดการเงินของโลก ในเดือนกนัยายน 2551 สถาบันการเงินขนาดใหญในสหรัฐ เชน Merrill Lynch, Lehman Brothers, Fannie Mae, Freddie Mac ไดประสบปญหาฐานะการเงินอยางหนกัถึงข้ันลมละลายหรือตองขอความชวยเหลือจากภาครัฐ สงผลใหเกิดวิกฤตการณทางการเงินโลก และเกดิภาวะสินเช่ือตึงตัวอยางรุนแรงในสหรัฐและยุโรป ผลกระทบของวิกฤตเศรษฐกิจนี้เกิดข้ึนกับประเทศตาง ๆ ท่ัวโลก โดยในไตรมาสที่ 4 เศรษฐกิจหลักในโลกตางหดตัว เชน เศรษฐกิจสหรัฐอเมริกา (-0.2%) อังกฤษ (-1.0%) ญ่ีปุน (-4.6%) กลุมยูโรโซน (-1.6%) สิงคโปร (-3.7%) เกาหลีใต (-3.4%) และไตหวัน (-8.4%) เปนตน โดยประเทศญ่ีปุนและไตหวนัหดตัวมากกวาเศรษฐกิจไทย (-4.3%) ขณะที่ในสหรัฐอเมริกามีอัตราการวางงานสูงถึงรอยละ 6.9 และคาดวาอาจจะเพิ่มสูงถึงรอยละ 10.0 ในป 2552 เศรษฐกิจท่ีเคยขยายตัวสูง เชน จนี อินเดีย และเวยีดนาม เปนตน ขยายตัวในอัตราท่ีชะลอตัวลงมากโดยมีการขยายตัวรอยละ6.8 4.9 และ 5.6 ตามลําดบั หากเศรษฐกิจจีนขยายตัวตํ่ากวารอยละ 6.0 ถือเปนภาวะเศรษฐกิจถดถอยของประเทศจีนและจะเริ่มเกิดปญหาการวางงาน การคาระหวางประเทศท่ีลดลงกระทบกับประเทศตาง ๆ ในภูมิภาคอยางรุนแรง ลาสุดในเดือนมกราคม 2552 มูลคาการสงออกของหลายประเทศลดลง เชน จีน (-17.5%) เกาหลีใต (-32.1%) ไตหวนั (-42.9%) สิงคโปร (-34.8%) และเวียดนาม (-24.2%) เปนตน โดยสาเหตุท่ีวิกฤตการเงินของอเมริกากระทบไปถึงท่ัวโลกนั้น ถวิล นิลใบ (2552 : ออน-ไลน) อธิบายวาวิกฤตเศรษฐกิจคร้ังนีเ้ปนคร้ังท่ีรายแรงมากท่ีสุดต่ังแตเกิดวิกฤตเศรษฐกิจตกตํ่าท่ัวโลกในชวงทศวรรษ 1930 และเนื่องจากขนาดเศรษฐกจิของสหรัฐอเมริกาและประเทศในกลุมยูโร (Euro zone) วัดดวยมูลคา GDP รวมกนัมีคาเทากับประมาณรอยละ 47 ของ GDP ของโลก ดังนั้น เม่ือภาวะเศรษฐกิจของท้ังสองกลุมนี้ตกตํ่า ก็จะฉุดใหเศรษฐกิจของโลกตกตํ่าไปดวย

2.) สาเหตุปจจยัภายในประเทศ เปนปจจัยท่ีไมใชเศรษฐศาสตร ไดแกความไมแนนอนทางการเมืองจากวิกฤตการณการเมืองในประเทศไทย 2547-2552 อันเปนชุดเหตุการณท่ีเกดิข้ึนอยางตอเนื่อง (Wikipedia. 2009 : on-line) โดยมีสาเหตุท่ีเร่ิมตนมาจากหลายฝาย ซ่ึงมีความเห็นวา พ.ต.ท. ทักษณิ ชินวตัรควรลาออกจากตําแหนงนายกรัฐมนตรี จากวิกฤตการณดังกลาวไดนําไปสูเหตุการณรัฐประหาร 2549 และการปกครองในระบอบเผด็จการทหารในชวงระยะเวลาหน่ึง โดยเหตุการณวกิฤตทางการเมืองในประเทศไทยไดมีผลสืบเนือ่งมาจากการรัฐประหารในประเทศไทย

Page 11: "วิกฤตเศรษฐกิจไทยและแนวทางแก้ไขปัญหาของรัฐบาล" (in Thai)

11

2549 ท่ีเปนการกอรัฐประหาร ซ่ึงเกิดข้ึนในคืนวันท่ี 19 กันยายน 2549 นําโดย คณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข ซ่ึงมีพลเอก สนธิ บุญยรัตกลิน เปนหวัหนาคณะ โดยโคนลมรักษาการนายกรัฐมนตรี พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ซ่ึงนับเปนการกอรัฐประหารเปนคร้ังแรกในรอบ 15 ป รัฐประหารคร้ังนี้เกิดข้ึนกอนการเลือกต้ังท่ัวไปในเดอืนตอมา หลังจากท่ีการเลือกต้ังเดือนเมษายนถูกตัดสินใหเปนโมฆะ นับเปนจดุเปล่ียนสําคัญในวิกฤตการณทางการเมืองท่ีดําเนินมายาวนานนับต้ังแตเดือนกันยายน 2548 คณะรัฐประหารไดยกเลิกการเลือกต้ังในเดือนตุลาคม ยกเลิกรัฐธรรมนูญ ส่ังยุบสภา ส่ังหามการประทวงและกิจกรรมทางการเมือง ยับยั้งและเซ็นเซอรส่ือ ประกาศใชกฎอัยการศึก และจับกมุสมาชิกคณะรัฐมนตรีหลายคน วิกฤตการณดังกลาวยังเกี่ยวของกับการกอต้ังกลุมพนัธมิตรประชาชนเพ่ือประชาธิปไตย ซ่ึงมีนายสนธิ ล้ิมทองกุลเปนแกนนํา และกลุมแนวรวมประชาธิปไตยตอตานเผด็จการแหงชาติ ซ่ึงไดเคล่ือนไหวขับไลทักษิณ ชินวัตร จากตําแหนงนายกรัฐมนตรี นับเปนเหตุการณในประเทศไทยท่ีเร่ิมตนข้ึนต้ังแตกลางป 2547 ในชวงปลายรัฐบาลทักษณิ 1 เม่ือมีการรวมตัวของกลุมคนในนาม กลุมประชาชนเพ่ือชาติและราชบัลลังก และมีการชุมนมุปราศรัยเพื่อขับไล พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวตัร เม่ือวันท่ี 25 กนัยายน 2547 เปนคร้ังแรก และเร่ิมขยายเปนวงกวางข้ึนเม่ือถึงปลายป 2548 สวนหนึง่จากการนําของนายสนธิ ล้ิมทองกุล ในรายการเมืองไทยรายสัปดาห ทางโมเดิรนไนนทีวี และขยายตัวในวงกวางไปยังบุคคลในหลายสาขาอาชีพในเวลาตอมา และแมจะพ.ต.ท.ทักษิณ ชินวตัร จะถูกทํารัฐประหารไปแลว แตรัฐบาลซ่ึงเช่ือวาเปนตัวแทนของอดีตนายกรัฐมนตรีทักษณิก็ไดถูกชุมนมุขับไลโดยกลุมพนัธมิตรประชาชนเพ่ือประชาธิปไตยหลายคร้ัง โดยเฉพาะอยางยิ่งเหตุการณชุมนุมท่ียืดเยื้อในปลายป 2551 โดยผลของการชุมนุมในคร้ังนี้ไดเร่ิมบานปลาย เม่ือพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยไดเขาปดลอมทาอากาศยานสุวรรณภูมิ และทาอากาศยานดอนเมือง เพื่อตอรองกับนายกรัฐมนตรี สมชาย วงศสวัสดิ์ ใหลาออกจากตําแหนง ซ่ึงสงผลใหเท่ียวบินทุกเท่ียวหยดุทําการ โดยกอนหนานี้ ในเดือนสิงหาคม ผูสนับสนุนกลุมพันธมิตรประชาชนเพือ่ประชาธิปไตยไดทําการปดทาอากาศยานภูเก็ต และทาอากาศยานกระบ่ี และปดการเดินทางทางรถไฟสายใตเพื่อกดดนัใหนายกรัฐมนตรี สมัคร สุนทรเวช ลาออกมาแลว ซ่ึงพฤติการณดังกลาวมีผูกลาววาไดสงผลกระทบตอความนาเช่ือถือและตอเศรษฐกิจของประเทศ แตหลังจากวันท่ี 2 ธันวาคม 2551 ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยใหยุบพรรคพลังประชาชน และเพิกถอนสิทธิทางการเมือง ของคณะกรรมการบริหารพรรค คนละ 5 ป ทําใหรัฐบาลนายสมชาย วงศสวัสดิ์ ตองพนตําแหนง ทําใหกลุมพนัธมิตรประชาชนเพ่ือประชาธิปไตยไดยุติการชุมนุมโดยอางวาสามารถขับไลรัฐบาลตัวแทนของอดีตนายกรัฐมนตรีทักษณิ ชินวัตรออกไปไดแลว หลังจากเหตุการณดงักลาวจึงไดมีการเปล่ียนข้ัวอํานาจทางการเมืองคร้ังใหญและนํามาสู การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีในประเทศไทย ในเดือนธันวาคม 2551 เปนการลงมติของสภาผูแทนราษฎร เม่ือวันท่ี 15 ธันวาคม 2551 เพื่อเลือก

Page 12: "วิกฤตเศรษฐกิจไทยและแนวทางแก้ไขปัญหาของรัฐบาล" (in Thai)

12

นายกรัฐมนตรีแทนตําแหนงท่ีวางลง เนื่องจากวนัท่ี 2 ธันวาคม 2551 นายสมชาย วงศสวัสดิ์ ตองพนจากตําแหนงนายกรัฐมนตรีดังกลาว และภายหลังเสร็จส้ินการลงคะแนน ผลการนับคะแนนเลือกนายกรัฐมนตรีปรากฎวา นายอภิสิทธ์ิ เวชชาชีวะ หัวหนาพรรคประชาธิปตย ไดรับความเหน็ชอบ จํานวน 235 คะแนน เกนิกึ่งหนึ่ง จึงถือไดวานายอภิสิทธ์ิไดรับความเหน็ชอบตามมติของสภาใหดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรี รัฐบาลของนายอภิสิทธ์ิ เวชชาชีวะ จึงถือเปนรัฐบาลของอดีตพรรคฝายคานท่ีรับการดาํรงตําแหนงคร้ังแรกในรอบเกือบ 10 ป อยางไรก็ตาม วกิฤตการเมืองดังกลาวกย็ังคงดําเนินมาจนถึงปจจุบัน เนื่องจากความเคล่ือนไหวของกลุมเส้ือแดงท่ีเปนกลุมการเคล่ือนไหวทางการเมืองท่ีสนับสนุน พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวตัร ใหดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรี และเปนกลุมผูตอตานการรัฐประหาร 2549 ท่ีไดกอต้ังข้ึนเม่ือ 2550 มีจุดประสงคเดิมเพื่อขับไล พล.อ. สุรยุทธ จุลานนท ออกจากตําแหนงนายกรัฐมนตรีภายหลังจากการรัฐประหาร แตไดยติุการชุมนุมเม่ือ 26 ธันวาคม 2550 หลังจากท่ีพรรคพลังประชาชนไดรับเลือกเปนเสียงขางมากในสภาผูแทนราษฎร โดยในภายหลังกลุมแส้ือแดงจึงไดกลับมารวมตัวกนัอีก เพื่อตอตานพันธมิตรประชาชนเพ่ือประชาธิปไตย ในเดือนพฤษภาคม 2551 จนมีผูเสียชีวิตและผูบาดเจ็บ และหลังการเปลี่ยนข้ัวรัฐบาล โดยนายอภิสิทธ์ิ เวชชาชีวะ เปนนายกรัฐมนตรี ทําใหแนวรวมประชาธิปไตยตอตานเผดจ็การแหงชาติกลับมาชุมนุมเคล่ือนไหวคร้ังใหญเพื่อขับไลรัฐบาล ในวนัท่ี 26 มีนาคม 2552 จนเกดิเหตุการณการกอความไมสงบเม่ือ เมษายน 2552 รัฐบาลประกาศสถานการณฉุกเฉินข้ันรายแรง และยกกําลังทหารปดลอมผูชุมนุม จนตองยุติการชุมนมุเม่ือ 14 เมษายน 2552 และแกนนํา 3 คน ไดแก นายวรีะ มุสิกพงศ นายณัฐวุฒิ ใสยเกื้อ และ นพ.เหวง โตจิราการ ถูกควบคุมตัว จนกระท่ังรัฐบาลยกเลิกประกาศสถานการณฉุกเฉิน (วิกพิีเดยีภาษาไทย. 2552 : ออน-ไลน) ดวยปญหาความวุนวายทางการเมืองดังกลาวจึงเปนสาเหตุปจจัยภายในท่ีสําคัญปจจัยหนึ่งท่ีมีผลกระทบตอเศรษฐกิจของประเทศไทย เพราะกระทบโดยตรงตอความเช่ือม่ันของนักลงทุนและสงผลตอการดําเนินนโยบายของรัฐบาลคณะตาง ๆ ท่ีอยูภายใตความกดดันจากกลุมการเมืองตาง ๆ ดังกลาวมา

ผลกระทบของวิกฤติการณตาง ๆ ท้ังจากสาเหตุทางเศรษฐศาสตรและไมใชเศรษฐศาสตร (การเมือง) ท่ีมีตอประเทศไทยมี 2 ชองทาง ชองทางแรก เปนชองทางทางการเงิน ซ่ึงจะมีผลกระทบทันทีในระยะส้ัน ชองทางท่ีสอง เปนชองทางดานการคาและการทองเท่ียว ซ่ึงเปนผลกระทบระยะตอมา ซ่ึงสงผลตั่งแตตนป 2552 โดยในปจจัยดานการเมืองนั้น เกษม จันทมาลา (Kasem Jantamala. 2008 : on-line) นักเศรษฐศาสตร คาดการณไวเพียงวาประเทศไดสูญเสีย 4,200,000,000 ดอลลารสหรัฐจากการปดสนามบินของกลุมการเมืองในปลายป 2551 แตก็เปนเพียงการคาดการของนักเศรษฐศาสตร อยางไรก็ตามประเทศไทยนั้นไดรับผลกระทบโดยตรงจากวกิฤตการเงินการธนาคารของสหรัฐมากกวา โดยไดรับผลกระทบของการชะลอตัวของเศรษฐกจิโลกในไตรมาสสุดทายของป 2551 ปรเมธี วิมลศิริ (2552 : ออน-ไลน) ซ่ึงมี 3 สวนท่ีไดรับผล ไดแก การลดลงของรายไดจากการ

Page 13: "วิกฤตเศรษฐกิจไทยและแนวทางแก้ไขปัญหาของรัฐบาล" (in Thai)

13

สงออก โดยในไตรมาสสุดทายของป 2551 มูลคาการสงออกของประเทศไทยในรูปเงินดอลลารสหรัฐ ลดลงรอยละ 9.4 หรือคิดเปนมูลคาท่ีลดลงประมาณ 100,000 ลานบาท การลดลงของรายไดจากการทองเท่ียว ปริมาณนักทองเท่ียวตางชาติในชวงไตรมาสท่ี 4 มีจํานวนลดลงรอยละ 19.4 หรือคิดเปนจํานวนนักทองเท่ียวท่ีลดลง จํานวนประมาณ 700,000 คน และคิดเปนรายไดจากการทองเท่ียวท่ีหายไปประมาณ 25,000 ลานบาท จากชวงเดียวกันของป 2550 และการลดลงของราคา เนื่องจากกําลังซ้ือในตลาดโลกท่ีนอยลงมาก สงผลใหราคาพลังงาน สินคาและบริการปรับตัวลดลงและหลายประเทศเผชิญกับปญหาเงินฝด (Deflation) โดยในไตรมาสที่ 4 ของป 2551 ราคาสินคาเกษตรสําคัญของไทย เชน ขาวโพด มันสําปะหลัง ยางพารา และปาลมน้ํามัน ปรับตัวลดลงรอยละ 10.2 26.0 36.0 และ 45.1 ตามลําดับ รายไดท่ีนอยลงสงผลใหการบริโภคและการผลิตในประเทศชะลอตัว การใชกําลังการผลิตในภาคอุตสาหกรรมอยูในระดบัตํ่า ความตองการลงทุนใหมลดลง รวมถึงมีการชะลอการจางงาน ลดเวลาการทํางาน ลดคาจาง จนถึงการปลดแรงงานออก ท้ังนี้ในไตรมาสสุดทายของป 2551 การผลิตสาขาอุตสาหกรรม กอสราง การขนสงและส่ือสาร และกลุมโรงแรมและภตัตาคาร หดตัวรอยละ 6.8 12.8 10.6 และ 8.3 ตามลําดับ และการวางงานเพ่ิมสูงข้ึนจากไตรมาสที ่ 3 ประมาณ 5.5 หม่ืนคน โดยเฉพาะในสาขาอุตสาหกรรม ท่ีเช่ือมโยงกับการสงออก เชน อุปกรณอิเล็กทรอนิกส ส่ิงทอ และเคร่ืองนุงหม และยานยนต เปนตน

โดยสรุป ประเทศไทยไดรับผลกระทบมากท่ีสุดจากวิกฤตการเงินของสหรัฐอเมริกา จากผลการลมละลายของ Lehman Brothers วาณชิธนกิจใหญอันดับ 3 ของโลก ท่ีไดสงผลกระทบโดยตรงตอภาคการเงินและการธนาคารของไทย (นภาภรณ พพิัฒน. 2552 : 282-283) เนื่องจากธนาคารพาณิชยในไทยไดมีการลงทุนเกี่ยวของกับวาณิชธนกิจรายนี ้ และโดยเฉพาะอยางยิ่ง เม่ือเศรษฐกจิของตลาดสหรัฐอเมริกาและยุโรปตกตํ่าลง ทําใหตลาดการสงออกของไทยซบเซา เนื่องจากตลาดการสงออกไทยอาศัยการส่ังซ้ือของกลุมตลาดในสหรัฐอเมริกาและยุโรปมาก โดยในเดือนกันยายน 2551 วิกฤตดงักลาวไดสงผลกระทบตอการสงออกของไทยไปสหรัฐซ่ึงเปนตลาดใหญท่ีสุด ขอมูลของกระทรวงพาณิชยระบุวาสถิติการสงออกของไทยไปยงัสหรัฐไดลดลงรอยละ 3.2 เหลือ 14,166 ลานดอลลาสหรัฐ เปนการลดลงอยางตอเนื่องเปนเดือนท่ี 5 นับจากเดือนพฤษภาคม ซ่ึงเปนผลมาจากความตองการในประเทศสหรัฐท่ีเปนตลาดหลักของไทยลดลง ประกอบกับคาเงินบาทท่ีแข็งข้ึนและความสามารถในการแขงขันท่ีลดลงเน่ืองจากไมสามารถแขงกับสินคาราคาตํ่าจตากจีนและเวียดนามไดอยางเต็มท่ี (นภาภรณ พิพัฒน. 2552 : 283) ทําใหผูประกอบการกวา 90% มียอดการส่ังซ้ือตํ่าลง สงผลใหมีการลดและปลดพนักงานเพื่อรักษาสถานะทางการเงินของผูประกอบการในตนป 2552 จาํนวนมาก ดังสถิติการวางงานท่ียกมาอธิบายขางตน และโดยเฉพาะอยางยิ่งผลกระทบตออุตสาหกรรมการทองเท่ียวไทย (ถวิล นิลใบ. 2552 : ออน-ไลน) โดยในชวงคร่ึงปแรกป 2550 พบวา จํานวนนักทองเท่ียวตางชาติท่ีเดินทางเขาประเทศไทยมีจํานวนรวมท้ังส้ิน 6,891,978 คน ซ่ึง

Page 14: "วิกฤตเศรษฐกิจไทยและแนวทางแก้ไขปัญหาของรัฐบาล" (in Thai)

14

ถือวาตํ่ากวาท่ีเปาหมายจํานวนนักทองเท่ียวของ ททท. ท่ีต้ังไวในชวง 6 เดือนแรกจํานวน 7,358,000 คน คอนขางมาก ซ่ึงสงผลกระทบตอการจางงาน เพราะวิกฤตคร้ังนี้เกิดจากภายนอกประเทศ ผลกระทบจะมีตอภาคสงออกและภาคทองเท่ียว แรงงานท่ีจะไดรับผลกระทบจากอยูในสองภาคนี้เปนหลัก ซ่ึงสงผลกระทบตอภาคการเงินท้ังระดับจุลภาคและมหภาค ท่ีมีรายไดลดนอยลง อัตราการจับจายใชสอยลดนอยลง สงผลตอเศรษฐกิจของประเทศไทยโดยรวม

แนวทางแกไขวิกฤติเศรษฐกิจของรัฐบาลไทยในปจจุบัน วิกฤติท่ีกําลังดาํเนินอยูในปจจุบัน รัฐบาลไทยหลายคณะในชวงท่ีผานมาไดมีการพยายาม

แกไขดวยมาตรการตาง ๆ มาโดยตลอด อยางไรก็ตาม จากการเปล่ียนแปลงรัฐบาลหลายคร้ังในชวงปท่ีผานมา ประเทศไทยมีการเปล่ียนนายกรัฐมนตรีถึง 4 คร้ัง ไมนับรวมรักษาการนายกรัฐมนตรี ในป 2551 สงผลใหการลงทุนภาครัฐไมสามารถขับเคล่ือนเศรษฐกิจไดอยางเต็มท่ี ดังนั้นจึงควรพิจารณาเปรียบเทียบจากตัวอยางมาตรการตาง ๆ ของรัฐบาลไทยต้ังแตชวง 2551 เปนตนมา เพื่อทําความเขาใจถึงแนวทางแกไขท่ีดําเนินตอเนือ่งของรัฐบาลปจจุบันท่ีมีความเกี่ยวของกบัผลกระทบจากวกิฤตสินเช่ือสหรัฐ วาไดดําเนนินโยบายแกไขไปถูกทิศทางหรือไม

ในป 2551 รัฐบาลไทยภายใตการนําของนายกรัฐมนตรีสมัคร สุนทรเวช ไดเร่ิมประสบปญหาจากผลกระทบจากอัตราราคาน้ํามันดิบท่ัวโลกท่ีมีราคาสูงข้ึน สงผลตอการครองชีพของประชาชน จึงไดมีการออกมาตรการ “แผน 6 มาตรการ 6 เดือน ฝาวิกฤตเพื่อคนไทยทุกคน” โดยในชวงนี้ในระดับจุลภาค ประชาชนไทยยังไมไดรับผลกระทบจากวกิฤตสินเช่ือสหรัฐเทาใดนัก สวนใหญจะเปนผลกระทบจากราคาน้ํามันท่ีทําใหคาครองชีพพุงสูงข้ึน รัฐบาลจึงจําเปนตองทุมเม็ดเงินและออกนโยบายเพื่อแบงเบาภาระตาง ๆ ซ่ึงมี 6 มาตรการดังนี ้

1.) ลดอัตราภาษีสรรพสามิตน้ํามัน ซ่ึงจะทําใหราคาน้ํามันจะถูกลงดวยการยอมลดภาษีใชเวลา 6 เดือนในระหวางต้ังตัวกอนท่ีงานใหญเมกกะโปรเจคทจะเกิด เพื่อลดราคาน้ํามัน โดยจะมีการกําหนดวนัเวลาใหถูกตองตามกฎหมาย มีการตรวจสอบโดยขาราชการประจําตองเห็นดวยท้ังหมด ดังนี ้

1.1 น้ํามันแกสโซฮอล 91 และนํ้ามันแกสโซฮอล 95 E10 E20 และ E85 ลดภาษีสรรพสามิตท่ีจัดเก็บจากน้ํามันแกสโซฮอล 91 และแกสโซฮอล 95 ลง 3.30 บาทตอลิตร เหลือ 0.0165 บาทตอลิตร เพื่อใหราคาน้ํามันแกสโซฮอล 91 และนํ้ามันแกสโซฮอล 95 มีชวงหางของราคาจําหนายตํ่ากวาน้ํามันเบนซิน 91 และนํ้ามันเบนซิน 95 มากข้ึน

1.2 น้ํามันดีเซล ลดภาษีสรรพสามิตท่ีจัดเกบ็น้ํามันดีเซลลง 2.30 บาทตอลิตรเหลือ 0.005 บาทตอลิตร และลดภาษีสรรพสามิตท่ีจัดเก็บจากน้ํามันไบโอดีเซล (Biodiesel :B5 ) ลง 2.19 บาทตอลิตร เหลือ 0.0048 บาทตอลิตร เพื่อบรรเทา ผลกระทบตอตนทุนของภาคการขนสงใน

Page 15: "วิกฤตเศรษฐกิจไทยและแนวทางแก้ไขปัญหาของรัฐบาล" (in Thai)

15

ระยะส้ัน และชวยใหผูประกอบการมีระยะเวลาในการปรับเปลี่ยนไปสูการใชพลังงานทาง เลือดก (NGV)

2.) ชะลอการปรับราคากาซหุงตม (LPG) ในภาคครัวเรือน เพื่อลดแรงกดดันคาใชจายในภาคครัวเรือนจากการปรับตัวสูงข้ึนของราคาพลังงาน และเพื่อรักษาสภาพของครัวเรือนซ่ึงใชเปนมาตรฐาน เปนระยะเวลา 6 เดือน

3.) ลดคาใชจายน้ําประปาของครัวเรือน โดยภาครัฐจะรับภาระคาใชจายการใชน้ํา สําหรับผูใชน้ําประเภทท่ีอยูอาศัย ท่ีมีปริมาณการใชน้ําในชวง 0 — 50 ลบ.ม./เดือน ซ่ึงเปนปริมาณการใชเพื่อตอบ สนองความจําเปนพื้นฐาน โดยจะครอบคลุมผูใชน้ําท้ังประเทศ ประมาณ 3.2 ลานราย แบงเปนผูใชน้าํท่ีอยูในเขตนครหลวง ประมาณ 1.2 ลานราย และเขตภูมิภาคประมาณ 2 ลานราย ซ่ึงจะประหยัดคาใชจายน้ําประปาเฉล่ียตอรายตอเดือนประมาณ 213 และ 176 บาทตามลําดับ

4.) ลดคาใชจายไฟฟาของครัวเรือน สําหรับครัวเรือนท่ีใชไฟฟาไมเกิน150 หนวย/เดือน ภาครัฐจะลดภาระคาใชจายใน 2 กรณีคือ 1) หากใชไฟฟาไมเกิน 80 หนวย/เดือน ภาครัฐจะรับภาระคาใชจายใหท้ังหมด และ 2) กรณีใชไฟฟาเกินกวา 80 หนวย/เดือน แตไมเกนิ 150 หนวย/เดือน ภาครัฐจะรับภาระคาใชจายใหคร่ึงหนึ่งของคาไฟฟาท้ังหมด ท้ังนี ้ จะครอบคลุมผูใชไฟฟาท้ังประเทศ ประมาณ 9.85 ลานราย แยกเปนผูใชไฟฟาท่ีอยูในเขตนครหลวงประมาณ 0.41 ลานราย และเขตภมิูภาค ประมาณ 9.44 ลานราย ซ่ึงจะสามารถลดคาใชจายใหแกประชาชนเฉล่ีย 120 — 200 บาท/ครัวเรือน

5.) ลดคาใชจายเดนิทางรถโดยสารประจาํทาง โดยจัดรถโดยสารประจําทางขององคการขนสงมวลชนกรุงเทพ (ขสมก.) จํานวน 800 คัน จาก 1,600 คัน ใน 73 เสนทาง โดยเปนรถโดยสารธรรมดา เพือ่ให บริการในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลโดยไมเสียคาใชจาย ซ่ึงจะมีการปลอยรถเมลท่ีวิ่งบริการฟรีสลับกับรถเมลท่ีเก็บเงิน โดยจะมีการตดิปายบอกไวใหประชาชนทราบ

6.) ลดคาใชจายเดินทางโดยรถไฟช้ัน 3 ไมปรับอากาศ ท่ัวประเทศ ใหประชาชนใชบริการรถไฟช้ัน 3 เชิงสังคม โดยไมเสียคาใชจาย ซ่ึงครอบคลุมผูใชบริการเฉล่ียประมาณ 16 ลานคน (6 เดือน)

โดยมาตรการท้ังหมดจะใชเวลา 6 เดือนเพื่อเปนการผอนคลายใหกับประชาชน เร่ิมตนไมเกินวันท่ี 1 สิงหาคม 2551 และส้ินสุดในวันท่ี 31 มกราคม 2552 (สํานักนายกรัฐมนตรี. 2551 : ออน-ไลน)

ทวา เศรษฐกิจไทยในไตรมาสท่ี 3 ของป 2551 มีอัตราการขยายตัวเพียง 4.0% โดยชะลอตัวลงจากไตรมาสที่ 1 และ 2 ท่ีมีอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจสูงถึง 6.0% และ 5.3% ตามลําดับ

จนกระท่ังรัฐบาลของนายกรัฐมนตรีอภิสิทธ์ิ เวชชาชีวะ ไดเขามาบริหารประเทศตอจากพรรคพลังประชาชนท่ีถูกยบุ ในปลายป 2551 จึงไดผลักดันมาตรการกระตุนเศรษฐกิจออกมาใน

Page 16: "วิกฤตเศรษฐกิจไทยและแนวทางแก้ไขปัญหาของรัฐบาล" (in Thai)

16

หลายดานเพ่ือตอสูกับวิกฤตเศรษฐกิจถดถอย โดยมีการสานตออายุ “โครงการ 6 มาตรการ 6 เดือน ฝาวิกฤตเพื่อคนไทยทุกคน” ของรัฐบาลกอน (โพสตทูเดย. 2552 : ออนไลน) แตลดมาเปนมาตรการเรงดวน 5 มาตรการ 6 เดือน เพื่อลดคาครองชีพของประชาชน 11,409.2 ลานบาท รวมท้ังมีการออกมาตรการทางเศรษฐกิจเปนระยะ ๆ เนื่องจากปญหาในชวงไตรมาสสุดทายของป 2551 ท่ีสอเคาวาจะสงผลกระทบอยางรุนแรงในป 2552 โดยชุดของมาตรการเรงดวนนั้น มีวัตถุประสงคท่ีจะเรงพยุงการใชจายของประชาชนในเวลาท่ีรายไดจากการสงออกและการทองเท่ียวของประเทศลดลงมาก โดยมีมาตรการท่ีจะดแูลรายไดประชาชนในกลุมตาง ๆ เชน เกษตรกร แรงงานนอกภาคเกษตรโดยเฉพาะผูวางงาน เด็กและผูปกครอง ประชาชนผูมีรายไดนอย ผูสูงอายุ ผูประกอบการธุรกิจเอกชนโดยเฉพาะวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม ผูประกอบการในสาขาท่ีไดรับผลกระทบรุนแรง เชน ภาคการสงออก และการทองเที่ยว โดยแบงออกเปนมาตรการในสวนตาง ๆ ดังนี้

1.) กระตุนเศรษฐกิจโดยใชมาตรการทางการคลัง โดยออกพระราชกําหนดใหอํานาจกระทรวงการคลังกูเงินเพื่อฟนฟูและเสริมสรางความม่ันคงทางเศรษฐกิจ พ.ศ. ๒๕๕๒ (พ.ร.ก.กูเงิน 4 แสนลาน) เพื่อใหกระทรวงการคลังมีอํานาจกูเงินในนามของรัฐบาลเพ่ือนํามาใชจายหรือลงทุน หรือเพื่อดําเนนิมาตรการท่ีสําคัญและจําเปนตอการฟนฟแูละเสริมสรางความม่ันคงทางเศรษฐกิจ (“พระราชกําหนดใหอํานาจกระทรวงการคลังกูเงินเพื่อฟนฟูและเสริมสรางความม่ันคงทางเศรษฐกิจ พ.ศ. 2552”. 2552 : 1) โดยกระทรวงการคลัง เสนอจัดทํางบกลางปวงเงิน 1 แสนลานบาท และรัฐบาลออกนโยบายตออายุ 6 มาตรการ 6 เดือน ฝาวกิฤตเพื่อคนไทยไปอีก 6 เดอืน โดยมีผลในก.พ. ภายใตงบประมาณ 1.5-1.6 หม่ืนลานบาท โดยยกเลิกกรอบความยั่งยืนทางคลังช่ัวคราว เพื่อนําเม็ดเงินมากระตุนเศรษฐกิจ

2.) ใชมาตรการทางการเงินในการปรับอัตราดอกเบ้ีย โดยธนาคารแหงประเทศไทยไดดําเนินนโยบายการเงินท่ีสอดรับเสริมการกระตุนเศรษฐกิจดวยการปรับลดอัตราดอกเบ้ียนโยบาย หรืออัตราดอกเบ้ียในตลาดซ้ือคืนพันธบัตรรัฐบาลระยะเวลา 1 วันลง 0.75% จากระดับ 2.75 %เหลือ 2.0%

3.) มาตรการแกปญหาการวางงาน รัฐบาลออก “โครงการเพิ่มศักยภาพผูวางงานเพ่ือสรางมูลคาเพิ่มทางเศรษฐกิจและสังคมในชุมชน” (ตนกลาอาชีพ) ใชงบประมาณแผนดิน 6,900 ลานบาท

4.) มาตรการชวยเหลือคาครองชีพประชาชน โดยรัฐบาลออก “โครงการชวยเหลือคาครองชีพประชาชนและบุคลากรภาครัฐ” ใชงบประมาณแผนดนิ 18,970.4 ลานบาท โดยอุดหนุนผูมีรายไดนอย ท่ีมีเงินเดอืนไมถึง 1.5 หม่ืนบาท รายละ 2,000 บาท “โครงการสนับสนุนการศึกษาโดยไมเสียคาใชจาย 15 ป” (โครงการเรียนฟรี 15 ป) ใชงบประมาณแผนดิน 1.9 หม่ืนลานบาท “โครงการเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อยกระดับชุมชน” (กองทุนเศรษฐกิจพอเพยีง) ใชงบประมาณแผนดิน 15,200 ลานบาท “โครงการหลักประกันดานรายไดแกผูสูงอาย”ุ ใชงบประมาณแผนดิน 9,000 ลานบาท

Page 17: "วิกฤตเศรษฐกิจไทยและแนวทางแก้ไขปัญหาของรัฐบาล" (in Thai)

17

จากความพยายามในการดําเนินมาตรการกระตุนเศรษฐกจิดังกลาว ประกอบกับเศรษฐกิจโลกเร่ิมมีสัญญาณปรับตัวดข้ึีน ในท่ีสุด เศรษฐกิจไทยก็สามารถหลุดพนจากภาวะถดถอยมาไดในไตรมาสท่ี 2/2552 (ศูนยวิจยักสิกรไทย. 2555 : ออน-ไลน) โดยจีดพีีกลับมาขยายตัวเปนบวกเม่ือเทียบกับไตรมาสกอนหนา อยางไรก็ดี ศูนยวิจัยกสิกรไทย ไดประเมินความสูญเสียทางเศรษฐกิจจากวิกฤตเศรษฐกจิถดถอยของไทยในรอบนี้ พบวา นับต้ังแตเศรษฐกิจไทยเร่ิมถดถอยมาจนถึงปจจบัุน ตลอดชวงเวลาหนึ่งปมานี้ ประเทศไทยสูญเสียโอกาสของการเติบโตทางเศรษฐกิจไป คิดเปนมูลคาสูงถึงประมาณ 800,000 ลานบาท ซ่ึงสวนใหญเปนผลที่เกิดจากวกิฤตเศรษฐกจิโลกท่ีเขามากระทบตอเศรษฐกิจไทย สวนท่ีมีน้าํหนักรองลงมาคือผลกระทบจากปจจยัทางการเมือง สําหรับผลกระทบอ่ืนๆ อาจมาจากเหตกุารณระบาดของโรคไขหวดัใหญ 2009 และปริมาณพืชผลทางการเกษตรลดลง เปนตน โดยการฟนตัวของเศรษฐกิจไทยนาจะเปนลักษณะคอยเปนคอยไป เนื่องจากวัฏจักรการฟนตัวจะเร่ิมตนข้ึนไดจากแรงผลักดันของการใชจายภาครัฐและการฟนตัวของการสงออกเปนหลัก ขณะท่ีการบริโภคและการลงทุนของภาคเอกชนนาจะคอยๆ ฟนตัวตามมาหลังจากเศรษฐกจิมีการปรับตัวดีข้ึนไดอยางตอเนื่องและม่ันคง อยางไรก็ตาม ปจจยัเส่ียงท่ียังตองจับตามองอยางใกลชิด ไดแก เสถียรภาพทางการเมือง ความยั่งยนืของการฟนตัวของเศรษฐกิจโลก แนวโนมราคาน้ํามัน การระบาดของโรคไขหวัดใหญ 2009 และทิศทางการแข็งคาของเงินบาท เปนตน จากปจจัยความไมแนนอนเหลานี้ หากเกิดกรณีเหตุการณท่ีจะเปนอุปสรรคตอการฟนตัว โดยเฉพาะประเด็นท่ีจะกระทบใหการเบิกจายงบประมาณหรือการดําเนินมาตรการกระตุนเศรษฐกิจของรัฐบาลตองหยุดชะงักลง ก็อาจจะทําใหการฟนตัวของเศรษฐกิจขาดความตอเนือ่ง และมีความเส่ียงท่ีเศรษฐกิจไทยจะกลับมาชะลอตัวอีกได

เสนอแนะแนวทางแกไขปญหาวิกฤติเศรษฐกิจไทย ปญหาเศรษฐกิจท่ีเกดิข้ึน จะเหน็ไดวามีสาเหตุมาจากความไมรูจักพอของนายทุนท่ีต้ังอยูบน

วัตถุประสงคของการเจริญเติบโตรํ่ารวยทางเศรษฐกิจ จากการผลิต การบริโภค ดวยการแขงขันท่ีเนนการกระตุนใหเกิดกิเลส ตัณหา เพื่อการบริโภค บางส่ิงไมจําเปนตอการบริโภค ก็กระตุนจนใหเกิดการบริโภคจนได ต้ังอยูบนฐานของความไมจําเปนและความไมรูจักพอ เพราะระบบทุนนยิมแบบตะวันตกตั้งอยูบนฐานแหงความอยากของมนุษย ตราบใดท่ียังมีความอยาก ระบบดังกลาวก็จะดํารงอยูตอไปได ประเทศไทยซ่ึงรับแนวคิดแบบทุนนยิมตะวนัตกมาจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับท่ี 1 ต้ังแตป 2504 ซ่ึงผูคิดแผนคือชาวตะวันตกผูนยิมทุนนยิมอุตสาหกรรม ทําใหการวางรากฐานทางเศรษฐกิจไทยในระยะตอมาจากนัน้ ต้ังอยูบนฐานแหงการแขงขันเพื่อความรํ่ารวยโดยไมคํานึงถึงวิถีชีวติของคนไทยที่พึ่งพาอาศัยอยูกับเกษตรกรรมมาชานาน ทําใหสังคมไทยในระดบัลางโดยเฉพาะภาคเกษตรกรรมเส่ือมสลาย เกิดปญหาสังคมตามมามากมาย ท้ังนี้เพราะการ

Page 18: "วิกฤตเศรษฐกิจไทยและแนวทางแก้ไขปัญหาของรัฐบาล" (in Thai)

18

มองขามรากฐานสําคัญคือภาคเกษตรกรรมของไทย หันไปมองท่ีอุตสาหกรรมท่ีพึ่งพาอาศัยเทคโนโลยีและแหลงเงินทุนจากภายนอก เม่ือแหลงทุนภายนอกเกิดปญหา เศรษฐกิจไทยก็ทรุดตัว เพราะต้ังอยูบนรากฐานท่ีไมม่ันคง ดังท่ี สุเมธ ตันติเวชกลุ (2550 : 165-166) เคยกลาวไววา “ระบบเศรษฐกิจทุนนิยมโลกจะมีปรากฏการณ (Phenomenon) ท่ีเปนวัฏจักรปกติคือ การเติบโตแลวทรุดตัว หรือ ปรากฏการณโตแลวแตก หรือปรากฏการณตัว W” ทําใหเม่ือทุนจากภายนอกเกดิเหตุการณ เราก็ไดรับผลกระทบอยางหลีกเล่ียงไมได เพราะต้ังอยูบนฐานรากท่ีไมม่ันคง

เหตุการณดังท่ีประเทศไทยเคยประสบกับวิกฤตเศรษฐกจิเม่ือป 2540 และท่ีกําลังประสบในปจจุบัน ลวนเกิดมาจากรากฐานเศรษฐกิจไทยท่ีต้ังอยูบนฐานท่ีไมม่ันคงดังกลาวมา ดังนั้นส่ิงท่ีควรมองเพื่อแกไขปญหาตอไปไมใชเพียงการพ่ึงพาเม็ดเงินหรือการกูเงินจากภายนอก เพื่อแกปญหาในระยะส้ันเทานัน้ แตตองเกิดจากการสรางรากฐานจากทรัพยากรในประเทศใหม่ันคง คือหันมาเนนการปฏิรูปการสงเสริมเกษตรกรรมอยางเปนระบบ การสงเสริมการศึกษาและการสนับสนุนการสรางเทคโนโลยีดวยตนเองอยางมีทิศทาง ดวยเปาหมายคือลดการพึ่งพาจากภายนอกใหมากท่ีสุด ซ่ึงท้ังหมดนีก้็คือการดําเนนิตามแนวเศรษฐกจิพอเพียง คือพอประมาณบนรากฐานท่ีม่ันคงและการรํ่ารวยอยางยั่งยืน ดังท่ี สุเมธ ตันติเวชกุล (2550 : 169) กลาววา “เศรษฐกิจพอเพียงไมใชสําหรับคนยากจน...ไมใชตองตระหนี่ถ่ีเหนียว ความจริงเศรษฐกิจพอเพียงคือควมรํ่ารวย พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหวัทรงสอนใหคนรํ่ารวย และตองรักษาความรํ่ารวยใหอยูกับเราดวย รํ่ารวยแลวตองยั่งยนื ไมใชรวยแลวแตก รวยแลวลม” เพราะความจริงแลว ประเทศไทยไมสามารถหวังพึ่งเศรษฐกิจโลกท่ีอยูในภาวะออนแอได การดาํเนินมาตรการและโครงการตาง ๆ ในประเทศจึงตองดําเนินการอยางรวดเร็วตอเนื่องและมีประสิทธิภาพใหทันกับปญหาภายใตหลักเศรษฐกิจพอเพยีงเพือ่ความยั่งยืนและม่ันคง และส่ิงท่ีสําคัญอยางยิ่ง คือ ภาครัฐ เอกชน และประชาชนจะตองรวมมือรวมใจเปนหนึ่งเดียวกันเพื่อแกไขปญหาและฟนฟเูศรษฐกิจไทยใหเปนเศรษฐกิจท่ีต้ังอยูบนฐานแหงความยั่งยืนและม่ันคงท่ีแทจริงไดตอไป

Page 19: "วิกฤตเศรษฐกิจไทยและแนวทางแก้ไขปัญหาของรัฐบาล" (in Thai)

19

บรรณานุกรม ถวิล นิลใบ. (2551). วิกฤตการเงินในประเทศสหรัฐอเมริกา. [ออน-ไลน]. แหลงขอมูล :

http://www.eco.ru.ac.th/tawin/article/Subprime.pdf “แถลงการณ เร่ืองพระราชบัญญัติคณะสงฆ พ.ศ. 2484,” (2484, 14 ตุลาคม). ราชกิจจานุเบกษา.

เลม 58 หนา 1415-1417. “ไทยขาดดุลการคาสูงสุดรอบ 12 ป,” (2551, พฤษภาคม 22). นิตยสารผูจัดการ 360 องศา.

[ออน-ไลน]. หนา 1. แหลงท่ีมา : http://www.gotomanager.com/news/details.aspx?id=69776

นภาภรณ พิพฒัน. (2552). โคตรวิกฤตหายนะฟองสบูซับไพรม สูวิกฤตโลก. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพมติชน.

ปรเมธี วิมลศิริ. (2552). ภาวะเศรษฐกิจไทยป 2551 และแนวโนมป 2552. [ออนไลน]. แหลงขอมูล : http://www.thanachartbank.co.th/cds/thanachart/nbank/pdf/report2551_full.pdf

“พระราชกําหนดใหอํานาจกระทรวงการคลังกูเงินเพื่อฟนฟูและเสริมสรางความม่ันคงทางเศรษฐกิจ พ.ศ. 2552, ” (2552, 13 พฤษภาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เลม 126 ตอน ท่ี 28 ก หนา 1.

"รัฐบาลเขาเกยีรฝาวิกฤต," (2552, 13 มกราคม). หนังสือพิมพโพสต ทูเดย. [ออน-ไลน]. หนา 1. แหลงท่ีมา : http://www.posttoday.com/politics.php?id=27428

วิกิพีเดียภาษาไทย. (2552). การชุมนุมของกลุมพันธมิตรประชาชนเพือ่ประชาธิปไตย พ.ศ. 2551. [ออนไลน]. แหลงขอมูล : http://th.wikipedia.org/wiki/การชุมนุมของกลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย_พ.ศ._2551

“ศูนยวจิัยกสิกรไทยเผยวิกฤตเศรษฐกิจโลกกระทบไทยปเดยีว สูญ 8 แสนลานบาท,” (2552, 18 กันยายน). วารสาร Engineering Today. [ออน-ไลน]. หนา 1. แหลงท่ีมา : http://www.engineeringtoday.net/news/newsview.asp?id=2107

“สศช.ฟนธงพนวิกฤติปญหาวางงาน,” (2552, กันยายน 5). หนังสือพิมพไทยรัฐ. [ออน-ไลน]. หนา 1. แหลงท่ีมา : http://www.ryt9.com/s/psum/642191/

สํานักขาวไทย. (2552). ศูนยวิจัยกสิกรไทยคาดมีคนวางงานปนี้ 640,000- 680,000 คน. [ออนไลน]. แหลงขอมูล :

Page 20: "วิกฤตเศรษฐกิจไทยและแนวทางแก้ไขปัญหาของรัฐบาล" (in Thai)

20

http://news.mcot.net/economic/inside.php?value=bmlkPTExNjE2NCZudHlwZT10ZXh0

สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั. (2551). งานวิจัยเชงินโยบายเพื่อสงเสริมพลังงานหมุนเวียนและประสิทธิภาพ. [ออนไลน]. แหลงขอมูล : http://www.trf.or.th/tips/x.asp?Art_ID=109

สํานักงานคณะกรรมการพฒันาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ. (2546). วิกฤตเศรษฐกิจไทย 2540. [ออนไลน]. แหลงขอมูล : http://www.nesdb.go.th/news/yearend/YearEnd46/data/data03_1.doc

________. (2551). ภาวะเศรษฐกิจไทยไตรมาสท่ี 2/2552 และแนวโนมป 2552. [ออน-ไลน]. แหลงท่ีมา : http://www.nesdb.go.th/Portals/0/eco_datas/economic/eco_state/2_52/Press%20Thai%20Q2-2009.pdf

สํานักงานปลัดกระทรวงพาณิชย และกรมศุลกากร. (2552). แผนภูมิภาวะดุลการคามูลคาการสงออกนาํเขารายปของประเทศไทย จากป 2541 ถึง ไตรมาสแรกของป 2552. [ออนไลน]. แหลงขอมูล : http://www.stou.ac.th/elearning/60340/balance%20of%20trade.html

สํานักงานสถิติแหงชาติ. (2550). ผลสํารวจภาวะการจางงานเดือนพฤศจิกายน 2550. [ออนไลน]. แหลงขอมูล : http://service.nso.go.th/nso/nsopublish/service/lfs52/reportApril.pdf

________. (2551). สํานักงานสถิติฯ สํารวจภาวะการทํางานของประชากร 2551. [ออนไลน]. แหลงขอมูล : http://service.nso.go.th/nso/nsopublish/service/lfs51/lfsmay.doc

________. (2552). อัตราการวางงานไตรมาสท่ี 3 ของป 2552. [ออนไลน]. แหลงขอมูล : http://portal.nso.go.th/otherWS-world-context-root/webstat/IndiGp/labour-gp.html สํานักงานสถิติแหงชาติ

สํานักนายกรัฐมนตรี. (2551). รัฐบาลออก 6 มาตรการ 6 เดือน ฝาวิกฤตเพื่อคนไทยทุกคน. [ออนไลน]. แหลงขอมูล http://www.ryt9.com/s/cabt/455912/

สุเมธ ตันติเวชกุล. (2550). สรุปการบรรยายในวงงานสภาท่ีปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว.

อารีย เช้ือเมืองพาน. (2547, กรกฎาคม-ตุลาคม). “ดัชนีช้ีวัดทางเศรษฐกิจ,” วารสารแมโจปริทัศน. 5(5). : 63.

Adam Smith. (1904). An Inquiry into the Nature and Causes of the Wealth of Nations. London: Methuen and Co., Ltd., ed.

Page 21: "วิกฤตเศรษฐกิจไทยและแนวทางแก้ไขปัญหาของรัฐบาล" (in Thai)

21

Ellen Meiksins Wood. (2002). The Origins of Capitalism: A Longer View. London: Verso. Kasem Jantamala. (2008). Thai economy braces for fresh blow. [on-line]. Available :

http://money.cnn.com/2008/11/27/news/international/thailand_economy.ap/index.htm Wikipedia. (2009). 2008-2009 Thai political crisis. [on-line]. Available :

http://en.wikipedia.org/w/index.php?title=2008%E2%80%932009_Thai_political_crisis&oldid=314202333