บทคัดย่อ - rio15.rid.go.thrio15.rid.go.th/km/articles-in/wm-25.pdf ·...

16
1 บทคัดย่อ เรื่องที3 การศึกษาแนวทางการปรับปรุงอ่างเก็บน้าห้วยน้าใสเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการน้าใน พื้นที่ลุ่มน้าปากพนัง (พ.ศ. 2562) 1. ชื่อผลงาน การศึกษาแนวทางการปรับปรุงอ่างเก็บน้าห้วยน้าใสเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหาร จัดการน้าในพื้นที่ลุ่มน้าปากพนัง 2. วัตถุประสงค์ วัตถุประสงค์ของการศึกษาแนวทางการปรับปรุงอ่างเก็บน้าห้วยน้าใสเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพการบริหารจัดการน้าในพื้นที่ลุ่มน้าปากพนัง ประกอบด้วย 1. เพื่อศึกษาและวิเคราะห์แนวทางการปรับปรุงอ่างเก็บน้าห้วยน้าใสโดยวิธีการเพิ่ม ความจุเก็บกัก 2. เพื่อศึกษาและวิเคราะห์การปรับปรุงโค้งกฎปฏิบัติการอ่างเก็บน้า (Rule Curve) ของอ่างเก็บน้าห้วยน้าใส กรณีสภาพปัจจุบันและหลังจากเพิ่มความจุเก็บกัก 3. เพื่อศึกษาและวิเคราะห์ความมั่นคงของเขื่อนห้วยน้าใส กรณีที่มีการเพิ่มความจุ เก็บกัก 4. เพื่อประเมินประสิทธิภาพปัจจุบันของการบริหารจัดการน้าในโครงการพัฒนา พื้นที่ลุ่มน้าปากพนัง 5. เพื่อเป็นแนวทางการแก้ปัญหาการบริหารจัดการน้าในฤดูฝนและฤดูแล้งของ โครงการพัฒนาพื้นที่ลุ่มน้าปากพนัง 3. สรุปสาระและขั้นตอนการด้าเนินงาน 3.1 สรุปสาระ โครงการอ่างเก็บน้าห้วยน้าใส ตั้งอยู่ที่บ้านวังหอน หมู่ที่ 5 ต้าบลวังอ่าง อ้าเภอชะอวด จังหวัดนครศรีธรรมราช หัวงานตั้งอยู่ประมาณเส้นรุ้ง (Latitude) ที่ 753’ 03” เหนือเส้นแวง (Longitude) ที่ 9948’ 09” ตะวันออก หรือประมาณพิกัด 47 NNJ 895–718 ตามแผนที่ของ กรมแผนที่ทหารมาตราส่วน 1:50,000 4924 ล้าดับชุด L7018 มีพื้นที่รับน้าฝนประมาณ 113.30

Upload: others

Post on 10-Jan-2020

2 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: บทคัดย่อ - rio15.rid.go.thrio15.rid.go.th/km/articles-in/wm-25.pdf · ปริมาณน้้าล้นผ่านทางอาคารระบายน้้าล้น

1

บทคัดย่อ

เรื่องท่ี 3

การศึกษาแนวทางการปรับปรุงอ่างเก็บน้้าห้วยน้้าใสเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการน้้าในพื้นที่ลุ่มน้้าปากพนัง

(พ.ศ. 2562)

1. ชื่อผลงาน

การศึกษาแนวทางการปรับปรุงอ่างเก็บน้้าห้วยน้้าใสเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการน้้าในพื้นที่ลุ่มน้า้ปากพนัง

2. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ของการศึกษาแนวทางการปรับปรุงอ่างเก็บน้้า ห้วยน้้าใสเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการน้้าในพื้นที่ลุ่มน้้าปากพนัง ประกอบด้วย

1. เพื่อศึกษาและวิเคราะห์แนวทางการปรับปรุงอ่างเก็บน้้าห้วยน้้าใสโดยวิธีการเพิ่มความจุเก็บกัก

2. เพื่อศึกษาและวิเคราะห์การปรับปรุงโค้งกฎปฏิบัติการอ่างเก็บน้้า (Rule Curve) ของอ่างเก็บน้้าห้วยน้้าใส กรณีสภาพปัจจุบันและหลังจากเพิ่มความจุเก็บกัก

3. เพื่อศึกษาและวิเคราะห์ความมั่นคงของเขื่อนห้วยน้้าใส กรณีที่มีการเพิ่มความจุเก็บกัก

4. เพื่อประเมินประสิทธิภาพปัจจุบันของการบริหารจัดการน้้าในโครงการพัฒนาพื้นที่ลุ่มน้้าปากพนัง

5. เพื่อเป็นแนวทางการแก้ปัญหาการบริหารจัดการน้้าในฤดูฝนและฤดูแล้งของโครงการพัฒนาพื้นที่ลุ่มน้้าปากพนัง

3. สรุปสาระและขั้นตอนการด้าเนินงาน 3.1 สรุปสาระ

โครงการอ่างเก็บน้้าห้วยน้้าใส ตั้งอยู่ที่บ้านวังหอน หมู่ที่ 5 ต้าบลวังอ่าง อ้าเภอชะอวด จังหวัดนครศรีธรรมราช หัวงานตั้งอยู่ประมาณเส้นรุ้ง (Latitude) ที่ 7◦ 53’ 03” เหนือเส้นแวง(Longitude) ที่ 99◦ 48’ 09” ตะวันออก หรือประมาณพิกัด 47 NNJ 895–718 ตามแผนที่ของกรมแผนที่ทหารมาตราส่วน 1:50,000 4924 ล้าดับชุด L7018 มีพ้ืนที่รับน้้าฝนประมาณ 113.30

Page 2: บทคัดย่อ - rio15.rid.go.thrio15.rid.go.th/km/articles-in/wm-25.pdf · ปริมาณน้้าล้นผ่านทางอาคารระบายน้้าล้น

2

ตารางกิโลเมตร มีปริมาณฝนเฉลี่ยทั้งปี 1,868.5 มิลลิเมตร มีปริมาณน้้าท่าเฉลี่ยรายปีที่ไหลผ่านที่หัวงาน 97.60 ล้านลูกบาศก์เมตร ในปัจจุบันอ่างเก็บน้้าห้วยน้้าใสมีความจุเก็บกัก 80.00 ล้านลูกบาศก์เมตร ที่ระดับเก็บกัก +86.00 ม.รทก. ระดับเก็บกักสูงสุด +88.00 ม.รทก. ระดับสันเขื่อน +90.00 ม.รทก.พ้ืนที่ผิวน้้าที่ระดับเก็บกัก 3,900 ไร่ พ้ืนที่ผิวน้้าที่ระดับน้้านองสูงสุด 4,200 ไร่ หลังจากที่ผ่านการใช้งานอ่างเก็บน้้าห้วยน้้าใสมาเป็นระยะเวลาหนึ่ง ส้านักงานชลประทานที่ 15 ซึ่งดูแลรับผิดชอบการบริหารจัดการอ่างเก็บน้้าห้วยน้้าใส มีแนวคิดที่จะเพ่ิมความจุอ่างเก็บน้้าห้วยน้้าใส เนื่องจากยังมีปริมาณน้้าล้นผ่านทางอาคารระบายน้้าล้น (Spillway) อยู่บ่อยครั้ง รวมทั้งสภาพภูมิประเทศยังเอ้ือให้สามารถเพ่ิมความจุเก็บกักได้โดยไม่ต้องขยายขอบเขตพ้ืนที่อ่างเก็บน้้าออกไป

ผู้ศึกษาได้น้าแนวคิดดังกล่าวมาศึกษา วิเคราะห์ ความเป็นไปได้ทางวิศวกรรมเศรษฐศาสตร์และสิ่งแวดล้อม เสนอเป็นแนวทางการปรับปรุงอ่างเก็บน้้าห้วยน้้าใสเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารจัดการน้้าในโครงการพัฒนาพ้ืนที่ลุ่มน้้าปากพนัง ผลการศึกษาแนวทางการปรับปรุงอ่างเก็บน้้าห้วยน้้าใส สรุปได้ว่า สามารถปรับปรุงเพ่ิมความจุอ่างเก็บน้้าจากที่มีอยู่ 80.00 ล้านลูกบาศก์เมตร ที่ระดับ +86.00 ม.รทก. เป็น 86.00 ล้านลูกบาศก์เมตร ที่ระดับ +87.00 ม.รทก. โดยการติดตั้งบานระบายแบบพับได้ชนิดไฮดรอลิกบริเวณสันฝายอาคารระบายน้้าล้นเดิม ขนาดความสูง1.00 เมตร ยาว 70.00 เมตร โดยที่ไม่กระทบต่อความมั่นคงของตัวเขื่อน เมื่อด้าเนินการเพ่ิมความจุอ่างเก็บน้้าแล้วเสร็จจะสามารถส่งน้้าให้แก่พ้ืนที่เพาะปลูกได้พ้ืนที่ชลประทานเพ่ิมขึ้นประมาณ 5,400ไร่ สามารถรับน้้าหลากในกรณีเกิดฝนตกหนักเหนือพ้ืนที่รับน้้าอ่างเก็บน้้า ซึ่งเป็นการเพ่ิมประสิทธิภาพให้กับการบริหารจัดการน้้าในโครงการพัฒนาพ้ืนที่ลุ่มน้้าปากพนัง และผู้ศึกษายังได้เสนอโค้งกฎปฏิบัติการอ่างเก็บน้้า (Rule Curve) ส้าหรับกรณีหลังจากท่ีมีการปรับปรุงอ่างเก็บน้้าห้วยน้้าใสแล้วด้วย

ส้าหรับการวิเคราะห์โครงการ พบว่าการปรับปรุงอ่างเก็บน้้าห้วยน้้าใสต้องใช้งบประมาณเป็นค่าลงทุนก่อสร้างประมาณ 81.0 ล้านบาท เวลาในการด้าเนินการประมาณ 1 ปี ผลการวิเคราะห์ทางเศรษฐกิจ (EIRR) เท่ากับร้อยละ 23.93 ที่อัตราคิดลดร้อยละ 12 มูลค่าปัจจุบันสุทธิ (NPV) มีค่าเท่ากับ 50.03 ล้านบาท และอัตราส่วนผลตอบแทนต่อการลงทุน (B/C) มีค่าเท่ากับ 1.64 ส่วนการตรวจสอบผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม พบว่าการปรับปรุงโครงการอ่างเก็บน้้าห้วยน้้าใสไม่ส่งผลผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมแต่อย่างใดเนื่องจากเป็นการเพิ่มศักยภาพความจุของอ่างเก็บน้้าในขอบเขตพ้ืนที่ระดับน้้าสูงสุดเดิม ดังนั้นจึงไม่มีผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมแต่อย่างใด 3.2 ขั้นตอนการด้าเนินงาน

1) ศึกษาสภาพพื้นที่โดยทั่วไปของพื้นที่ศึกษา

อ่างเก็บน้้าห้วยน้้าใส หัวงานตั้งอยู่ที่บ้านวังหอน หมู่ที่ 5 ต้าบล วังอ่าง อ้าเภอชะอวด จังหวัดนครศรีธรรมราช แผนที่มาตราส่วน 1 : 50,000 ระวาง 4924I พิกัด 47NNJ 891-72 ละติจูด 7-53-20” เหนือ ลองติจูด 99-48-40”ตะวันออกอยู่ในความรับผิดชอบของโครงการส่งน้้าและบ้ารุงรักษาปากพนังบน ส้านักงานชลประทานที่ 15 กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ การเดินทางเข้าสู่ที่ตั้งหัวงานอ่างเก็บน้้าห้วยน้้าใส สามารถเดินทางตามทางหลวงแผ่นดิน

Page 3: บทคัดย่อ - rio15.rid.go.thrio15.rid.go.th/km/articles-in/wm-25.pdf · ปริมาณน้้าล้นผ่านทางอาคารระบายน้้าล้น

3

หมายเลข 41 (ทุ่งสง-พัทลุง) ทีส่ี่แยกบ้านไม้เสียบ เลี้ยวขวาไปตามถนนลาดยางหมายเลข 4270 (บ้านไม้เสียบ-บ้านลานข่อย) ระยะทางประมาณ 16 กิโลเมตร ถึงอ่างเก็บน้้าห้วยน้้าใส

อาณาเขตโครงการ โครงการอ่างเก็บน้้าห้วยน้้าใส ประกอบด้วยอ่างเก็บน้้าพื้นที่ชลประทานที่รับน้้าจากอ่าง และพื้นที่อ่างเก็บน้้า ตั้งอยู่หมู่ที่ 5 ต้าบลวังอ่าง อ้าเภอ ชะอวดจังหวัดนครศรีธรรมราช และหมู่ที่ 3 ต้าบลลานข่อย อ้าเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง เป็นอ่างเก็บน้้าขนาดกลาง ความจุที่ระดับเก็บกัก 80 ล้านลูกบาศก์เมตร ส่งน้้าให้แก่พื้นที่ชลประทาน 4 พื้นที่ ประกอบด้วย 1. ระบบส่งน้้านิคมควนขนุน 2. ระบบส่งน้้าช่วยเหลือราษฎรบ้านควนมีชัย อันเนื่องมาจากพระราชด้าริ 3. ระบบส่งน้้าฝายคลองไม้เสียบ 4. ระบบส่งน้้าฝายคลองไม้เสียบส่วนขยาย รวมพื้นที่ชลประทาน 85,802 ไร่ ดังรูปที่ 1 ถึงรูปที่ 4

รูปที่ 1 แผนที่โครงการส่งน้้าและบ้ารุงรักษาปากพนังบน จังหวัดนครศรีธรรมราช

Page 4: บทคัดย่อ - rio15.rid.go.thrio15.rid.go.th/km/articles-in/wm-25.pdf · ปริมาณน้้าล้นผ่านทางอาคารระบายน้้าล้น

4

รูปที่ 2 อ่างเก็บน้้าห้วยน้้าใสอันเนื่องมาจากพระราชดา้ริ

รูปที่ 3 ต้าแหน่งที่ตั้งอ่างเก็บน้้าห้วยน้้าใสอันเนื่องมาจากพระราชด้าริ

Page 5: บทคัดย่อ - rio15.rid.go.thrio15.rid.go.th/km/articles-in/wm-25.pdf · ปริมาณน้้าล้นผ่านทางอาคารระบายน้้าล้น

5

รูปที่ 4 บริเวณหัวงานอ่างเก็บน้้าห้วยน้้าใสอันเนื่องมาจากพระราชด้าริ

2) ศึกษาลักษณะอุตุนิยมวิทยา

พื้นที่รับน้้าฝนเหนือท่ีตั้งเขื่อน 113.3 ตารางกิโลเมตร ปริมาณฝนเฉลี่ยปีละ 1,868.5 มิลลิเมตร ปริมาณน้้าไหลลงอ่างเก็บน้้าเฉลี่ยปีละ 97,526,156 ล้านลูกบาศก์เมตร

3) ศึกษาลักษณะทั่วไปของอ่างเก็บน้้าประกอบด้วยระดับและความจุของอ่างเก็บน้้า

ประกอบด้วย ระดับความจุต่้าสุด ระดับความจุเก็บกัก ระดับความจุสูงสุด และโค้งความสัมพันธ์ระหว่าง ระดับ-ความจุ-พื้นที่ผิวน้้า แสดงในรูปที่ 5

เขื่อนประเภท Type Zone Dam สูง 40.00 เมตร ยาว 946.00 เมตร สันเขื่อนกว้าง 8.00 เมตร ระดับสันเขื่อน + 90.00 เมตร (รทก.) ระดับน้้าเก็บกัก +88.00 เมตร (รทก.) ระดับน้้าต่า้สุด +61.00 เมตร (รทก.) ปริมาณน้้าที่ระดับสูงสุด 93.60 ล้านลูกบาศก์เมตร ปริมาณน้้าที่ระดับเก็บกัก 80.00 ล้านลูกบาศก์เมตร ปริมาณน้้าที่ระดับต่า้สุด 2.00 ล้านลูกบาศก์เมตร ปริมาณน้้าใช้งาน 78.00 ล้านลูกบาศก์เมตร พื้นที่ผิวน้้าระดับเก็บกัก 6.24 ตารางกิโลเมตร พื้นที่ผิวน้้าที่ระดับสูงสุด 6.72 ตารางกิโลเมตร

Page 6: บทคัดย่อ - rio15.rid.go.thrio15.rid.go.th/km/articles-in/wm-25.pdf · ปริมาณน้้าล้นผ่านทางอาคารระบายน้้าล้น

6

4) ศึกษาความเหมาะสมทางด้านวิศวกรรมการเพิ่มความจุอ่างเก็บน้้าห้วยน้้าใส

เนื่องจากลักษณะโครงการ เป็นการปรับปรุงอ่างเก็บน้้าเดิมให้มีความจุเพิ่มมากขึ้นโดยการเพิ่มระดับเก็บกักในบริเวณอาคารระบายน้้าล้น จึงมีความจ้าเป็นต้องตรวจสอบความมั่นคงของอ่างเก็บน้้าและอาคารประกอบที่มีอยู่เดิม โดยอาศัยข้อมูลรายงานการตรวจสอบความปลอดภัยเขื่อน การวิเคราะห์ทางด้านธรณีฟิสิกส์ และการวิเคราะห์เสถียรภาพเขื่อนดิน เพื่อท้าการพิจารณาปรับปรุงโครงสร้างเขื่อนและอาคารประกอบ พร้อมทั้งลักษณะการเพิ่มระดับโครงสร้างบานระบายในการเก็บกักน้้าให้เหมาะสมปลอดภัยกับตัวเขื่อน และเพื่อไม่ให้เกิดผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมเดิมในบริเวณพื้นที่โครงการเดิม

การออกแบบชนิดของบานระบายพับได้นั้นไม่ได้ก้าหนดรูปแบบตายตัว โดยก้าหนดให้รูปแบบของบานระบายพับได้สามารถติดตั้งได้ทั ง แบบถุงลมยาง และแบบกระบอกไฮดรอลิก เพื่อให้ทางผู้ที่จะพิจารณาท้าการก่อสร้างสามารถเลือกชนิดบานระบายพับได้ตามของความเหมาะสมในอนาคต และเปิดกว้างให้กับผู้ร่วมเสนอราคา สามารถน้้าเสนอสิ่งที่เหมาะสมและคุ้มค่าที่สุดให้กับทางโครงการได้ โดยชนิดของบานระบายพับได้ มีรายละเอียดดังแสดงในรูปที่ 6 และรูปที่ 7

รูปที่ 5 โค้งแสดงความจุและพื้นที่ผิวน้้า

Page 7: บทคัดย่อ - rio15.rid.go.thrio15.rid.go.th/km/articles-in/wm-25.pdf · ปริมาณน้้าล้นผ่านทางอาคารระบายน้้าล้น

7

รูปที่ 6 บานระบายพับได้แบบกระบอกไฮโดรลิก

เนื่องจากเมื่อท้าการยกระดับการเก็บกักของอ่างเก็บน้้า พฤติกรรมของระดับน้้าที่สูงขึ้นส่งผลให้

แรงดันน้้าใต้ทางระบายน้้าล้นมีค่ามากขึ้น จากการออกแบบจะต้องท้าการปรับปรุงทางระบายน้้าล้นให้มีความหนามากขึ้น เพื่อเพิ่มแรงกดทับที่กระท้ากับดินใต้อาคารให้มีความมั่นคงในกรณีเก็บกักน้้ามากขึ้น โดยพิจารณาให้เพิ่มความหนาของพื้นคอนกรีตอีก 0.20 เมตร จากเดิม 0.50 เมตร เป็น 0.70 เมตร โดยท้าการสกัดผิวคอนกรีตบางส่วนออกแล้วติดตั้ง ANCHOR BAR เพื่อเพิ่มแรงยึดเหนี่ยวระหว่างคอนกรีตเก่าและคอนกรีตใหม่ จากนั้นจึงท้าการเทคอนกรีตทับใหม่

รูปที่ 7 บานระบายพับได้แบบถุงลมยาง

Page 8: บทคัดย่อ - rio15.rid.go.thrio15.rid.go.th/km/articles-in/wm-25.pdf · ปริมาณน้้าล้นผ่านทางอาคารระบายน้้าล้น

8

5) การศึกษาวิเคราะห์ปรับปรุงโค้งกฎปฏิบัติการอ่างเก็บน้้า (Rule Curve) อ่างเก็บน้้าห้วยน้้าใส

จากการวิเคราะห์พื้นที่รับน้้าของอ่างเก็บน้้าห้วยน้้าใส โดยวิธีสารสนเทศภูมิศาสตร์พบว่า มีพื้นที่รับน้้า ประมาณ 120 ตารางกิโลเมตร หรือ 75,000 ไร่ ซึ่งสอดคล้องกับข้อมูลจากการศึกษา ทั้งนี้ ข้อมูลพื้นที่รับน้้าฝนในรูปแบบสารสนเทศภูมิศาสตร์นี้ มีความส้าคัญในการวิเคราะห์ปริมาณน้้าไหลเข้าอ่างเก็บน้้า

ผลจากการวิเคราะห์ข้อมูลฝนจากสถานีวัดน้้าฝนในพื้นที่ศึกษาและพื้นที่ข้างเคียง 30 ปีย้อนหลัง (พ.ศ.2527 – 2557) จ้านวน 12 สถานี ดังแสดงในรูปที่ 9 พบว่ามีฝนเฉลี่ยรายปีอยู่ที่ 1,950.76 มิลลิเมตร และจะมีฝนตกมาในช่วงเดือนตุลาคม – ธันวาคม ดังแสดงในตารางที่ 1 และรูปที่ 8 ตารางที่ 1 ผลการวิเคราะห์ฝนรายเดือนในพื้นที่ศึกษาและพื้นที่ใกล้เคียงอ่างเก็บน้้าห้วยน้้าใส (มม.) สถานี/เดือน 27032 27062 27102 27142 27270 27370 35032 35120 35153 65052 65092 65100 ค่าเฉลี่ย

มกราคม 114.89 46.90 77.84 108.88 51.72 97.34 113.20 104.80 105.80 44.31 88.34 30.38 82.03

กุมภาพันธ์ 30.52 27.45 28.76 42.73 6.86 67.28 39.44 47.15 68.68 22.31 33.62 26.74 36.79

มีนาคม 64.32 49.88 28.26 57.59 57.01 114.06 80.76 86.92 88.95 41.99 82.88 52.96 67.13

เมษายน 98.97 92.43 66.11 81.86 106.99 101.02 98.71 113.79 111.90 97.86 130.85 119.61 101.68

พฤษภาคม 124.34 177.42 129.12 128.36 196.48 130.22 118.37 141.09 111.02 185.81 240.37 225.68 159.02

มิถุนายน 71.00 153.79 90.64 75.92 94.09 93.67 65.69 84.81 85.55 158.12 234.60 195.93 116.99

กรกฎาคม 69.51 177.26 78.42 83.10 104.08 100.09 65.82 85.48 84.51 178.90 237.63 228.98 124.48

สิงหาคม 97.10 172.41 83.23 81.04 86.68 122.33 65.57 89.42 92.15 192.24 278.33 239.12 133.30

กันยายน 116.92 219.33 114.54 113.32 133.91 127.27 95.14 123.71 115.32 236.09 289.12 285.98 164.22

ตุลาคม 250.43 253.93 281.86 252.27 244.92 235.13 269.12 233.58 240.95 264.54 307.76 262.74 258.10

พฤศจิกายน 442.04 240.84 577.39 515.32 562.92 452.78 504.07 447.71 544.30 226.26 355.51 181.91 420.92

ธันวาคม 290.46 154.44 338.69 322.39 285.19 368.24 380.61 338.67 435.63 138.55 270.64 109.55 286.09

ผลรวม 1770.51 1766.10 1894.86 1862.77 1930.86 2009.43 1896.49 1897.13 2084.76 1786.98 2549.65 1959.59 1950.76

ค่าเฉลี่ย 147.54 147.17 157.91 155.23 160.91 167.45 158.04 158.09 173.73 148.91 212.47 163.30 162.56

Page 9: บทคัดย่อ - rio15.rid.go.thrio15.rid.go.th/km/articles-in/wm-25.pdf · ปริมาณน้้าล้นผ่านทางอาคารระบายน้้าล้น

9

รูปที่ 8 กราฟเปรียบเทียบปริมาณฝนเฉลี่ยรายเดือน 30 ปี บริเวณอ่างเก็บน้้าห้วยน้้าใส

Page 10: บทคัดย่อ - rio15.rid.go.thrio15.rid.go.th/km/articles-in/wm-25.pdf · ปริมาณน้้าล้นผ่านทางอาคารระบายน้้าล้น

10

รูปที่ 9 สถานีวัดน้้าฝน 12 สถานี ในพื้นที่ศึกษาและพื้นที่ใกล้เคียงอ่างเก็บน้้าห้วยน้้าใส

Page 11: บทคัดย่อ - rio15.rid.go.thrio15.rid.go.th/km/articles-in/wm-25.pdf · ปริมาณน้้าล้นผ่านทางอาคารระบายน้้าล้น

11

ผลจากการวิเคราะห์ข้อมูลฝนจากสถานีวัดน้้าฝนในพื้นที่ศึกษา และพื้นที่ข้างเคียงสามารถน้าวิเคราะห์ปริมาณน้้าไหลลงอ่างรายเดือนตามหลักอุทกวิทยา ดังแสดงในตารางที่ 2และรูปที่ 10 พบว่า อ่างเก็บน้้าห้วยน้้าใส มีปริมาณน้้าไหลลงอ่างเฉลี่ยรายปี เท่ากับ 176.70 ล้าน ลบ.ม. และมีปริมาณมากในเดือนพฤศจิกายน และ ธันวาคม ทั้งนี้ ในการน้าไปวิเคราะห์ต่อ จึงมีการวิเคราะห์ความน่าเชื่อถือและความสอดคล้องของข้อมูลตามหลักสถิติ พบว่า ในปี 2005 และ ปี 2019 มีความผิดพลาดในการตรวจวัด จึงไม่น้าข้อมูลปีดังกล่าว มาใช้ในการศึกษา ตารางที่ 2 ผลการวิเคราะห์ปริมาณน้้าไหลลงอ่างเก็บน้้าห้วยน้้าใสรายเดือน (ลา้น ลบ.ม.)

ปี/เดือน

ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ผลรวม

1984 25.40 21.35 10.34 3.42 6.58 4.27 8.29 2.86 2.20 4.59 10.46 55.55 155.28

1985 13.80 6.00 7.17 5.98 10.60 9.28 4.27 5.34 6.17 8.61 22.80 43.90 143.90

1986 20.55 7.20 5.21 4.36 11.40 6.76 7.12 6.32 13.35 12.40 44.55 40.15 179.35

1987 14.40 8.31 7.88 3.94 3.65 5.02 3.01 8.94 5.80 9.04 10.40 50.95 131.32

1988 14.90 7.76 4.37 3.52 6.80 2.87 5.35 6.91 10.40 12.14 67.75 39.97 182.72

1989 14.30 5.16 4.12 5.73 4.34 3.09 6.48 6.43 4.97 8.93 22.97 10.89 97.39

1990 5.23 3.77 3.08 3.41 5.77 4.06 3.33 3.15 3.43 8.30 23.04 33.24 99.79

1991 10.52 5.89 5.50 4.04 5.24 4.98 11.20 10.30 11.19 9.58 21.81 37.71 137.93

1992 21.96 8.85 5.45 2.54 2.40 2.61 2.68 6.07 4.22 6.56 29.19 36.00 128.49

1993 18.13 8.37 9.27 10.30 8.49 7.09 5.99 3.88 5.19 11.92 49.03 72.78 210.41

1994 15.11 9.44 15.12 15.49 15.77 8.75 10.26 9.74 9.24 17.00 89.64 30.60 246.14

1995 17.79 10.98 9.92 4.81 3.78 3.72 3.37 5.94 8.56 8.12 53.61 21.65 152.21

1996 12.25 12.32 5.71 8.22 11.25 7.69 6.61 6.72 6.95 10.79 22.46 55.08 166.02

1997 10.85 8.68 7.87 5.49 3.68 4.29 5.26 14.50 11.72 21.71 33.54 64.95 192.50

1998 12.71 5.24 3.23 1.42 1.41 1.92 1.56 3.81 5.40 10.76 22.16 48.56 118.13

1999 48.15 51.62 13.68 12.12 6.01 4.86 4.72 5.08 5.11 11.36 16.18 46.99 225.85

2000 22.33 14.25 30.43 22.54 18.98 12.78 9.45 10.60 8.51 10.90 72.78 35.19 268.71

2001 72.38 16.76 17.44 8.43 8.71 4.84 4.26 4.41 3.57 9.82 28.05 44.09 222.73

2002 16.77 6.97 3.92 4.32 6.54 3.72 3.78 6.19 6.95 11.26 33.67 46.70 150.76

2003 25.98 9.17 8.92 4.86 3.21 2.73 5.42 7.00 5.06 12.14 27.86 41.77 154.10

2004 15.23 9.51 5.36 4.75 7.38 7.64 9.31 6.34 6.46 16.55 41.28 34.00 163.79

2005 11.98 5.01 5.16 2.52 3.92 4.07 3.42 3.37 3.91 12.43 33.39 122.74 211.91

2006 23.84 24.19 17.69 15.12 13.88 10.86 11.22 8.11 8.17 12.77 18.87 19.80 184.48

2007 23.79 8.71 7.31 5.98 8.34 7.68 7.88 8.07 9.32 14.85 20.44 25.68 148.03

2008 15.38 7.36 10.79 7.61 10.51 5.87 3.78 3.52 2.63 4.76 35.58 48.57 156.33

2009 34.35 6.82 8.13 15.96 11.32 5.20 5.53 5.72 6.04 7.29 44.08 22.90 173.31

2010 21.75 6.26 4.03 3.52 3.03 4.00 4.61 4.37 4.70 6.81 66.22 45.17 174.44

2011 36.12 12.67 44.36 25.33 11.26 8.02 7.76 8.08 12.52 12.91 37.98 38.29 255.29

2012 45.58 23.12 14.83 14.07 10.63 15.10 8.77 7.01 10.38 11.39 20.85 43.14 224.86

2013 29.44 17.61 13.19 6.40 6.94 6.23 4.52 4.96 3.44 8.54 32.00 39.83 173.08

2014 13.29 6.05 3.67 4.36 3.83 4.74 5.13 4.52 4.88 16.57 35.95 65.99 168.94

2015 23.58 6.27 4.81 3.50 3.68 3.07 5.72 8.37 9.67 13.87 29.58 20.67 132.76

2016 15.31 11.92 2.95 1.12 2.39 2.90 4.17 4.38 2.51 3.35 11.58 131.73 194.28

2017 22.43 13.93 6.63 21.15 15.05 7.23 6.51 8.11 12.94 12.94 87.88 68.04 282.80

ค่าเฉลี่ย 21.93 11.40 9.63 7.83 7.55 5.82 5.90 6.44 6.93 10.91 35.81 46.56 176.70

Page 12: บทคัดย่อ - rio15.rid.go.thrio15.rid.go.th/km/articles-in/wm-25.pdf · ปริมาณน้้าล้นผ่านทางอาคารระบายน้้าล้น

12

รูปที่ 10 กราฟเปรียบเทียบปริมาณน้้าไหลลงอ่างรายเดือน 30 ปี บริเวณอ่างเก็บน้้าห้วยน้้าใส

การวิเคราะห์ปริมาณน้้าระบายนั้นใช้ผลจากการบันทึกข้อมูลตั้งแต่ปี 2009–

2017 ในส่วนปีก่อนหน้าที่ไม่มีข้อมูลจะใช้ค่าเฉลี่ยรายเดือน ดังแสดงในตารางที่ 3 ตารางที่ 3 ผลการวิเคราะห์ปริมาณน้้าระบายของอ่างเก็บน้้าห้วยน้้าใสรายเดือน (ลา้น ลบ.ม.) ปี/เดือน ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ผลรวม

2009 5.08 7.29 7.83 7.80 12.33 12.99 10.67 8.21 6.74 6.22 1.73 2.16 2009 2010 1.72 6.22 6.96 7.71 14.38 8.63 2.43 2.49 3.24 4.01 0.24 31.46 2010 2011 42.22 11.85 64.98 32.12 11.82 11.46 14.90 20.85 26.51 16.64 3.74 6.43 2011 2012 51.11 12.38 8.74 8.89 8.86 9.03 17.67 22.99 9.93 8.16 6.20 2.48 2012 2013 4.19 3.64 2.42 11.48 10.36 14.45 19.75 8.21 5.74 8.97 5.08 4.34 2013 2014 4.81 6.02 6.78 13.39 11.56 11.31 4.93 5.34 4.65 6.48 2.60 0.00 2014 2015 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 2015 2016 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 4.60 2016 2017 108.22 9.78 7.06 12.45 13.46 10.99 15.30 15.61 7.59 7.71 4.82 54.09 2017

ค่าเฉลี่ย 24.15 6.36 11.64 10.43 9.20 8.76 9.52 9.30 7.16 6.47 2.71 11.73 24.15

Page 13: บทคัดย่อ - rio15.rid.go.thrio15.rid.go.th/km/articles-in/wm-25.pdf · ปริมาณน้้าล้นผ่านทางอาคารระบายน้้าล้น

13

ผลการวิเคราะห์โค้งกฎปฏิบัติการอ่างเก็บน้้า ของอ่างเก็บน้้าห้วยน้้าใส โดยวิธี Vacancy Minimum Storage Requirement Rule Curve แสดงในรูปที่ 11

รูปที่ 11 ผลการวิเคราะหโ์ค้งกฎปฏิบัติการอ่างเก็บน้้าของอ่างเก็บน้้าห้วยน้้าใส

ม.ค. ก.พ. ม.ีค. เม.ย. พ.ค. ม.ิย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.

URC ปรับปรุง 62 80.00 75.90 67.58 59.05 51.99 49.02 46.17 44.11 42.67 43.90 50.09 75.00LRC ปรับปรุง 62 31.64 27.49 25.23 22.77 18.78 15.80 16.00 15.85 15.13 13.39 12.89 23.65

ปริมาณน ้าตน้เดอืน (ล้าน ลบ.ม.)

80.0075.90

67.58

59.05

51.9949.02

46.17 44.11 42.67 43.9050.09

75.00

31.6427.49 25.23 22.77

18.7815.80 16.00 15.85 15.13 13.39 12.89

23.65

0.00

10.00

20.00

30.00

40.00

50.00

60.00

70.00

80.00

90.00

100.00

ม.ค. ก.พ. ม.ีค. เม.ย. พ.ค. ม.ิย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.

ความ

จุอ่าง

ล้าน

ลบ.

ม.

เดือน

URC ปรับปรุง 61 LRC ปรับปรุง 61 รนส. รนก. รนต.

ปริมาตรน้้าเก็บกักสูงสุด 93.6 ล้าน ลบ.ม.

ปริมาตรน้้าเก็บกักปกติ 80 ล้าน ลบ.ม.

ปริมาตรน้้าเก็บกักต่้าสุด 2 ล้าน ลบ.ม.

Page 14: บทคัดย่อ - rio15.rid.go.thrio15.rid.go.th/km/articles-in/wm-25.pdf · ปริมาณน้้าล้นผ่านทางอาคารระบายน้้าล้น

14

ผลการวิเคราะห์เกณฑ์แนะน้าในการบริหารจัดการน้้าอ่างเก็บน้้าห้วยน้้าใส แสดงในตารางที่ 4 รูปที่ 12 และรูปที่ 13 ตารางที่ 4 ผลการวิเคราะห์เกณฑ์แนะน้าในการบริหารจัดการน้า้อ่างเก็บน้้าห้วยน้้าใส

เดือน Operating Guideline มกราคม 58.01

กุมภาพันธ์ 51.74 มีนาคม 45.92 เมษายน 39.70

พฤษภาคม 31.57 มิถุนายน 27.89 กรกฎาคม 29.11 สิงหาคม 29.19 กันยายน 27.50 ตุลาคม 26.38

พฤศจิกายน 46.73 ธันวาคม 66.10

รูปที่ 12 กราฟแสดงผลการวิเคราะห์เกณฑ์แนะน้าในการบริหารจัดการน้้าอ่างเก็บน้้าห้วยน้้าใส

Page 15: บทคัดย่อ - rio15.rid.go.thrio15.rid.go.th/km/articles-in/wm-25.pdf · ปริมาณน้้าล้นผ่านทางอาคารระบายน้้าล้น

15

รูปที่ 13 กราฟเปรียบเทียบปริมาณน้้าไหลลงอ่างรายเดือนกับโค้งกฎปฏิบัติการอ่างเก็บน้้า ของอ่างเก็บน้้าห้วยน้้าใส

6) การวิเคราะห์โครงการและผลกระทบสิ่งแวดล้อม

ส้าหรับการวิเคราะห์โครงการ พบว่าการปรับปรุงอ่างเก็บน้้าห้วยน้้าใสต้องใช้งบประมาณเป็นค่าลงทุนก่อสร้างประมาณ 81.0 ล้านบาท เวลาในการด้าเนินการประมาณ 1 ปี ผลการวิเคราะห์ทางเศรษฐกิจ (EIRR) เท่ากับร้อยละ 23.93 ที่อัตราคิดลดร้อยละ 12 มูลค่าปัจจุบันสุทธิ(NPV) มีค่าเท่ากับ 50.03 ล้านบาท และอัตราส่วนผลตอบแทนต่อการลงทุน (B/C) มีค่าเท่ากับ 1.64ส่วนการตรวจสอบผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม พบว่าการปรับปรุงโครงการอ่างเก็บน้้าห้วยน้้าใสไม่ส่งผลผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมแต่อย่างใดเนื่องจากเป็นการเพ่ิมศักยภาพความจุของอ่างเก็บน้้าในขอบเขตพ้ืนที่ระดับน้้าสูงสุดเดิม ดังนั้นจึงไม่มีผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมแต่อย่างใด

ม.ค. ก.พ. ม.ีค. เม.ย. พ.ค. ม.ิย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.

URC ปรับปรุง 62 80.00 75.90 67.58 59.05 51.99 49.02 46.17 44.11 42.67 43.90 50.09 75.00LRC ปรับปรุง 62 31.64 27.49 25.23 22.77 18.78 15.80 16.00 15.85 15.13 13.39 12.89 23.65

ปริมาณน ้าตน้เดอืน (ล้าน ลบ.ม.)

80.0075.90

67.58

59.05

51.9949.02

46.17 44.11 42.67 43.9050.09

75.00

31.6427.49 25.23 22.77

18.7815.80 16.00 15.85 15.13 13.39 12.89

23.65

0.00

20.00

40.00

60.00

80.00

100.00

120.00

140.00

0.00

10.00

20.00

30.00

40.00

50.00

60.00

70.00

80.00

90.00

100.00

ม.ค. ก.พ. ม.ีค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.

ปริมา

น้้า

ไหลล

งอ่าง

ล้

าน ล

บ.ม.

ความ

จุอ่าง

ล้าน

ลบ.

ม.

เดือน

Inflow URC ปรับปรุง 61 LRC ปรับปรุง 61 รนส. รนก. รนต. MLL

ปริมาตรน้้าเก็บกักสูงสุด 93.6 ล้าน ลบ.ม.

ปริมาตรน้้าเก็บกักปกติ 80 ล้าน ลบ.ม.

ปริมาตรน้้าเก็บกักต่้าสุด 2 ล้าน ลบ.ม.

Page 16: บทคัดย่อ - rio15.rid.go.thrio15.rid.go.th/km/articles-in/wm-25.pdf · ปริมาณน้้าล้นผ่านทางอาคารระบายน้้าล้น

16

7) การวิเคราะห์และตรวจสอบความมั่นคงเขือ่นห้วยน้้าใส

สรุปผลการวิเคราะหแ์ละตรวจสอบความมั่นคงเขือ่นห้วยน้้าใส ในอดีตที่ผ่านการตรวจสภาพเขื่อนยังไม่มีแนวทางในการตรวจสภาพเขื่อนที่ชัดเจน ไม่มีแบบฟอร์มในการตรวจสภาพ ไม่รู้ว่าเราต้องท้าการตรวจองค์ประกอบอะไรบ้าง สภาพที่ต้องตรวจในแต่ละองค์ประกอบ เมื่อท้าการตรวจสภาพแล้วเสร็จ จะรู้แต่เพียงว่ามีอะไรบ้าง การตรวจสภาพเขื่อนที่ดีนั้น ต้องมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องขององค์ประกอบเขื่อน วิธีการตรวจสภาพ และการประเมินสภาพเขื่อนคือ ดัชนีสภาพ (Condition Index) ซึ่งใช้ข้อมูลจากการตรวจสภาพเขื่อนด้วยสายตา จากการตรวจสภาพสามารถสรุปสภาพของเขื่อนและข้อเสนอแนะได้ดังต่อไปนี้

จากการตรวจสอบสภาพเขื่อนห้วยน้้าใส จังหวัดนครศรีธรรมราช สามารถสรุปผลสภาพเขื่อนได้ดังนี ้ค่าดัชนีสภาพเขื่อนห้วยน้้าใส มีค่าเท่ากับ 93.27% หมายถึง สภาพเขื่อนห้วยน้้าใส อยู่ในสภาพดีมากสามารถท้างานได้ตามปกติ ไม่ซ่อมแซม สามารถเพ่ิมความจุเก็บกักได้อย่างปลอดภัย 4. ประโยชน์ของผลงาน

ใช้เป็นแนวทางและเสนอแนะในการปรับปรุงอ่างเก็บน้้าห้วยน้้าใส จังหวัดนครศรีธรรมราชโดยวิธีการเพิ่มความจุเก็บกัก พร้อมทั้งเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการน้้าของโครงการพัฒนาพื้นที่ลุ่มน้้าปากพนังที่ยังคงมีปัญหาการขาดแคลนน้้าจืดในช่วงฤดูแล้งและปัญหาน้้าล้นจากอ่างเก็บน้้าสร้างความเสียหายให้กับพื้นที่ท้ายอ่างเก็บน้้าในช่วงฤดูฝน